• NVIDIA กำลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ เมื่อรัฐบาลจีนเตรียมกำหนดข้อกำหนดด้านพลังงานที่อาจห้ามการขาย GPU H20 ในประเทศ ทำให้รายได้ของ NVIDIA จากตลาดจีนซึ่งเป็นตลาดหลักสำหรับ AI อาจลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกัน คู่แข่งอย่าง Huawei ก็เตรียมเปิดตัวชิประดับสูงที่สามารถแข่งกับ NVIDIA ได้โดยตรง ทำให้สถานการณ์นี้กลายเป็นบททดสอบสำคัญสำหรับอนาคตของบริษัท

    มาตรการของจีน:
    - รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะลดการพึ่งพาชิปต่างประเทศ โดยตั้งข้อกำหนดด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนผู้ผลิตในประเทศ เช่น Huawei ซึ่งเตรียมเปิดตัวชิป AI รุ่น Ascend 910C ที่ทัดเทียมกับ NVIDIA H100.

    ผลกระทบต่อ NVIDIA:
    - NVIDIA ได้เริ่มเจรจากับคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติจีน (NDRC) และกำลังพิจารณาการลดประสิทธิภาพของ H20 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดด้านพลังงาน แต่ทางเลือกนี้อาจทำให้คู่แข่งมีความได้เปรียบในตลาด.

    ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ:
    - ที่ผ่านมา NVIDIA ต้องเผชิญข้อจำกัดจากรัฐบาลสหรัฐฯ ในการขายชิป AI ให้จีน การเพิ่มกฎระเบียบจากฝั่งจีนเองยิ่งเพิ่มความซับซ้อนและผลกระทบทางการค้า.

    ตลาดคู่แข่งในจีน:
    - Huawei กลายเป็นคู่แข่งสำคัญในตลาด AI ของจีน โดย Jensen Huang CEO ของ NVIDIA ยอมรับถึงความก้าวหน้าของ Huawei ในด้านนี้และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น.

    https://wccftech.com/nvidia-h20-ai-gpu-might-be-banned-from-being-sold-in-china-but-this-time-it-is-not-the-us-fault/
    NVIDIA กำลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ เมื่อรัฐบาลจีนเตรียมกำหนดข้อกำหนดด้านพลังงานที่อาจห้ามการขาย GPU H20 ในประเทศ ทำให้รายได้ของ NVIDIA จากตลาดจีนซึ่งเป็นตลาดหลักสำหรับ AI อาจลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกัน คู่แข่งอย่าง Huawei ก็เตรียมเปิดตัวชิประดับสูงที่สามารถแข่งกับ NVIDIA ได้โดยตรง ทำให้สถานการณ์นี้กลายเป็นบททดสอบสำคัญสำหรับอนาคตของบริษัท มาตรการของจีน: - รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะลดการพึ่งพาชิปต่างประเทศ โดยตั้งข้อกำหนดด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนผู้ผลิตในประเทศ เช่น Huawei ซึ่งเตรียมเปิดตัวชิป AI รุ่น Ascend 910C ที่ทัดเทียมกับ NVIDIA H100. ผลกระทบต่อ NVIDIA: - NVIDIA ได้เริ่มเจรจากับคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติจีน (NDRC) และกำลังพิจารณาการลดประสิทธิภาพของ H20 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดด้านพลังงาน แต่ทางเลือกนี้อาจทำให้คู่แข่งมีความได้เปรียบในตลาด. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: - ที่ผ่านมา NVIDIA ต้องเผชิญข้อจำกัดจากรัฐบาลสหรัฐฯ ในการขายชิป AI ให้จีน การเพิ่มกฎระเบียบจากฝั่งจีนเองยิ่งเพิ่มความซับซ้อนและผลกระทบทางการค้า. ตลาดคู่แข่งในจีน: - Huawei กลายเป็นคู่แข่งสำคัญในตลาด AI ของจีน โดย Jensen Huang CEO ของ NVIDIA ยอมรับถึงความก้าวหน้าของ Huawei ในด้านนี้และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น. https://wccftech.com/nvidia-h20-ai-gpu-might-be-banned-from-being-sold-in-china-but-this-time-it-is-not-the-us-fault/
    WCCFTECH.COM
    NVIDIA's H20 AI GPU Might Be Banned From Being Sold In China, But This Time, It Is Not The US's Fault
    NVIDIA's hot-selling H20 AI accelerator might just be banned from being sold in China, amid Beijing's new energy efficiency rules.
    0 Comments 0 Shares 242 Views 0 Reviews
  • ประธาน ICC โทโมโกะ อากาเนะ คือใคร?📌 และทำไมรัสเซียถึงต้องการตัวเธอ? เปิดตัวตน "โทโมโกะ อากาเนะ" ประธาน ICC คนล่าสุด และเหตุผลที่รัสเซียต้องการตัวเธอ! หมายจับปูตินสั่นสะเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนเกิดคดีย้อนกลับและมาตรการคว่ำบาตรจากมหาอำนาจ👉โทโมโกะ อากาเนะ ผู้พิพากษาชาวญี่ปุ่นวัย 68 ปี ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) เมื่อมีนาคม 2024 หลังจากเข้าเป็นผู้พิพากษา ICC ตั้งแต่ปี 2018 เธอมีประวัติการทำงานอันโดดเด่น เคยเป็นหัวหน้าสถาบันสหประชาชาติเพื่อการป้องกันอาชญากรรม (UNAFEI) ระหว่างปี 2009-2011 และสั่งสมประสบการณ์ส่วนใหญ่ในฐานะอัยการในประเทศญี่ปุ่น สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจากสหรัฐอเมริกา อากาเนะเป็นที่รู้จักจากการเป็นส่วนหนึ่งในการออกหมายจับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และมาเรีย ลวอวา-เบลโลวา ในข้อหา "เคลื่อนย้ายเด็กอย่างผิดกฎหมาย" จากพื้นที่ดอนบาสในปี 2023 ส่งผลให้รัสเซียตอบโต้ด้วยการฟ้องคดีอาญาต่อเธอในข้อหาพยายามกักขังบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมายและเตรียมการโจมตีเจ้าหน้าที่ต่างประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง รัสเซียอ้างว่าประมุขของรัฐย่อมได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกันภายใต้อนุสัญญาปี 1973 แม้ว่าจะถอนตัวจาก ICC ไปแล้วตั้งแต่ปี 2016 ปัจจุบันแม้แต่ประเทศสมาชิก ICC หลายแห่งก็ยังปฏิเสธที่จะจับกุมปูติน ขณะที่สหรัฐฯ ได้ออกมาตรการคว่ำบาตร ICC เมื่อเดือนที่ผ่านมา สอดคล้องกับคำเตือนของอากาเนะเกี่ยวกับภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของศาล#imctnews รายงาน
    ประธาน ICC โทโมโกะ อากาเนะ คือใคร?📌 และทำไมรัสเซียถึงต้องการตัวเธอ? เปิดตัวตน "โทโมโกะ อากาเนะ" ประธาน ICC คนล่าสุด และเหตุผลที่รัสเซียต้องการตัวเธอ! หมายจับปูตินสั่นสะเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนเกิดคดีย้อนกลับและมาตรการคว่ำบาตรจากมหาอำนาจ👉โทโมโกะ อากาเนะ ผู้พิพากษาชาวญี่ปุ่นวัย 68 ปี ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) เมื่อมีนาคม 2024 หลังจากเข้าเป็นผู้พิพากษา ICC ตั้งแต่ปี 2018 เธอมีประวัติการทำงานอันโดดเด่น เคยเป็นหัวหน้าสถาบันสหประชาชาติเพื่อการป้องกันอาชญากรรม (UNAFEI) ระหว่างปี 2009-2011 และสั่งสมประสบการณ์ส่วนใหญ่ในฐานะอัยการในประเทศญี่ปุ่น สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจากสหรัฐอเมริกา อากาเนะเป็นที่รู้จักจากการเป็นส่วนหนึ่งในการออกหมายจับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และมาเรีย ลวอวา-เบลโลวา ในข้อหา "เคลื่อนย้ายเด็กอย่างผิดกฎหมาย" จากพื้นที่ดอนบาสในปี 2023 ส่งผลให้รัสเซียตอบโต้ด้วยการฟ้องคดีอาญาต่อเธอในข้อหาพยายามกักขังบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมายและเตรียมการโจมตีเจ้าหน้าที่ต่างประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง รัสเซียอ้างว่าประมุขของรัฐย่อมได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกันภายใต้อนุสัญญาปี 1973 แม้ว่าจะถอนตัวจาก ICC ไปแล้วตั้งแต่ปี 2016 ปัจจุบันแม้แต่ประเทศสมาชิก ICC หลายแห่งก็ยังปฏิเสธที่จะจับกุมปูติน ขณะที่สหรัฐฯ ได้ออกมาตรการคว่ำบาตร ICC เมื่อเดือนที่ผ่านมา สอดคล้องกับคำเตือนของอากาเนะเกี่ยวกับภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของศาล#imctnews รายงาน
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 446 Views 0 Reviews
  • เขมรไม่ยอมหยุด! ยั่วยุเยาะเย้ย “ผู้การเนี๊ยะ” จากร้องเพลงปลุกใจ ในปราสาทตาเมือนธม สู่ยกพล 3 กองร้อย ประชิดพรมแดน

    🔥 สถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา เริ่มตึงเครียดขึ้นเรื่อย ๆ หลังจากประเทศไทย เริ่มปราบปราม "แก๊งคอลเซ็นเตอร์" อย่างจริงจัง ซึ่งส่งผลกระทบต่อขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ ที่มีเครือข่ายอยู่ในกัมพูชา 🇰🇭

    แม้ว่าทางการกัมพูชา จะออกมาสนับสนุนไทยอย่างเป็นทางการ แต่กลับมีเหตุการณ์ไม่สงบ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามแนวชายแดน โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดสุรินทร์ และอุบลราชธานี

    และล่าสุด... 💥

    เมื่อวันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2568 กองกำลังติดอาวุธทหารกัมพูชา จำนวน 3 กองร้อย รวม 528 นาย ได้เคลื่อนกำลังเข้าใกล้ชายแดน ด้านอำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ อ้างว่า “พากำลังทหารมากราบไหว้ สักการะปราสาทตาเมือนธม” แต่กลับไม่มีการเตรียมดอกไม้ ธูปเทียน หรือสิ่งของบูชาใด ๆ

    🔴 นี่คือการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ หรือเป็นมากกว่านั้น?

    👤 พล.ต.เนี๊ยะ วงษ์ (Neak Vong) หรือผู้การเยี๊ยะ ผู้บังคับการกองพลน้อยทหารราบที่ 42 ของกัมพูชา เป็นตัวละครสำคัญในเหตุการณ์ครั้งนี้

    📌 ย้อนรอยเหตุการณ์ที่ทำให้ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาตึงเครียด

    5 ตุลาคม 2567 ผู้การเนี๊ยะนำพระสงฆ์ และเด็กนักเรียนกัมพูชา เข้ามาในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม พร้อมร้องเพลงชาติกัมพูชา

    ต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผู้การเนี๊ยะนำคณะแม่บ้าน 25 คน มาร้องเพลงปลุกใจ ในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม สร้างความไม่พอใจให้กับฝ่ายไทย ทหารหน่วยเฉพาะกิจที่ 2 กรมทหารราบที่ 23 กองทัพภาคที่ 2 ที่ประจำการรักษาอธิปไตยไทยในบริเวณนั้น ต้องกล่าวแจ้งเตือนไม่ให้ผู้การเนี้ยะ ทำกิจกรรมในเชิงสัญลักษณ์ สร้างความไม่พอใจให้ผู้การเนี๊ยะเป็นอย่างมาก ถึงขั้นโกรธหัวฟัดหัวเหวี่ยง หลุดปากกล่าวท้าทายทหารไทย "ให้มายิงกัน!"

    บ่ายวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 15.00 น. นายเนียม จันญาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ได้นำคณะทหารกัมพูชา รวมถึงผู้การเนี๊ยะ เดินทางมาเจรจากับ พันโท จักรกฤษ ปิยะศุภฤกษ์ ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 4 กรมทหารราบที่ 23 (ผบ.ร.23 พัน.4) ที่ปราสาทตาเมือนธม เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ในกองทัพภูมิภาคที่ 4 กัมพูชา เพื่อรักษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาจจะด้วยความเต็มใจหรือไม่เต็มใจก็ตาม

    วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม 2568 กองกำลังติดอาวุธ ทหารกัมพูชา 3 กองร้อย 528 นาย เคลื่อนพลมาประชิดพรมแดน ด้านอำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ แล้วปลดอาวุธเดินข้ามพรมแดน อ้างว่ามากราบไหว้สักการะปราสาทตาเหมือนธม โดยที่ไม่มีการเตรียมธูปเทียนดอกไม้ หรือสิ่งของเซ่นไหว้มาด้วย จนคล้ายกับเป็นการยั่วยุเยาะเย้ยทหารไทย

    🇹🇭 ฝ่ายไทยพยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง โดยการเจรจาผ่านทางการทูต แต่กัมพูชากลับใช้วิธี ปลุกกระแสรักชาติในประเทศตนเอง

    🔴 แล้วอะไรคือเป้าหมายที่แท้จริงของ “ผู้การเนี้ยะ” และรัฐบาลกัมพูชา?

    📍 ปราสาทตาเมือนธม จุดยุทธศาสตร์และประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ในเขต อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

    🏛️ เป็นหนึ่งในปราสาทสำคัญ ของกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วย 3 ปราสาทหลัก ได้แก่
    1️⃣ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทหลักและใหญ่ที่สุด
    2️⃣ ปราสาทตาเมือนโต๊ด เชื่อว่าเคยเป็นโรงพยาบาลโบราณ
    3️⃣ ปราสาทตาเมือน หรือบายกรีม เป็นธรรมศาลา หรือสถานที่พักของนักเดินทาง

    🔎 ปราสาทแห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ เพราะเป็นจุดเชื่อมต่อเส้นทางโบราณ จากกัมพูชาสู่ภาคอีสานของไทย มีความสำคัญทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นพื้นที่พิพาททางพรมแดน ที่ยังไม่ได้ข้อยุติ

    👉 นี่อาจเป็นเหตุผลที่กัมพูชา พยายามเข้ามาสร้างอิทธิพล ในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม

    🎭 เบื้องหลังความขัดแย้ง การเมืองหรือศักดิ์ศรีชาติ? การเคลื่อนไหวของกัมพูชา ไม่ใช่แค่เรื่องประวัติศาสตร์หรือพรมแดน แต่นี่คือ "เกมการเมือง"

    📌 เชื่อมโยงกับปัญหาการเมืองภายในของกัมพูชา ปัจจุบันรัฐบาล "ฮุน มาเนต" ลูกชายของฮุน เซน กำลังเผชิญแรงกดดันจากฝ่ายค้าน ที่ผ่านมา "ฮุน เซน" เคยใช้ประเด็นความขัดแย้งชายแดน ปลุกกระแสรักชาติ เพื่อรักษาอำนาจของตระกูลตนเอง การกระทำของผู้การเนี๊ยะ อาจเป็นแผนสร้างแรงสนับสนุนให้รัฐบาลกัมพูชา

    📌 เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ไทย-กัมพูชา? ไทยและกัมพูชามีแผนขุดเจาะทรัพยากรน้ำมัน ในเขตทับซ้อนทางทะเล ข้อพิพาทชายแดน อาจถูกใช้เป็นเครื่องมือเจรจาต่อรอง ทางเศรษฐกิจและการเมือง

    🇰🇭 หรือแท้จริงแล้ว นี่คือแผนของกัมพูชา ในการกดดันไทย?

    🔴 กัมพูชากำลังเล่นเกมอะไร? การกระทำของผู้การเนี๊ยะ และทหารกัมพูชา อาจเป็นเพียงแค่ หมากตัวหนึ่งของรัฐบาลกัมพูชา

    📌 วิเคราะห์แนวทางที่เป็นไปได้ของกัมพูชา
    - สร้างกระแสรักชาติเพื่อดึงความสนใจ จากปัญหาการเมืองภายใน
    - กดดันไทยในประเด็นพรมแดน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเจรจาทางเศรษฐกิจ
    - ทดสอบปฏิกิริยาของรัฐบาลไทย ก่อนเดินเกมต่อไป

    🇹🇭 ทางออกของไทยควรเป็นอย่างไร?
    ✅ รักษาความสัมพันธ์ทางการทูต หลีกเลี่ยงการใช้กำลัง
    ✅ เฝ้าระวังการเคลื่อนไหวของทหารกัมพูชา อย่างใกล้ชิด
    ✅ ใช้การเจรจาในระดับสูง เพื่อป้องกันไม่ให้สถานการณ์ลุกลาม

    🔥 นี่คือเกมการเมือง หรือสงครามชายแดนรอบใหม่? ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด!

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 090905 มี.ค. 2568

    #เขมรไม่หยุด #ตาเมือนธม #ชายแดนไทยกัมพูชา #สงครามชายแดน #ผู้การเนี้ยะ #กัมพูชา #ข่าวด่วน #ความขัดแย้งชายแดน #ไทยกัมพูชา #ปราสาทตาเมือน
    เขมรไม่ยอมหยุด! ยั่วยุเยาะเย้ย “ผู้การเนี๊ยะ” จากร้องเพลงปลุกใจ ในปราสาทตาเมือนธม สู่ยกพล 3 กองร้อย ประชิดพรมแดน 🔥 สถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา เริ่มตึงเครียดขึ้นเรื่อย ๆ หลังจากประเทศไทย เริ่มปราบปราม "แก๊งคอลเซ็นเตอร์" อย่างจริงจัง ซึ่งส่งผลกระทบต่อขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติ ที่มีเครือข่ายอยู่ในกัมพูชา 🇰🇭 แม้ว่าทางการกัมพูชา จะออกมาสนับสนุนไทยอย่างเป็นทางการ แต่กลับมีเหตุการณ์ไม่สงบ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามแนวชายแดน โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดสุรินทร์ และอุบลราชธานี และล่าสุด... 💥 เมื่อวันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2568 กองกำลังติดอาวุธทหารกัมพูชา จำนวน 3 กองร้อย รวม 528 นาย ได้เคลื่อนกำลังเข้าใกล้ชายแดน ด้านอำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ อ้างว่า “พากำลังทหารมากราบไหว้ สักการะปราสาทตาเมือนธม” แต่กลับไม่มีการเตรียมดอกไม้ ธูปเทียน หรือสิ่งของบูชาใด ๆ 🔴 นี่คือการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ หรือเป็นมากกว่านั้น? 👤 พล.ต.เนี๊ยะ วงษ์ (Neak Vong) หรือผู้การเยี๊ยะ ผู้บังคับการกองพลน้อยทหารราบที่ 42 ของกัมพูชา เป็นตัวละครสำคัญในเหตุการณ์ครั้งนี้ 📌 ย้อนรอยเหตุการณ์ที่ทำให้ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาตึงเครียด 5 ตุลาคม 2567 ผู้การเนี๊ยะนำพระสงฆ์ และเด็กนักเรียนกัมพูชา เข้ามาในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม พร้อมร้องเพลงชาติกัมพูชา ต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผู้การเนี๊ยะนำคณะแม่บ้าน 25 คน มาร้องเพลงปลุกใจ ในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม สร้างความไม่พอใจให้กับฝ่ายไทย ทหารหน่วยเฉพาะกิจที่ 2 กรมทหารราบที่ 23 กองทัพภาคที่ 2 ที่ประจำการรักษาอธิปไตยไทยในบริเวณนั้น ต้องกล่าวแจ้งเตือนไม่ให้ผู้การเนี้ยะ ทำกิจกรรมในเชิงสัญลักษณ์ สร้างความไม่พอใจให้ผู้การเนี๊ยะเป็นอย่างมาก ถึงขั้นโกรธหัวฟัดหัวเหวี่ยง หลุดปากกล่าวท้าทายทหารไทย "ให้มายิงกัน!" บ่ายวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 15.00 น. นายเนียม จันญาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ได้นำคณะทหารกัมพูชา รวมถึงผู้การเนี๊ยะ เดินทางมาเจรจากับ พันโท จักรกฤษ ปิยะศุภฤกษ์ ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 4 กรมทหารราบที่ 23 (ผบ.ร.23 พัน.4) ที่ปราสาทตาเมือนธม เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ในกองทัพภูมิภาคที่ 4 กัมพูชา เพื่อรักษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาจจะด้วยความเต็มใจหรือไม่เต็มใจก็ตาม วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม 2568 กองกำลังติดอาวุธ ทหารกัมพูชา 3 กองร้อย 528 นาย เคลื่อนพลมาประชิดพรมแดน ด้านอำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ แล้วปลดอาวุธเดินข้ามพรมแดน อ้างว่ามากราบไหว้สักการะปราสาทตาเหมือนธม โดยที่ไม่มีการเตรียมธูปเทียนดอกไม้ หรือสิ่งของเซ่นไหว้มาด้วย จนคล้ายกับเป็นการยั่วยุเยาะเย้ยทหารไทย 🇹🇭 ฝ่ายไทยพยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง โดยการเจรจาผ่านทางการทูต แต่กัมพูชากลับใช้วิธี ปลุกกระแสรักชาติในประเทศตนเอง 🔴 แล้วอะไรคือเป้าหมายที่แท้จริงของ “ผู้การเนี้ยะ” และรัฐบาลกัมพูชา? 📍 ปราสาทตาเมือนธม จุดยุทธศาสตร์และประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ในเขต อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ 🏛️ เป็นหนึ่งในปราสาทสำคัญ ของกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วย 3 ปราสาทหลัก ได้แก่ 1️⃣ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทหลักและใหญ่ที่สุด 2️⃣ ปราสาทตาเมือนโต๊ด เชื่อว่าเคยเป็นโรงพยาบาลโบราณ 3️⃣ ปราสาทตาเมือน หรือบายกรีม เป็นธรรมศาลา หรือสถานที่พักของนักเดินทาง 🔎 ปราสาทแห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ เพราะเป็นจุดเชื่อมต่อเส้นทางโบราณ จากกัมพูชาสู่ภาคอีสานของไทย มีความสำคัญทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นพื้นที่พิพาททางพรมแดน ที่ยังไม่ได้ข้อยุติ 👉 นี่อาจเป็นเหตุผลที่กัมพูชา พยายามเข้ามาสร้างอิทธิพล ในพื้นที่ปราสาทตาเมือนธม 🎭 เบื้องหลังความขัดแย้ง การเมืองหรือศักดิ์ศรีชาติ? การเคลื่อนไหวของกัมพูชา ไม่ใช่แค่เรื่องประวัติศาสตร์หรือพรมแดน แต่นี่คือ "เกมการเมือง" 📌 เชื่อมโยงกับปัญหาการเมืองภายในของกัมพูชา ปัจจุบันรัฐบาล "ฮุน มาเนต" ลูกชายของฮุน เซน กำลังเผชิญแรงกดดันจากฝ่ายค้าน ที่ผ่านมา "ฮุน เซน" เคยใช้ประเด็นความขัดแย้งชายแดน ปลุกกระแสรักชาติ เพื่อรักษาอำนาจของตระกูลตนเอง การกระทำของผู้การเนี๊ยะ อาจเป็นแผนสร้างแรงสนับสนุนให้รัฐบาลกัมพูชา 📌 เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ไทย-กัมพูชา? ไทยและกัมพูชามีแผนขุดเจาะทรัพยากรน้ำมัน ในเขตทับซ้อนทางทะเล ข้อพิพาทชายแดน อาจถูกใช้เป็นเครื่องมือเจรจาต่อรอง ทางเศรษฐกิจและการเมือง 🇰🇭 หรือแท้จริงแล้ว นี่คือแผนของกัมพูชา ในการกดดันไทย? 🔴 กัมพูชากำลังเล่นเกมอะไร? การกระทำของผู้การเนี๊ยะ และทหารกัมพูชา อาจเป็นเพียงแค่ หมากตัวหนึ่งของรัฐบาลกัมพูชา 📌 วิเคราะห์แนวทางที่เป็นไปได้ของกัมพูชา - สร้างกระแสรักชาติเพื่อดึงความสนใจ จากปัญหาการเมืองภายใน - กดดันไทยในประเด็นพรมแดน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเจรจาทางเศรษฐกิจ - ทดสอบปฏิกิริยาของรัฐบาลไทย ก่อนเดินเกมต่อไป 🇹🇭 ทางออกของไทยควรเป็นอย่างไร? ✅ รักษาความสัมพันธ์ทางการทูต หลีกเลี่ยงการใช้กำลัง ✅ เฝ้าระวังการเคลื่อนไหวของทหารกัมพูชา อย่างใกล้ชิด ✅ ใช้การเจรจาในระดับสูง เพื่อป้องกันไม่ให้สถานการณ์ลุกลาม 🔥 นี่คือเกมการเมือง หรือสงครามชายแดนรอบใหม่? ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด! ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 090905 มี.ค. 2568 #เขมรไม่หยุด #ตาเมือนธม #ชายแดนไทยกัมพูชา #สงครามชายแดน #ผู้การเนี้ยะ #กัมพูชา #ข่าวด่วน #ความขัดแย้งชายแดน #ไทยกัมพูชา #ปราสาทตาเมือน
    0 Comments 0 Shares 785 Views 0 Reviews
  • Doug Ford นายกรัฐมนตรีประจำจังหวัดออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เพิ่งประกาศยกเลิกสัญญา มูลค่า 100 ล้านดอลลาร์ กับ Starlink ของ SpaceX การตัดสินใจครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากนโยบายของอดีตประธานาธิบดี Trump ที่เรียกเก็บภาษีสินค้าจากแคนาดาถึง 25% นอกจากนี้ Ford ยังตอบโต้ด้วยการเก็บภาษีไฟฟ้าที่ส่งออกไปยังรัฐนิวยอร์ก มิชิแกน และมินนิโซตาอีกด้วย

