• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 305
    ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    เนื้อความทั้งหมด : -
    --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้
    เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู
    และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น)
    ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู
    แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ;
    --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด
    มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย,
    มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย,
    คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้
    เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น
    ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก
    ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน,
    มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ;
    ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง.
    --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า
    คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน

    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก
    เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง
    เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​
    เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้
    เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว
    เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่
    : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส,
    และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ,
    +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ
    และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก.
    ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว
    ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก,
    ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล
    ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย.
    กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว,
    เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม,
    เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ.
    เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น,
    +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ

    ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่,
    ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส
    และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453
    http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 305 ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 เนื้อความทั้งหมด : - --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย, คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา. http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453 http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓ http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์)
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์) อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึงน้ำนมของมารดา. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ๑ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และเป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ๑. โมกขจิกะ เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้. ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้นเป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'อดีตบิ๊กข่าวกรอง' ซัดรัฐบาลหงอเขมร พูดจาวางกล้าม ห้ามไทยปิดกั้นการเข้า 4 ปราสาทเคลมเป็นพื้นที่พิพาท
    https://www.thai-tai.tv/news/19950/
    .
    #นันทิวัฒน์สามารถ #ฮุนมาเนต #ไทยกัมพูชา #เขตพิพาท #ปราสาทตาเมือน #ปราสาทตาควาย #สามเหลี่ยมมรกต #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #อธิปไตยไทย #รัฐบาลไทย #กระทรวงการต่างประเทศ #ไม่หงอ
    'อดีตบิ๊กข่าวกรอง' ซัดรัฐบาลหงอเขมร พูดจาวางกล้าม ห้ามไทยปิดกั้นการเข้า 4 ปราสาทเคลมเป็นพื้นที่พิพาท https://www.thai-tai.tv/news/19950/ . #นันทิวัฒน์สามารถ #ฮุนมาเนต #ไทยกัมพูชา #เขตพิพาท #ปราสาทตาเมือน #ปราสาทตาควาย #สามเหลี่ยมมรกต #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #อธิปไตยไทย #รัฐบาลไทย #กระทรวงการต่างประเทศ #ไม่หงอ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 300
    ชื่อบทธรรม : -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด.
    อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ
    http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=จตฺตาโร+อาหารา
    อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม,
    อาหารที่สอง คือ ผัสสะ,
    อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา,
    อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้.
    วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ.
    วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด,
    การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด,
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด,
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น.
    ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น”
    ดังนี้.

    (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ
    ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ
    ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว).

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน,
    เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน
    ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน
    หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ
    ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้,
    วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ,
    วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด,
    การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด,
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น.
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด,
    ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า
    “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น".

    (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/16/123/?keywords=วิญฺญาณ+อาหาเร
    ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น
    ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น)