    แม้ว่าจะมีการขู่ยกเลิกในอดีต แต่ Ford ได้ตัดสินใจเดินหน้าสัญญาในครั้งแรกหลัง Trump ชะลอการเรียกเก็บภาษี อย่างไรก็ตาม ครั้งนี้ Ford ยืนยันชัดเจนว่าการยกเลิกเป็นการตัดสินใจถาวร ไม่ว่าภาษีจะถูกยกเลิกหรือไม่ก็ตาม

    นอกจากออนแทรีโอแล้ว อิตาลีเองก็มีแนวโน้มที่จะยกเลิกดีลกับ Starlink เช่นกัน อิตาลีเคยพิจารณาใช้เครือข่ายดาวเทียมของ Starlink มูลค่ากว่า 1.6 พันล้านดอลลาร์ เพื่อให้บริการด้านการสื่อสารทางทหารและสถานการณ์ฉุกเฉิน อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงในนโยบายของสหรัฐฯ เกี่ยวกับ NATO และความมั่นคงในยุโรป ทำให้อิตาลีพิจารณาเลือกทางเลือกอื่น เช่น Eutelsat จากฝรั่งเศส ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีเครือข่ายดาวเทียมเป็นอันดับสองรองจาก SpaceX

    นายกรัฐมนตรี Giorgia Meloni ของอิตาลีกล่าวว่า ความไม่แน่นอนจากนโยบายของทำเนียบขาวเกี่ยวกับการสนับสนุนยูเครนส่งผลให้รัฐบาลต้องการแผนสำรองที่มั่นคงกว่าเดิม

    แม้ว่า SpaceX อาจเสียรายได้จากอิตาลีและออนแทรีโอ แต่ Elon Musk ได้แสดงปฏิกิริยาอย่างไม่กังวล โดยโพสต์ข้อความว่า "Oh well" ลงใน X (แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียของเขาเอง) แสดงถึงความมั่นใจในสถานะทางการเงินของบริษัทที่มีดาวเทียมจำนวนมหาศาลที่ระดับวงโคจรต่ำกว่า 550 กิโลเมตร

    การยกเลิกดีลนี้สะท้อนถึงความซับซ้อนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการพึ่งพาเทคโนโลยีจากสหรัฐฯ การตัดสินใจของอิตาลีที่จะพิจารณา Eutelsat อาจทำให้ยุโรปเสริมความเป็นอิสระด้านเทคโนโลยีในอนาคต และลดการพึ่งพาบริษัทอเมริกันที่ไม่แน่นอนในด้านการสนับสนุน

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/ontario-cancels-starlink-deal-over-us-tariffs-italy-may-follow-due-to-us-pullback-from-europe
    Doug Ford นายกรัฐมนตรีประจำจังหวัดออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เพิ่งประกาศยกเลิกสัญญา มูลค่า 100 ล้านดอลลาร์ กับ Starlink ของ SpaceX การตัดสินใจครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากนโยบายของอดีตประธานาธิบดี Trump ที่เรียกเก็บภาษีสินค้าจากแคนาดาถึง 25% นอกจากนี้ Ford ยังตอบโต้ด้วยการเก็บภาษีไฟฟ้าที่ส่งออกไปยังรัฐนิวยอร์ก มิชิแกน และมินนิโซตาอีกด้วย แม้ว่าจะมีการขู่ยกเลิกในอดีต แต่ Ford ได้ตัดสินใจเดินหน้าสัญญาในครั้งแรกหลัง Trump ชะลอการเรียกเก็บภาษี อย่างไรก็ตาม ครั้งนี้ Ford ยืนยันชัดเจนว่าการยกเลิกเป็นการตัดสินใจถาวร ไม่ว่าภาษีจะถูกยกเลิกหรือไม่ก็ตาม นอกจากออนแทรีโอแล้ว อิตาลีเองก็มีแนวโน้มที่จะยกเลิกดีลกับ Starlink เช่นกัน อิตาลีเคยพิจารณาใช้เครือข่ายดาวเทียมของ Starlink มูลค่ากว่า 1.6 พันล้านดอลลาร์ เพื่อให้บริการด้านการสื่อสารทางทหารและสถานการณ์ฉุกเฉิน อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงในนโยบายของสหรัฐฯ เกี่ยวกับ NATO และความมั่นคงในยุโรป ทำให้อิตาลีพิจารณาเลือกทางเลือกอื่น เช่น Eutelsat จากฝรั่งเศส ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงและมีเครือข่ายดาวเทียมเป็นอันดับสองรองจาก SpaceX นายกรัฐมนตรี Giorgia Meloni ของอิตาลีกล่าวว่า ความไม่แน่นอนจากนโยบายของทำเนียบขาวเกี่ยวกับการสนับสนุนยูเครนส่งผลให้รัฐบาลต้องการแผนสำรองที่มั่นคงกว่าเดิม แม้ว่า SpaceX อาจเสียรายได้จากอิตาลีและออนแทรีโอ แต่ Elon Musk ได้แสดงปฏิกิริยาอย่างไม่กังวล โดยโพสต์ข้อความว่า "Oh well" ลงใน X (แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียของเขาเอง) แสดงถึงความมั่นใจในสถานะทางการเงินของบริษัทที่มีดาวเทียมจำนวนมหาศาลที่ระดับวงโคจรต่ำกว่า 550 กิโลเมตร การยกเลิกดีลนี้สะท้อนถึงความซับซ้อนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการพึ่งพาเทคโนโลยีจากสหรัฐฯ การตัดสินใจของอิตาลีที่จะพิจารณา Eutelsat อาจทำให้ยุโรปเสริมความเป็นอิสระด้านเทคโนโลยีในอนาคต และลดการพึ่งพาบริษัทอเมริกันที่ไม่แน่นอนในด้านการสนับสนุน https://www.tomshardware.com/tech-industry/ontario-cancels-starlink-deal-over-us-tariffs-italy-may-follow-due-to-us-pullback-from-europe
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Ontario cancels Starlink deal over US tariffs — Italy may follow due to US pullback from Europe
    Trump policies are causing some countries to second-guess their Starlink contracts.
    0 Comments 0 Shares 538 Views 0 Reviews
  • 'ไทยภักดี' ยื่นหนังสือจี้ ‘อันวาร์’ ทบทวนบทบาท ‘ที่ปรึกษาประธานอาเซียน’ หวั่นกระทบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    https://www.thai-tai.tv/news/17517/
    'ไทยภักดี' ยื่นหนังสือจี้ ‘อันวาร์’ ทบทวนบทบาท ‘ที่ปรึกษาประธานอาเซียน’ หวั่นกระทบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ https://www.thai-tai.tv/news/17517/
    0 Comments 0 Shares 109 Views 0 Reviews
  • ถ้าทรัมป์ทิ้งนาโต้ ยุโรปและนาโต้จะล่มสลาย : คนเคาะข่าว 04-03-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #ทรัมป์ทิ้งNATO #NATO #ยุโรปวิกฤต #คนเคาะข่าว #การเมืองโลก #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์การเมือง #ความมั่นคงระหว่างประเทศ #ยุโรปสั่นคลอน #สหรัฐอเมริกา #นาโต้ล่มสลาย #Geopolitics #ทนงขันทอง #ไทยTimes #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    ถ้าทรัมป์ทิ้งนาโต้ ยุโรปและนาโต้จะล่มสลาย : คนเคาะข่าว 04-03-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #ทรัมป์ทิ้งNATO #NATO #ยุโรปวิกฤต #คนเคาะข่าว #การเมืองโลก #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์การเมือง #ความมั่นคงระหว่างประเทศ #ยุโรปสั่นคลอน #สหรัฐอเมริกา #นาโต้ล่มสลาย #Geopolitics #ทนงขันทอง #ไทยTimes #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    Like
    Love
    4
    1 Comments 0 Shares 651 Views 12 1 Reviews
  • DeepSeek บริษัทปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่กำลังถูกพูดถึงทั่วโลกในขณะนี้ สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับวงการเทคโนโลยีด้วยโมเดล AI ที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถแข่งขันกับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำจากต่างประเทศได้อย่างน่าทึ่ง แต่ที่น่าสนใจคือ จุดเริ่มต้นของบริษัทนี้มาจากเมืองหางโจว (Hangzhou) และมหาวิทยาลัยเจ้อเจียง (Zhejiang University) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีมานี้
    .
    มหาวิทยาลัยเจ้อเจียง ตั้งอยู่ในเมืองหางโจว ห่างจากนครเซี่ยงไฮ้ราว 175 กิโลเมตร เป็นเมืองศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีและสตาร์ทอัพของจีน ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากซิลิคอนวัลเลย์ของสหรัฐฯ แม้แต่ แจ๊คหม่า (Jack Ma)ผู้ก่อตั้ง Alibaba ยักษ์ใหญ่อีคอมเมิร์ซ ก็เริ่มต้นธุรกิจจากเมืองนี้ ก่อนที่เขาจะหายตัวไปจากสื่อหลังจากวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลจีนในปี 2563 จนกระทั่งกลับมาปรากฏตัวอีกครั้งเมื่อเร็วๆ นี้ในการพบปะกับสี จิ้นผิง (Xi Jinping) ร่วมกับ เหลียง เหวินเฟิง (Liang Wenfeng) ผู้ก่อตั้ง DeepSeek และศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเจ้อเจียง
    .
    มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงถือเป็นหัวใจสำคัญของระบบนิเวศสตาร์ทอัพที่กำลังรุ่งเรืองของเมืองหางโจว และมีเป้าหมายที่จะก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลกภายในปี 2570 โดยมีต้นแบบที่ชัดเจนคือมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) แห่งสหรัฐฯ มากกว่าการเดินตามมหาวิทยาลัยดังในปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้
    .
    ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงมีนักศึกษาและอาจารย์รวมกันกว่า 70,000 คน กระจายอยู่ในวิทยาเขตทั้ง 7 แห่งของเมืองหางโจว และผลิตงานวิจัยออกมาเป็นจำนวนมาก โดยข้อมูลล่าสุดจาก Leiden Ranking ระบุว่า มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงมีจำนวนผลงานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์มากที่สุดในโลก และเป็นอันดับสองรองจากฮาร์วาร์ดในด้านจำนวนผลงานที่มีคุณภาพอยู่ใน 10% แรกของวงการวิชาการโลก
    .
    ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเจ้อเจียงหลายคนล้วนเป็นเศรษฐีแถวหน้าของจีน เช่น หวงเจิง (Colin Huang) ผู้ก่อตั้ง Pinduoduo และต้วน หย่งผิง (Duan Yongping) เจ้าพ่อธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
    .
    ปัจจุบันจีนกำลังจับตามองกลุ่มสตาร์ทอัพดาวรุ่งแห่งเมืองหางโจวที่เรียกกันว่า "มังกรน้อยทั้งหก" ซึ่ง DeepSeek ก็คือหนึ่งในนั้น เช่นเดียวกับ Manycore Tech สตาร์ทอัพด้านซอฟต์แวร์ 3D และ Deep Robotics สตาร์ทอัพที่เชี่ยวชาญด้านหุ่นยนต์สี่ขา (Quadruped Robot)
    .
    อย่างไรก็ตาม แม้จะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงยังมีความท้าทายอีกหลายประการ โดยเฉพาะในแง่ของการเงินที่ยังคงพึ่งพางบประมาณจากรัฐบาลเป็นหลัก และยังไม่มีเงินทุนกองทุนส่วนตัวที่มีขนาดใหญ่เทียบเท่ามหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก นอกจากนี้บุคลากรส่วนใหญ่ก็ยังเป็นชาวจีนแทบทั้งหมด โดยมีนักวิชาการต่างชาติที่เข้าร่วมไม่มากนัก เนื่องจากข้อจำกัดด้านสิทธิเสรีภาพและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    .
    กระนั้นก็ตาม วิลเลียม เคอร์บี้ (William Kirby) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านจีนจาก Harvard Business School ชี้ว่า "การเกิดขึ้นของมหาวิทยาลัยเช่นเจ้อเจียง แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในแวดวงการศึกษาระดับโลก" และถือเป็นก้าวสำคัญในการที่จีนจะก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจด้านการศึกษาที่มีอิทธิพลระดับโลกภายในปี 2578 ตามที่รัฐบาลจีนวางเป้าหมายเอาไว้
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000020876
    ..............
    Sondhi X
    DeepSeek บริษัทปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่กำลังถูกพูดถึงทั่วโลกในขณะนี้ สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับวงการเทคโนโลยีด้วยโมเดล AI ที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถแข่งขันกับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำจากต่างประเทศได้อย่างน่าทึ่ง แต่ที่น่าสนใจคือ จุดเริ่มต้นของบริษัทนี้มาจากเมืองหางโจว (Hangzhou) และมหาวิทยาลัยเจ้อเจียง (Zhejiang University) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีมานี้ . มหาวิทยาลัยเจ้อเจียง ตั้งอยู่ในเมืองหางโจว ห่างจากนครเซี่ยงไฮ้ราว 175 กิโลเมตร เป็นเมืองศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีและสตาร์ทอัพของจีน ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากซิลิคอนวัลเลย์ของสหรัฐฯ แม้แต่ แจ๊คหม่า (Jack Ma)ผู้ก่อตั้ง Alibaba ยักษ์ใหญ่อีคอมเมิร์ซ ก็เริ่มต้นธุรกิจจากเมืองนี้ ก่อนที่เขาจะหายตัวไปจากสื่อหลังจากวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลจีนในปี 2563 จนกระทั่งกลับมาปรากฏตัวอีกครั้งเมื่อเร็วๆ นี้ในการพบปะกับสี จิ้นผิง (Xi Jinping) ร่วมกับ เหลียง เหวินเฟิง (Liang Wenfeng) ผู้ก่อตั้ง DeepSeek และศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเจ้อเจียง . มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงถือเป็นหัวใจสำคัญของระบบนิเวศสตาร์ทอัพที่กำลังรุ่งเรืองของเมืองหางโจว และมีเป้าหมายที่จะก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลกภายในปี 2570 โดยมีต้นแบบที่ชัดเจนคือมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) แห่งสหรัฐฯ มากกว่าการเดินตามมหาวิทยาลัยดังในปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้ . ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงมีนักศึกษาและอาจารย์รวมกันกว่า 70,000 คน กระจายอยู่ในวิทยาเขตทั้ง 7 แห่งของเมืองหางโจว และผลิตงานวิจัยออกมาเป็นจำนวนมาก โดยข้อมูลล่าสุดจาก Leiden Ranking ระบุว่า มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงมีจำนวนผลงานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์มากที่สุดในโลก และเป็นอันดับสองรองจากฮาร์วาร์ดในด้านจำนวนผลงานที่มีคุณภาพอยู่ใน 10% แรกของวงการวิชาการโลก . ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเจ้อเจียงหลายคนล้วนเป็นเศรษฐีแถวหน้าของจีน เช่น หวงเจิง (Colin Huang) ผู้ก่อตั้ง Pinduoduo และต้วน หย่งผิง (Duan Yongping) เจ้าพ่อธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น . ปัจจุบันจีนกำลังจับตามองกลุ่มสตาร์ทอัพดาวรุ่งแห่งเมืองหางโจวที่เรียกกันว่า "มังกรน้อยทั้งหก" ซึ่ง DeepSeek ก็คือหนึ่งในนั้น เช่นเดียวกับ Manycore Tech สตาร์ทอัพด้านซอฟต์แวร์ 3D และ Deep Robotics สตาร์ทอัพที่เชี่ยวชาญด้านหุ่นยนต์สี่ขา (Quadruped Robot) . อย่างไรก็ตาม แม้จะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่มหาวิทยาลัยเจ้อเจียงยังมีความท้าทายอีกหลายประการ โดยเฉพาะในแง่ของการเงินที่ยังคงพึ่งพางบประมาณจากรัฐบาลเป็นหลัก และยังไม่มีเงินทุนกองทุนส่วนตัวที่มีขนาดใหญ่เทียบเท่ามหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก นอกจากนี้บุคลากรส่วนใหญ่ก็ยังเป็นชาวจีนแทบทั้งหมด โดยมีนักวิชาการต่างชาติที่เข้าร่วมไม่มากนัก เนื่องจากข้อจำกัดด้านสิทธิเสรีภาพและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ . กระนั้นก็ตาม วิลเลียม เคอร์บี้ (William Kirby) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านจีนจาก Harvard Business School ชี้ว่า "การเกิดขึ้นของมหาวิทยาลัยเช่นเจ้อเจียง แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในแวดวงการศึกษาระดับโลก" และถือเป็นก้าวสำคัญในการที่จีนจะก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจด้านการศึกษาที่มีอิทธิพลระดับโลกภายในปี 2578 ตามที่รัฐบาลจีนวางเป้าหมายเอาไว้ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000020876 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    6
    0 Comments 1 Shares 1823 Views 0 Reviews
  • รายงานจาก Bloomberg เปิดเผยว่า มีการตั้งข้อสงสัยว่าบริษัท DeepSeek ได้ใช้ GPU ที่ถูกห้ามจำหน่ายของ Nvidia ซึ่งลักลอบส่งออกจากสิงคโปร์ไปยังประเทศจีน Tan See Land รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมสิงคโปร์ กล่าวว่ายอดขายของ Nvidia ในสิงคโปร์มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ถูกส่งมอบให้กับประเทศจริงๆ ในขณะที่รายงานยอดขายจาก Nvidia ระบุว่าสิงคโปร์คิดเป็น 28% ของรายได้ทั้งหมดของบริษัทในปี 2024

    Tan ยังกล่าวอีกว่า เป็นเรื่องปกติที่บริษัทระดับโลกจะใช้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการคิดค่าบริการและการจัดหาสินค้า แม้ว่าสินค้าจริงจะถูกส่งไปยังประเทศอื่นๆ อย่างไรก็ตาม สิงคโปร์มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับจีน โดยเฉพาะในด้านธุรกิจ แต่ก็ถือว่าสหรัฐฯ เป็นพันธมิตรสำคัญเชิงกลยุทธ์ในด้านการค้าและการเมือง โดยมีข้อตกลงร่วมกันในการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกทางทหารในสิงคโปร์และกวม

    รัฐบาลสิงคโปร์ได้ร่วมมือกับหน่วยงานของสหรัฐฯ เพื่อสืบสวนเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด และยืนยันว่าจะไม่สนับสนุนการใช้ที่อยู่ในสิงคโปร์เพื่อเลี่ยงข้อบังคับการส่งออกของประเทศอื่น

    ในข่าวนี้เราจะเห็นถึงความซับซ้อนของการทำธุรกิจในระดับโลก และการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ต้องมีการปรับตัวและรักษาสมดุลอย่างรอบคอบ ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจและการค้าให้เป็นไปอย่างราบรื่นที่สุด

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/deepseek-gpu-smuggling-probe-shows-nvidias-singapore-gpu-sales-are-28-percent-of-its-revenue-but-only-1-percent-are-delivered-to-the-country-report
    รายงานจาก Bloomberg เปิดเผยว่า มีการตั้งข้อสงสัยว่าบริษัท DeepSeek ได้ใช้ GPU ที่ถูกห้ามจำหน่ายของ Nvidia ซึ่งลักลอบส่งออกจากสิงคโปร์ไปยังประเทศจีน Tan See Land รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมสิงคโปร์ กล่าวว่ายอดขายของ Nvidia ในสิงคโปร์มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ถูกส่งมอบให้กับประเทศจริงๆ ในขณะที่รายงานยอดขายจาก Nvidia ระบุว่าสิงคโปร์คิดเป็น 28% ของรายได้ทั้งหมดของบริษัทในปี 2024 Tan ยังกล่าวอีกว่า เป็นเรื่องปกติที่บริษัทระดับโลกจะใช้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการคิดค่าบริการและการจัดหาสินค้า แม้ว่าสินค้าจริงจะถูกส่งไปยังประเทศอื่นๆ อย่างไรก็ตาม สิงคโปร์มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับจีน โดยเฉพาะในด้านธุรกิจ แต่ก็ถือว่าสหรัฐฯ เป็นพันธมิตรสำคัญเชิงกลยุทธ์ในด้านการค้าและการเมือง โดยมีข้อตกลงร่วมกันในการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกทางทหารในสิงคโปร์และกวม รัฐบาลสิงคโปร์ได้ร่วมมือกับหน่วยงานของสหรัฐฯ เพื่อสืบสวนเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด และยืนยันว่าจะไม่สนับสนุนการใช้ที่อยู่ในสิงคโปร์เพื่อเลี่ยงข้อบังคับการส่งออกของประเทศอื่น ในข่าวนี้เราจะเห็นถึงความซับซ้อนของการทำธุรกิจในระดับโลก และการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ต้องมีการปรับตัวและรักษาสมดุลอย่างรอบคอบ ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางธุรกิจและการค้าให้เป็นไปอย่างราบรื่นที่สุด https://www.tomshardware.com/tech-industry/deepseek-gpu-smuggling-probe-shows-nvidias-singapore-gpu-sales-are-28-percent-of-its-revenue-but-only-1-percent-are-delivered-to-the-country-report
    0 Comments 0 Shares 365 Views 0 Reviews
  • เหตุการณ์ สส.หื่น ทำงามไส้ ข่มขืนนักท่องเที่ยวสาวชาวไต้หวันนอกจากจะเป็นข่าวฉาวโด่งดังในประเทศไทยแล้ว ยังปรากฏเป็นข่าวดังในประเทศจีนและไต้หวันอีกด้วย ทำให้หลายคนหวั่นส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและทำการท่องเที่ยวไทยสะเทือนอีกครั้ง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000012868

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    เหตุการณ์ สส.หื่น ทำงามไส้ ข่มขืนนักท่องเที่ยวสาวชาวไต้หวันนอกจากจะเป็นข่าวฉาวโด่งดังในประเทศไทยแล้ว ยังปรากฏเป็นข่าวดังในประเทศจีนและไต้หวันอีกด้วย ทำให้หลายคนหวั่นส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและทำการท่องเที่ยวไทยสะเทือนอีกครั้ง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000012868 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Haha
    Sad
    12
    2 Comments 0 Shares 1096 Views 0 Reviews
  • เหตุการณ์ สส.หื่น ทำงามไส้ ข่มขืนนักท่องเที่ยวสาวชาวไต้หวันนอกจากจะเป็นข่าวฉาวโด่งดังในประเทศไทยแล้ว ยังปรากฏเป็นข่าวดังในประเทศจีนและไต้หวันอีกด้วย ทำให้หลายคนหวั่นส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและทำการท่องเที่ยวไทยสะเทือนอีกครั้ง

    จากกรณีศาลจังหวัดเชียงใหม่ได้ออกหมายจับที่ จ.262/2568 ตามคำร้องขอของพนักงานสอบสวนในคดีอาญาที่ 95/2568 ซึ่งมีการร้องทุกข์จากกรณีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2568 ที่ผ่านมา โดยมีการกล่าวหาว่านายไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ หรือที่รู้จักในชื่อ “สส.ปูอัด” จากพรรคไทยก้าวหน้า ซึ่งดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) ได้กระทำความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรานักท่องเที่ยวชาวไต้หวัน โดยเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นที่โรงแรมแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/travel/detail/9680000012868

    #MGROnline #ไต้หวัน
    เหตุการณ์ สส.หื่น ทำงามไส้ ข่มขืนนักท่องเที่ยวสาวชาวไต้หวันนอกจากจะเป็นข่าวฉาวโด่งดังในประเทศไทยแล้ว ยังปรากฏเป็นข่าวดังในประเทศจีนและไต้หวันอีกด้วย ทำให้หลายคนหวั่นส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและทำการท่องเที่ยวไทยสะเทือนอีกครั้ง • จากกรณีศาลจังหวัดเชียงใหม่ได้ออกหมายจับที่ จ.262/2568 ตามคำร้องขอของพนักงานสอบสวนในคดีอาญาที่ 95/2568 ซึ่งมีการร้องทุกข์จากกรณีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2568 ที่ผ่านมา โดยมีการกล่าวหาว่านายไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ หรือที่รู้จักในชื่อ “สส.ปูอัด” จากพรรคไทยก้าวหน้า ซึ่งดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) ได้กระทำความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรานักท่องเที่ยวชาวไต้หวัน โดยเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นที่โรงแรมแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/travel/detail/9680000012868 • #MGROnline #ไต้หวัน
    0 Comments 0 Shares 474 Views 0 Reviews
  • ”ปู“เน่าตัวเดียว เหม็นทั้งประเทศ

    จีน-ไต้หวันประโคมข่าวใหญ่ ’สส.ฝ่ายค้านไทย‘ ข่มขืนนักท่องเที่ยวไต้หวัน ..เรื่องชั่วส่วนตัว กำลังกระทบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กระทบการท่องเที่ยวที่ช่วยกันฟื้นฟู
    .
    พรรคไหนถือหางได้ถือไป แต่ไม่ใช่กับพรรครทสช. เราไม่ทน.. ขอให้ปูอัดออกไป ลาออกจากเอกสิทธิ์ สส.ไปพิสูจน์ในกระบวนการยุติธรรม ก่อนประเทศเสียหายกว่านี้
    .
    ผมเสนอให้สภามีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อความโปร่งใส ไม่ให้มีการใช้อิทธิพลพรรคใหญ่เข้าแทรกแซง ..พร้อมทั้งเยียวยาเหยื่อ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ

    https://www.facebook.com/share/p/12C1wpCkBZw/
    ”ปู“เน่าตัวเดียว เหม็นทั้งประเทศ จีน-ไต้หวันประโคมข่าวใหญ่ ’สส.ฝ่ายค้านไทย‘ ข่มขืนนักท่องเที่ยวไต้หวัน ..เรื่องชั่วส่วนตัว กำลังกระทบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กระทบการท่องเที่ยวที่ช่วยกันฟื้นฟู . พรรคไหนถือหางได้ถือไป แต่ไม่ใช่กับพรรครทสช. เราไม่ทน.. ขอให้ปูอัดออกไป ลาออกจากเอกสิทธิ์ สส.ไปพิสูจน์ในกระบวนการยุติธรรม ก่อนประเทศเสียหายกว่านี้ . ผมเสนอให้สภามีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อความโปร่งใส ไม่ให้มีการใช้อิทธิพลพรรคใหญ่เข้าแทรกแซง ..พร้อมทั้งเยียวยาเหยื่อ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ https://www.facebook.com/share/p/12C1wpCkBZw/
    Like
    Sad
    2
    0 Comments 0 Shares 467 Views 0 Reviews
  • จาเร็ด​ คุชเนอร์ (Jared Kushner) สามีของอิวังก้า ทรัมป์ ลูกสาวคนโตของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ถูกสื่อมวลชนเปิดโปงว่าคือผู้อยู่เบื้องหลังแนวคิดให้สหรัฐเข้ายึดครองกาซา และขับไล่ชาวปาเลสไตน์เกือบสองล้านคนออกไปจากถิ่นกำเนิดพวกเขา เพื่อสร้างกาซาขึ้นใหม่

    เนื่องจากแผนการของทรัมป์ คือสิ่งที่ จาเร็ด คุชเนอร์ ลูกเขยของเขา เคยกล่าวไว้เมื่อเดือนมีนาคม 2024 ว่าอิสราเอลควรขับไล่ชาวปาเลสไตน์ออกจากฉนวนกาซาและพัฒนาพื้นที่ริมทะเลแห่งนี้ขึ้นใหม่ โดยเรียกพื้นที่ตรงนั้นว่า “มีค่ามหาศาล” (very valuable)

    นายจาเร็ด คุชเนอร์ ชาวยิวที่มีบรรพบุรุษมาจากเบลารุส ปู่และย่าของเขารอดชีวิตจากค่ายกักกันที่นาซีเยอรมนีดำเนินการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ระหว่างยึดครองเบลารุสอยู่ และอพยพมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2492 ต่อมา "ชาร์ล คุชเนอร์" พ่อของจาเร็ดก่อตั้งบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ จนประสบความสำเร็จมั่งคั่งร่ำรวยอย่างมาก

    ทรัมป์สมัยแรก แต่งตั้งให้ จาเร็ด คุชเนอร์ ลูกเขยคนโปรดเข้ารับตำแหน่งที่ปรึกษาระดับอาวุโสในทำเนียบขาว โดยให้คำปรึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อทรัมป์โดยตรง โดยเฉพาะปัญหาเรื่องตะวันออกกลาง ซึ่งถือเป็น "มือขวา" ของทรัมป์ในสมัยนั้น

    เขาเป็นทั้งเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุน และเจ้าของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ New York Observer

    ต่อมาในทรัมป์สมัยที่สอง ได้สร้างความฮือฮาด้วยการแต่งตั้ง ชาร์ลส์ คุชเนอร์ วัย 70 ปี พ่อของจาเร็ด เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำฝรั่งเศส ทั้งที่เคยถูกศาลตัดสินลงโทษจำคุก 2 ปีเมื่อปี 2548 หลังจากรับสารภาพในความผิด 18 กระทงในคดีบริจาคเงินหาเสียงอย่างผิดกฎหมาย เลี่ยงภาษี และยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน จึงถูกเพิกถอนใบอนุญาตการเป็นทนายความในรัฐนิวเจอร์ซีย์ นิวยอร์ก และเพนซิลเวเนีย แต่ได้รับการอภัยโทษทั้งหมดจากทรัมป์ในปี 2563 เมื่อครั้งที่ทรัมป์เป็นประธานาธิบดีสมัยแรก





    จาเร็ด​ คุชเนอร์ (Jared Kushner) สามีของอิวังก้า ทรัมป์ ลูกสาวคนโตของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ถูกสื่อมวลชนเปิดโปงว่าคือผู้อยู่เบื้องหลังแนวคิดให้สหรัฐเข้ายึดครองกาซา และขับไล่ชาวปาเลสไตน์เกือบสองล้านคนออกไปจากถิ่นกำเนิดพวกเขา เพื่อสร้างกาซาขึ้นใหม่ เนื่องจากแผนการของทรัมป์ คือสิ่งที่ จาเร็ด คุชเนอร์ ลูกเขยของเขา เคยกล่าวไว้เมื่อเดือนมีนาคม 2024 ว่าอิสราเอลควรขับไล่ชาวปาเลสไตน์ออกจากฉนวนกาซาและพัฒนาพื้นที่ริมทะเลแห่งนี้ขึ้นใหม่ โดยเรียกพื้นที่ตรงนั้นว่า “มีค่ามหาศาล” (very valuable) นายจาเร็ด คุชเนอร์ ชาวยิวที่มีบรรพบุรุษมาจากเบลารุส ปู่และย่าของเขารอดชีวิตจากค่ายกักกันที่นาซีเยอรมนีดำเนินการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ระหว่างยึดครองเบลารุสอยู่ และอพยพมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2492 ต่อมา "ชาร์ล คุชเนอร์" พ่อของจาเร็ดก่อตั้งบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ จนประสบความสำเร็จมั่งคั่งร่ำรวยอย่างมาก ทรัมป์สมัยแรก แต่งตั้งให้ จาเร็ด คุชเนอร์ ลูกเขยคนโปรดเข้ารับตำแหน่งที่ปรึกษาระดับอาวุโสในทำเนียบขาว โดยให้คำปรึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อทรัมป์โดยตรง โดยเฉพาะปัญหาเรื่องตะวันออกกลาง ซึ่งถือเป็น "มือขวา" ของทรัมป์ในสมัยนั้น เขาเป็นทั้งเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุน และเจ้าของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ New York Observer ต่อมาในทรัมป์สมัยที่สอง ได้สร้างความฮือฮาด้วยการแต่งตั้ง ชาร์ลส์ คุชเนอร์ วัย 70 ปี พ่อของจาเร็ด เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำฝรั่งเศส ทั้งที่เคยถูกศาลตัดสินลงโทษจำคุก 2 ปีเมื่อปี 2548 หลังจากรับสารภาพในความผิด 18 กระทงในคดีบริจาคเงินหาเสียงอย่างผิดกฎหมาย เลี่ยงภาษี และยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน จึงถูกเพิกถอนใบอนุญาตการเป็นทนายความในรัฐนิวเจอร์ซีย์ นิวยอร์ก และเพนซิลเวเนีย แต่ได้รับการอภัยโทษทั้งหมดจากทรัมป์ในปี 2563 เมื่อครั้งที่ทรัมป์เป็นประธานาธิบดีสมัยแรก
    Sad
    1
    0 Comments 0 Shares 639 Views 0 Reviews
  • มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในวันอาทิตย์ (2 ก.พ.) ขู่ดำเนินการกับปานามา หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพื่อลดอิทธิพลของจีนเหนือคลองปานามา อย่างไรก็ตาม ผู้นำของประเทศแห่งนี้ยืนกรานว่าเขาไม่กลัวอเมริกาจะใช้กำลังเข้ายึด และเสนอให้ทั้ง 2 ฝ่ายหันหน้าพูดคุยเจรจากัน
    .
    รูบิโอ ซึ่งเดินทางเยือนต่างแดนเป็นครั้งแรกในฐานะรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ บอกกับปานามา ว่าประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ สรุปแล้วว่าประเทศแห่งนี้ละเมิดเงื่อนไขในสนธิสัญญา เกี่ยวกับการส่งมอบน่านน้ำสำคัญนี้คืนแก่ปานามาในปี 1999
    .
    เขาชี้ถึงกรณีที่จีนมีอิทธิพลและควบคุมคลองปานามา ทางน้ำสำคัญที่เชื่อมระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นเส้นทางการสัญจรผ่านของตู้สินค้าสหรัฐฯ ราว 40%
    .
    แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุว่าระหว่างพบปะกับประธานาธิบดีโฮเซ ราอูล มาลิโน ทางรูบิโอ "พูดอย่างชัดเจนว่าสถานภาพปัจจุบันเป็นสิ่งที่ไม่อาจยอมรับได้และถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทันทีทันใด มันจะจำเป็นที่สหรัฐฯ ต้องใช้มาตรการต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อปกป้องสิทธิของตนเองภายใต้สนธิสัญญา"
    .
    อย่างไรก็ตาม รูบิโอ ให้ภาพการประชุมเลวร้ายน้อยกว่าทางสหรัฐฯ หลังจากก่อนหน้านี้เขาให้การตอบรับ รูบิโอ เขาสู่ทำเนียบประธานาธิบดี ด้วยทหารกองเกียรติยศ
    .
    "ณ เวลานี้ ผมไม่รู้ถึงภัยคุกคามที่เป็นจริงเป็นจังใดๆ ที่มีต่อสนธิสัญญา มันยังอยู่ดี และรู้สึกกังวลน้อยกว่ามากเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารเข้ายึดคลอง" มูลิโน บอกกับผู้สื่อข่าวหลังการพบปะหารือ อ้างถึงสนธิสัญญาส่งมอบคลองในช่วงปลายปี 1999 "อธิปไตยเหนือคลองแห่งนี้ ไม่อยู่ในข้อสงสัยใดๆ" เขากล่าว พร้อมเสนอเจรจาระดับเทคนิคกับสหรัฐฯ เพื่อปัดเป่าความกังวล
    .
    รูบิโอ ไม่ได้บอกว่าสหรัฐฯ จะใช้มาตรการใด แต่เมื่อเร็วๆ นี้ ทรัมป์ เพิ่งกำหนดมาตรการรีดภาษีสูงลิ่วเล่นงาน 3 คู่ค้ารายใหญ่ที่สุดของอเมริกา ได้แก่ แคนาดา จีน และเม็กซิโก
    .
    ทั้ง รูบิโอ และ ทรัมป์ ต่างกล่าวหา จีน มีอิทธิพลอย่างมากเหนือโครงสร้างพื้นฐานโดยรอบคลอง ที่อาจดำเนินการปิดมันในกรณีที่เกิดความขัดแย้งใดๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบหายนะสำหรับสหรัฐฯ
    .
    มีการประท้วงกลุ่มเล็กๆ แต่เป็นไปอย่างดุเดือดในปานามา ก่อนหน้าการเดินทางเยือนของรูบิโอ กระตุ้นให้ตำรวจต้องใช้แก๊สน้ำตา
    .
    พวกผู้ประท้วงเผาหุ่นรูบิโอที่สวมสูทสีแดงขาวน้ำเงิน และชูภาพเขากับทรัมป์ต่อหน้าธงนาซี "รูบิโอ ออกไปจากปานามา" เหล่าผู้ชุมนุมต่างร้องตะโกนตอนที่รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ พบปะกับมูลิโน "นี่คือการส่งสารถึงพวกจักรวรรดินิยม" ซาอูล เมนเดซ ผู้นำสหภาพแรงงานกล่าวถึงรูบิโอ "เราเน้นย้ำว่า ที่นี่ไม่มีอะไรให้ทรัมป์ ปานามาเป็นประเทศเสรีและมีอำนาจอธิปไตย"
    .
    ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันศุกร์ (31 ม.ค.) ทรัมป์ ระบุว่าการอ้อนข้อเกี่ยวกับคลองยังไม่เพียงพอ และ "มันเป็นเรื่องเหมาะสมที่เราจะเอาคลองคืนมา"
    .
    คลองปานามาถูกสร้างขึ้นโดยสหรัฐฯ ที่ต้องแลกมาด้วยชีวิตของแรงงานหลายพันคน ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายแอฟริกา ที่มาจากบาร์บาดอส จาไมกา และที่อื่นๆ ในแถบแคริบเบียน
    .
    สหรัฐฯ คงไว้ซึ่งการควบคุมคลองปานามา ครั้งที่เปิดทำการในปี 1914 แต่เริ่มเจรจาต่อรอง ตามหลังเหตุจลาจลนองเลือดในปี 1964 โดยผู้ประท้วงชาวปานามา ที่โกรธเคืองกรณีที่ปล่อยให้ต่างชาติควบคุมคลองแห่งนี้
    .
    จิมมี คาร์เตอร์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ณ ขณะนั้น ตกลงมอบคลองแห่งนี้แก่ปานามาในช่วงปลายปี 1999 โดยอดีตประธานาธิบดีผู้ล่วงลับรายนี้มองว่าเป็นสิ่งจำเป็นทางศีลธรรมที่อเมริกาต้องเคารพต่อประเทศที่เล็กกว่าแต่มีอธิปไตยแห่งนี้
    .
    แต่สำหรับ ทรัมป์ เขามีมุมมองที่ต่างออกไป และหันมาใช้แนวทาง "Big Stick" (การใช้ความเข้มแข็งหรือการข่มขู่ในการจัดการกับสถานการณ์ทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) แบบเดียวกับในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งสหรัฐฯ มักขู่ใช้กำลังในการเปิดทางดำเนินการต่างๆ โดยเฉพาะในละตินอเมริกา
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000010779
    ..................
    Sondhi X
    มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในวันอาทิตย์ (2 ก.พ.) ขู่ดำเนินการกับปานามา หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพื่อลดอิทธิพลของจีนเหนือคลองปานามา อย่างไรก็ตาม ผู้นำของประเทศแห่งนี้ยืนกรานว่าเขาไม่กลัวอเมริกาจะใช้กำลังเข้ายึด และเสนอให้ทั้ง 2 ฝ่ายหันหน้าพูดคุยเจรจากัน . รูบิโอ ซึ่งเดินทางเยือนต่างแดนเป็นครั้งแรกในฐานะรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ บอกกับปานามา ว่าประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ สรุปแล้วว่าประเทศแห่งนี้ละเมิดเงื่อนไขในสนธิสัญญา เกี่ยวกับการส่งมอบน่านน้ำสำคัญนี้คืนแก่ปานามาในปี 1999 . เขาชี้ถึงกรณีที่จีนมีอิทธิพลและควบคุมคลองปานามา ทางน้ำสำคัญที่เชื่อมระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นเส้นทางการสัญจรผ่านของตู้สินค้าสหรัฐฯ ราว 40% . แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุว่าระหว่างพบปะกับประธานาธิบดีโฮเซ ราอูล มาลิโน ทางรูบิโอ "พูดอย่างชัดเจนว่าสถานภาพปัจจุบันเป็นสิ่งที่ไม่อาจยอมรับได้และถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทันทีทันใด มันจะจำเป็นที่สหรัฐฯ ต้องใช้มาตรการต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อปกป้องสิทธิของตนเองภายใต้สนธิสัญญา" . อย่างไรก็ตาม รูบิโอ ให้ภาพการประชุมเลวร้ายน้อยกว่าทางสหรัฐฯ หลังจากก่อนหน้านี้เขาให้การตอบรับ รูบิโอ เขาสู่ทำเนียบประธานาธิบดี ด้วยทหารกองเกียรติยศ . "ณ เวลานี้ ผมไม่รู้ถึงภัยคุกคามที่เป็นจริงเป็นจังใดๆ ที่มีต่อสนธิสัญญา มันยังอยู่ดี และรู้สึกกังวลน้อยกว่ามากเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารเข้ายึดคลอง" มูลิโน บอกกับผู้สื่อข่าวหลังการพบปะหารือ อ้างถึงสนธิสัญญาส่งมอบคลองในช่วงปลายปี 1999 "อธิปไตยเหนือคลองแห่งนี้ ไม่อยู่ในข้อสงสัยใดๆ" เขากล่าว พร้อมเสนอเจรจาระดับเทคนิคกับสหรัฐฯ เพื่อปัดเป่าความกังวล . รูบิโอ ไม่ได้บอกว่าสหรัฐฯ จะใช้มาตรการใด แต่เมื่อเร็วๆ นี้ ทรัมป์ เพิ่งกำหนดมาตรการรีดภาษีสูงลิ่วเล่นงาน 3 คู่ค้ารายใหญ่ที่สุดของอเมริกา ได้แก่ แคนาดา จีน และเม็กซิโก . ทั้ง รูบิโอ และ ทรัมป์ ต่างกล่าวหา จีน มีอิทธิพลอย่างมากเหนือโครงสร้างพื้นฐานโดยรอบคลอง ที่อาจดำเนินการปิดมันในกรณีที่เกิดความขัดแย้งใดๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบหายนะสำหรับสหรัฐฯ . มีการประท้วงกลุ่มเล็กๆ แต่เป็นไปอย่างดุเดือดในปานามา ก่อนหน้าการเดินทางเยือนของรูบิโอ กระตุ้นให้ตำรวจต้องใช้แก๊สน้ำตา . พวกผู้ประท้วงเผาหุ่นรูบิโอที่สวมสูทสีแดงขาวน้ำเงิน และชูภาพเขากับทรัมป์ต่อหน้าธงนาซี "รูบิโอ ออกไปจากปานามา" เหล่าผู้ชุมนุมต่างร้องตะโกนตอนที่รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ พบปะกับมูลิโน "นี่คือการส่งสารถึงพวกจักรวรรดินิยม" ซาอูล เมนเดซ ผู้นำสหภาพแรงงานกล่าวถึงรูบิโอ "เราเน้นย้ำว่า ที่นี่ไม่มีอะไรให้ทรัมป์ ปานามาเป็นประเทศเสรีและมีอำนาจอธิปไตย" . ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันศุกร์ (31 ม.ค.) ทรัมป์ ระบุว่าการอ้อนข้อเกี่ยวกับคลองยังไม่เพียงพอ และ "มันเป็นเรื่องเหมาะสมที่เราจะเอาคลองคืนมา" . คลองปานามาถูกสร้างขึ้นโดยสหรัฐฯ ที่ต้องแลกมาด้วยชีวิตของแรงงานหลายพันคน ส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายแอฟริกา ที่มาจากบาร์บาดอส จาไมกา และที่อื่นๆ ในแถบแคริบเบียน . สหรัฐฯ คงไว้ซึ่งการควบคุมคลองปานามา ครั้งที่เปิดทำการในปี 1914 แต่เริ่มเจรจาต่อรอง ตามหลังเหตุจลาจลนองเลือดในปี 1964 โดยผู้ประท้วงชาวปานามา ที่โกรธเคืองกรณีที่ปล่อยให้ต่างชาติควบคุมคลองแห่งนี้ . จิมมี คาร์เตอร์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ณ ขณะนั้น ตกลงมอบคลองแห่งนี้แก่ปานามาในช่วงปลายปี 1999 โดยอดีตประธานาธิบดีผู้ล่วงลับรายนี้มองว่าเป็นสิ่งจำเป็นทางศีลธรรมที่อเมริกาต้องเคารพต่อประเทศที่เล็กกว่าแต่มีอธิปไตยแห่งนี้ . แต่สำหรับ ทรัมป์ เขามีมุมมองที่ต่างออกไป และหันมาใช้แนวทาง "Big Stick" (การใช้ความเข้มแข็งหรือการข่มขู่ในการจัดการกับสถานการณ์ทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) แบบเดียวกับในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งสหรัฐฯ มักขู่ใช้กำลังในการเปิดทางดำเนินการต่างๆ โดยเฉพาะในละตินอเมริกา . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000010779 .................. Sondhi X
    Like
    Haha
    9
    0 Comments 0 Shares 1446 Views 0 Reviews
  • แผนที่คาดการณ์ความขัดแย้ง จัดทำโดยศูนย์ปฏิบัติการป้องกันของสภาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหรัฐฯ ซึ่งจัดทำขึ้นสำหรับปี 2025 โดยอิงจากการสำรวจผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกันประมาณ 680 คน
    แผนที่คาดการณ์ความขัดแย้ง จัดทำโดยศูนย์ปฏิบัติการป้องกันของสภาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหรัฐฯ ซึ่งจัดทำขึ้นสำหรับปี 2025 โดยอิงจากการสำรวจผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกันประมาณ 680 คน
    0 Comments 0 Shares 125 Views 0 Reviews
  • 22 ปี จากจลาจลกัมพูชา สู่ปฏิบัติการโปเชนตง เบื้องหลังความขัดแย้ง ปฏิบัติการที่โลกต้องจดจำ