    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/99-100/245-247.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/99/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๒-๑๒๓/๒๔๕-๒๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=300
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร สัทธรรมลำดับที่ : 300 ชื่อบทธรรม : -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=จตฺตาโร+อาหารา อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา, อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. --ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้. วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ. วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด, การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ; --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น” ดังนี้. (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน, เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ, วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด, ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ; --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น". (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ http://etipitaka.com/read/pali/16/123/?keywords=วิญฺญาณ+อาหาเร ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น) ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/99-100/245-247. http://etipitaka.com/read/thai/16/99/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๒-๑๒๓/๒๔๕-๒๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=300 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่งคือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สองคือ ผัสสะ, อาหารที่สามคือ มโนสัญเจตนา, อาหารที่สี่คือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้. วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ. วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด, การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ; ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น” ดังนี้. (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน, เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน, อุปมานี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ, วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด, ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ; ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น. (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น)” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 148 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเกิดขึ้นของกองทุกข์มีได้เพราะการเกิดนันทิ(ความเพลิน)
    สัทธรรมลำดับที่ : 297
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    --มิคชาละ ! ๑.รูปทั้งหลายที่เห็นด้วยตา อัน
    เป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ
    เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ;
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่,
    นันทิ(ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    --มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
    “#ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์มีได้เพราะความเกิดขึ้นแห่งนันทิ”
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง
    ๒.เสียงที่ได้ยินด้วยหู
    ๓.กลิ่นที่ดมด้วยจมูก
    ๔.รสที่ลิ้มด้วยลิ้น
    ๕.โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย และ
    ๖.ธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูปที่เห็นด้วยตา;).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/35/68.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/35/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๕/๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=297
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเกิดขึ้นของกองทุกข์มีได้เพราะการเกิดนันทิ(ความเพลิน) สัทธรรมลำดับที่ : 297 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป --มิคชาละ ! ๑.รูปทั้งหลายที่เห็นด้วยตา อัน เป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ; เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่, นันทิ(ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. --มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “#ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์มีได้เพราะความเกิดขึ้นแห่งนันทิ” http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เสียงที่ได้ยินด้วยหู ๓.กลิ่นที่ดมด้วยจมูก ๔.รสที่ลิ้มด้วยลิ้น ๕.โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย และ ๖.ธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูปที่เห็นด้วยตา;).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/35/68. http://etipitaka.com/read/thai/18/35/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๕/๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=297 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    -อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายที่เห็นด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ; เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ มีได้ เพราะความเกิดขึ้น แห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่งเสียงที่ได้ยินด้วยหู กลิ่นที่ดมด้วยจมูก รสที่ลิ้มด้วยลิ้น โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย และธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่เห็นด้วยตา).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่าอาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    สัทธรรมลำดับที่ : 297
    ชื่อบทธรรม : - อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    --มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายที่เห็นด้วยตา
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ
    เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ;
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ
    --มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
    “ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนันทิ”
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง
    เสียงที่ได้ยินด้วยหู กลิ่นที่ดมด้วยจมูก รสที่ลิ้มด้วยลิ้น โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย
    และธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่เห็นด้วยตา
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/35/68.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/35/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๕/๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=297
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่าอาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป สัทธรรมลำดับที่ : 297 ชื่อบทธรรม : - อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป --มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายที่เห็นด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ; เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ --มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่ได้ยินด้วยหู กลิ่นที่ดมด้วยจมูก รสที่ลิ้มด้วยลิ้น โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย และธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่เห็นด้วยตา ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/35/68. http://etipitaka.com/read/thai/18/35/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๕/๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=297 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=297 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป
    -อาการเกิดแห่งความทุกข์โดยสังเขป มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายที่เห็นด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยั่วยวนชวนให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นไซร้ ; เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ มีได้ เพราะความเกิดขึ้น แห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่งเสียงที่ได้ยินด้วยหู กลิ่นที่ดมด้วยจมูก รสที่ลิ้มด้วยลิ้น โผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยผิวกาย และธัมมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่เห็นด้วยตา).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 292
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=292
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    (ทรงแสดงด้วยนันทิ)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ+รูป
    ความเพลินใด ในรูป,
    ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป
    ).
    บุคคลย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งเวทนา... ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสัญญา... ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสังขาร....ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำถึง ย่อมดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ
    เมื่อเพลิดเพลิน พร่ำถึง ดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ+วิญฺญาณ
    ความยินดีย่อมเกิดขึ้น
    ความยินดีในวิญญาณ นั่นเป็นอุปาทาน
    เพราะอุปาทานของบุคคลนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
    เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสและอุปายาส.
    ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.
    --ภิกษุ​ ท.(ทั้งหลาย)​
    นี่เป็น ความเกิดแห่งรูป
    นี่เป็น ความเกิดแห่งเวทนา
    นี่เป็น ความเกิดแห่งสัญญา
    นี่เป็น ความเกิดแห่งสังขาร
    นี่เป็น ความเกิดแห่งวิญญาณ.
    #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/13/28.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=292
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 292 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=292 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยนันทิ) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ+รูป ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป ). บุคคลย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งเวทนา... ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสัญญา... ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสังขาร....ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำถึง ย่อมดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ เมื่อเพลิดเพลิน พร่ำถึง ดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ+วิญฺญาณ ความยินดีย่อมเกิดขึ้น ความยินดีในวิญญาณ นั่นเป็นอุปาทาน เพราะอุปาทานของบุคคลนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสและอุปายาส. ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้. --ภิกษุ​ ท.(ทั้งหลาย)​ นี่เป็น ความเกิดแห่งรูป นี่เป็น ความเกิดแห่งเวทนา นี่เป็น ความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็น ความเกิดแห่งสังขาร นี่เป็น ความเกิดแห่งวิญญาณ. #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/13/28. http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=292 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยนันทิ) ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่งเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1025
    ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย
    ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ)
    ดังนี้ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
    เป็นผู้ไกลจากกิเลส
    ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
    เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
    เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
    เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
    เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
    เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม
    เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์”
    ดังนี้.
    อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่
    เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว
    แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ
    เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้,
    ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ;
    ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข;
    จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ)
    เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ;
    เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ
    ได้ว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ
    ที่สอง คือ
    ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สาม คือ
    ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สี่ คือ
    ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ
    ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน
    ที่กล่าวถึงความ
    ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า
    )
    --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.-