    ย้อนกลับไปเมื่อ 22 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2546 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงพนมเปญ
    ประเทศกัมพูชา ไม่เพียงแต่สร้างความสูญเสีย ทางกายภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ในความสัมพันธ์ ระหว่างไทยและกัมพูชา เหตุจลาจลครั้งนี้ มีจุดเริ่มต้นจากบทความ ในหนังสือพิมพ์กัมพูชา"รัศมี อังกอร์" ที่พาดพิงถึงนักแสดงหญิงชาวไทย "กบ-สุวนันท์ คงยิ่ง" ว่าได้กล่าวหากัมพูชาเรื่องนครวัด จนนำไปสู่ความโกรธแค้น และความรุนแรง ที่ลุกลามไปถึงการเผาสถานทูตไทย ในกรุงพนมเปญ

    จากบทความหนังสือพิมพ์ สู่ความโกลาหล
    ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2546 หนังสือพิมพ์ "รัศมี อังกอร์" ของกัมพูชา ได้ตีพิทพ์เผยแพร่บทความ ที่กล่าวอ้างว่า นักแสดงหญิงชาวไทย "กบ-สุวนันท์ คงยิ่ง" พูดว่านครวัดเป็นของไทย และกัมพูชาเป็นฝ่ายที่ "ขโมย" นครวัดไป ข้อความนี้แพร่กระจาย ออกไปอย่างรวดเร็ว สร้างกระแสความโกรธเคือง ในหมู่ชาวกัมพูชา แม้ว่ากบ-สุวนันท์ จะออกมาปฏิเสธว่า เธอไม่เคยพูดเช่นนั้น แต่ก็ไม่สามารถหยุดยั้ง กระแสความไม่พอใจได้

    การตอบสนองของฮุนเซ็น
    นายกรัฐมนตรีกัมพูชา "ฮุนเซ็น" ได้กล่าวสนับสนุนข้อความ ในบทความดังกล่าว โดยเปรียบเทียบว่า นักแสดงชาวไทยคนนี้ "ไม่มีค่าเทียบเท่าใบหญ้า ที่ขึ้นใกล้นครวัด" พร้อมทั้งสั่งให้สถานีโทรทัศน์กัมพูชา หยุดการเผยแพร่ละครไทยทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการปลุกระดม ให้ประชาชนกัมพูชา ระลึกถึงรากเหง้าของตนเอง ซึ่งยิ่งกระพือความไม่พอใจ ในวงกว้าง

    จากชุมนุมสู่เหตุการณ์จลาจล เริ่มต้นที่สถานทูตไทย
    เช้าวันที่ 29 มกราคม 2546 กลุ่มชาวกัมพูชาหลายร้อยคน เริ่มรวมตัวกัน ที่หน้าสถานทูตไทย ในกรุงพนมเปญ การประท้วงเริ่มจาก การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ เช่น เผาธงชาติไทย และป้ายของสถานทูต ก่อนที่จะบานปลายไปสู่ความรุนแรง เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมเริ่มบุกเข้าไป ในบริเวณสถานทูต

    อพยพเจ้าหน้าที่สถานทูต
    เอกอัครราชทูตไทย ประจำกัมพูชาในขณะนั้น "ชัชเวทย์ ชาติสุวรรณ" ตัดสินใจสั่งการ ให้เจ้าหน้าที่สถานทูต อพยพออกจากอาคาร โดยปีนรั้วด้านหลังของสถานทูต ไปยังแม่น้ำบาสัก และบางส่วนหลบหนีไปยังสถานทูตญี่ปุ่น ที่อยู่ติดกัน การตัดสินใจที่เด็ดขาดนี้ ช่วยรักษาชีวิตของทุกคน ไว้ได้อย่างปลอดภัย

    ทำลายสถานทูตไทย
    ในช่วงเวลาต่อมา กลุ่มผู้ชุมนุมได้เผา และปล้นสดมสถานทูตไทย รวมถึงทำลายทรัพย์สิ นของธุรกิจไทยในกรุงพนมเปญ เช่น โรงแรม สำนักงาน และร้านค้าต่าง ๆ เหตุการณ์นี้ยิ่งเลวร้ายขึ้น เมื่อมีข่าวลือว่า คนกัมพูชาถูกทำร้ายในประเทศไทย ซึ่งทำให้การจลาจลในพนมเปญ รุนแรงขึ้นไปอีก

    ปฏิบัติการโปเชนตง ความช่วยเหลือจากฟากฟ้า
    หลังจากเกิดเหตุการณ์จลาจล รัฐบาลไทยภายใต้การนำ ของนายกรัฐมนตรี "ดร.ทักษิณ ชินวัตร" ได้ตัดสินใจเปิดปฏิบัติการ "โปเชนตง" เพื่ออพยพคนไทยออกจากกัมพูชา โดยใช้สนามบินเก่า "โปเชนตง" ในกรุงพนมเปญ เป็นจุดรับส่ง โดยได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลกัมพูชา ที่เริ่มเปลี่ยนท่าที และยินยอมให้เครื่องบินทหารไทยเข้าประเทศ

    รายละเอียดของปฏิบัติการ
    วันที่ 30 มกราคม 2546 เวลา 05.15 น. เครื่องบินลำเลียงแบบ C-130H และ G-222 พร้อมหน่วยรบพิเศษ ได้บินจากฐานทัพดอนเมือง ไปยังสนามบินโปเชนตง เพื่ออพยพคนไทยกว่า 700 คน การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีการคุ้มกันอย่างเข้มงวด โดยสามารถนำคนไทย กลับมาได้อย่างปลอดภัยทั้งหมด ในวันเดียว

    ผลกระทบที่เกิดขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและกัมพูชา
    เหตุการณ์ครั้งนี้ ส่งผลให้ความสัมพันธ์ ระหว่างไทยและกัมพูชา เลวร้ายลงอย่างมาก ไทยตัดสินใจ ลดระดับความสัมพันธ์ทางการทูต และปิดชายแดนระหว่างสองประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวในภูมิภาค

    เหตุการณ์นี้สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญ ของการสื่อสารระหว่างประเทศ และการป้องกันการปลุกระดม ที่อาจนำไปสู่ความรุนแรง การตอบสนองที่รวดเร็ว และเด็ดขาดของรัฐบาลไทยในครั้งนั้น ยังเป็นตัวอย่างของการจัดการวิกฤต ที่มีประสิทธิภาพ

    22 ปี หลังเหตุการณ์จลาจลในพนมเปญ และปฏิบัติการโปเชนตง ยังคงเป็นบทเรียนสำคัญ ในประวัติศาสตร์ไทยและกัมพูชา ทั้งในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการจัดการวิกฤตระดับชาติ เหตุการณ์นี้เน้นย้ำถึง ความสำคัญของความร่วมมือ ความเข้าใจ และการสื่อสารที่ถูกต้อง ระหว่างประชาชน และผู้นำของทั้งสองประเทศ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งในอนาคต

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 290850 ม.ค. 2568

    #จลาจลกัมพูชา #ปฏิบัติการโปเชนตง #ไทยกัมพูชา #สถานทูตไทย #ประวัติศาสตร์ไทย #การเมืองระหว่างประเทศ #บทเรียนความขัดแย้ง #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #เหตุการณ์ในอดีต







    22 ปี จากจลาจลกัมพูชา สู่ปฏิบัติการโปเชนตง เบื้องหลังความขัดแย้ง ปฏิบัติการที่โลกต้องจดจำ ย้อนกลับไปเมื่อ 22 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2546 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ไม่เพียงแต่สร้างความสูญเสีย ทางกายภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ในความสัมพันธ์ ระหว่างไทยและกัมพูชา เหตุจลาจลครั้งนี้ มีจุดเริ่มต้นจากบทความ ในหนังสือพิมพ์กัมพูชา"รัศมี อังกอร์" ที่พาดพิงถึงนักแสดงหญิงชาวไทย "กบ-สุวนันท์ คงยิ่ง" ว่าได้กล่าวหากัมพูชาเรื่องนครวัด จนนำไปสู่ความโกรธแค้น และความรุนแรง ที่ลุกลามไปถึงการเผาสถานทูตไทย ในกรุงพนมเปญ จากบทความหนังสือพิมพ์ สู่ความโกลาหล ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2546 หนังสือพิมพ์ "รัศมี อังกอร์" ของกัมพูชา ได้ตีพิทพ์เผยแพร่บทความ ที่กล่าวอ้างว่า นักแสดงหญิงชาวไทย "กบ-สุวนันท์ คงยิ่ง" พูดว่านครวัดเป็นของไทย และกัมพูชาเป็นฝ่ายที่ "ขโมย" นครวัดไป ข้อความนี้แพร่กระจาย ออกไปอย่างรวดเร็ว สร้างกระแสความโกรธเคือง ในหมู่ชาวกัมพูชา แม้ว่ากบ-สุวนันท์ จะออกมาปฏิเสธว่า เธอไม่เคยพูดเช่นนั้น แต่ก็ไม่สามารถหยุดยั้ง กระแสความไม่พอใจได้ การตอบสนองของฮุนเซ็น นายกรัฐมนตรีกัมพูชา "ฮุนเซ็น" ได้กล่าวสนับสนุนข้อความ ในบทความดังกล่าว โดยเปรียบเทียบว่า นักแสดงชาวไทยคนนี้ "ไม่มีค่าเทียบเท่าใบหญ้า ที่ขึ้นใกล้นครวัด" พร้อมทั้งสั่งให้สถานีโทรทัศน์กัมพูชา หยุดการเผยแพร่ละครไทยทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการปลุกระดม ให้ประชาชนกัมพูชา ระลึกถึงรากเหง้าของตนเอง ซึ่งยิ่งกระพือความไม่พอใจ ในวงกว้าง จากชุมนุมสู่เหตุการณ์จลาจล เริ่มต้นที่สถานทูตไทย เช้าวันที่ 29 มกราคม 2546 กลุ่มชาวกัมพูชาหลายร้อยคน เริ่มรวมตัวกัน ที่หน้าสถานทูตไทย ในกรุงพนมเปญ การประท้วงเริ่มจาก การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ เช่น เผาธงชาติไทย และป้ายของสถานทูต ก่อนที่จะบานปลายไปสู่ความรุนแรง เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมเริ่มบุกเข้าไป ในบริเวณสถานทูต อพยพเจ้าหน้าที่สถานทูต เอกอัครราชทูตไทย ประจำกัมพูชาในขณะนั้น "ชัชเวทย์ ชาติสุวรรณ" ตัดสินใจสั่งการ ให้เจ้าหน้าที่สถานทูต อพยพออกจากอาคาร โดยปีนรั้วด้านหลังของสถานทูต ไปยังแม่น้ำบาสัก และบางส่วนหลบหนีไปยังสถานทูตญี่ปุ่น ที่อยู่ติดกัน การตัดสินใจที่เด็ดขาดนี้ ช่วยรักษาชีวิตของทุกคน ไว้ได้อย่างปลอดภัย ทำลายสถานทูตไทย ในช่วงเวลาต่อมา กลุ่มผู้ชุมนุมได้เผา และปล้นสดมสถานทูตไทย รวมถึงทำลายทรัพย์สิ นของธุรกิจไทยในกรุงพนมเปญ เช่น โรงแรม สำนักงาน และร้านค้าต่าง ๆ เหตุการณ์นี้ยิ่งเลวร้ายขึ้น เมื่อมีข่าวลือว่า คนกัมพูชาถูกทำร้ายในประเทศไทย ซึ่งทำให้การจลาจลในพนมเปญ รุนแรงขึ้นไปอีก ปฏิบัติการโปเชนตง ความช่วยเหลือจากฟากฟ้า หลังจากเกิดเหตุการณ์จลาจล รัฐบาลไทยภายใต้การนำ ของนายกรัฐมนตรี "ดร.ทักษิณ ชินวัตร" ได้ตัดสินใจเปิดปฏิบัติการ "โปเชนตง" เพื่ออพยพคนไทยออกจากกัมพูชา โดยใช้สนามบินเก่า "โปเชนตง" ในกรุงพนมเปญ เป็นจุดรับส่ง โดยได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลกัมพูชา ที่เริ่มเปลี่ยนท่าที และยินยอมให้เครื่องบินทหารไทยเข้าประเทศ รายละเอียดของปฏิบัติการ วันที่ 30 มกราคม 2546 เวลา 05.15 น. เครื่องบินลำเลียงแบบ C-130H และ G-222 พร้อมหน่วยรบพิเศษ ได้บินจากฐานทัพดอนเมือง ไปยังสนามบินโปเชนตง เพื่ออพยพคนไทยกว่า 700 คน การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีการคุ้มกันอย่างเข้มงวด โดยสามารถนำคนไทย กลับมาได้อย่างปลอดภัยทั้งหมด ในวันเดียว ผลกระทบที่เกิดขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและกัมพูชา เหตุการณ์ครั้งนี้ ส่งผลให้ความสัมพันธ์ ระหว่างไทยและกัมพูชา เลวร้ายลงอย่างมาก ไทยตัดสินใจ ลดระดับความสัมพันธ์ทางการทูต และปิดชายแดนระหว่างสองประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวในภูมิภาค เหตุการณ์นี้สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญ ของการสื่อสารระหว่างประเทศ และการป้องกันการปลุกระดม ที่อาจนำไปสู่ความรุนแรง การตอบสนองที่รวดเร็ว และเด็ดขาดของรัฐบาลไทยในครั้งนั้น ยังเป็นตัวอย่างของการจัดการวิกฤต ที่มีประสิทธิภาพ 22 ปี หลังเหตุการณ์จลาจลในพนมเปญ และปฏิบัติการโปเชนตง ยังคงเป็นบทเรียนสำคัญ ในประวัติศาสตร์ไทยและกัมพูชา ทั้งในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการจัดการวิกฤตระดับชาติ เหตุการณ์นี้เน้นย้ำถึง ความสำคัญของความร่วมมือ ความเข้าใจ และการสื่อสารที่ถูกต้อง ระหว่างประชาชน และผู้นำของทั้งสองประเทศ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งในอนาคต ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 290850 ม.ค. 2568 #จลาจลกัมพูชา #ปฏิบัติการโปเชนตง #ไทยกัมพูชา #สถานทูตไทย #ประวัติศาสตร์ไทย #การเมืองระหว่างประเทศ #บทเรียนความขัดแย้ง #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #เหตุการณ์ในอดีต
    0 Comments 0 Shares 916 Views 0 Reviews
  • เมียร์ไชเมอร์: ทรัมป์ไม่ต้องการทำสงครามกับอิหร่าน!!

    28/1/2025

    นักคิดด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสหรัฐฯ :
    🔹การทำสงครามระหว่างอิสราเอลและสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้ยังคงดำเนินต่อไปนั้น จะไม่เป็นผลดีต่อความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯ

    แม้ว่าจะมีกลุ่มหัวรุนแรงอยู่ในคณะรัฐมนตรีของทรัมป์ แต่เขาก็ไม่ได้ต้องการทำสงครามกับอิหร่าน

    กลุ่มหัวรุนแรงทั้งหมดในอเมริกาและอิสราเอลต้องการทำลายอิหร่านและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ

    ทรัมป์อาจจะพยายามกดดันอิหร่านให้ยอมรับเงื่อนไขของเขาโดยใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจ

    ข้อกล่าวอ้างเกี่ยวกับการทำลายล้างฮิซบุลเลาะห์นั้นเป็นเรื่องโกหก

    การโจมตีของอิสราเอลไม่ได้สร้างความเสียหายร้ายแรงต่อระบบป้องกันทางอากาศของอิหร่านแต่อย่างใด

    ความเป็นไปได้ที่พวกเขา (ระบอบไซออนิสต์) จะล้มเหลวในการทำลายโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านนั้นมีสูง

    ชาวอิสราเอลกำลังมองหาการเผชิญหน้ากับอิหร่าน แต่พวกเขาไม่ได้คิดถึงผลที่จะตามมา

    ถ้าฉันเป็นชาวอิหร่าน ฉันจะสร้างอาวุธนิวเคลียร์

    ประเทศสำคัญในการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับอิสราเอลคือซาอุดิอาระเบีย!!

    ข่าวโลกที่3

    isna.ir/xdSLrT
    @isna94
    เมียร์ไชเมอร์: ทรัมป์ไม่ต้องการทำสงครามกับอิหร่าน!! 28/1/2025 นักคิดด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสหรัฐฯ : 🔹การทำสงครามระหว่างอิสราเอลและสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้ยังคงดำเนินต่อไปนั้น จะไม่เป็นผลดีต่อความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯ แม้ว่าจะมีกลุ่มหัวรุนแรงอยู่ในคณะรัฐมนตรีของทรัมป์ แต่เขาก็ไม่ได้ต้องการทำสงครามกับอิหร่าน กลุ่มหัวรุนแรงทั้งหมดในอเมริกาและอิสราเอลต้องการทำลายอิหร่านและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ทรัมป์อาจจะพยายามกดดันอิหร่านให้ยอมรับเงื่อนไขของเขาโดยใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจ ข้อกล่าวอ้างเกี่ยวกับการทำลายล้างฮิซบุลเลาะห์นั้นเป็นเรื่องโกหก การโจมตีของอิสราเอลไม่ได้สร้างความเสียหายร้ายแรงต่อระบบป้องกันทางอากาศของอิหร่านแต่อย่างใด ความเป็นไปได้ที่พวกเขา (ระบอบไซออนิสต์) จะล้มเหลวในการทำลายโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านนั้นมีสูง ชาวอิสราเอลกำลังมองหาการเผชิญหน้ากับอิหร่าน แต่พวกเขาไม่ได้คิดถึงผลที่จะตามมา ถ้าฉันเป็นชาวอิหร่าน ฉันจะสร้างอาวุธนิวเคลียร์ ประเทศสำคัญในการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับอิสราเอลคือซาอุดิอาระเบีย!! ข่าวโลกที่3 isna.ir/xdSLrT @isna94
    0 Comments 0 Shares 271 Views 0 Reviews
  • 23 มกราคม 2568 จุดเริ่มต้นใหม่ของสมรสเท่าเทียม ในประเทศไทย มีสิทธิ์รับมรดก และฟ้องชู้ เปิดประตูยอมรับ สิทธิความหลากหลายทางเพศ

    วันที่ 23 มกราคม 2568 ถือเป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย เมื่อกระทรวงมหาดไทย เปิดรับจดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เริ่มมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ กฎหมายนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเปลี่ยนแปลงนิยามของการสมรส ในประเทศไทยอย่างสิ้นเชิง โดยเปิดโอกาสให้บุคคล ไม่ว่ามีเพศใด สามารถจดทะเบียนสมรสกันได้

    กฎหมายใหม่นี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลง วิธีการมองสิทธิในความรัก และครอบครัว แต่ยังปรับปรุงบทบัญญัติต่างๆ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้สอดคล้องกับแนวคิดความเท่าเทียม และความหลากหลายทางเพศ

    นิยามใหม่ของ "การสมรส"
    ก่อนการแก้ไข ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดให้การสมรส เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง "ชายและหญิง" เท่านั้น แต่กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ปรับเปลี่ยนนิยามนี้ โดยใช้คำว่า "บุคคลสองฝ่าย" แทน ซึ่งช่วยยืนยันว่าการสมรส ไม่จำกัดเฉพาะเพศอีกต่อไป

    นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขคำเรียก "สามี-ภริยา" ในเอกสารทางกฎหมาย ให้เป็นคำว่า "คู่สมรส" เพื่อสะท้อนถึงความเท่าเทียม ในความสัมพันธ์ อีกทั้งยังมีการปรับปรุง บทบัญญัติอื่นๆ เช่น
    - อายุขั้นต่ำสำหรับการสมรส จากเดิม 17 ปีบริบูรณ์ เพิ่มเป็น 18 ปีบริบูรณ์
    - ข้อกำหนดเรื่องความยินยอม ยังคงกำหนดว่าการสมรส ต้องแสดงความยินยอม ต่อหน้านายทะเบียนอย่างเปิดเผย
    - ข้อห้ามเกี่ยวกับการสมรส ยังคงข้อห้าม เช่น การสมรสซ้อน การสมรสกับญาติสืบสายโลหิต หรือการสมรสกับบุคคลวิกลจริต

    สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส
    1. สิทธิทางกฎหมาย
    กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ขยายสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมายของคู่สมรส ให้ครอบคลุมทุกเพศ เช่น
    - สิทธิในการรับมรดก
    - สิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการ กรณีคู่สมรสเสียชีวิต
    - สิทธิในการรับบุตรบุญธรรมร่วมกัน
    - สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การลดหย่อนภาษีคู่สมรส

    2. การจัดการทรัพย์สิน
    ทรัพย์สินของคู่สมรส ยังคงแบ่งออกเป็น สินส่วนตัว และ สินสมรส โดยสินสมรสจะเป็นทรัพย์สิน ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส ซึ่งการจัดการสินสมรส เช่น การขายทรัพย์สิน จะต้องได้รับความยินยอม จากคู่สมรสอีกฝ่าย

    ข้อกังวลและความท้าทาย
    แม้ว่ากฎหมายสมรสเท่าเทียม จะเปิดทางสู่ความเท่าเทียม แต่ก็ยังมีข้อกังวลในแง่ของกฎหมายอื่น ที่ยังใช้คำว่า "สามี-ภริยา" และอาจต้องใช้เวลาในการปรับแก้ เช่น
    - กฎหมายบางฉบับ ที่ระบุสิทธิประโยชน์ เฉพาะสำหรับคู่ชาย-หญิง
    - การปรับปรุงระบบราชการ ให้รองรับกับนิยามคู่สมรสใหม่

    ข้อดีของกฎหมายสมรสเท่าเทียม
    สร้างความเท่าเทียมในสังคม
    การรับรองสิทธิการสมรสสำหรับทุกเพศ ช่วยส่งเสริมความเท่าเทียม และลดการเลือกปฏิบัติในสังคม

    เพิ่มความชัดเจนทางกฎหมาย
    การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ ในเอกสารทางกฎหมาย ช่วยลดความกำกวม และทำให้ทุกคน สามารถใช้สิทธิทางกฎหมาย ได้อย่างเท่าเทียม

    สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    คู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ สามารถจดทะเบียนสมรส กับชาวต่างชาติในประเทศไทยได้ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

    กฎหมายสมรสเท่าเทียม ถือเป็นก้าวสำคัญของประเทศไทย ในการสร้างสังคม ที่ยอมรับความหลากหลายทางเพศ และความเท่าเทียม กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่ให้สิทธิและหน้าที่ ที่เท่าเทียมกันแก่คู่สมรสทุกเพศ แต่ยังสะท้อนถึง ความก้าวหน้าในเชิงกฎหมาย และสังคมของประเทศไทย

    🌈✨ "เพราะความรักคือสิทธิที่ทุกคน ควรได้รับอย่างเท่าเทียม"

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 2300559 ม.ค. 2568

    #สมรสเท่าเทียม #สิทธิมนุษยชน #ความเท่าเทียมทางเพศ #กฎหมายใหม่ #ประเทศไทย #LGBTQ+ #เสรีภาพและความเท่าเทียม #ความรักไม่มีเงื่อนไข #สมรสในไทย #สังคมแห่งความเท่าเทียม

    23 มกราคม 2568 จุดเริ่มต้นใหม่ของสมรสเท่าเทียม ในประเทศไทย มีสิทธิ์รับมรดก และฟ้องชู้ เปิดประตูยอมรับ สิทธิความหลากหลายทางเพศ วันที่ 23 มกราคม 2568 ถือเป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย เมื่อกระทรวงมหาดไทย เปิดรับจดทะเบียนสมรส ตามกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เริ่มมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ กฎหมายนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเปลี่ยนแปลงนิยามของการสมรส ในประเทศไทยอย่างสิ้นเชิง โดยเปิดโอกาสให้บุคคล ไม่ว่ามีเพศใด สามารถจดทะเบียนสมรสกันได้ กฎหมายใหม่นี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลง วิธีการมองสิทธิในความรัก และครอบครัว แต่ยังปรับปรุงบทบัญญัติต่างๆ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้สอดคล้องกับแนวคิดความเท่าเทียม และความหลากหลายทางเพศ นิยามใหม่ของ "การสมรส" ก่อนการแก้ไข ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดให้การสมรส เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง "ชายและหญิง" เท่านั้น แต่กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ปรับเปลี่ยนนิยามนี้ โดยใช้คำว่า "บุคคลสองฝ่าย" แทน ซึ่งช่วยยืนยันว่าการสมรส ไม่จำกัดเฉพาะเพศอีกต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขคำเรียก "สามี-ภริยา" ในเอกสารทางกฎหมาย ให้เป็นคำว่า "คู่สมรส" เพื่อสะท้อนถึงความเท่าเทียม ในความสัมพันธ์ อีกทั้งยังมีการปรับปรุง บทบัญญัติอื่นๆ เช่น - อายุขั้นต่ำสำหรับการสมรส จากเดิม 17 ปีบริบูรณ์ เพิ่มเป็น 18 ปีบริบูรณ์ - ข้อกำหนดเรื่องความยินยอม ยังคงกำหนดว่าการสมรส ต้องแสดงความยินยอม ต่อหน้านายทะเบียนอย่างเปิดเผย - ข้อห้ามเกี่ยวกับการสมรส ยังคงข้อห้าม เช่น การสมรสซ้อน การสมรสกับญาติสืบสายโลหิต หรือการสมรสกับบุคคลวิกลจริต สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรส 1. สิทธิทางกฎหมาย กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้ขยายสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมายของคู่สมรส ให้ครอบคลุมทุกเพศ เช่น - สิทธิในการรับมรดก - สิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการ กรณีคู่สมรสเสียชีวิต - สิทธิในการรับบุตรบุญธรรมร่วมกัน - สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การลดหย่อนภาษีคู่สมรส 2. การจัดการทรัพย์สิน ทรัพย์สินของคู่สมรส ยังคงแบ่งออกเป็น สินส่วนตัว และ สินสมรส โดยสินสมรสจะเป็นทรัพย์สิน ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส ซึ่งการจัดการสินสมรส เช่น การขายทรัพย์สิน จะต้องได้รับความยินยอม จากคู่สมรสอีกฝ่าย ข้อกังวลและความท้าทาย แม้ว่ากฎหมายสมรสเท่าเทียม จะเปิดทางสู่ความเท่าเทียม แต่ก็ยังมีข้อกังวลในแง่ของกฎหมายอื่น ที่ยังใช้คำว่า "สามี-ภริยา" และอาจต้องใช้เวลาในการปรับแก้ เช่น - กฎหมายบางฉบับ ที่ระบุสิทธิประโยชน์ เฉพาะสำหรับคู่ชาย-หญิง - การปรับปรุงระบบราชการ ให้รองรับกับนิยามคู่สมรสใหม่ ข้อดีของกฎหมายสมรสเท่าเทียม สร้างความเท่าเทียมในสังคม การรับรองสิทธิการสมรสสำหรับทุกเพศ ช่วยส่งเสริมความเท่าเทียม และลดการเลือกปฏิบัติในสังคม เพิ่มความชัดเจนทางกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ ในเอกสารทางกฎหมาย ช่วยลดความกำกวม และทำให้ทุกคน สามารถใช้สิทธิทางกฎหมาย ได้อย่างเท่าเทียม สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ สามารถจดทะเบียนสมรส กับชาวต่างชาติในประเทศไทยได้ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎหมายสมรสเท่าเทียม ถือเป็นก้าวสำคัญของประเทศไทย ในการสร้างสังคม ที่ยอมรับความหลากหลายทางเพศ และความเท่าเทียม กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่ให้สิทธิและหน้าที่ ที่เท่าเทียมกันแก่คู่สมรสทุกเพศ แต่ยังสะท้อนถึง ความก้าวหน้าในเชิงกฎหมาย และสังคมของประเทศไทย 🌈✨ "เพราะความรักคือสิทธิที่ทุกคน ควรได้รับอย่างเท่าเทียม" ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 2300559 ม.ค. 2568 #สมรสเท่าเทียม #สิทธิมนุษยชน #ความเท่าเทียมทางเพศ #กฎหมายใหม่ #ประเทศไทย #LGBTQ+ #เสรีภาพและความเท่าเทียม #ความรักไม่มีเงื่อนไข #สมรสในไทย #สังคมแห่งความเท่าเทียม
    0 Comments 0 Shares 702 Views 0 Reviews
  • กลุ่มแฮ็กเกอร์ Star Blizzard จากรัสเซียกำลังใช้ WhatsApp เพื่อโจมตีเป้าหมายบุคคลสำคัญในเชิงเศรษฐกิจและการเมือง กลุ่มนี้ได้เริ่มแคมเปญฟิชชิงใหม่เพื่อเข้าถึงบัญชี WhatsApp ของเป้าหมายในรัฐบาล การทูต นโยบายการป้องกันประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และองค์กรช่วยเหลือยูเครน

    แฮ็กเกอร์เริ่มการโจมตีโดยแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่รัฐบาลสหรัฐฯ และส่งอีเมลเชิญชวนให้เข้าร่วมกลุ่ม WhatsApp ที่สนับสนุนยูเครน อีเมลนี้มี QR code ที่เสียหายเพื่อบังคับให้ผู้รับตอบกลับขอลิงก์ใหม่ เมื่อผู้รับตอบกลับ แฮ็กเกอร์จะส่งอีเมลอีกฉบับพร้อมลิงก์สั้น ๆ ที่นำไปยังหน้าเว็บปลอมที่เลียนแบบหน้าเชิญชวนของ WhatsApp พร้อม QR code ใหม่

    QR code ใหม่นี้จะเชื่อมโยงอุปกรณ์ใหม่ของแฮ็กเกอร์กับบัญชี WhatsApp ของเป้าหมาย ถ้าเป้าหมายทำตามคำแนะนำในหน้านี้ แฮ็กเกอร์จะสามารถเข้าถึงข้อความในบัญชี WhatsApp ของเป้าหมายและสามารถขโมยข้อมูลได้

    การโจมตีนี้อาศัยการวิศวกรรมสังคมและไม่มีมัลแวร์ที่เครื่องมือป้องกันไวรัสจะตรวจจับได้ ผู้ใช้ควรระวังการสื่อสารที่ไม่ได้ร้องขอและตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงกับบัญชี WhatsApp ของตน

    https://www.bleepingcomputer.com/news/security/star-blizzard-hackers-abuse-whatsapp-to-target-high-value-diplomats/
    กลุ่มแฮ็กเกอร์ Star Blizzard จากรัสเซียกำลังใช้ WhatsApp เพื่อโจมตีเป้าหมายบุคคลสำคัญในเชิงเศรษฐกิจและการเมือง กลุ่มนี้ได้เริ่มแคมเปญฟิชชิงใหม่เพื่อเข้าถึงบัญชี WhatsApp ของเป้าหมายในรัฐบาล การทูต นโยบายการป้องกันประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และองค์กรช่วยเหลือยูเครน แฮ็กเกอร์เริ่มการโจมตีโดยแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่รัฐบาลสหรัฐฯ และส่งอีเมลเชิญชวนให้เข้าร่วมกลุ่ม WhatsApp ที่สนับสนุนยูเครน อีเมลนี้มี QR code ที่เสียหายเพื่อบังคับให้ผู้รับตอบกลับขอลิงก์ใหม่ เมื่อผู้รับตอบกลับ แฮ็กเกอร์จะส่งอีเมลอีกฉบับพร้อมลิงก์สั้น ๆ ที่นำไปยังหน้าเว็บปลอมที่เลียนแบบหน้าเชิญชวนของ WhatsApp พร้อม QR code ใหม่ QR code ใหม่นี้จะเชื่อมโยงอุปกรณ์ใหม่ของแฮ็กเกอร์กับบัญชี WhatsApp ของเป้าหมาย ถ้าเป้าหมายทำตามคำแนะนำในหน้านี้ แฮ็กเกอร์จะสามารถเข้าถึงข้อความในบัญชี WhatsApp ของเป้าหมายและสามารถขโมยข้อมูลได้ การโจมตีนี้อาศัยการวิศวกรรมสังคมและไม่มีมัลแวร์ที่เครื่องมือป้องกันไวรัสจะตรวจจับได้ ผู้ใช้ควรระวังการสื่อสารที่ไม่ได้ร้องขอและตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงกับบัญชี WhatsApp ของตน https://www.bleepingcomputer.com/news/security/star-blizzard-hackers-abuse-whatsapp-to-target-high-value-diplomats/
    WWW.BLEEPINGCOMPUTER.COM
    Star Blizzard hackers abuse WhatsApp to target high-value diplomats
    Russian nation-state actor Star Blizzard has been running a new spear-phishing campaign to compromise WhatsApp accounts of targets in government, diplomacy, defense policy, international relations, and Ukraine aid organizations.
    0 Comments 0 Shares 259 Views 0 Reviews
  • ทองเบรคกรอบสามเหลี่ยมแล้ว นวค.มองปีนี้วิ่งแตะ $3000/oz.
    ระดับราคาปิดตลาด ทะลุแนวต้าน กลับตัวเป็นขาขึ้น

    ANZ ให้ค่าเฉลี่ยทั้งปีที่ $2738/oz.

    ปัจจัยมีผลกับราคาทองคำ
    1. ทิศทางดอลลาร์สหรัฐ ส่วนใหญ่จะไปในทางผกผันกัน เช่น ดอลลาร์่อ่อนค่า ทองจะขึ้น ดอลลาร์แข็งค่า ทองจะลง
    2. เหตุการณ์วุ่นวายต่าง ๆ เช่น สงคราม ความขัดแย้งในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    3. การเข้าสะสมทองคำของ ธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ และ ประเทศผู้ซื้อรายใหญ่ เช่น จีน อินเดีย

    *ปี 2567 ทองคำ +27.2%
    ทองเบรคกรอบสามเหลี่ยมแล้ว นวค.มองปีนี้วิ่งแตะ $3000/oz. ระดับราคาปิดตลาด ทะลุแนวต้าน กลับตัวเป็นขาขึ้น ANZ ให้ค่าเฉลี่ยทั้งปีที่ $2738/oz. ปัจจัยมีผลกับราคาทองคำ 1. ทิศทางดอลลาร์สหรัฐ ส่วนใหญ่จะไปในทางผกผันกัน เช่น ดอลลาร์่อ่อนค่า ทองจะขึ้น ดอลลาร์แข็งค่า ทองจะลง 2. เหตุการณ์วุ่นวายต่าง ๆ เช่น สงคราม ความขัดแย้งในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3. การเข้าสะสมทองคำของ ธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ และ ประเทศผู้ซื้อรายใหญ่ เช่น จีน อินเดีย *ปี 2567 ทองคำ +27.2%
    1 Comments 0 Shares 330 Views 0 Reviews
  • 11 มกราคม 2568-รายงานพิเศษของเว็บไซต์ The Structure เกี่ยวกับประเด็นเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทย โดยรศ. ดร.ปณิธาน วัฒนายากร ได้สะท้อนภาพจากเหตุการณ์ลอบสังหาร “ลิม กิมยา”กลางกรุงเทพมหานครว่า เกิดอะไรขึ้น กับประเทศไทย? ‘รศ.ดร.ปณิธาน’ สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ลอบสังหาร ‘ลิม กินยา’ กลางกรุงเทพมหานคร
    On 2025-01-10
    สืบเนื่องจากกรณีการลอบสังหาร ลิม กิมยา อดีต สส. พรรคสงเคราะห์ชาติกัมพูชา (Cambodia National Rescue Party) และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกลอบยิงที่บริเวณเกาะกลางถนน วงเวียนสิบสามห้าง ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร ในช่วงค่ำของวันที่ 7 ม.ค. 2568

    ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจของไทย สามารถระบุตัวคนร้ายจนพบว่าเป็นจ่าเอ็ม-เอกลักษณ์ แพน้อย อดีตทหารนาวิกโยธินของไทย ซึ่งถูกให้ออกจากราชการไปตั้งแต่ปี 2566 แล้ว และสามารถตามจับตัวจ่าเอ็มได้ที่จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา ในช่วงค่ำวันที่ 8 ม.ค. 2568

    และในเวลานี้ จ่าเอ็มยังอยู่ในระหว่างการควบคุมตัวเพื่อสอบสวนของทางการกัมพูชา เนื่องจากฝ่ายกัมพูชาจะมีการดำเนินคดีกับจ่าเอ็มในข้อหาลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายก่อน

    รศ.ดร.ปณิธาน วัฒนายากร นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง ได้กล่าวว่ากรณีนี้นั้น สะท้อนให้เห็นว่าได้เกิดช่องว่าง หรืออุปสรรค์ในการรักษาความปลอดภัยของฝ่ายความมั่นคงของไทย ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ตำรวจสันติบาล, ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ, สำนักข่าวกรอง หรือแม้แต่สภาความมั่นคงเอง

    ที่อาจจะต้องทำงานให้สอดประสานกันเพื่อการกำหนดแนวทางการคุ้มกันบุคคลสำคัญ ซึ่งจริง ๆ แล้วมีการกำหนดหลักปฎิบัติ หรือระเบียบปฎิบัติประจำ (รปจ.) อยู่แล้ว

    แต่สำหรับกรณีนี้ ถึงแม้ว่าตัวผู้ถูกลอบสังหารจะไม่ได้ทำการร้องขอการคุ้มกันจากฝ่ายไทย จึงทำให้การจัดชุดรักษาความปลอดภัยนั้นอาจจะทำได้ไม่เต็มที่ แต่ในเมื่อพิจารณาดูแล้วว่า ลิม กินยานั้นเป็นเป้าหมายสำคัญที่อาจจะถูกคุกคาม จนมีความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

    หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจส่งชุดรักษาความปลอดภัยไปดูแลลิม กินยา ตั้งแต่เข้าเมือง หรืออาจจะปฎิเสธการให้เข้าเมืองตั้งแต่แรกเลยก็ทำได้ ถ้าพิจารณาแล้วว่าอาจจะคุ้มครองเขาไม่ได้ ซึ่งกรณีนี้จะต้องมีการพิจารณาในรายละเอียดว่าเกิดอะไรขึ้น

    ทั้งนี้ ที่ผ่านมา ทางการไทยนั้นมีประสบการณ์ในการให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญจากประเทศเพื่อนบ้านมามากพอสมควร ไม่ว่าจะจากลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย และเมียนมา ไทยก็เคยให้การดูแลคุ้มกันมาแล้ว

    ทางการไทยจะต้องมีการดำเนินการเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ที่จะสร้างผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของไทย ว่าเป็นพื้นที่สังหารบุคคลสำคัญ, ไม่มีความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว หรือมีการซ่องสุมกองกำลังติดอาวุธต่าง ๆ โดยมีการใช้คนไทยเข้ามาเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติการหลายอย่าง ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัญที่จะต้องดูแลกันให้ดี

    สำหรับแนวทางในการนำตัวจ่าเอ็ม ผู้ก่อเหตุกลับมาดำเนินคดีในประเทศไทยนั้น มีอยู่ 2 แนวทาง ได้แก่

    1 การดำเนินการตามช่องทางปกติ โดยจะต้องมีการดำเนินคดีในฝั่งกัมพูชาก่อนสักระยะหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร โดยจะมีการพิจารณาลงโทษ-ลดโทษ-อภัยโทษ แล้วส่งคืนมายังไทยตามสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน

    ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อหาเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายแล้ว แต่อาจจะมีการกล่าวโทษในคดีอื่นเพิ่มเช่น พกพาอาวุธ และความมีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายอาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องใช้เวลานานและสร้างความคลุมเครือ

    2 การดำเนินการในช่องทางพิเศษ ด้วยวิธีต่างตอบแทน โดยการแลกตัว หรือร้องขอให้ทางกัมพูชาส่งตัวผู้ก่อเหตุให้มาถูกดำเนินคดีในไทยได้อย่างรวดเร็ว แต่กรณีนี้จะต้องระมัดระวังว่าจะกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และต้องพิจารณาความตั้งใจจริงของฝ่ายกัมพูชาด้วย เพราะว่าเรื่องนี้นั้นจะเป็นการสะท้อนถึงระดับความสัมพันธ์ หรือเรื่องราวมีความซับซ้อนมากน้อยเพียงใด

    แต่ทั้งนี้นั้น ควรจะต้องมีการดำเนินการผ่านกลไกของอาเซียน และตำรวจสากล ที่มีข้อตกลงที่ค่อนข้างชัดเจน และเป็นทางการ แทนการใช้ระบบต่างตอบแทน เพื่อป้องกันข้อครหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดหรือห่างเหินระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศในบางสมัย ซึ่งจะต้องมีการเปิดเผยข้อเท็จจริงในเรื่องเหล่านี้ผ่านทางอาเซียน

    สำหรับคำถามที่ว่า ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้เห็นต่างทางการเมืองจากประเทศอื่นที่เข้ามาลี้ภัยในประเทศไทยหรือไม่ รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่า ในบางช่วงประเทศไทยก็มีขีดความสามารถในการดำเนินการในเรื่องนี้ได้ดี

    ไทยเคยสามารถจับกุมตัวผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศได้หลายครั้ง อย่างกรณี “ฮัม บาลี” ผู้ก่อเหตุวางระเบิดในอินโดนีเซีย หรือกรณีของ วิกเตอร์ บุช ผู้ค้าอาวุธสงครามชาวรัสเซีย และมีการส่งตัวกลับไปยังประเทศต้นทางได้ และได้รับความชื่นชมจากนานาชาติเป็นอย่างมาก

    อีกทั้งยังเคยสามารถสกัดกั้นไม่ให้กลุ่มบุคคลต้องสงสัยเข้าประเทศ อย่างเช่นกลุ่มจากประเทศเกาหลีเหนือ และกลุ่มอื่น ๆ ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อกว่า 30 กลุ่ม ซึ่งบางครั้งเราก็ทำได้ดี แต่บางครั้งเราก็มีปัญหา ซึ่งในภาพรวมแล้วเราควรจะปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก และกรณีนี้ได้สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก

    สำหรับกรณีที่พรรคฝ่ายค้านของกัมพูชากล่าวหาฮุน เซน อดีตนายกฯ กัมพูชาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่าเรื่องนี้นั้นถือเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน ที่จะต้องมีการพิสูจน์ทราบกันให้ชัดเจน ก่อนที่จะมีการกระทบในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

    แต่ทั้งนี้การที่ฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้านกล่าวหาพุ่งเป้าใส่กัน โดยมีการดึงประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่เลย อีกทั้งตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา ทางการกัมพูชาได้ทำเรื่องร้องขอให้มีการส่งตัวนักเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลกัมพูชา เช่น สม รังสี อดีตผู้นำพรรคฝ่ายค้านกัมพูชากลับ ซึ่งก็มีทั้งกรณีที่ทางการไทยส่งตัวกลับ และไม่ส่งตัวกลับ

    ดังนั้นเรื่องนี้นั้น ไม่ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ และหน่วยงานราชการไทย และฝ่ายความมั่นคงนั้นมีความคุ้นเคยเป็นอย่างดี

    แต่ทั้งนี้ไทยต้องดำเนินการป้องกันให้มากกว่านี้ เพื่อการป้องกันไม่ให้ไทยถูกดึงเข้าไปอยู่ในวงความขัดแย้ง ซึ่งกรณีนี้ไม่ได้มีเฉพาะกับกัมพูชาเท่านั้น แต่เกิดขึ้นกับลาว, เมียนมา และมาเลเซียด้วย

    นอกจากนี้ ทางการไทยเองก็มีการดำเนินการขอตัวแกนนำสั่งการต่าง ๆ ที่อยู่ในมาเลเซีย มาดำเนินคดีในประเทศไทย ซึ่งได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บางกรณีมีการเสียชีวิตในระหว่างทาง ซึ่งเรื่องนี้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดระเบียบกันอย่างจริงจัง ก่อนที่จะเกิดความเสียหายกับประเทศไทยไปมากกว่านี้

    สำหรับการสืบสาวหาต้นตอ/ขบวนการ/ผู้จ้างวาน ให้มีการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น ไม่น่าจะเป็นเรื่องที่ยากนัก เพราะทราบมาว่าฝ่ายนั้นมีการดำเนินการสื่อสารผ่านระบบสมัยใหม่ ซึ่งทางเราสามารถดักจับ และบันทึกอยู่ในฐานข้อมูลของเรา

    ดังนั้นการดำเนินการสืบค้นเพื่อเอาหลักฐานเหล่านั้นมาพิสูจน์ในทางนิติวิทยาศาสตร์นั้นก็คงไม่ยากเท่าไรนัก แต่ทั้งนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากทางกัมพูชาด้วย

    อย่างไรก็ดี การที่ลิม กินยานั้น เป็นผู้ถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วยนั้น ทำให้ฝรั่งเศส, สหภาพยุโรป และนานาชาติต่างก็จับตาดูกรณีนี้เป็นพิเศษ และก็คงจะมีการดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภรรยาของลิม กินยา ซึ่งถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วย และอาจจะเข้ามาร่วมประสานงานกับประเทศไทย ซึ่งจะทำให้เรื่องราวมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น

    (ทางการฝรั่งเศสได้ประกาศว่าจะมีการติดตามการสืบสวนของฝ่ายไทยอย่างใกล้ชิด เมื่อวานนี้)

    ซึ่งเรื่องนี้กระทรวงต่างประเทศจะต้องมีการตั้งชุดทำงานขึ้นมา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบมากไปกว่านี้ และในขณะนี้เกิดความแปรปรวนขึ้นพอสมควร เนื่องจากเกิดความเชื่อหลายอย่างขึ้นในโลกออนไลน์ ซึ่งก็อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง
    11 มกราคม 2568-รายงานพิเศษของเว็บไซต์ The Structure เกี่ยวกับประเด็นเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทย โดยรศ. ดร.ปณิธาน วัฒนายากร ได้สะท้อนภาพจากเหตุการณ์ลอบสังหาร “ลิม กิมยา”กลางกรุงเทพมหานครว่า เกิดอะไรขึ้น กับประเทศไทย? ‘รศ.ดร.ปณิธาน’ สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ลอบสังหาร ‘ลิม กินยา’ กลางกรุงเทพมหานคร On 2025-01-10 สืบเนื่องจากกรณีการลอบสังหาร ลิม กิมยา อดีต สส. พรรคสงเคราะห์ชาติกัมพูชา (Cambodia National Rescue Party) และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกลอบยิงที่บริเวณเกาะกลางถนน วงเวียนสิบสามห้าง ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร ในช่วงค่ำของวันที่ 7 ม.ค. 2568 ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจของไทย สามารถระบุตัวคนร้ายจนพบว่าเป็นจ่าเอ็ม-เอกลักษณ์ แพน้อย อดีตทหารนาวิกโยธินของไทย ซึ่งถูกให้ออกจากราชการไปตั้งแต่ปี 2566 แล้ว และสามารถตามจับตัวจ่าเอ็มได้ที่จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา ในช่วงค่ำวันที่ 8 ม.ค. 2568 และในเวลานี้ จ่าเอ็มยังอยู่ในระหว่างการควบคุมตัวเพื่อสอบสวนของทางการกัมพูชา เนื่องจากฝ่ายกัมพูชาจะมีการดำเนินคดีกับจ่าเอ็มในข้อหาลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายก่อน รศ.ดร.ปณิธาน วัฒนายากร นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง ได้กล่าวว่ากรณีนี้นั้น สะท้อนให้เห็นว่าได้เกิดช่องว่าง หรืออุปสรรค์ในการรักษาความปลอดภัยของฝ่ายความมั่นคงของไทย ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ตำรวจสันติบาล, ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ, สำนักข่าวกรอง หรือแม้แต่สภาความมั่นคงเอง ที่อาจจะต้องทำงานให้สอดประสานกันเพื่อการกำหนดแนวทางการคุ้มกันบุคคลสำคัญ ซึ่งจริง ๆ แล้วมีการกำหนดหลักปฎิบัติ หรือระเบียบปฎิบัติประจำ (รปจ.) อยู่แล้ว แต่สำหรับกรณีนี้ ถึงแม้ว่าตัวผู้ถูกลอบสังหารจะไม่ได้ทำการร้องขอการคุ้มกันจากฝ่ายไทย จึงทำให้การจัดชุดรักษาความปลอดภัยนั้นอาจจะทำได้ไม่เต็มที่ แต่ในเมื่อพิจารณาดูแล้วว่า ลิม กินยานั้นเป็นเป้าหมายสำคัญที่อาจจะถูกคุกคาม จนมีความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจส่งชุดรักษาความปลอดภัยไปดูแลลิม กินยา ตั้งแต่เข้าเมือง หรืออาจจะปฎิเสธการให้เข้าเมืองตั้งแต่แรกเลยก็ทำได้ ถ้าพิจารณาแล้วว่าอาจจะคุ้มครองเขาไม่ได้ ซึ่งกรณีนี้จะต้องมีการพิจารณาในรายละเอียดว่าเกิดอะไรขึ้น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา ทางการไทยนั้นมีประสบการณ์ในการให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญจากประเทศเพื่อนบ้านมามากพอสมควร ไม่ว่าจะจากลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย และเมียนมา ไทยก็เคยให้การดูแลคุ้มกันมาแล้ว ทางการไทยจะต้องมีการดำเนินการเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ที่จะสร้างผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของไทย ว่าเป็นพื้นที่สังหารบุคคลสำคัญ, ไม่มีความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว หรือมีการซ่องสุมกองกำลังติดอาวุธต่าง ๆ โดยมีการใช้คนไทยเข้ามาเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติการหลายอย่าง ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัญที่จะต้องดูแลกันให้ดี สำหรับแนวทางในการนำตัวจ่าเอ็ม ผู้ก่อเหตุกลับมาดำเนินคดีในประเทศไทยนั้น มีอยู่ 2 แนวทาง ได้แก่ 1 การดำเนินการตามช่องทางปกติ โดยจะต้องมีการดำเนินคดีในฝั่งกัมพูชาก่อนสักระยะหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร โดยจะมีการพิจารณาลงโทษ-ลดโทษ-อภัยโทษ แล้วส่งคืนมายังไทยตามสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อหาเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายแล้ว แต่อาจจะมีการกล่าวโทษในคดีอื่นเพิ่มเช่น พกพาอาวุธ และความมีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายอาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องใช้เวลานานและสร้างความคลุมเครือ 2 การดำเนินการในช่องทางพิเศษ ด้วยวิธีต่างตอบแทน โดยการแลกตัว หรือร้องขอให้ทางกัมพูชาส่งตัวผู้ก่อเหตุให้มาถูกดำเนินคดีในไทยได้อย่างรวดเร็ว แต่กรณีนี้จะต้องระมัดระวังว่าจะกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และต้องพิจารณาความตั้งใจจริงของฝ่ายกัมพูชาด้วย เพราะว่าเรื่องนี้นั้นจะเป็นการสะท้อนถึงระดับความสัมพันธ์ หรือเรื่องราวมีความซับซ้อนมากน้อยเพียงใด แต่ทั้งนี้นั้น ควรจะต้องมีการดำเนินการผ่านกลไกของอาเซียน และตำรวจสากล ที่มีข้อตกลงที่ค่อนข้างชัดเจน และเป็นทางการ แทนการใช้ระบบต่างตอบแทน เพื่อป้องกันข้อครหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดหรือห่างเหินระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศในบางสมัย ซึ่งจะต้องมีการเปิดเผยข้อเท็จจริงในเรื่องเหล่านี้ผ่านทางอาเซียน สำหรับคำถามที่ว่า ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้เห็นต่างทางการเมืองจากประเทศอื่นที่เข้ามาลี้ภัยในประเทศไทยหรือไม่ รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่า ในบางช่วงประเทศไทยก็มีขีดความสามารถในการดำเนินการในเรื่องนี้ได้ดี ไทยเคยสามารถจับกุมตัวผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศได้หลายครั้ง อย่างกรณี “ฮัม บาลี” ผู้ก่อเหตุวางระเบิดในอินโดนีเซีย หรือกรณีของ วิกเตอร์ บุช ผู้ค้าอาวุธสงครามชาวรัสเซีย และมีการส่งตัวกลับไปยังประเทศต้นทางได้ และได้รับความชื่นชมจากนานาชาติเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเคยสามารถสกัดกั้นไม่ให้กลุ่มบุคคลต้องสงสัยเข้าประเทศ อย่างเช่นกลุ่มจากประเทศเกาหลีเหนือ และกลุ่มอื่น ๆ ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อกว่า 30 กลุ่ม ซึ่งบางครั้งเราก็ทำได้ดี แต่บางครั้งเราก็มีปัญหา ซึ่งในภาพรวมแล้วเราควรจะปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก และกรณีนี้ได้สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก สำหรับกรณีที่พรรคฝ่ายค้านของกัมพูชากล่าวหาฮุน เซน อดีตนายกฯ กัมพูชาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่าเรื่องนี้นั้นถือเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน ที่จะต้องมีการพิสูจน์ทราบกันให้ชัดเจน ก่อนที่จะมีการกระทบในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ทั้งนี้การที่ฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้านกล่าวหาพุ่งเป้าใส่กัน โดยมีการดึงประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่เลย อีกทั้งตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา ทางการกัมพูชาได้ทำเรื่องร้องขอให้มีการส่งตัวนักเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลกัมพูชา เช่น สม รังสี อดีตผู้นำพรรคฝ่ายค้านกัมพูชากลับ ซึ่งก็มีทั้งกรณีที่ทางการไทยส่งตัวกลับ และไม่ส่งตัวกลับ ดังนั้นเรื่องนี้นั้น ไม่ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ และหน่วยงานราชการไทย และฝ่ายความมั่นคงนั้นมีความคุ้นเคยเป็นอย่างดี แต่ทั้งนี้ไทยต้องดำเนินการป้องกันให้มากกว่านี้ เพื่อการป้องกันไม่ให้ไทยถูกดึงเข้าไปอยู่ในวงความขัดแย้ง ซึ่งกรณีนี้ไม่ได้มีเฉพาะกับกัมพูชาเท่านั้น แต่เกิดขึ้นกับลาว, เมียนมา และมาเลเซียด้วย นอกจากนี้ ทางการไทยเองก็มีการดำเนินการขอตัวแกนนำสั่งการต่าง ๆ ที่อยู่ในมาเลเซีย มาดำเนินคดีในประเทศไทย ซึ่งได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บางกรณีมีการเสียชีวิตในระหว่างทาง ซึ่งเรื่องนี้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดระเบียบกันอย่างจริงจัง ก่อนที่จะเกิดความเสียหายกับประเทศไทยไปมากกว่านี้ สำหรับการสืบสาวหาต้นตอ/ขบวนการ/ผู้จ้างวาน ให้มีการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น ไม่น่าจะเป็นเรื่องที่ยากนัก เพราะทราบมาว่าฝ่ายนั้นมีการดำเนินการสื่อสารผ่านระบบสมัยใหม่ ซึ่งทางเราสามารถดักจับ และบันทึกอยู่ในฐานข้อมูลของเรา ดังนั้นการดำเนินการสืบค้นเพื่อเอาหลักฐานเหล่านั้นมาพิสูจน์ในทางนิติวิทยาศาสตร์นั้นก็คงไม่ยากเท่าไรนัก แต่ทั้งนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากทางกัมพูชาด้วย อย่างไรก็ดี การที่ลิม กินยานั้น เป็นผู้ถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วยนั้น ทำให้ฝรั่งเศส, สหภาพยุโรป และนานาชาติต่างก็จับตาดูกรณีนี้เป็นพิเศษ และก็คงจะมีการดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภรรยาของลิม กินยา ซึ่งถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วย และอาจจะเข้ามาร่วมประสานงานกับประเทศไทย ซึ่งจะทำให้เรื่องราวมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น (ทางการฝรั่งเศสได้ประกาศว่าจะมีการติดตามการสืบสวนของฝ่ายไทยอย่างใกล้ชิด เมื่อวานนี้) ซึ่งเรื่องนี้กระทรวงต่างประเทศจะต้องมีการตั้งชุดทำงานขึ้นมา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบมากไปกว่านี้ และในขณะนี้เกิดความแปรปรวนขึ้นพอสมควร เนื่องจากเกิดความเชื่อหลายอย่างขึ้นในโลกออนไลน์ ซึ่งก็อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 974 Views 0 Reviews
  • “นพดล ปัทมะ” คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    ณ บ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    ประเด็นที่  นายนพดล ปัทมะ อ้างว่า ปราสาทพระวิหารได้เป็นของกัมพูชาตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเมื่อปี พ.ศ.2505 แล้ว แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่กระทบต่อประเทศไทยใดๆเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็นความจริงที่พูดไม่ครบเพราะ

    ประการแรก นายนพดลอาจจะไม่ได้ตระหนักว่า นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวนที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในวันข้างหน้า” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เอาไว้ด้วย โดยผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติก็ไม่มีข้อปฏิเสธใดๆ

    ข้อสงวนดังกล่าวเป็นการแสดงออกของรัฐบาลไทย ถึงความอยุติธรรมของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 

    ข้อสงวนดังกล่าวไม่ได้อ้างข้อบทบัญญัติในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ แต่เมื่อฝ่ายไทยเพลี่ยงพล้ำในเวทีนี้ ฝ่ายไทยก็ไม่ได้เป็นสมาชิกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอีกจนถึงปัจจุบัน และข้อสงวนของฝ่ายไทยนั้นก็ไม่ได้อ้างอิงข้อบทในกฎหมายของศาลยุติธรรมต่างประเทศในเวลานั้น หากแต่วันหนึ่งในวันข้างหน้าที่กฎหมายพัฒนา หรือเกิดสิทธิที่ถูกต้องเป็นธรรมขึ้น ก็พร้อมที่จะทวงคืนประสาทพระวิหารกลับคืนมาด้วย จึงเป็นการสงวนสิทธิ์ในอนาคตแบบไม่ได้กำหนดระยะเวลา

    ดังนั้น การอ้างว่าไทยได้แพ้ในคดีปราสาทพระวิหารไปแล้ว การลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่ได้เป็นการยกปราสาทพระวิหารให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวนั้น จึงต้องตั้งคำถามว่ารัฐบาลไทยได้ละทิ้งข้อสงวนของไทยที่นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวน” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 จริงหรือไม่?

     ประการที่สอง ประเด็นการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของตัวปราสาทวิหารนั้นจะไม่สามารถทำได้ หากไม่มีพื้นที่พัฒนา พื้นที่กันชน ซึ่งเป็นเรื่อง “แผ่นดิน” นอกเหนือจาก “ตัวปราสาทพระวิหาร” ตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2505 จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนว่า มีการยินยอมจากฝ่ายไทยในแผนผัง(N1, N2, N3) ให้ตัวปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาได้อย่างไร โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา

    ความจริงเรื่องนี้ไม่ควรจะถกเถียงใดๆ อีกแล้ว เพราะศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยที่ 6-7/2511 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ได้มีคำวินิจฉัยชี้ขาดสิ้นสุดไปแล้ว ในคดีที่สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม่ โดยปรากฏคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในหน้าที่ 23-24 ความตอนหนึ่งว่า

    “ส่วนเรื่องอาณาเขตของประเทศนั้น ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในบริเวณที่ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ การดำเนินการและการพิจารณาวินิจฉัยในเรื่องนี้จึงต้องกระทำอย่างรอบคอบ หากเป็นกรณีที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศแล้ว ย่อมจะต้องดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 วรรคสองด้วย

    สำหรับคำแถลงการณ์ร่วม-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นั้น แม้จะไม่ได้ปรากฏสาระสำคัญอย่างชัดเจนว่าเป็นหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่อันเป็นอาณาเขตของประเทศไทยก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาข้อบททั้งหมดในคำแถลงการณ์ร่วมประกอบกับแผนที่หรือแผนผังแนบท้ายซึ่งจัดทำขึ้นโดยประเทศกัมพูชาแต่เพียงฝ่ายเดียว อันประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำแถลงการณ์ร่วมแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าแผนที่ดังกล่าวได้กล่าวอ้างถึงพื้นที่ N.1 N.2 และ N.3 ได้ชัดเจนว่ามีบริเวณครอบคลุมส่วนใดของประเทศใดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื่องอาณาเขตของประเทศไทย อันเป็นปัญหาที่ละเอียดอ่อนและอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศตอบไปภายหน้าได้ 

    ประกอบกับการที่ประเทศกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกนั้นมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประเด็นโต้เถียงกันในเรื่องของเส้นเขตแดนและขอบเขตที่ปราสาทตั้งอยู่ ทั้งเป็นประเด็นที่มีความเห็นแตกต่างกันทั้งทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด

    การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้ดำเนินการเจรจากับประเทศกัมพูชาก่อนที่จะได้มีการลงนามคำแถลงการร่วมดังกล่าว พึงเล็งเห็นได้ว่า การลงนามคำแถลงการณ์ร่วมไป ก็อาจก่อให้เกิดการแตกแยกกันทางด้านความคิดเห็นของคนในสังคมทั้งสองประเทศ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดวิกฤติแก่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมอย่างกว้างขวาง คำแถลงการณ์ร่วมดังกล่าวจึงเป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตประเทศไทย จึงเป็นหนังสือสัญญาที่รัฐธรรมนูญมาตรา 190 วรรคสอง กำหนดให้ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา

    อาศัยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยชี้ขาดว่า คำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา หรือ Joint Communiqe’ ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมของประเทศอย่างกว้างขวางอีกด้วย ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามประมวลมาตรา 190 วรรคสอง”

    ดังนั้น การโพสต์ว่านายนพดล ปัทมะ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ในกรณีให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา เป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้น เป็นการใส่ร้ายตรงไหน และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกในประเทศไทยที่ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาที่ไม่ชอบรัฐธรรมนูญนั้นผิดตรงไหน?

    ต่อมาคำพิพากษาศาลฎีกาสำนวนคดีหมายเลขดำ ที่ อม.3/2556 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่มีความผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 นั้น ในประเด็นแห่งคดีที่ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่ได้นำเรื่องแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภานั้น ศาลฟังไม่ได้ว่า “จำเลยมีเจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”

      แปลว่าเราต้องเคารพคำวินิจฉันของศาลรัฐธรรมนูญ และคำพิพากษาของศาลฎีกาซึ่งสรุปสั้นๆ ได้คือ นายนพดล ปัทมะ ในสมัยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ให้ปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกพร้อมแผนผังนั้น เป็นการกระทำที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา และขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ซึ่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทยที่กระทำขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ในอีกคดีหนึ่งที่ศาลฎีกาเห็นว่าไม่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพราะไม่ได้มี “เจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”

    จึงต้องตั้งคำถามต่อจากนายนพดล ปัทมะ ที่ตั้งประเด็นในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนว่า จะให้เชื่อใครระหว่างนายสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะ กับกรมสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ของประเทศไทยนั้น ประเทศไทยได้รับบทเรียนจากกระทรวงการต่างประเทศที่ได้มีการกระทำแบบที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ แพ้คำตัดสินตัวปราสาทพระวิหารในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2505 แพ้การตีความพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2556 ดังนั้นการที่มาตั้งคำถามเพื่อด้อยค่าการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในทำนองว่าอาจจะมีความรู้น้อยกว่า กรมสนธิสัญญากระทรวงการต่างประเทศจึงไม่น่าเชื่อถือ โดยไม่ฟังเสียงทักท้วงจากประชาชน ถูกต้องแล้วหรือ?

    จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงต้องตั้งคำถามว่าข้อความต่อไปนี้ ไม่ใช่ความเท็จ และไม่ใช่การใส่ร้ายป้ายดีใดๆ จริงหรือไม่ ดังจะได้บันทึกให้อ่านกันเป็นข้อความซ้ำกัน 3 ครั้ง ความว่า

     “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

     “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

      “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต



    “นพดล ปัทมะ” คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ณ บ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ประเด็นที่  นายนพดล ปัทมะ อ้างว่า ปราสาทพระวิหารได้เป็นของกัมพูชาตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเมื่อปี พ.ศ.2505 แล้ว แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่กระทบต่อประเทศไทยใดๆเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็นความจริงที่พูดไม่ครบเพราะ ประการแรก นายนพดลอาจจะไม่ได้ตระหนักว่า นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวนที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในวันข้างหน้า” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เอาไว้ด้วย โดยผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติก็ไม่มีข้อปฏิเสธใดๆ ข้อสงวนดังกล่าวเป็นการแสดงออกของรัฐบาลไทย ถึงความอยุติธรรมของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ  ข้อสงวนดังกล่าวไม่ได้อ้างข้อบทบัญญัติในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ แต่เมื่อฝ่ายไทยเพลี่ยงพล้ำในเวทีนี้ ฝ่ายไทยก็ไม่ได้เป็นสมาชิกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอีกจนถึงปัจจุบัน และข้อสงวนของฝ่ายไทยนั้นก็ไม่ได้อ้างอิงข้อบทในกฎหมายของศาลยุติธรรมต่างประเทศในเวลานั้น หากแต่วันหนึ่งในวันข้างหน้าที่กฎหมายพัฒนา หรือเกิดสิทธิที่ถูกต้องเป็นธรรมขึ้น ก็พร้อมที่จะทวงคืนประสาทพระวิหารกลับคืนมาด้วย จึงเป็นการสงวนสิทธิ์ในอนาคตแบบไม่ได้กำหนดระยะเวลา ดังนั้น การอ้างว่าไทยได้แพ้ในคดีปราสาทพระวิหารไปแล้ว การลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่ได้เป็นการยกปราสาทพระวิหารให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวนั้น จึงต้องตั้งคำถามว่ารัฐบาลไทยได้ละทิ้งข้อสงวนของไทยที่นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวน” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 จริงหรือไม่?  ประการที่สอง ประเด็นการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของตัวปราสาทวิหารนั้นจะไม่สามารถทำได้ หากไม่มีพื้นที่พัฒนา พื้นที่กันชน ซึ่งเป็นเรื่อง “แผ่นดิน” นอกเหนือจาก “ตัวปราสาทพระวิหาร” ตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2505 จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนว่า มีการยินยอมจากฝ่ายไทยในแผนผัง(N1, N2, N3) ให้ตัวปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาได้อย่างไร โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา ความจริงเรื่องนี้ไม่ควรจะถกเถียงใดๆ อีกแล้ว เพราะศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยที่ 6-7/2511 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ได้มีคำวินิจฉัยชี้ขาดสิ้นสุดไปแล้ว ในคดีที่สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม่ โดยปรากฏคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในหน้าที่ 23-24 ความตอนหนึ่งว่า “ส่วนเรื่องอาณาเขตของประเทศนั้น ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในบริเวณที่ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ การดำเนินการและการพิจารณาวินิจฉัยในเรื่องนี้จึงต้องกระทำอย่างรอบคอบ หากเป็นกรณีที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศแล้ว ย่อมจะต้องดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 วรรคสองด้วย สำหรับคำแถลงการณ์ร่วม-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นั้น แม้จะไม่ได้ปรากฏสาระสำคัญอย่างชัดเจนว่าเป็นหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่อันเป็นอาณาเขตของประเทศไทยก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาข้อบททั้งหมดในคำแถลงการณ์ร่วมประกอบกับแผนที่หรือแผนผังแนบท้ายซึ่งจัดทำขึ้นโดยประเทศกัมพูชาแต่เพียงฝ่ายเดียว อันประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำแถลงการณ์ร่วมแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าแผนที่ดังกล่าวได้กล่าวอ้างถึงพื้นที่ N.1 N.2 และ N.3 ได้ชัดเจนว่ามีบริเวณครอบคลุมส่วนใดของประเทศใดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื่องอาณาเขตของประเทศไทย อันเป็นปัญหาที่ละเอียดอ่อนและอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศตอบไปภายหน้าได้  ประกอบกับการที่ประเทศกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกนั้นมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประเด็นโต้เถียงกันในเรื่องของเส้นเขตแดนและขอบเขตที่ปราสาทตั้งอยู่ ทั้งเป็นประเด็นที่มีความเห็นแตกต่างกันทั้งทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้ดำเนินการเจรจากับประเทศกัมพูชาก่อนที่จะได้มีการลงนามคำแถลงการร่วมดังกล่าว พึงเล็งเห็นได้ว่า การลงนามคำแถลงการณ์ร่วมไป ก็อาจก่อให้เกิดการแตกแยกกันทางด้านความคิดเห็นของคนในสังคมทั้งสองประเทศ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดวิกฤติแก่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมอย่างกว้างขวาง คำแถลงการณ์ร่วมดังกล่าวจึงเป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตประเทศไทย จึงเป็นหนังสือสัญญาที่รัฐธรรมนูญมาตรา 190 วรรคสอง กำหนดให้ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา อาศัยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยชี้ขาดว่า คำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา หรือ Joint Communiqe’ ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมของประเทศอย่างกว้างขวางอีกด้วย ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามประมวลมาตรา 190 วรรคสอง” ดังนั้น การโพสต์ว่านายนพดล ปัทมะ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ในกรณีให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา เป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้น เป็นการใส่ร้ายตรงไหน และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกในประเทศไทยที่ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาที่ไม่ชอบรัฐธรรมนูญนั้นผิดตรงไหน? ต่อมาคำพิพากษาศาลฎีกาสำนวนคดีหมายเลขดำ ที่ อม.3/2556 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่มีความผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 นั้น ในประเด็นแห่งคดีที่ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่ได้นำเรื่องแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภานั้น ศาลฟังไม่ได้ว่า “จำเลยมีเจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”   แปลว่าเราต้องเคารพคำวินิจฉันของศาลรัฐธรรมนูญ และคำพิพากษาของศาลฎีกาซึ่งสรุปสั้นๆ ได้คือ นายนพดล ปัทมะ ในสมัยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ให้ปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกพร้อมแผนผังนั้น เป็นการกระทำที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา และขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ซึ่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทยที่กระทำขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ในอีกคดีหนึ่งที่ศาลฎีกาเห็นว่าไม่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพราะไม่ได้มี “เจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ” จึงต้องตั้งคำถามต่อจากนายนพดล ปัทมะ ที่ตั้งประเด็นในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนว่า จะให้เชื่อใครระหว่างนายสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะ กับกรมสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ของประเทศไทยนั้น ประเทศไทยได้รับบทเรียนจากกระทรวงการต่างประเทศที่ได้มีการกระทำแบบที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ แพ้คำตัดสินตัวปราสาทพระวิหารในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2505 แพ้การตีความพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2556 ดังนั้นการที่มาตั้งคำถามเพื่อด้อยค่าการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในทำนองว่าอาจจะมีความรู้น้อยกว่า กรมสนธิสัญญากระทรวงการต่างประเทศจึงไม่น่าเชื่อถือ โดยไม่ฟังเสียงทักท้วงจากประชาชน ถูกต้องแล้วหรือ? จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงต้องตั้งคำถามว่าข้อความต่อไปนี้ ไม่ใช่ความเท็จ และไม่ใช่การใส่ร้ายป้ายดีใดๆ จริงหรือไม่ ดังจะได้บันทึกให้อ่านกันเป็นข้อความซ้ำกัน 3 ครั้ง ความว่า  “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”  “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”   “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ” ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 813 Views 0 Reviews
  • #เรื่องลับของสายลับ CIA | ตอนที่ 1
    โดย #อัษฎางค์ยมนาค

    การปฏิบัติการของ CIA ในการแทรกซึมเข้าไปในต่างประเทศบางครั้งอาจมีการใช้วิธีการส่งเจ้าหน้าที่ปลอมตัวเข้าไปอยู่ในชุมชนหรือองค์กรต่างๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลข่าวกรอง โดยเจ้าหน้าที่เหล่านี้อาจแฝงตัวภายใต้บทบาทที่ไม่เป็นที่สงสัย เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ นักข่าว หรือแม้แต่นักการทูต การดำเนินการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการลับ (Covert Operations) ที่มุ่งเน้นการรวบรวมข้อมูลข่าวกรองและสร้างเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย

    การแทรกซึมลักษณะนี้มักถูกใช้ในสถานการณ์ที่หน่วยข่าวกรองต้องการรวบรวมข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับประเทศหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น ข้อมูลทางการเมือง การทหาร หรือความเคลื่อนไหวต่างๆ โดยการแฝงตัวและการปลอมตัวช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถทำงานได้โดยไม่เป็นที่สงสัยหรือตรวจพบจากหน่วยงานท้องถิ่น

    อย่างไรก็ตาม วิธีการดังกล่าวมักถูกเก็บเป็นความลับและไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงต่อทั้งเจ้าหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

    การที่เจ้าหน้าที่ของ CIA สามารถแฝงตัวในองค์กรต่างๆ โดยที่คนในองค์กรหรือประเทศนั้นๆ ไม่รู้ว่าพวกเขาเป็นเจ้าหน้าที่ CIA นั้น มีสาเหตุจากหลายปัจจัยที่ซับซ้อน ทั้งการเตรียมการ การปกปิดข้อมูล และการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานหลายฝ่าย:

    1. การปลอมเอกสารและการจัดเตรียมประวัติ (Cover Story)

    • เจ้าหน้าที่ CIA ที่ถูกส่งเข้าไปปฏิบัติการในต่างประเทศมักจะมี cover story ซึ่งเป็นเรื่องราวและเอกสารที่สนับสนุนบทบาทของพวกเขา เช่น ปลอมตัวเป็นนักธุรกิจ นักวิชาการ หรือนักข่าว โดยประวัติเหล่านี้มักจะถูกจัดทำอย่างละเอียด ทั้งประวัติการทำงาน การศึกษา รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารที่แสดงว่าเขามีคุณสมบัติหรือประสบการณ์ที่สอดคล้องกับตำแหน่งงานนั้นๆ

    • รัฐบาลสหรัฐฯ หรือ CIA เองอาจมีการจัดเตรียมเอกสารที่ดูถูกต้องตามกฎหมายเพื่อสนับสนุนเรื่องราวของเจ้าหน้าที่ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารที่ยืนยันอาชีพ การศึกษา หรือประสบการณ์ในสาขานั้นๆ ซึ่งทำให้ดูเป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือสำหรับองค์กรที่รับสมัครงาน

    2. การฝึกอบรมด้านการปกปิดตัวตน (Tradecraft)

    • เจ้าหน้าที่ CIA ได้รับการฝึกฝนในเรื่องของ tradecraft ซึ่งรวมถึงการปกปิดตัวตน การแทรกซึม และการทำงานในฐานะเจ้าหน้าที่ลับ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีใครสามารถสังเกตเห็นพฤติกรรมที่ผิดปกติ ซึ่งพวกเขาจะเรียนรู้วิธีการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูล และการปฏิบัติภารกิจโดยไม่เปิดเผยตัวตนที่แท้จริง

    3. ความร่วมมือขององค์กรหรือหน่วยงานภายในประเทศ

    • ในบางกรณี อาจมีหน่วยงานภายในประเทศหรือองค์กรที่ร่วมมือกับ CIA อย่างลับๆ เช่น หน่วยงานข่าวกรองท้องถิ่นหรือนักการเมืองบางกลุ่มที่ต้องการผลประโยชน์ร่วมกัน หรือสนับสนุนการปฏิบัติการของ CIA ภายในประเทศนั้นๆ

    • อย่างไรก็ตาม ในกรณีส่วนใหญ่ องค์กรที่เจ้าหน้าที่ CIA เข้าไปทำงานจะไม่รู้ว่าเขาเป็นเจ้าหน้าที่ลับ เพราะ CIA ต้องการให้การปฏิบัติการเป็นความลับที่สุด การที่องค์กรทราบว่าเขาเป็น CIA อาจทำให้เกิดปัญหาทางการเมืองหรือความเสี่ยงต่อปฏิบัติการลับนั้น

    4. ความลับและการปกปิดข้อมูล

    • การปฏิบัติการลับของ CIA มักมีการรักษาความลับอย่างสูงสุด มีการจำกัดข้อมูลที่สามารถเปิดเผย และเจ้าหน้าที่ในองค์กรที่ CIA เข้าไปฝังตัวจะไม่ได้รับข้อมูลใดๆ ที่บ่งบอกว่าเขาคือเจ้าหน้าที่ CIA ทำให้ไม่มีข้อสงสัยในตัวเขา

    สรุปคือ เจ้าหน้าที่ CIA สามารถแฝงตัวในองค์กรได้โดยไม่ถูกจับได้เนื่องจากการจัดเตรียมเอกสารที่เป็นมืออาชีพ การฝึกฝนในการปกปิดตัวตน และการทำงานอย่างรัดกุมของ CIA ในการทำให้การปฏิบัติการลับเหล่านี้เป็นไปอย่างแนบเนียน

    โปรดติดตามตอนต่อไป
    #TheNewGeopoliticaalArena #ThaiGeopoliticalSheft

    ตอนที่ 2: https://www.facebook.com/share/p/Uv9bMaUp1RNBH2fj/?mibextid=WC7FNe
    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/1DwX5jiJuU/
    #เรื่องลับของสายลับ CIA | ตอนที่ 1 โดย #อัษฎางค์ยมนาค การปฏิบัติการของ CIA ในการแทรกซึมเข้าไปในต่างประเทศบางครั้งอาจมีการใช้วิธีการส่งเจ้าหน้าที่ปลอมตัวเข้าไปอยู่ในชุมชนหรือองค์กรต่างๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลข่าวกรอง โดยเจ้าหน้าที่เหล่านี้อาจแฝงตัวภายใต้บทบาทที่ไม่เป็นที่สงสัย เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ นักข่าว หรือแม้แต่นักการทูต การดำเนินการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการลับ (Covert Operations) ที่มุ่งเน้นการรวบรวมข้อมูลข่าวกรองและสร้างเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย การแทรกซึมลักษณะนี้มักถูกใช้ในสถานการณ์ที่หน่วยข่าวกรองต้องการรวบรวมข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับประเทศหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น ข้อมูลทางการเมือง การทหาร หรือความเคลื่อนไหวต่างๆ โดยการแฝงตัวและการปลอมตัวช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถทำงานได้โดยไม่เป็นที่สงสัยหรือตรวจพบจากหน่วยงานท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม วิธีการดังกล่าวมักถูกเก็บเป็นความลับและไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงต่อทั้งเจ้าหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การที่เจ้าหน้าที่ของ CIA สามารถแฝงตัวในองค์กรต่างๆ โดยที่คนในองค์กรหรือประเทศนั้นๆ ไม่รู้ว่าพวกเขาเป็นเจ้าหน้าที่ CIA นั้น มีสาเหตุจากหลายปัจจัยที่ซับซ้อน ทั้งการเตรียมการ การปกปิดข้อมูล และการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานหลายฝ่าย: 1. การปลอมเอกสารและการจัดเตรียมประวัติ (Cover Story) • เจ้าหน้าที่ CIA ที่ถูกส่งเข้าไปปฏิบัติการในต่างประเทศมักจะมี cover story ซึ่งเป็นเรื่องราวและเอกสารที่สนับสนุนบทบาทของพวกเขา เช่น ปลอมตัวเป็นนักธุรกิจ นักวิชาการ หรือนักข่าว โดยประวัติเหล่านี้มักจะถูกจัดทำอย่างละเอียด ทั้งประวัติการทำงาน การศึกษา รวมถึงการปลอมแปลงเอกสารที่แสดงว่าเขามีคุณสมบัติหรือประสบการณ์ที่สอดคล้องกับตำแหน่งงานนั้นๆ • รัฐบาลสหรัฐฯ หรือ CIA เองอาจมีการจัดเตรียมเอกสารที่ดูถูกต้องตามกฎหมายเพื่อสนับสนุนเรื่องราวของเจ้าหน้าที่ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารที่ยืนยันอาชีพ การศึกษา หรือประสบการณ์ในสาขานั้นๆ ซึ่งทำให้ดูเป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือสำหรับองค์กรที่รับสมัครงาน 2. การฝึกอบรมด้านการปกปิดตัวตน (Tradecraft) • เจ้าหน้าที่ CIA ได้รับการฝึกฝนในเรื่องของ tradecraft ซึ่งรวมถึงการปกปิดตัวตน การแทรกซึม และการทำงานในฐานะเจ้าหน้าที่ลับ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีใครสามารถสังเกตเห็นพฤติกรรมที่ผิดปกติ ซึ่งพวกเขาจะเรียนรู้วิธีการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูล และการปฏิบัติภารกิจโดยไม่เปิดเผยตัวตนที่แท้จริง 3. ความร่วมมือขององค์กรหรือหน่วยงานภายในประเทศ • ในบางกรณี อาจมีหน่วยงานภายในประเทศหรือองค์กรที่ร่วมมือกับ CIA อย่างลับๆ เช่น หน่วยงานข่าวกรองท้องถิ่นหรือนักการเมืองบางกลุ่มที่ต้องการผลประโยชน์ร่วมกัน หรือสนับสนุนการปฏิบัติการของ CIA ภายในประเทศนั้นๆ • อย่างไรก็ตาม ในกรณีส่วนใหญ่ องค์กรที่เจ้าหน้าที่ CIA เข้าไปทำงานจะไม่รู้ว่าเขาเป็นเจ้าหน้าที่ลับ เพราะ CIA ต้องการให้การปฏิบัติการเป็นความลับที่สุด การที่องค์กรทราบว่าเขาเป็น CIA อาจทำให้เกิดปัญหาทางการเมืองหรือความเสี่ยงต่อปฏิบัติการลับนั้น 4. ความลับและการปกปิดข้อมูล • การปฏิบัติการลับของ CIA มักมีการรักษาความลับอย่างสูงสุด มีการจำกัดข้อมูลที่สามารถเปิดเผย และเจ้าหน้าที่ในองค์กรที่ CIA เข้าไปฝังตัวจะไม่ได้รับข้อมูลใดๆ ที่บ่งบอกว่าเขาคือเจ้าหน้าที่ CIA ทำให้ไม่มีข้อสงสัยในตัวเขา สรุปคือ เจ้าหน้าที่ CIA สามารถแฝงตัวในองค์กรได้โดยไม่ถูกจับได้เนื่องจากการจัดเตรียมเอกสารที่เป็นมืออาชีพ การฝึกฝนในการปกปิดตัวตน และการทำงานอย่างรัดกุมของ CIA ในการทำให้การปฏิบัติการลับเหล่านี้เป็นไปอย่างแนบเนียน โปรดติดตามตอนต่อไป #TheNewGeopoliticaalArena #ThaiGeopoliticalSheft ตอนที่ 2: https://www.facebook.com/share/p/Uv9bMaUp1RNBH2fj/?mibextid=WC7FNe ที่มา https://www.facebook.com/share/p/1DwX5jiJuU/
    0 Comments 0 Shares 602 Views 0 Reviews
  • ประโยชน์ของการเรียนสายสังคม

    จนถึงขณะนี้ยูเครนก็ยังไม่สามารถนำทหารเกาหลีเหนือตัวเป็น ๆ มาแสดงกับสื่อได้ แม้จะมีการแชร์ภาพที่อ้างว่าเป็น "เชลย" เกาหลีเหนือ แต่ก็มีแค่ภาพเท่านั้น เพราะเชลยดังกล่าว "เสียชีวิต" หลังจากยูเครนถ่ายภาพได้แปบเดียวเท่านั้นเอง หลักฐานล่าสุดที่ยูเครนใช้อ้างว่ามีทหารเกาหลีเหนือมาช่วยรัสเซียรบ คือเอกสารภาษาเกาหลีที่ยูเครนอ้างว่าทหารเกาหลีเหนือพกติดตัว ซึ่งหลายคนน่าจะเห็นในสื่อบ้างแล้ว

    ทีนี้มีข้อมูลที่น่าสนใจจาก X ตามบัญชีที่ผมลงรูปไว้เลยนะครับ เจ้าของบัญชีเป็นคนที่ศึกษาภาษาเกาหลี เขาตั้งข้อสังเกตว่าข้อความภาษาเกาหลีในเอกสารที่ยูเครนอ้างว่าทหารเกาหลีเหนือพกติดตัวนั้น ไม่ได้ใช้ฟอนต์ตัวอักษร ศัพท์ หรือสำนวนภาษาแบบที่เกาหลีเหนือใช้ แต่เป็นแบบของเกาหลีใต้ ถ้าที่เขาวิเคราะห์ไว้เป็นความจริง ก็เท่ากับว่ายูเครนจัดฉากเอกสารภาษาเกาหลีดังกล่าวขึ้น โดยอาจร่วมมือกับเกาหลีใต้ รายละเอียดเต็ม ๆ อ่านได้ในบัญชี X ที่ผมลงรูปไว้นะครับ ผมขอไม่แคปมาทั้งหมด เพราะมีรูปศพทหารที่ยูเครนอ้างว่าเป็นทหารเกาหลีเหนือด้วย ผมยังยึดถือนโยบายไม่แชร์ภาพศพทหารที่เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายนะครับ เพราะดูไปก็ไม่ได้มีอะไรเจริญหูเจริญตาขึ้นมา

    จากเรื่องนี้เห็นอะไรไหมครับ คนที่จะวิเคราะห์เรื่องนี้ออกมาได้ ถูกผิดอย่างไรว่ากันอีกที ต้องศึกษาเรื่องภาษาศาสตร์หรือ linguistics มาลึกซึ้งพอสมควร ซึ่งดูผิวเผิน ภาษาศาสตร์อาจไม่เกี่ยวอะไรกับเรื่องการทหารหรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเลย แต่เรื่องนี้กลับใช้ประโยชน์ได้เฉย

    ถ้ามีใครมาถามผมเรื่องแบบนี้ ต่อให้เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษารัสเซีย ผมก็ตอบไม่ได้ครับ เพราะผมไม่ได้เรียนภาษาศาสตร์ ไม่ได้รู้เรื่องฟอนต์ตัวอักษรหรือสำนวนภาษาเฉพาะขนาดนั้น

    แม้แต่ในเรื่องการทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือประวัติศาสตร์ ผมก็ไม่ใช่อับดุล ที่จะรู้ไปหมดทุกเรื่อง ทุกภูมิภาคทั่วโลก

    การจะวิเคราะห์เบื้องลึกเบื้องหลังเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลก ต้องใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ฯลฯ ของทุกภูมิภาค ไทย ยุโรป อาเซียน ฯลฯ มาทำงานร่วมกัน

    ผมเชื่อว่าการเรียนสายสังคมมีประโยชน์ แต่ควรเรียนให้เชี่ยวชาญสาขานั้นจริง ๆ ไม่ใช่มาเรียนแค่เพราะไม่รู้จะเรียนอะไร สอบเข้าคณะอื่นไม่ติด เลยมาเรียนเอาใบปริญญาไปงั้น ๆ และที่สำคัญต้องระวังไม่ให้ระหว่างทางถูก "ล่อลวง" ไปเป็นนักเคลื่อนไหวหรือ activist ไปทำผิดกฎหมาย มีประวัติอาชญากรรม หรือถ้าเลวร้ายมากคือเกิดเหตุการณ์รุนแรงบาดเจ็บล้มตายไป ไม่คุ้มกันเลยครับ

    สวัสดี

    การทูตและการทหาร
    Military and Diplomacy

    29.12.2024
    ประโยชน์ของการเรียนสายสังคม จนถึงขณะนี้ยูเครนก็ยังไม่สามารถนำทหารเกาหลีเหนือตัวเป็น ๆ มาแสดงกับสื่อได้ แม้จะมีการแชร์ภาพที่อ้างว่าเป็น "เชลย" เกาหลีเหนือ แต่ก็มีแค่ภาพเท่านั้น เพราะเชลยดังกล่าว "เสียชีวิต" หลังจากยูเครนถ่ายภาพได้แปบเดียวเท่านั้นเอง หลักฐานล่าสุดที่ยูเครนใช้อ้างว่ามีทหารเกาหลีเหนือมาช่วยรัสเซียรบ คือเอกสารภาษาเกาหลีที่ยูเครนอ้างว่าทหารเกาหลีเหนือพกติดตัว ซึ่งหลายคนน่าจะเห็นในสื่อบ้างแล้ว ทีนี้มีข้อมูลที่น่าสนใจจาก X ตามบัญชีที่ผมลงรูปไว้เลยนะครับ เจ้าของบัญชีเป็นคนที่ศึกษาภาษาเกาหลี เขาตั้งข้อสังเกตว่าข้อความภาษาเกาหลีในเอกสารที่ยูเครนอ้างว่าทหารเกาหลีเหนือพกติดตัวนั้น ไม่ได้ใช้ฟอนต์ตัวอักษร ศัพท์ หรือสำนวนภาษาแบบที่เกาหลีเหนือใช้ แต่เป็นแบบของเกาหลีใต้ ถ้าที่เขาวิเคราะห์ไว้เป็นความจริง ก็เท่ากับว่ายูเครนจัดฉากเอกสารภาษาเกาหลีดังกล่าวขึ้น โดยอาจร่วมมือกับเกาหลีใต้ รายละเอียดเต็ม ๆ อ่านได้ในบัญชี X ที่ผมลงรูปไว้นะครับ ผมขอไม่แคปมาทั้งหมด เพราะมีรูปศพทหารที่ยูเครนอ้างว่าเป็นทหารเกาหลีเหนือด้วย ผมยังยึดถือนโยบายไม่แชร์ภาพศพทหารที่เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายนะครับ เพราะดูไปก็ไม่ได้มีอะไรเจริญหูเจริญตาขึ้นมา จากเรื่องนี้เห็นอะไรไหมครับ คนที่จะวิเคราะห์เรื่องนี้ออกมาได้ ถูกผิดอย่างไรว่ากันอีกที ต้องศึกษาเรื่องภาษาศาสตร์หรือ linguistics มาลึกซึ้งพอสมควร ซึ่งดูผิวเผิน ภาษาศาสตร์อาจไม่เกี่ยวอะไรกับเรื่องการทหารหรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเลย แต่เรื่องนี้กลับใช้ประโยชน์ได้เฉย ถ้ามีใครมาถามผมเรื่องแบบนี้ ต่อให้เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษารัสเซีย ผมก็ตอบไม่ได้ครับ เพราะผมไม่ได้เรียนภาษาศาสตร์ ไม่ได้รู้เรื่องฟอนต์ตัวอักษรหรือสำนวนภาษาเฉพาะขนาดนั้น แม้แต่ในเรื่องการทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือประวัติศาสตร์ ผมก็ไม่ใช่อับดุล ที่จะรู้ไปหมดทุกเรื่อง ทุกภูมิภาคทั่วโลก การจะวิเคราะห์เบื้องลึกเบื้องหลังเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลก ต้องใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ฯลฯ ของทุกภูมิภาค ไทย ยุโรป อาเซียน ฯลฯ มาทำงานร่วมกัน ผมเชื่อว่าการเรียนสายสังคมมีประโยชน์ แต่ควรเรียนให้เชี่ยวชาญสาขานั้นจริง ๆ ไม่ใช่มาเรียนแค่เพราะไม่รู้จะเรียนอะไร สอบเข้าคณะอื่นไม่ติด เลยมาเรียนเอาใบปริญญาไปงั้น ๆ และที่สำคัญต้องระวังไม่ให้ระหว่างทางถูก "ล่อลวง" ไปเป็นนักเคลื่อนไหวหรือ activist ไปทำผิดกฎหมาย มีประวัติอาชญากรรม หรือถ้าเลวร้ายมากคือเกิดเหตุการณ์รุนแรงบาดเจ็บล้มตายไป ไม่คุ้มกันเลยครับ สวัสดี การทูตและการทหาร Military and Diplomacy 29.12.2024
    0 Comments 0 Shares 375 Views 0 Reviews
  • การรถไฟมาลายา ประเทศมาเลเซีย เปิดเดินรถขบวนพิเศษ "มาย สวัสดี ปีนัง อิดิชัน" มายังหาดใหญ่ จ.สงขลา ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ถึงวันที่ 5 ม.ค. เผยผู้โดยสารจองตั๋วแล้วกว่า 70%

    วันนี้ (29 ธ.ค.) เฟซบุ๊ก KTM Berhad ของการรถไฟมาลายา ประเทศมาเลเซีย โพสต์ภาพบรรยากาศการเปิดตัวรถไฟขบวนพิเศษที่ชื่อว่า มาย สวัสดี ปีนัง อิดิชัน (My Sawasdee Penang Edition) เส้นทางจากสถานีบัตเตอร์เวิร์ธ (Butterworth) รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย ถึงสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อเชื่อมโยงจุดหมายปลายทางหลักของทั้งสองสถานี และเป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอย่างใกล้ชิดระหว่างมาเลเซียและไทย

    ทั้งนี้ ขบวนรถไฟมายสวัสดี ปีนัง อิดิชัน ให้บริการทุกวันในช่วงเทศกาลปีใหม่ ถึงวันที่ 5 ม.ค. 2568 ผ่านสถานีบูกิตเมอร์ตาจัม (Bukit Mertajam) สถานีสุไหงเปตานี (Sungai Petani) สถานีอลอร์สตาร์ (Alor Setar) สถานีอาเรา (Arau) และสถานีปาดังเบซาร์ (Padang Besar) ซึ่งในวันแรกของการให้บริการ KTM Berhad ได้มอบของที่ระลึกจำนวน 200 ชุด เพื่อแสดงความขอบคุณแก่สื่อมวลชนและผู้โดยสารที่สนับสนุนบริการของ KTM Berhad อย่างต่อเนื่อง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000124875

    #MGROnline #การรถไฟมาลายา #ประเทศมาเลเซีย
    การรถไฟมาลายา ประเทศมาเลเซีย เปิดเดินรถขบวนพิเศษ "มาย สวัสดี ปีนัง อิดิชัน" มายังหาดใหญ่ จ.สงขลา ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ถึงวันที่ 5 ม.ค. เผยผู้โดยสารจองตั๋วแล้วกว่า 70% • วันนี้ (29 ธ.ค.) เฟซบุ๊ก KTM Berhad ของการรถไฟมาลายา ประเทศมาเลเซีย โพสต์ภาพบรรยากาศการเปิดตัวรถไฟขบวนพิเศษที่ชื่อว่า มาย สวัสดี ปีนัง อิดิชัน (My Sawasdee Penang Edition) เส้นทางจากสถานีบัตเตอร์เวิร์ธ (Butterworth) รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย ถึงสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อเชื่อมโยงจุดหมายปลายทางหลักของทั้งสองสถานี และเป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอย่างใกล้ชิดระหว่างมาเลเซียและไทย • ทั้งนี้ ขบวนรถไฟมายสวัสดี ปีนัง อิดิชัน ให้บริการทุกวันในช่วงเทศกาลปีใหม่ ถึงวันที่ 5 ม.ค. 2568 ผ่านสถานีบูกิตเมอร์ตาจัม (Bukit Mertajam) สถานีสุไหงเปตานี (Sungai Petani) สถานีอลอร์สตาร์ (Alor Setar) สถานีอาเรา (Arau) และสถานีปาดังเบซาร์ (Padang Besar) ซึ่งในวันแรกของการให้บริการ KTM Berhad ได้มอบของที่ระลึกจำนวน 200 ชุด เพื่อแสดงความขอบคุณแก่สื่อมวลชนและผู้โดยสารที่สนับสนุนบริการของ KTM Berhad อย่างต่อเนื่อง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000124875 • #MGROnline #การรถไฟมาลายา #ประเทศมาเลเซีย
    0 Comments 0 Shares 596 Views 0 Reviews
  • 🧵การที่รัสเซียใช้ขีปนาวุธโอเรชนิก เป็นคำเตือนร้ายแรงต่อนาโต้ท่ามกลางอันตรายของสงครามโลก – นักวิเคราะห์

    การโจมตีฐานทัพของยูเครนโดยใช้ขีปนาวุธพิสัยกลางความเร็วเหนือเสียงโอเรชนิกรุ่นใหม่เป็น “คำเตือนร้ายแรงต่อนาโต้ฅ,” โรบินสัน ฟารินาซโซ, อดีตเจ้าหน้าที่บราซิล, กล่าวกับสปุตนิก

    🗨️เขาย้ำว่าประธานาธิบดี โจ ไบเดน ของสหรัฐฯได้ข้าม “เส้นแดง” ด้วยการอนุญาตให้ระบอบเคียฟโจมตีรัสเซียด้วยอาวุธพิสัยไกลของอเมริกา “มอสโกตระหนักดีว่าการโจมตีประเภทนี้ซึ่งยากในทางเทคนิคนั้น สามารถดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อได้รับการสนับสนุนจากนาโต้เท่านั้น, ในกรณีนี้คือสหรัฐฯ,” เขากล่าว
    .
    นักวิเคราะห์คนอื่นๆเห็นด้วย:
    .
    🔸วอชิงตันกำลัง “กระตุ้นให้เกิดการยกระดับความรุนแรงที่เปลี่ยนแปลงธรรมชาติของความขัดแย้งไปอย่างสิ้นเชิง,” ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์การทหาร ริคาร์โด คาบรัล เน้นย้ำ

    🔸การที่สหรัฐฯอนุญาตให้เคียฟใช้อาวุธพิสัยไกลเป็น “การรุกทางจิตวิทยาอย่างต่อเนื่อง” เพื่อทดสอบความอดทนของมอสโกว, นักวิเคราะห์ชาวเวเนซุเอลา วลาดิมีร์ อาเดรียนซา กล่าว, และเสริมว่าขั้นตอนอันตรายของความขัดแย้งมีต้นตอมาจาก “ความกระหายอย่างแรงกล้าของกองทัพ, การเงิน และเทคโนโลยีของสหรัฐฯ”
    .
    🔸มอสโกมีสิทธิทุกประการที่จะปกป้องตัวเองจาก “การกระทำอันชั่วร้ายและเป็นอาชญากรรม” ของนาโต้, อุมแบร์โต โมราเลส ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยอิสระแห่งปวยบลา ประเทศเม็กซิโก กล่าว

    🔸ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน ได้ส่งสารอย่างชัดเจนว่า เหตุการณ์ปัจจุบันในเวทีระหว่างประเทศแสดงให้เห็นถึง "พฤติกรรมการฆ่าตัวตายและไม่รับผิดชอบของชาติตะวันตก ซึ่งคุกคามการทำลายล้างอย่างสิ้นเชิง," นักรัฐศาสตร์ชาวเลบานอน ฮัสซัน ฮมาเดห์ เน้นย้ำ, และเสริมว่า "โลกต้องลุกขึ้นต่อต้านคนชั่วร้ายเหล่านี้ที่มุ่งมั่นที่จะทำลายโลก และการตอบสนองต้องเหมาะสมกับการกระทำของพวกเขา"
    .
    🔸การที่วอชิงตันอนุมัติให้เคียฟใช้ขีปนาวุธที่ผลิตในสหรัฐฯนั้น มีจุดประสงค์เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลในอนาคตของโดนัลด์ ทรัมป์ ต้อง “ดำเนินการท่ามกลางความวุ่นวายทางภูมิรัฐศาสตร์,” ผู้เชี่ยวชาญด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของเวเนซุเอลา วิลเมอร์ เดปาบลอส กล่าว

    🔸เมื่อเหลือเวลาอีกไม่ถึงสองเดือนก่อนการถ่ายโอนอำนาจ, ไบเดนกำลังพยายามทำให้ยากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้สำหรับประธานาธิบดีคนต่อไปในการแก้ไขวิกฤตยูเครน, นักวิทยาศาสตร์การเมืองชาวอิหร่าน Emad Abshenas เชื่อเช่นนั้น

    🔸คำสั่งของปูตินในการใช้ขีปนาวุธ Oreshnik ถือเป็น "คำเตือนสำหรับประเทศสมาชิก NATO ท่ามกลางภัยคุกคามจากสงครามโลกที่เพิ่มมากขึ้น," ผู้เชี่ยวชาญชาวจีน Sima Pingbang อธิบาย และกล่าวต่อไปว่าระบอบการปกครองเคียฟได้กลายมาเป็น "อุปสรรคต่อสันติภาพ" และ "Biden และ Zelensky ไม่สามารถยอมรับชัยชนะของมอสโกได้"
    .
    🧵RUSSIA’S USE OF ORESHNIK MISSILE IS A GRAVE WARNING TO NATO AMID DANGER OF A WORLD WAR – analysts

    Russia’s strike on a Ukrainian defense facility using its new Oreshnik hypersonic medium-range ballistic missile is a “a serious warning to NATO,” Robinson Farinazzo, a retired Brazilian officer, told Sputnik.

    🗨️He underscored that US President Joe Biden crossed "a red line" by authorizing the Kiev regime to strike Russia with long-range American weapons. "Moscow is perfectly aware that this type of attack, technically difficult, can only be carried out with the support of NATO, in this case the US," he said.
    .
    OTHER ANALYSTS AGREE:
    .
    🔸Washington is “provoking an escalation that completely changes the nature of the conflict,” military history expert Ricardo Cabral emphasized.

    🔸The US allowing Kiev to use long-range weapons is "a continued psychological offensive" to test Moscow's tolerance, Venezuelan analyst Vladimir Adrianza noted, adding that the dangerous stage of the conflict stems from the “voracious appetite of the US military, financial and technological complex.”
    .
    🔸Moscow has every right to defend itself against NATO's “sinister and criminal actions," noted Humberto Morales, professor at the Autonomous University of Puebla, Mexico.

    🔸President Vladimir Putin has clearly conveyed the message that current events on the international arena demonstrate the “suicidal and irresponsible behavior by the West which threatens total destruction,” Lebanese political scientist Hassan Hmadeh underscored, adding, "The world must stand up to these evil people who are determined to destroy the planet, and the response must be commensurate with their actions."
    .
    🔸Washington's approval for Kiev to use US-made missiles is intended to force Donald Trump’s future administration to “operate in geopolitical chaos,” Venezuelan international relations expert Wilmer Depablos said.

    🔸With less than two months to go before the transfer of power, Biden is trying to make it as difficult as possible for the next president to resolve the Ukraine crisis, Iranian political scientist Emad Abshenas believes.

    🔸Putin's order to use the Oreshnik missile is “a warning to NATO countries amid the growing threat of a world war,” Chinese pundit Sima Pingbang explained, going on to say that the Kiev regime has become “an obstacle to peace” and that “Biden and Zelensky are unable to accept Moscow's victory."
    .
    8:59 PM · Nov 22, 2024 · 9,427 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1859959796624982449
    🧵การที่รัสเซียใช้ขีปนาวุธโอเรชนิก เป็นคำเตือนร้ายแรงต่อนาโต้ท่ามกลางอันตรายของสงครามโลก – นักวิเคราะห์ การโจมตีฐานทัพของยูเครนโดยใช้ขีปนาวุธพิสัยกลางความเร็วเหนือเสียงโอเรชนิกรุ่นใหม่เป็น “คำเตือนร้ายแรงต่อนาโต้ฅ,” โรบินสัน ฟารินาซโซ, อดีตเจ้าหน้าที่บราซิล, กล่าวกับสปุตนิก 🗨️เขาย้ำว่าประธานาธิบดี โจ ไบเดน ของสหรัฐฯได้ข้าม “เส้นแดง” ด้วยการอนุญาตให้ระบอบเคียฟโจมตีรัสเซียด้วยอาวุธพิสัยไกลของอเมริกา “มอสโกตระหนักดีว่าการโจมตีประเภทนี้ซึ่งยากในทางเทคนิคนั้น สามารถดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อได้รับการสนับสนุนจากนาโต้เท่านั้น, ในกรณีนี้คือสหรัฐฯ,” เขากล่าว . นักวิเคราะห์คนอื่นๆเห็นด้วย: . 🔸วอชิงตันกำลัง “กระตุ้นให้เกิดการยกระดับความรุนแรงที่เปลี่ยนแปลงธรรมชาติของความขัดแย้งไปอย่างสิ้นเชิง,” ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์การทหาร ริคาร์โด คาบรัล เน้นย้ำ 🔸การที่สหรัฐฯอนุญาตให้เคียฟใช้อาวุธพิสัยไกลเป็น “การรุกทางจิตวิทยาอย่างต่อเนื่อง” เพื่อทดสอบความอดทนของมอสโกว, นักวิเคราะห์ชาวเวเนซุเอลา วลาดิมีร์ อาเดรียนซา กล่าว, และเสริมว่าขั้นตอนอันตรายของความขัดแย้งมีต้นตอมาจาก “ความกระหายอย่างแรงกล้าของกองทัพ, การเงิน และเทคโนโลยีของสหรัฐฯ” . 🔸มอสโกมีสิทธิทุกประการที่จะปกป้องตัวเองจาก “การกระทำอันชั่วร้ายและเป็นอาชญากรรม” ของนาโต้, อุมแบร์โต โมราเลส ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยอิสระแห่งปวยบลา ประเทศเม็กซิโก กล่าว 🔸ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน ได้ส่งสารอย่างชัดเจนว่า เหตุการณ์ปัจจุบันในเวทีระหว่างประเทศแสดงให้เห็นถึง "พฤติกรรมการฆ่าตัวตายและไม่รับผิดชอบของชาติตะวันตก ซึ่งคุกคามการทำลายล้างอย่างสิ้นเชิง," นักรัฐศาสตร์ชาวเลบานอน ฮัสซัน ฮมาเดห์ เน้นย้ำ, และเสริมว่า "โลกต้องลุกขึ้นต่อต้านคนชั่วร้ายเหล่านี้ที่มุ่งมั่นที่จะทำลายโลก และการตอบสนองต้องเหมาะสมกับการกระทำของพวกเขา" . 🔸การที่วอชิงตันอนุมัติให้เคียฟใช้ขีปนาวุธที่ผลิตในสหรัฐฯนั้น มีจุดประสงค์เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลในอนาคตของโดนัลด์ ทรัมป์ ต้อง “ดำเนินการท่ามกลางความวุ่นวายทางภูมิรัฐศาสตร์,” ผู้เชี่ยวชาญด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของเวเนซุเอลา วิลเมอร์ เดปาบลอส กล่าว 🔸เมื่อเหลือเวลาอีกไม่ถึงสองเดือนก่อนการถ่ายโอนอำนาจ, ไบเดนกำลังพยายามทำให้ยากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้สำหรับประธานาธิบดีคนต่อไปในการแก้ไขวิกฤตยูเครน, นักวิทยาศาสตร์การเมืองชาวอิหร่าน Emad Abshenas เชื่อเช่นนั้น 🔸คำสั่งของปูตินในการใช้ขีปนาวุธ Oreshnik ถือเป็น "คำเตือนสำหรับประเทศสมาชิก NATO ท่ามกลางภัยคุกคามจากสงครามโลกที่เพิ่มมากขึ้น," ผู้เชี่ยวชาญชาวจีน Sima Pingbang อธิบาย และกล่าวต่อไปว่าระบอบการปกครองเคียฟได้กลายมาเป็น "อุปสรรคต่อสันติภาพ" และ "Biden และ Zelensky ไม่สามารถยอมรับชัยชนะของมอสโกได้" . 🧵RUSSIA’S USE OF ORESHNIK MISSILE IS A GRAVE WARNING TO NATO AMID DANGER OF A WORLD WAR – analysts Russia’s strike on a Ukrainian defense facility using its new Oreshnik hypersonic medium-range ballistic missile is a “a serious warning to NATO,” Robinson Farinazzo, a retired Brazilian officer, told Sputnik. 🗨️He underscored that US President Joe Biden crossed "a red line" by authorizing the Kiev regime to strike Russia with long-range American weapons. "Moscow is perfectly aware that this type of attack, technically difficult, can only be carried out with the support of NATO, in this case the US," he said. . OTHER ANALYSTS AGREE: . 🔸Washington is “provoking an escalation that completely changes the nature of the conflict,” military history expert Ricardo Cabral emphasized. 🔸The US allowing Kiev to use long-range weapons is "a continued psychological offensive" to test Moscow's tolerance, Venezuelan analyst Vladimir Adrianza noted, adding that the dangerous stage of the conflict stems from the “voracious appetite of the US military, financial and technological complex.” . 🔸Moscow has every right to defend itself against NATO's “sinister and criminal actions," noted Humberto Morales, professor at the Autonomous University of Puebla, Mexico. 🔸President Vladimir Putin has clearly conveyed the message that current events on the international arena demonstrate the “suicidal and irresponsible behavior by the West which threatens total destruction,” Lebanese political scientist Hassan Hmadeh underscored, adding, "The world must stand up to these evil people who are determined to destroy the planet, and the response must be commensurate with their actions." . 🔸Washington's approval for Kiev to use US-made missiles is intended to force Donald Trump’s future administration to “operate in geopolitical chaos,” Venezuelan international relations expert Wilmer Depablos said. 🔸With less than two months to go before the transfer of power, Biden is trying to make it as difficult as possible for the next president to resolve the Ukraine crisis, Iranian political scientist Emad Abshenas believes. 🔸Putin's order to use the Oreshnik missile is “a warning to NATO countries amid the growing threat of a world war,” Chinese pundit Sima Pingbang explained, going on to say that the Kiev regime has become “an obstacle to peace” and that “Biden and Zelensky are unable to accept Moscow's victory." . 8:59 PM · Nov 22, 2024 · 9,427 Views https://x.com/SputnikInt/status/1859959796624982449
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 1227 Views 0 Reviews
More Results