    (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า
    แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม)
    หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม
    ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป
    ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ.
    ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า
    กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก
    กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ
    แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา
    จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์
    ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ.
    อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ
    กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ
    เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์.
    แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว
    ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน
    เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์.
    ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ
    ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง
    โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602
    http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก สัทธรรมลำดับที่ : 1025 ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 เนื้อความทั้งหมด :- --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ) ดังนี้ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ ที่สอง คือ ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สาม คือ ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่ คือ ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน ที่กล่าวถึงความ ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.- (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม) หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ. ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์ ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ. อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์. แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์. ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602 http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    -(ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะอันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคอย่างครบถ้วน ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตายก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของจักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์). วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทธอเวจจัปปสาทะ) ดังนี้ว่า “แม้เพราะ เหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือเพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะที่สอง คือ ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สามคือ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่คือ ความมีศีลที่พระอริยเจ้าพอใจ (อริยกันตศีล) ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบนที่กล่าวถึงความ เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 223 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    สัทธรรมลำดับที่ : 1024
    ชื่อบทธรรม :- อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1024
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ทั้งหลาย(ท.)​ ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส ;
    เป็นปัจจัย
    สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง;
    บุคคล
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ทั้งหลาย
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะ จักขุสัมผัส
    เป็นปัจจัย
    สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม.
    +--เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว
    ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่;
    ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป
    +--และ ตัณหา
    อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่
    ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัด(่ราคะ)​ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน(นันทิ)​
    ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป.
    ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต.
    ๑--ทิฏฐิ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ,
    ๒--ความดำริ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ,
    ๓--ความเพียร ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็นสัมมาวายามะ
    ๔--สติ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ,
    ๕--สมาธิ ของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ.
    ส่วน
    ๖--กายกรรม ๗--วจีกรรม และ ๘--อาชีวะ
    ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม;
    (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ
    มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น
    ).
    ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า #อริยอัฏฐังคิกมรรค
    แห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น
    ย่อมถึงซึ่ง #ความบริบูรณ์แห่งภาวนา
    ด้วยอาการอย่างนี้.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา
    (
    ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก
    พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า
    ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะ
    อันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว
    ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติ #อริยอัฏฐังคิกมรรค อย่างครบถ้วน
    http://etipitaka.com/read/pali/14/526/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา
    ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ
    และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตาย
    ก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ
    จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้
    แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้
    ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของ ๑.จักษุ

    ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ
    ๒.โสตะ ๓.ฆานะ ๔.ชิวหา ๕.กายะ และ๖.มโน
    แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น
    เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น,

    ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง;
    รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. 14/395 - 397/828 - 830.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/395/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. ๑๔/๕๒๓ - ๕๒๕/๘๒๘ - ๘๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1024
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด สัทธรรมลำดับที่ : 1024 ชื่อบทธรรม :- อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1024 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด --ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ทั้งหลาย(ท.)​ ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส ; เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง; บุคคล ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ทั้งหลาย ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะ จักขุสัมผัส เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม. +--เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่; ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป +--และ ตัณหา อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่ ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัด(่ราคะ)​ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน(นันทิ)​ ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป. ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป; บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต. ๑--ทิฏฐิ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ, ๒--ความดำริ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ, ๓--ความเพียร ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็นสัมมาวายามะ ๔--สติ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ, ๕--สมาธิ ของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ. ส่วน ๖--กายกรรม ๗--วจีกรรม และ ๘--อาชีวะ ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม; (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น ). ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า #อริยอัฏฐังคิกมรรค แห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น ย่อมถึงซึ่ง #ความบริบูรณ์แห่งภาวนา ด้วยอาการอย่างนี้.- http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา ( ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะ อันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติ #อริยอัฏฐังคิกมรรค อย่างครบถ้วน http://etipitaka.com/read/pali/14/526/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตาย ก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของ ๑.จักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ ๒.โสตะ ๓.ฆานะ ๔.ชิวหา ๕.กายะ และ๖.มโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. 14/395 - 397/828 - 830. http://etipitaka.com/read/thai/14/395/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. ๑๔/๕๒๓ - ๕๒๕/๘๒๘ - ๘๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1024 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    -(ในสูตรอื่น ถือเอา การเกิดแห่งกุศลและการไม่เกิดแห่งอกุศล เป็นหลักเกณฑ์สำหรับ การเลือก ว่าควรเสพหรือไม่ควรเสพ : ถ้าได้ผลเป็นบุญกุศลถือว่าควรเสพ, ถ้าได้ผลเป็นอกุศล ถือว่าไม่ควรเสพ. และถือเอาหลักเกณฑ์นี้สำหรับการเลือกสิ่งเหล่านี้คือ กายสมาจาร วจีสมาจาร มโนสมาจาร จิตตุปบาท สัญญาปฏิลาภ ทิฏฐิปฏิลาภ อัตตภาวปฏิลาภ อารมณ์แต่ละอารมณ์ทางอายตนะทั้งหก จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คาม นิคม นคร ชนบท และ บุคคล. ผู้ปรารถนา รายละเอียดพึงดูจากที่มานั้น ๆ : อุปริ. ม. ๑๔/๑๔๔ – ๑๖๔/๑๙๙ – ๒๓๒; หรือดูที่หัวข้อว่า “การเสพที่เป็นอุปกรณ์และไม่เป็นอุปกรณ์ แก่ความเพียรละอกุศลและเจริญ กุศล” ที่หน้า ๑๑๔๓ แห่งหนังสือเล่มนี้). อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ท. ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง; บุคคล ย่อมไม่กำหนัดยินดีในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ท. ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม. เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่; ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป และ ตัณหา อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่ ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งความเพลิน ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป. ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป; บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต. ทิฏฐิของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ, ความดำริของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ, ความเพียรของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาวายามะ สติของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ, สมาธิของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ. ส่วน กายกรรม วจีกรรม และอาชีวะ ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม; (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น). ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า อริยอัฏฐังคิกมรรคแห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น ย่อมถึงซึ่ง ความบริบูรณ์แห่งภาวนา ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 289
    ชื่อบทธรรม :- อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ .

    --ภิกษุ ท. !
    นี่เป็นความเกิดแห่งรูป นี่เป็นความเกิดแห่งเวทนา
    นี่เป็นความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็นความเกิดแห่งสังขาร
    นี่เป็นความเกิดแห่งวิญญาณ.
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/18/28.
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=289
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 289 ชื่อบทธรรม :- อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น, http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ . --ภิกษุ ท. ! นี่เป็นความเกิดแห่งรูป นี่เป็นความเกิดแห่งเวทนา นี่เป็นความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็นความเกิดแห่งสังขาร นี่เป็นความเกิดแห่งวิญญาณ. แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/18/28. อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=289 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    -อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น, ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 638
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=638
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูป
    โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูป
    ให้เห็นตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปโดยแยบคายอยู่
    ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป.
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ
    ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=จิต+วิมุต+สุวิมุตฺตนฺติ

    (ในกรณีแห่ง
    ๒.เวทนา ๓.สัญญา ๔.สังขาร และ ๕.วิญญาณ
    ก็มีข้อความมีกล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/51/104.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/51/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๔/๑๐๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=638
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=638
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 638 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=638 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูป โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูป ให้เห็นตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=จิต+วิมุต+สุวิมุตฺตนฺติ (ในกรณีแห่ง ๒.เวทนา ๓.สัญญา ๔.สังขาร และ ๕.วิญญาณ ก็มีข้อความมีกล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/51/104. http://etipitaka.com/read/thai/17/51/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๔/๑๐๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=638 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=638 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูป โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูป ให้เห็นตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความมีกล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 229 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 637
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=637
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น
    รูป ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง,
    ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ.
    เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ;
    เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/17/63/?keywords=จิตฺตํ+วิมุตฺตํ
    ดังนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    ๒.เวทนา ๓.สัญญา ๔.สังขาร และ ๕.วิญญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=วิญฺญาณํ
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/51/103.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/51/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๓/๑๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=637
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=637
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 637 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=637 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูป ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/17/63/?keywords=จิตฺตํ+วิมุตฺตํ ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เวทนา ๓.สัญญา ๔.สังขาร และ ๕.วิญญาณ http://etipitaka.com/read/pali/17/64/?keywords=วิญฺญาณํ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/51/103. http://etipitaka.com/read/thai/17/51/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๓/๑๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=637 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=637 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูป ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้ว ด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 636
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย
    และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่
    ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย.
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+๒๔๘
    #เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ๖.ธรรมารมณ์
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.18/147/248.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.๑๘/๑๘๐/๒๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=636
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 636 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+๒๔๘ #เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ๖.ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.18/147/248. http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.๑๘/๑๘๐/๒๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=636 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 635
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=635
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง จักษุ โดยแยบคาย
    และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุ ให้เห็นตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เมื่อกระทำในใจซึ่งจักษุโดยแยบคายอยู่
    ตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน จักษุ.
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง
    ๒.โสตะ(หู) ๓.ฆานะ(จมูก) ๔.ชิวหา(ลิ้น) ๕.กายะ(กายสัมผัส) และ ๖.มนะ(ใจ)
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง​ ๑.จักษุ (ตา)
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/147/247.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=635
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=635
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 635 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=635 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง จักษุ โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุ ให้เห็นตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เมื่อกระทำในใจซึ่งจักษุโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน จักษุ. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.โสตะ(หู) ๓.ฆานะ(จมูก) ๔.ชิวหา(ลิ้น) ๕.กายะ(กายสัมผัส) และ ๖.มนะ(ใจ) ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง​ ๑.จักษุ (ตา) ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/147/247. http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=635 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=635 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง จักษุ โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุ ให้เห็นตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ เมื่อกระทำในใจซึ่งจักษุโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งจักษุให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 186 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 258
    ชื่อบทธรรม :- ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    --ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี,
    เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี,
    รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี,
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา
    น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้า ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน(นนฺทิ)​ ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่
    http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=นนฺทิ
    ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่
    ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    เรากล่าวว่า #เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น)
    จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์),
    http://etipitaka.com/read/pali/14/482/?keywords=ทุกฺขสมุทโย
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. 14/481/755.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/361/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=258
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 258 ชื่อบทธรรม :- ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ --ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้า ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน(นนฺทิ)​ ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=นนฺทิ ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. เรากล่าวว่า #เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น) จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์), http://etipitaka.com/read/pali/14/482/?keywords=ทุกฺขสมุทโย ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. 14/481/755. http://etipitaka.com/read/thai/14/361/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=258 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    -ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่นที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รสที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. เรากล่าวว่า เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น) จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์), ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 634
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย
    ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง,
    ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ.
    เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ;
    เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ
    ดังนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ ๖.ธรรมารมณ์
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/146/246.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=634
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 634 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ ๖.ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/146/246. http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=634 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ จึงเรียกว่าจิตหลุดพ้นดี
    สัทธรรมลำดับที่ : 633
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ (ตา)​
    ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง,
    ทิฏฐิของเธอนั้น #เป็นสัมมาทิฏฐิ.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=สมฺมาทิฏฺฐิ
    เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ;
    เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ
    ดังนี้

    (ในกรณีแห่ง
    ๒.โสตะ(หู)​ ๓.ฆานะ(จมูก)​ ๔.ชิวหา(ลิ้น)​ ๕.กายะ(ร่างกาย)​ และ ๖.มนะ(ใจ)​
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.จักษุ(ตา)
    ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจ#สุตันตปิฎก#บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/146/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=633
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ จึงเรียกว่าจิตหลุดพ้นดี สัทธรรมลำดับที่ : 633 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ (ตา)​ ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น #เป็นสัมมาทิฏฐิ. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=สมฺมาทิฏฺฐิ เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ ดังนี้ (ในกรณีแห่ง ๒.โสตะ(หู)​ ๓.ฆานะ(จมูก)​ ๔.ชิวหา(ลิ้น)​ ๕.กายะ(ร่างกาย)​ และ ๖.มนะ(ใจ)​ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.จักษุ(ตา) ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจ​ #สุตันตปิฎก​ #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/146/245. http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=633 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 294 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 366 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ
    สัทธรรมลำดับที่ : 241
    ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เครื่องจูงใจสู่ภพ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า
    ‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)​*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’
    http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ
    ดังนี้,
    ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า !
    และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?”
    --ราธะ !
    ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี
    ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี
    นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี
    ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น)​ ก็ดี และ
    อุปายะ(ความยึดมั่น)​
    เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ
    เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ
    ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ;
    กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’

    ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้
    เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.-

    *--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’
    ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ.

    #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ สัทธรรมลำดับที่ : 241 ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 เนื้อความทั้งหมด :- --เครื่องจูงใจสู่ภพ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)​*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น)​ ก็ดี และ อุปายะ(ความยึดมั่น)​ เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.- *--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368. http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เครื่องจูงใจสู่ภพ
    -เครื่องจูงใจสู่ภพ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” ๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหาก็ดี และอุปายะ (กิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพ) และอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 241 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 624
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ;
    เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ;
    ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย.
    --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ.
    +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ;
    นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาติ,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน
    ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.-

    (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้
    ในสูตรอื่น
    [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘
    http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​
    ได้ตรัสไว้ว่า
    +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า
    สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ
    ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ สัทธรรมลำดับที่ : 624 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน ). --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.- (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘ http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​ ได้ตรัสไว้ว่า +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458. http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    -อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ ภิกษุ ท. ! .... ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 323 มุมมอง 0 รีวิว
  • สติปัญญามีแค่นี้! 'นันทิวัฒน์' เหน็บ 'ผู้นำ' หมกมุ่นกาสิโน เศรษฐกิจพังไม่สน!
    https://www.thai-tai.tv/news/18509/
    สติปัญญามีแค่นี้! 'นันทิวัฒน์' เหน็บ 'ผู้นำ' หมกมุ่นกาสิโน เศรษฐกิจพังไม่สน! https://www.thai-tai.tv/news/18509/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 612
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทินิโรธา+อุปาทานนิโรโธ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป... ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/14/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=612
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 612 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทินิโรธา+อุปาทานนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป... ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/14/29. http://etipitaka.com/read/thai/17/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=612 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 279 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    สัทธรรมลำดับที่ : 610
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
    ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
    เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
    +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
    “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
    ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
    ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
    ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
    ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
    ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
    ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป สัทธรรมลำดับที่ : 610 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ” http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69. http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    -อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี เพราะความดับแห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 172
    ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าอย่างคือ
    พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
    พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
    พืชจากตา (ผลุพีช),
    พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
    พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
    เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
    +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
    +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
    --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
    ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172

    สัทธรรมลำดับที่ : 173
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
    ของวิญญาณทางตา
    วิญญาณทางหู
    วิญญาณทางจมูก
    วิญญาณทางลิ้น
    วิญญาณทางกาย และ
    วิญญาณทางใจ
    ใด ๆ นั่นเท่ากับ
    เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
    เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173

    สัทธรรมลำดับที่ : 174
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174

    สัทธรรมลำดับที่ : 175
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
    วิญญาณทางตา,
    วิญญาณทางหู,
    วิญญาณทางจมูก,
    วิญญาณทางลิ้น,
    วิญญาณทางกาย, และ
    วิญญาณทางใจ.
    -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
    ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 172 ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ พืชจากเหง้า (มูลพีช ), พืชจากต้น (ขนฺธพีช), พืชจากตา (ผลุพีช), พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น) เป็นคำรบห้า (พีชพีช). +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, แต่ดิน น้ำ ไม่มี. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ? +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !” +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ? +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร) พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม) พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107. http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172 สัทธรรมลำดับที่ : 173 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ ของวิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และ วิญญาณทางใจ ใด ๆ นั่นเท่ากับ เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483. http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173 สัทธรรมลำดับที่ : 174 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ; วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ, อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123. http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174 สัทธรรมลำดับที่ : 175 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และ วิญญาณทางใจ. -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 587 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 584
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น.
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม
    และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย
    เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ
    ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ;
    #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง
    ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ
    เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ;
    เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ;
    เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ

    ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
    กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ) สัทธรรมลำดับที่ : 584 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105. http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    -ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณ ที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้. เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัยมีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ปรินิพพานเฉพาะตน ; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 404 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 511 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts