• ชาวโรมาเนียมากกว่า 100,000 คน ออกมารวมตัวชุมนุมใจกลางกรุงบูคาเรสต์ เมืองหลวงของโรมาเนีย เพื่อประท้วงคำตัดสินของศาลจากการยกเลิกผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีรอบแรก

    นับเป็นสิ่งที่ไม่น่าเกิดขึ้นในโรมาเนีย ประเทศที่ถูกครอบงำโดยยุโรปและกลุ่มพันธมิตรนาโต้ และขณะนี้ชาวโรมาเนียกำลังส่งข้อความที่สำคัญอย่างยิ่งไปยังรัฐบาลของพวกเขา นักการเมืองยุโรป และทั่วโลก

    ผู้ประท้วงเรียกร้องให้มีการยืนยันผลการเลือกตั้ง ซึ่ง "คอลิน จอร์เจสคู" (Călin Georgescu) ผู้สมัครฝ่ายอนุรักษ์นิยมได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้นในเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก (โรมาเนียแบ่งการเลือกตั้งเป็นสองรอบ)

    ก่อนการเลือกตั้งรอบที่สองจะมีขึ้นเพียงไม่กี่วัน ศาลรัฐธรรมนูญประกาศให้ผลการเลือกตั้งเป็นโมฆะ จนถึงขณะนี้ยังไม่มีการกำหนดวันเลือกตั้งใหม่แต่อย่างใด โดยกล่าวหาว่าจอร์เจสคูมีส่วนพัวพันและเชื่อมโยงกับรัสเซียในแคมเปญช่วยหาเสียงของเขา ซึ่งศาลระบุว่าเป็นอิทธิพลจากภายนอกที่เป็นแรงจูงใจในการลงคะแนนของประชาชน แต่จากเอกสารของศาลที่เผยแพร่ออกมาก็ยังไม่สามารถชี้ชัดได้ว่ารัสเซียเกี่ยวข้องอย่างไร จนนำมาสู่การต่อต้านของประชาชนใในวันนี้

    ชัยชนะของจอร์เจสคูสร้างความไม่พอใจต่อยุโรปเป็นอย่างมาก โดยยุโรปเกรงว่าโรมาเนียจะหันหลังให้ตะวันตกและกลับไปหามอสโก เนื่องจากจอร์เจสคูมีแนวคิดชาตินิยมคล้ายคลึงกับปูติน และยังเคยกล่าวชมปูตินในเรื่องความรักชาติ จอร์เจสคูมักแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์นาโตและ EU อย่างรุนแรงบ่อยครั้งอีกด้วย

    หลังชัยชนะของจอร์เจสคู ยุโรปออกมาต่อต้านมากมาย โดยกล่าวหาว่ารัสเซียอยู่เบื้องหลังการเลือกตั้งครั้งนี้

    “อย่ายุ่งกับการเลือกตั้งของโรมาเนีย!” “ประชาธิปไตยจะต้องเป็นผลงานของโรมาเนีย ไม่ใช่ผลงานของเครมลิน” เดวิด แลมมี รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ กล่าวหารัสเซียอย่างรุนแรง

    เน้นย้ำกันอีกครั้ง โรมาเนียคือตำแหน่งยุทศาสตร์ของนาโต้ที่สำคัญที่สุด! จะต้องไม่ปล่อยให้หลุดมือไปจากตะวันตก อย่างเช่นจอร์เจียในขณะนี้

    ลำดับช่วงเวลาการเลือกตั้งของโรมาเนีย:
    วันที่ 3 ธันวา 2567 ประกาศรับรองผลการเลือกตั้งรอบแรก
    วันที่ 6 ธันวา 2567 ศาลตัดสินผลการเลือกตั้งให้เป็นโมฆะ เพียงสองวันก่อนการเลือกตั้งรอบที่สองจะมีขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม 2567
    ชาวโรมาเนียมากกว่า 100,000 คน ออกมารวมตัวชุมนุมใจกลางกรุงบูคาเรสต์ เมืองหลวงของโรมาเนีย เพื่อประท้วงคำตัดสินของศาลจากการยกเลิกผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีรอบแรก นับเป็นสิ่งที่ไม่น่าเกิดขึ้นในโรมาเนีย ประเทศที่ถูกครอบงำโดยยุโรปและกลุ่มพันธมิตรนาโต้ และขณะนี้ชาวโรมาเนียกำลังส่งข้อความที่สำคัญอย่างยิ่งไปยังรัฐบาลของพวกเขา นักการเมืองยุโรป และทั่วโลก ผู้ประท้วงเรียกร้องให้มีการยืนยันผลการเลือกตั้ง ซึ่ง "คอลิน จอร์เจสคู" (Călin Georgescu) ผู้สมัครฝ่ายอนุรักษ์นิยมได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้นในเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก (โรมาเนียแบ่งการเลือกตั้งเป็นสองรอบ) ก่อนการเลือกตั้งรอบที่สองจะมีขึ้นเพียงไม่กี่วัน ศาลรัฐธรรมนูญประกาศให้ผลการเลือกตั้งเป็นโมฆะ จนถึงขณะนี้ยังไม่มีการกำหนดวันเลือกตั้งใหม่แต่อย่างใด โดยกล่าวหาว่าจอร์เจสคูมีส่วนพัวพันและเชื่อมโยงกับรัสเซียในแคมเปญช่วยหาเสียงของเขา ซึ่งศาลระบุว่าเป็นอิทธิพลจากภายนอกที่เป็นแรงจูงใจในการลงคะแนนของประชาชน แต่จากเอกสารของศาลที่เผยแพร่ออกมาก็ยังไม่สามารถชี้ชัดได้ว่ารัสเซียเกี่ยวข้องอย่างไร จนนำมาสู่การต่อต้านของประชาชนใในวันนี้ ชัยชนะของจอร์เจสคูสร้างความไม่พอใจต่อยุโรปเป็นอย่างมาก โดยยุโรปเกรงว่าโรมาเนียจะหันหลังให้ตะวันตกและกลับไปหามอสโก เนื่องจากจอร์เจสคูมีแนวคิดชาตินิยมคล้ายคลึงกับปูติน และยังเคยกล่าวชมปูตินในเรื่องความรักชาติ จอร์เจสคูมักแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์นาโตและ EU อย่างรุนแรงบ่อยครั้งอีกด้วย หลังชัยชนะของจอร์เจสคู ยุโรปออกมาต่อต้านมากมาย โดยกล่าวหาว่ารัสเซียอยู่เบื้องหลังการเลือกตั้งครั้งนี้ “อย่ายุ่งกับการเลือกตั้งของโรมาเนีย!” “ประชาธิปไตยจะต้องเป็นผลงานของโรมาเนีย ไม่ใช่ผลงานของเครมลิน” เดวิด แลมมี รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ กล่าวหารัสเซียอย่างรุนแรง เน้นย้ำกันอีกครั้ง โรมาเนียคือตำแหน่งยุทศาสตร์ของนาโต้ที่สำคัญที่สุด! จะต้องไม่ปล่อยให้หลุดมือไปจากตะวันตก อย่างเช่นจอร์เจียในขณะนี้ ลำดับช่วงเวลาการเลือกตั้งของโรมาเนีย: วันที่ 3 ธันวา 2567 ประกาศรับรองผลการเลือกตั้งรอบแรก วันที่ 6 ธันวา 2567 ศาลตัดสินผลการเลือกตั้งให้เป็นโมฆะ เพียงสองวันก่อนการเลือกตั้งรอบที่สองจะมีขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม 2567
    Like
    5
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 355 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ประชาธิปไตยเค้าทำกันแบบนี้!!"

    Thierry Breton อดีตกรรมาธิการยุโรป กล่าวอย่างไม่สะทกสะท้านว่า สหภาพยุโรปมีเครื่องมือมากมายในการจัดการกับของพรรค AfD ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายขวาหรือฝ่ายอนุรักษ์นิยมของเยอรมนี หากพวกเขาได้ชัยชนะในการเลือกตั้งที่จะถึงนี้

    "เราทำสำเร็จมาแล้วในโรมาเนีย และเราจะทำอีกหากจำเป็นในเยอรมนี"

    - การเลือกตั้งประธานาธิบดีล่าสุดในโรมาเนีย คอลิน จอร์เจสคู (Călin Georgescu) ซึ่งเป็นผู้สมัครฝ่ายอนุรักษ์นิยม และมีแนวคิดชื่นชมแนวทางของปูตินได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ผลการเลือกตั้งเป็นโมฆะ โดยกล่าวหาว่ารัสเซียเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานใดๆเกี่ยวกับข้อกล่าวหานี้ นอกจากนี้ยังไม่มีการกำหนดวันเลือกตั้งใหม่แต่อย่างใด

    - สำหรับพรรค AfD เป็นพรรคสายอนุรักษ์นิยมเช่นเดียวกัน และต่อต้านการส่งอาวุธเพื่อช่วยเหลือยูเครนมาโดยตลอด

    "ประชาธิปไตยเค้าทำกันแบบนี้!!" Thierry Breton อดีตกรรมาธิการยุโรป กล่าวอย่างไม่สะทกสะท้านว่า สหภาพยุโรปมีเครื่องมือมากมายในการจัดการกับของพรรค AfD ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายขวาหรือฝ่ายอนุรักษ์นิยมของเยอรมนี หากพวกเขาได้ชัยชนะในการเลือกตั้งที่จะถึงนี้ "เราทำสำเร็จมาแล้วในโรมาเนีย และเราจะทำอีกหากจำเป็นในเยอรมนี" - การเลือกตั้งประธานาธิบดีล่าสุดในโรมาเนีย คอลิน จอร์เจสคู (Călin Georgescu) ซึ่งเป็นผู้สมัครฝ่ายอนุรักษ์นิยม และมีแนวคิดชื่นชมแนวทางของปูตินได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ผลการเลือกตั้งเป็นโมฆะ โดยกล่าวหาว่ารัสเซียเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานใดๆเกี่ยวกับข้อกล่าวหานี้ นอกจากนี้ยังไม่มีการกำหนดวันเลือกตั้งใหม่แต่อย่างใด - สำหรับพรรค AfD เป็นพรรคสายอนุรักษ์นิยมเช่นเดียวกัน และต่อต้านการส่งอาวุธเพื่อช่วยเหลือยูเครนมาโดยตลอด
    Like
    Haha
    Sad
    4
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 435 มุมมอง 48 0 รีวิว
  • (7 ม.ค. 68) รายงานข่าวCh7.com ระบุว่าศาลเกาหลีใต้อนุมัติหมายจับฉบับใหม่ต่อนายยุน ซอกยอล อดีตประธานาธิบดีเกาหลีใต้ หลังหมายจับฉบับเดิมหมดอายุลงเมื่อวานนี้ทั้งนี้ สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูง (CIO) ของเกาหลีใต้, สำนักงานสอบสวนแห่งชาติ (NOI) และสำนักงานสอบสวนของกระทรวงกลาโหม ออกแถลงการณ์ระบุว่า ศาลได้อนุมัติหมายจับดังกล่าวในบ่ายวันนี้ หลังจากที่การจับกุมนายยุนประสบความล้มเหลวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา เนื่องจากถูกขัดขวางจากหน่วยอารักขาประธานาธิบดี ซึ่งอ้างว่าการจับกุมดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายรัฐสภาเกาหลีใต้มีมติถอดถอนนายยุนออกจากตำแหน่งในเดือนที่แล้ว โดยระบุว่าการประกาศกฎอัยการศึกของนายยุนเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. เป็นการกระทำที่ลุแก่อำนาจ และขัดต่อรัฐธรรมนูญต่อมารัฐสภาได้ยื่นเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งกระบวนการตัดสินของศาลอาจต้องใช้เวลานานถึง 180 วัน ซึ่งหากศาลมีคำพิพากษาให้นายยุนพ้นจากตำแหน่ง รัฐบาลก็จะต้องประกาศจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีใหม่ภายใน 60 วัน ที่มาhttps://news.ch7.com/detail/777282 :
    (7 ม.ค. 68) รายงานข่าวCh7.com ระบุว่าศาลเกาหลีใต้อนุมัติหมายจับฉบับใหม่ต่อนายยุน ซอกยอล อดีตประธานาธิบดีเกาหลีใต้ หลังหมายจับฉบับเดิมหมดอายุลงเมื่อวานนี้ทั้งนี้ สำนักงานสอบสวนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ระดับสูง (CIO) ของเกาหลีใต้, สำนักงานสอบสวนแห่งชาติ (NOI) และสำนักงานสอบสวนของกระทรวงกลาโหม ออกแถลงการณ์ระบุว่า ศาลได้อนุมัติหมายจับดังกล่าวในบ่ายวันนี้ หลังจากที่การจับกุมนายยุนประสบความล้มเหลวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา เนื่องจากถูกขัดขวางจากหน่วยอารักขาประธานาธิบดี ซึ่งอ้างว่าการจับกุมดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายรัฐสภาเกาหลีใต้มีมติถอดถอนนายยุนออกจากตำแหน่งในเดือนที่แล้ว โดยระบุว่าการประกาศกฎอัยการศึกของนายยุนเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. เป็นการกระทำที่ลุแก่อำนาจ และขัดต่อรัฐธรรมนูญต่อมารัฐสภาได้ยื่นเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งกระบวนการตัดสินของศาลอาจต้องใช้เวลานานถึง 180 วัน ซึ่งหากศาลมีคำพิพากษาให้นายยุนพ้นจากตำแหน่ง รัฐบาลก็จะต้องประกาศจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีใหม่ภายใน 60 วัน ที่มาhttps://news.ch7.com/detail/777282 :
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 232 มุมมอง 0 รีวิว
  • เจ้าหน้าที่สอบสวนจากสำนักงานปราบปรามการทุจริตของเกาหลีใต้เตรียมขอขยายเวลาหมายจับ รวมทั้งขอให้ตำรวจเข้าจับกุมยุน ซอก-ยอล หลังจากประธานาธิบดีที่กำลังถูกสอบสวนเพื่อถอดถอนผู้นี้ขัดขวางการเข้าควบคุมตัวจากกรณีการประกาศกฎอัยการศึกมาตลอดหนึ่งสัปดาห์
    .
    ยุน อดีตอัยการดาวเด่น ปฏิเสธการไปให้ปากคำและกบดานอยู่ในที่พักประธานาธิบดีท่ามกลางการอารักขาของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนับร้อย
    .
    ลี แจ-ซอง รองผู้อำนวยการสำนักงานปราบปรามการทุจริต (ซีไอโอ) เผยว่า กำลังเตรียมยื่นคำร้องต่อศาลให้ขยายหมายจับที่กำลังจะหมดอายุเที่ยงคืนวันจันทร์ (6 ม.ค.) รวมทั้งขอให้ตำรวจเข้าดำเนินการจับกุมยุนแทน ขณะที่ทีมกฎหมายของยุนแย้งว่า ซีไอโอไม่มีอำนาจในการจับกุมประธานาธิบดี
    .
    สัปดาห์ที่แล้ว เจ้าหน้าที่ต้องล้มเลิกความพยายามเข้าจับกุมยุนด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย หลังเผชิญหน้ากับหน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีนับร้อยคนนานนับชั่วโมง
    .
    ทั้งนี้ หากถูกจับกุมและถูกตัดสินว่าผิด ยุนอาจถูกจำคุกหรือรับโทษประหาร จากกรณีการประกาศกฎอัยการศึกช่วงสั้นๆ เมื่อต้นเดือนธันวาคมและนำเกาหลีใต้เข้าสู่วิกฤตการเมืองครั้งเลวร้ายที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ทว่า ทั้งยุน และผู้สนับสนุนยังคงต่อต้านการจับกุม
    .
    คิม ซู ยอง วัย 62 ปี หนึ่งในแกนนำการชุมนุม ประกาศว่า หน่วยอารักขาจะปกป้องประธานาธิบดี และผู้ชุมนุมจะปกป้องหน่วยอารักขาอีกทอดจนถึงเที่ยงคืนวันจันทร์ รวมทั้งยืนยันว่า ถ้ามีการออกหมายจับใหม่ก็จะมาชุมนุมกันอีก
    .
    นอกจากนั้น เมื่อเช้าวันจันทร์ยังมีสมาชิกสภาจากพรรคพลังประชาชน (พีพีพี) ของยุนไปปรากฏตัวหน้าที่พักประธานาธิบดี
    .
    ทางด้านตำรวจได้ปิดถนนเพื่อป้องกันผู้ประท้วงที่คาดว่าจะรวมพลังกันต่อในวันจันทร์ ขณะที่ผู้ชุมนุมทั้งฝ่ายสนับสนุนและต่อต้านยุนหลายสิบคนปักหลักค้างคืนในวันอาทิตย์ (5 ม.ค.) ท่ามกลางอุณหภูมิติดลบ
    .
    ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่ขอออกหมายจับครั้งแรกเนื่องจากยุนไม่ยอมไปให้ปากคำเรื่องการประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งทีมกฎหมายของยุนย้ำว่า หมายจับดังกล่าวผิดกฎหมายและจะดำเนินการทางกฎหมายเพื่อตอบโต้ ขณะที่หัวหน้าหน่วยอารักขาประธานาธิบดีประกาศเมื่อวันอาทิตย์ว่า จะไม่ยอมให้เจ้าหน้าที่สอบสวนเข้าจับกุมยุน
    .
    ขณะเดียวกัน แอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ เดินทางถึงโซลเมื่อเช้าวันจันทร์เพื่อหารือกับเจ้าหน้าที่รัฐบาลเกาหลีใต้ที่รวมถึงชอย ซัง-ม็อก รัฐมนตรีคลังและรักษาการประธานาธิบดี
    .
    บลิงเคนไม่มีกำหนดพบกับยุนที่ถูกระงับการปฏิบัติหน้าที่ แต่แถลงข่าวร่วมกับโช แต-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ และความสนใจของบลิงเคนเปลี่ยนจากประเด็นการเมืองภายในของเกาหลีใต้ เนื่องจากก่อนแถลงข่าวไม่นาน เปียงยางได้ทดสอบยิงขีปนาวุธข้ามทวีป
    .
    อนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ระบุว่า จะเริ่มการพิจารณาคดีถอดถอนยุนในวันอังคารหน้า (14 ม.ค.) ไม่ว่ายุนจะไปปรากฏตัวในศาลหรือไม่ก็ตาม โดยศาลรัฐธรรมนูญมีเวลา 180 วันในการวินิจฉัยว่า จะถอดถอนหรือคืนตำแหน่งให้ยุน
    .
    เอเอฟพีรายงานโดยอ้างอิงจากรายงานของอัยการเกี่ยวกับอดีตรัฐมนตรีกลาโหมว่า ยุนเพิกเฉยต่อการคัดค้านของรัฐมนตรีสำคัญหลายคนก่อนที่จะประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งรายงานนี้อาจเป็นหลักฐานที่ศาลรัฐธรรมนูญรับไว้พิจารณา
    .
    ตามรายงานดังกล่าว นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีต่างประเทศ และรัฐมนตรีคลังในขณะนั้น ต่างแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจและการทูตที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการประชุมคณะรัฐมนตรีในคืนที่ยุนประกาศกฎอัยการศึก
    .
    นอกจากนั้น พรรคประชาธิปไตยที่เป็นฝ่ายค้านสำคัญยังเรียกร้องให้ยุบหน่วยอารักขายุน
    .
    อย่างไรก็ดี ทีมกฎหมายของยุนยืนยันว่า จะใช้สิทธิดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดกฎหมายเช่นเดียวกัน โดยเมื่อวันอาทิตย์ ยุน กั๊บ-กึน ทนายความคนหนึ่งในทีม เผยว่า จะยื่นคำร้องคัดค้านผู้อำนวยการซีไอโอที่พยายามเข้าจับกุมยุน
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000001570
    ..............
    Sondhi X
    เจ้าหน้าที่สอบสวนจากสำนักงานปราบปรามการทุจริตของเกาหลีใต้เตรียมขอขยายเวลาหมายจับ รวมทั้งขอให้ตำรวจเข้าจับกุมยุน ซอก-ยอล หลังจากประธานาธิบดีที่กำลังถูกสอบสวนเพื่อถอดถอนผู้นี้ขัดขวางการเข้าควบคุมตัวจากกรณีการประกาศกฎอัยการศึกมาตลอดหนึ่งสัปดาห์ . ยุน อดีตอัยการดาวเด่น ปฏิเสธการไปให้ปากคำและกบดานอยู่ในที่พักประธานาธิบดีท่ามกลางการอารักขาของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนับร้อย . ลี แจ-ซอง รองผู้อำนวยการสำนักงานปราบปรามการทุจริต (ซีไอโอ) เผยว่า กำลังเตรียมยื่นคำร้องต่อศาลให้ขยายหมายจับที่กำลังจะหมดอายุเที่ยงคืนวันจันทร์ (6 ม.ค.) รวมทั้งขอให้ตำรวจเข้าดำเนินการจับกุมยุนแทน ขณะที่ทีมกฎหมายของยุนแย้งว่า ซีไอโอไม่มีอำนาจในการจับกุมประธานาธิบดี . สัปดาห์ที่แล้ว เจ้าหน้าที่ต้องล้มเลิกความพยายามเข้าจับกุมยุนด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย หลังเผชิญหน้ากับหน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีนับร้อยคนนานนับชั่วโมง . ทั้งนี้ หากถูกจับกุมและถูกตัดสินว่าผิด ยุนอาจถูกจำคุกหรือรับโทษประหาร จากกรณีการประกาศกฎอัยการศึกช่วงสั้นๆ เมื่อต้นเดือนธันวาคมและนำเกาหลีใต้เข้าสู่วิกฤตการเมืองครั้งเลวร้ายที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ทว่า ทั้งยุน และผู้สนับสนุนยังคงต่อต้านการจับกุม . คิม ซู ยอง วัย 62 ปี หนึ่งในแกนนำการชุมนุม ประกาศว่า หน่วยอารักขาจะปกป้องประธานาธิบดี และผู้ชุมนุมจะปกป้องหน่วยอารักขาอีกทอดจนถึงเที่ยงคืนวันจันทร์ รวมทั้งยืนยันว่า ถ้ามีการออกหมายจับใหม่ก็จะมาชุมนุมกันอีก . นอกจากนั้น เมื่อเช้าวันจันทร์ยังมีสมาชิกสภาจากพรรคพลังประชาชน (พีพีพี) ของยุนไปปรากฏตัวหน้าที่พักประธานาธิบดี . ทางด้านตำรวจได้ปิดถนนเพื่อป้องกันผู้ประท้วงที่คาดว่าจะรวมพลังกันต่อในวันจันทร์ ขณะที่ผู้ชุมนุมทั้งฝ่ายสนับสนุนและต่อต้านยุนหลายสิบคนปักหลักค้างคืนในวันอาทิตย์ (5 ม.ค.) ท่ามกลางอุณหภูมิติดลบ . ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่ขอออกหมายจับครั้งแรกเนื่องจากยุนไม่ยอมไปให้ปากคำเรื่องการประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งทีมกฎหมายของยุนย้ำว่า หมายจับดังกล่าวผิดกฎหมายและจะดำเนินการทางกฎหมายเพื่อตอบโต้ ขณะที่หัวหน้าหน่วยอารักขาประธานาธิบดีประกาศเมื่อวันอาทิตย์ว่า จะไม่ยอมให้เจ้าหน้าที่สอบสวนเข้าจับกุมยุน . ขณะเดียวกัน แอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ เดินทางถึงโซลเมื่อเช้าวันจันทร์เพื่อหารือกับเจ้าหน้าที่รัฐบาลเกาหลีใต้ที่รวมถึงชอย ซัง-ม็อก รัฐมนตรีคลังและรักษาการประธานาธิบดี . บลิงเคนไม่มีกำหนดพบกับยุนที่ถูกระงับการปฏิบัติหน้าที่ แต่แถลงข่าวร่วมกับโช แต-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ และความสนใจของบลิงเคนเปลี่ยนจากประเด็นการเมืองภายในของเกาหลีใต้ เนื่องจากก่อนแถลงข่าวไม่นาน เปียงยางได้ทดสอบยิงขีปนาวุธข้ามทวีป . อนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ระบุว่า จะเริ่มการพิจารณาคดีถอดถอนยุนในวันอังคารหน้า (14 ม.ค.) ไม่ว่ายุนจะไปปรากฏตัวในศาลหรือไม่ก็ตาม โดยศาลรัฐธรรมนูญมีเวลา 180 วันในการวินิจฉัยว่า จะถอดถอนหรือคืนตำแหน่งให้ยุน . เอเอฟพีรายงานโดยอ้างอิงจากรายงานของอัยการเกี่ยวกับอดีตรัฐมนตรีกลาโหมว่า ยุนเพิกเฉยต่อการคัดค้านของรัฐมนตรีสำคัญหลายคนก่อนที่จะประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งรายงานนี้อาจเป็นหลักฐานที่ศาลรัฐธรรมนูญรับไว้พิจารณา . ตามรายงานดังกล่าว นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีต่างประเทศ และรัฐมนตรีคลังในขณะนั้น ต่างแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจและการทูตที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการประชุมคณะรัฐมนตรีในคืนที่ยุนประกาศกฎอัยการศึก . นอกจากนั้น พรรคประชาธิปไตยที่เป็นฝ่ายค้านสำคัญยังเรียกร้องให้ยุบหน่วยอารักขายุน . อย่างไรก็ดี ทีมกฎหมายของยุนยืนยันว่า จะใช้สิทธิดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดกฎหมายเช่นเดียวกัน โดยเมื่อวันอาทิตย์ ยุน กั๊บ-กึน ทนายความคนหนึ่งในทีม เผยว่า จะยื่นคำร้องคัดค้านผู้อำนวยการซีไอโอที่พยายามเข้าจับกุมยุน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000001570 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 885 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชาวเกาหลีใต้หลายพันคนปักหลักชุมนุมท่ามกลางพายุหิมะหน้าที่พักประธานาธิบดี ยุน ซอก-ยอล ในวันอาทิตย์ (5 ม.ค.) ก่อนเส้นตายหมายจับกรณีการประกาศกฎอัยการศึกจะสิ้นสุดในอีกไม่ถึง 48 ชั่วโมง
    .
    ยุนนำเกาหลีใต้เข้าสู่วิกฤตการเมืองตั้งแต่ต้นเดือนที่แล้วจากการประกาศกฎอัยการศึกช่วงสั้นๆ และนับจากนั้นก็กบดานอยู่ในทำเนียบประธานาธิบดีโดยมีหน่วยอารักขาที่จงรักภักดีห้อมล้อมป้องกันการเข้าจับกุมของทางการ
    .
    วันเสาร์ (4 ม.ค.) ประชาชนหลายพันคนไปรวมตัวกันที่หน้าทำเนียบประธานาธิบดีและถนนหลักหลายสายในกรุงโซล หลังจากความพยายามเข้าจับกุมยุนล้มเหลว โดยฝ่ายหนึ่งเรียกร้องให้จับกุมประธานาธิบดีผู้นี้ ขณะที่อีกฝ่ายต้องการให้ประกาศว่า การถอดถอนยุนเป็นโมฆะ ผู้ประท้วงเหล่านั้นนัดชุมนุมใหญ่อีกครั้งในวันอาทิตย์แม้มีหิมะตกลงมาอย่างหนักเมื่อคืนวันเสาร์ก็ตาม
    .
    ลี จิน-อา วัย 28 ปี ที่เคยทำงานในร้านกาแฟแห่งหนึ่ง บอกว่า ลาออกจากงานเพื่อไปประท้วงต่อต้านยุนและปกป้องประเทศชาติและประชาธิปไตย โดยไม่สนใจว่า หิมะจะตกหนักแค่ไหน ลียังปักหลักค้างแรมหน้าทำเนียบประธานาธิบดีเนื่องจากบ้านอยู่ไกลเกินกว่าจะเดินทางกลับ
    .
    เช่นเดียวกับพัค ยอง-ชุล วัย 70 ปี ที่บอกว่า เคยไปรบกับคอมมิวนิสต์ท่ามกลางอุณหภูมิติดลบ 20 องศา และตอนนี้ต้องออกรบอีกครั้งเพื่อปกป้องยุนก่อนที่หมายจับจะหมดอายุเที่ยงคืนวันจันทร์
    .
    การชุมนุมท่ามกลางความหนาวเหน็บเกิดขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ผ่านมายุนเผยว่า ได้ติดตามการชุมนุมของผู้สนับสนุนตนเองจากไลฟ์สตรีมบนยูทูบ พร้อมประกาศ “สู้” กับพวกที่พยายามตั้งคำถามกับการประกาศกฎอัยการศึกของตน
    .
    การยึดอำนาจในช่วงสั้นๆ ดังกล่าวส่งผลให้ยุนเผชิญข้อหาอาญาจากการก่อกบฏ ซึ่งเป็นหนึ่งในคดีอาญาไม่กี่คดีที่ประธานาธิบดีไม่ได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกัน ซึ่งเท่ากับว่า ยุนอาจถูกตัดสินจำคุกหรือเลวร้ายที่สุดคือประหารชีวิต หากมีการบังคับใช้หมายจับ ยุนจะเป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้คนแรกที่ถูกจับกุมขณะอยู่ในตำแหน่ง
    .
    ทั้งนี้ พรรคประชาธิปไตย (ดีพี) ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านสำคัญ เรียกร้องให้ยุบหน่วยอารักขาประธานาธิบดี หลังจากเจ้าหน้าที่สอบสวนถูกกองกำลังรักษาความปลอดภัยนับร้อยขัดขวางไม่ให้เข้าถึงตัวยุน
    .
    พัค ชาน-แด ผู้นำดีพีในรัฐสภา กล่าวเมื่อวันเสาร์ว่า หน่วยอารักขาประธานาธิบดีละเมิดรัฐธรรมนูญด้วยการตั้งตนเป็นกองกำลังปฏิวัติ จึงไม่มีความชอบธรรมอีกต่อไป
    .
    สำนักงานสอบสวนการทุจริต (ซีไอโอ) ที่ทำการสอบสวนกรณีการประกาศกฎอัยการศึก และฝ่ายค้านเรียกร้องให้ชอย ซัง-ม็อก สมาชิกพรรคเดียวกับยุนที่เข้ารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์ สั่งให้หน่วยอารักขาประธานาธิบดีให้ความร่วมมือในการสอบสวน
    .
    นอกจากนั้น มีแนวโน้มว่า แอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ที่เดินทางถึงโซลในวันอาทิตย์ จะหารือกับโช แท-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ เกี่ยวกับวิกฤตการเมืองที่เกาหลีใต้เผชิญอยู่ รวมถึงสนับสนุนให้สานต่อนโยบายของยุนในวันจันทร์ (6 ม.ค.)
    .
    วันศุกร์ที่ผ่านมา ทนายความของยุนระบุว่า ความพยายามจับกุมประธานาธิบดี “ผิดกฎหมายและไม่ถูกต้อง” และประกาศจะดำเนินการตามกฎหมาย ขณะที่หน่วยอารักขาและทหารกีดขวางไม่ให้เจ้าหน้าที่สอบสวนเข้าถึงตัวยุน และต้องล้มเลิกความพยายามโดยระบุเหตุผลด้านความปลอดภัย
    .
    ทางด้านศาลรัฐธรรมนูญนั้นจะเริ่มการไต่สวนในวันที่ 14 ม.ค. ไม่ว่ายุนจะไปให้การหรือไม่ก็ตาม โดยมีเวลา 180 วันในการวินิจฉัยว่า จะปลดหรือคืนตำแหน่งให้ยุนซึ่งในระหว่างนี้ถูกห้ามปฏิบัติหน้าที่
    .
    ทั้งนี้ อดีตประธานาธิบดีโน มู-เฮียน และพัค กึน-ฮเยไม่เคยไปปรากฏตัวในการพิจารณาคดีถอดถอนแต่อย่างใด
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000001202
    ..............
    Sondhi X
    ชาวเกาหลีใต้หลายพันคนปักหลักชุมนุมท่ามกลางพายุหิมะหน้าที่พักประธานาธิบดี ยุน ซอก-ยอล ในวันอาทิตย์ (5 ม.ค.) ก่อนเส้นตายหมายจับกรณีการประกาศกฎอัยการศึกจะสิ้นสุดในอีกไม่ถึง 48 ชั่วโมง . ยุนนำเกาหลีใต้เข้าสู่วิกฤตการเมืองตั้งแต่ต้นเดือนที่แล้วจากการประกาศกฎอัยการศึกช่วงสั้นๆ และนับจากนั้นก็กบดานอยู่ในทำเนียบประธานาธิบดีโดยมีหน่วยอารักขาที่จงรักภักดีห้อมล้อมป้องกันการเข้าจับกุมของทางการ . วันเสาร์ (4 ม.ค.) ประชาชนหลายพันคนไปรวมตัวกันที่หน้าทำเนียบประธานาธิบดีและถนนหลักหลายสายในกรุงโซล หลังจากความพยายามเข้าจับกุมยุนล้มเหลว โดยฝ่ายหนึ่งเรียกร้องให้จับกุมประธานาธิบดีผู้นี้ ขณะที่อีกฝ่ายต้องการให้ประกาศว่า การถอดถอนยุนเป็นโมฆะ ผู้ประท้วงเหล่านั้นนัดชุมนุมใหญ่อีกครั้งในวันอาทิตย์แม้มีหิมะตกลงมาอย่างหนักเมื่อคืนวันเสาร์ก็ตาม . ลี จิน-อา วัย 28 ปี ที่เคยทำงานในร้านกาแฟแห่งหนึ่ง บอกว่า ลาออกจากงานเพื่อไปประท้วงต่อต้านยุนและปกป้องประเทศชาติและประชาธิปไตย โดยไม่สนใจว่า หิมะจะตกหนักแค่ไหน ลียังปักหลักค้างแรมหน้าทำเนียบประธานาธิบดีเนื่องจากบ้านอยู่ไกลเกินกว่าจะเดินทางกลับ . เช่นเดียวกับพัค ยอง-ชุล วัย 70 ปี ที่บอกว่า เคยไปรบกับคอมมิวนิสต์ท่ามกลางอุณหภูมิติดลบ 20 องศา และตอนนี้ต้องออกรบอีกครั้งเพื่อปกป้องยุนก่อนที่หมายจับจะหมดอายุเที่ยงคืนวันจันทร์ . การชุมนุมท่ามกลางความหนาวเหน็บเกิดขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ผ่านมายุนเผยว่า ได้ติดตามการชุมนุมของผู้สนับสนุนตนเองจากไลฟ์สตรีมบนยูทูบ พร้อมประกาศ “สู้” กับพวกที่พยายามตั้งคำถามกับการประกาศกฎอัยการศึกของตน . การยึดอำนาจในช่วงสั้นๆ ดังกล่าวส่งผลให้ยุนเผชิญข้อหาอาญาจากการก่อกบฏ ซึ่งเป็นหนึ่งในคดีอาญาไม่กี่คดีที่ประธานาธิบดีไม่ได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกัน ซึ่งเท่ากับว่า ยุนอาจถูกตัดสินจำคุกหรือเลวร้ายที่สุดคือประหารชีวิต หากมีการบังคับใช้หมายจับ ยุนจะเป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้คนแรกที่ถูกจับกุมขณะอยู่ในตำแหน่ง . ทั้งนี้ พรรคประชาธิปไตย (ดีพี) ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านสำคัญ เรียกร้องให้ยุบหน่วยอารักขาประธานาธิบดี หลังจากเจ้าหน้าที่สอบสวนถูกกองกำลังรักษาความปลอดภัยนับร้อยขัดขวางไม่ให้เข้าถึงตัวยุน . พัค ชาน-แด ผู้นำดีพีในรัฐสภา กล่าวเมื่อวันเสาร์ว่า หน่วยอารักขาประธานาธิบดีละเมิดรัฐธรรมนูญด้วยการตั้งตนเป็นกองกำลังปฏิวัติ จึงไม่มีความชอบธรรมอีกต่อไป . สำนักงานสอบสวนการทุจริต (ซีไอโอ) ที่ทำการสอบสวนกรณีการประกาศกฎอัยการศึก และฝ่ายค้านเรียกร้องให้ชอย ซัง-ม็อก สมาชิกพรรคเดียวกับยุนที่เข้ารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์ สั่งให้หน่วยอารักขาประธานาธิบดีให้ความร่วมมือในการสอบสวน . นอกจากนั้น มีแนวโน้มว่า แอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ที่เดินทางถึงโซลในวันอาทิตย์ จะหารือกับโช แท-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้ เกี่ยวกับวิกฤตการเมืองที่เกาหลีใต้เผชิญอยู่ รวมถึงสนับสนุนให้สานต่อนโยบายของยุนในวันจันทร์ (6 ม.ค.) . วันศุกร์ที่ผ่านมา ทนายความของยุนระบุว่า ความพยายามจับกุมประธานาธิบดี “ผิดกฎหมายและไม่ถูกต้อง” และประกาศจะดำเนินการตามกฎหมาย ขณะที่หน่วยอารักขาและทหารกีดขวางไม่ให้เจ้าหน้าที่สอบสวนเข้าถึงตัวยุน และต้องล้มเลิกความพยายามโดยระบุเหตุผลด้านความปลอดภัย . ทางด้านศาลรัฐธรรมนูญนั้นจะเริ่มการไต่สวนในวันที่ 14 ม.ค. ไม่ว่ายุนจะไปให้การหรือไม่ก็ตาม โดยมีเวลา 180 วันในการวินิจฉัยว่า จะปลดหรือคืนตำแหน่งให้ยุนซึ่งในระหว่างนี้ถูกห้ามปฏิบัติหน้าที่ . ทั้งนี้ อดีตประธานาธิบดีโน มู-เฮียน และพัค กึน-ฮเยไม่เคยไปปรากฏตัวในการพิจารณาคดีถอดถอนแต่อย่างใด . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000001202 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1054 มุมมอง 0 รีวิว
  • “นพดล ปัทมะ” คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    ณ บ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    ประเด็นที่  นายนพดล ปัทมะ อ้างว่า ปราสาทพระวิหารได้เป็นของกัมพูชาตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเมื่อปี พ.ศ.2505 แล้ว แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่กระทบต่อประเทศไทยใดๆเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็นความจริงที่พูดไม่ครบเพราะ

    ประการแรก นายนพดลอาจจะไม่ได้ตระหนักว่า นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวนที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในวันข้างหน้า” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เอาไว้ด้วย โดยผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติก็ไม่มีข้อปฏิเสธใดๆ

    ข้อสงวนดังกล่าวเป็นการแสดงออกของรัฐบาลไทย ถึงความอยุติธรรมของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 

    ข้อสงวนดังกล่าวไม่ได้อ้างข้อบทบัญญัติในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ แต่เมื่อฝ่ายไทยเพลี่ยงพล้ำในเวทีนี้ ฝ่ายไทยก็ไม่ได้เป็นสมาชิกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอีกจนถึงปัจจุบัน และข้อสงวนของฝ่ายไทยนั้นก็ไม่ได้อ้างอิงข้อบทในกฎหมายของศาลยุติธรรมต่างประเทศในเวลานั้น หากแต่วันหนึ่งในวันข้างหน้าที่กฎหมายพัฒนา หรือเกิดสิทธิที่ถูกต้องเป็นธรรมขึ้น ก็พร้อมที่จะทวงคืนประสาทพระวิหารกลับคืนมาด้วย จึงเป็นการสงวนสิทธิ์ในอนาคตแบบไม่ได้กำหนดระยะเวลา

    ดังนั้น การอ้างว่าไทยได้แพ้ในคดีปราสาทพระวิหารไปแล้ว การลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่ได้เป็นการยกปราสาทพระวิหารให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวนั้น จึงต้องตั้งคำถามว่ารัฐบาลไทยได้ละทิ้งข้อสงวนของไทยที่นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวน” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 จริงหรือไม่?

     ประการที่สอง ประเด็นการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของตัวปราสาทวิหารนั้นจะไม่สามารถทำได้ หากไม่มีพื้นที่พัฒนา พื้นที่กันชน ซึ่งเป็นเรื่อง “แผ่นดิน” นอกเหนือจาก “ตัวปราสาทพระวิหาร” ตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2505 จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนว่า มีการยินยอมจากฝ่ายไทยในแผนผัง(N1, N2, N3) ให้ตัวปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาได้อย่างไร โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา

    ความจริงเรื่องนี้ไม่ควรจะถกเถียงใดๆ อีกแล้ว เพราะศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยที่ 6-7/2511 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ได้มีคำวินิจฉัยชี้ขาดสิ้นสุดไปแล้ว ในคดีที่สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม่ โดยปรากฏคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในหน้าที่ 23-24 ความตอนหนึ่งว่า

    “ส่วนเรื่องอาณาเขตของประเทศนั้น ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในบริเวณที่ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ การดำเนินการและการพิจารณาวินิจฉัยในเรื่องนี้จึงต้องกระทำอย่างรอบคอบ หากเป็นกรณีที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศแล้ว ย่อมจะต้องดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 วรรคสองด้วย

    สำหรับคำแถลงการณ์ร่วม-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นั้น แม้จะไม่ได้ปรากฏสาระสำคัญอย่างชัดเจนว่าเป็นหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่อันเป็นอาณาเขตของประเทศไทยก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาข้อบททั้งหมดในคำแถลงการณ์ร่วมประกอบกับแผนที่หรือแผนผังแนบท้ายซึ่งจัดทำขึ้นโดยประเทศกัมพูชาแต่เพียงฝ่ายเดียว อันประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำแถลงการณ์ร่วมแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าแผนที่ดังกล่าวได้กล่าวอ้างถึงพื้นที่ N.1 N.2 และ N.3 ได้ชัดเจนว่ามีบริเวณครอบคลุมส่วนใดของประเทศใดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื่องอาณาเขตของประเทศไทย อันเป็นปัญหาที่ละเอียดอ่อนและอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศตอบไปภายหน้าได้ 

    ประกอบกับการที่ประเทศกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกนั้นมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประเด็นโต้เถียงกันในเรื่องของเส้นเขตแดนและขอบเขตที่ปราสาทตั้งอยู่ ทั้งเป็นประเด็นที่มีความเห็นแตกต่างกันทั้งทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด

    การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้ดำเนินการเจรจากับประเทศกัมพูชาก่อนที่จะได้มีการลงนามคำแถลงการร่วมดังกล่าว พึงเล็งเห็นได้ว่า การลงนามคำแถลงการณ์ร่วมไป ก็อาจก่อให้เกิดการแตกแยกกันทางด้านความคิดเห็นของคนในสังคมทั้งสองประเทศ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดวิกฤติแก่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมอย่างกว้างขวาง คำแถลงการณ์ร่วมดังกล่าวจึงเป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตประเทศไทย จึงเป็นหนังสือสัญญาที่รัฐธรรมนูญมาตรา 190 วรรคสอง กำหนดให้ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา

    อาศัยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยชี้ขาดว่า คำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา หรือ Joint Communiqe’ ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมของประเทศอย่างกว้างขวางอีกด้วย ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามประมวลมาตรา 190 วรรคสอง”

    ดังนั้น การโพสต์ว่านายนพดล ปัทมะ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ในกรณีให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา เป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้น เป็นการใส่ร้ายตรงไหน และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกในประเทศไทยที่ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาที่ไม่ชอบรัฐธรรมนูญนั้นผิดตรงไหน?

    ต่อมาคำพิพากษาศาลฎีกาสำนวนคดีหมายเลขดำ ที่ อม.3/2556 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่มีความผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 นั้น ในประเด็นแห่งคดีที่ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่ได้นำเรื่องแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภานั้น ศาลฟังไม่ได้ว่า “จำเลยมีเจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”

      แปลว่าเราต้องเคารพคำวินิจฉันของศาลรัฐธรรมนูญ และคำพิพากษาของศาลฎีกาซึ่งสรุปสั้นๆ ได้คือ นายนพดล ปัทมะ ในสมัยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ให้ปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกพร้อมแผนผังนั้น เป็นการกระทำที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา และขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ซึ่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทยที่กระทำขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ในอีกคดีหนึ่งที่ศาลฎีกาเห็นว่าไม่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพราะไม่ได้มี “เจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”

    จึงต้องตั้งคำถามต่อจากนายนพดล ปัทมะ ที่ตั้งประเด็นในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนว่า จะให้เชื่อใครระหว่างนายสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะ กับกรมสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ของประเทศไทยนั้น ประเทศไทยได้รับบทเรียนจากกระทรวงการต่างประเทศที่ได้มีการกระทำแบบที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ แพ้คำตัดสินตัวปราสาทพระวิหารในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2505 แพ้การตีความพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2556 ดังนั้นการที่มาตั้งคำถามเพื่อด้อยค่าการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในทำนองว่าอาจจะมีความรู้น้อยกว่า กรมสนธิสัญญากระทรวงการต่างประเทศจึงไม่น่าเชื่อถือ โดยไม่ฟังเสียงทักท้วงจากประชาชน ถูกต้องแล้วหรือ?

    จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงต้องตั้งคำถามว่าข้อความต่อไปนี้ ไม่ใช่ความเท็จ และไม่ใช่การใส่ร้ายป้ายดีใดๆ จริงหรือไม่ ดังจะได้บันทึกให้อ่านกันเป็นข้อความซ้ำกัน 3 ครั้ง ความว่า

     “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

     “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

      “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต



    “นพดล ปัทมะ” คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ณ บ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ประเด็นที่  นายนพดล ปัทมะ อ้างว่า ปราสาทพระวิหารได้เป็นของกัมพูชาตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเมื่อปี พ.ศ.2505 แล้ว แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่กระทบต่อประเทศไทยใดๆเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารเป็นความจริงที่พูดไม่ครบเพราะ ประการแรก นายนพดลอาจจะไม่ได้ตระหนักว่า นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวนที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในวันข้างหน้า” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เอาไว้ด้วย โดยผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติก็ไม่มีข้อปฏิเสธใดๆ ข้อสงวนดังกล่าวเป็นการแสดงออกของรัฐบาลไทย ถึงความอยุติธรรมของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ  ข้อสงวนดังกล่าวไม่ได้อ้างข้อบทบัญญัติในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ แต่เมื่อฝ่ายไทยเพลี่ยงพล้ำในเวทีนี้ ฝ่ายไทยก็ไม่ได้เป็นสมาชิกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอีกจนถึงปัจจุบัน และข้อสงวนของฝ่ายไทยนั้นก็ไม่ได้อ้างอิงข้อบทในกฎหมายของศาลยุติธรรมต่างประเทศในเวลานั้น หากแต่วันหนึ่งในวันข้างหน้าที่กฎหมายพัฒนา หรือเกิดสิทธิที่ถูกต้องเป็นธรรมขึ้น ก็พร้อมที่จะทวงคืนประสาทพระวิหารกลับคืนมาด้วย จึงเป็นการสงวนสิทธิ์ในอนาคตแบบไม่ได้กำหนดระยะเวลา ดังนั้น การอ้างว่าไทยได้แพ้ในคดีปราสาทพระวิหารไปแล้ว การลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา จึงไม่ได้เป็นการยกปราสาทพระวิหารให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวนั้น จึงต้องตั้งคำถามว่ารัฐบาลไทยได้ละทิ้งข้อสงวนของไทยที่นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ในเวลานั้นได้ยื่นหนังสือ “ข้อสงวน” ถึงผู้รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 จริงหรือไม่?  ประการที่สอง ประเด็นการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของตัวปราสาทวิหารนั้นจะไม่สามารถทำได้ หากไม่มีพื้นที่พัฒนา พื้นที่กันชน ซึ่งเป็นเรื่อง “แผ่นดิน” นอกเหนือจาก “ตัวปราสาทพระวิหาร” ตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2505 จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนว่า มีการยินยอมจากฝ่ายไทยในแผนผัง(N1, N2, N3) ให้ตัวปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียวในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาได้อย่างไร โดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา ความจริงเรื่องนี้ไม่ควรจะถกเถียงใดๆ อีกแล้ว เพราะศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยที่ 6-7/2511 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ได้มีคำวินิจฉัยชี้ขาดสิ้นสุดไปแล้ว ในคดีที่สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า แถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม่ โดยปรากฏคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในหน้าที่ 23-24 ความตอนหนึ่งว่า “ส่วนเรื่องอาณาเขตของประเทศนั้น ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในบริเวณที่ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ การดำเนินการและการพิจารณาวินิจฉัยในเรื่องนี้จึงต้องกระทำอย่างรอบคอบ หากเป็นกรณีที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศแล้ว ย่อมจะต้องดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 วรรคสองด้วย สำหรับคำแถลงการณ์ร่วม-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นั้น แม้จะไม่ได้ปรากฏสาระสำคัญอย่างชัดเจนว่าเป็นหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่อันเป็นอาณาเขตของประเทศไทยก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาข้อบททั้งหมดในคำแถลงการณ์ร่วมประกอบกับแผนที่หรือแผนผังแนบท้ายซึ่งจัดทำขึ้นโดยประเทศกัมพูชาแต่เพียงฝ่ายเดียว อันประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำแถลงการณ์ร่วมแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าแผนที่ดังกล่าวได้กล่าวอ้างถึงพื้นที่ N.1 N.2 และ N.3 ได้ชัดเจนว่ามีบริเวณครอบคลุมส่วนใดของประเทศใดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อผลกระทบเรื่องอาณาเขตของประเทศไทย อันเป็นปัญหาที่ละเอียดอ่อนและอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศตอบไปภายหน้าได้  ประกอบกับการที่ประเทศกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกนั้นมีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประเด็นโต้เถียงกันในเรื่องของเส้นเขตแดนและขอบเขตที่ปราสาทตั้งอยู่ ทั้งเป็นประเด็นที่มีความเห็นแตกต่างกันทั้งทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้ดำเนินการเจรจากับประเทศกัมพูชาก่อนที่จะได้มีการลงนามคำแถลงการร่วมดังกล่าว พึงเล็งเห็นได้ว่า การลงนามคำแถลงการณ์ร่วมไป ก็อาจก่อให้เกิดการแตกแยกกันทางด้านความคิดเห็นของคนในสังคมทั้งสองประเทศ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดวิกฤติแก่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมอย่างกว้างขวาง คำแถลงการณ์ร่วมดังกล่าวจึงเป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตประเทศไทย จึงเป็นหนังสือสัญญาที่รัฐธรรมนูญมาตรา 190 วรรคสอง กำหนดให้ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา อาศัยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยชี้ขาดว่า คำแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา หรือ Joint Communiqe’ ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็นหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางสังคมของประเทศอย่างกว้างขวางอีกด้วย ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามประมวลมาตรา 190 วรรคสอง” ดังนั้น การโพสต์ว่านายนพดล ปัทมะ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ที่ไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ในกรณีให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา เป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้น เป็นการใส่ร้ายตรงไหน และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกในประเทศไทยที่ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาที่ไม่ชอบรัฐธรรมนูญนั้นผิดตรงไหน? ต่อมาคำพิพากษาศาลฎีกาสำนวนคดีหมายเลขดำ ที่ อม.3/2556 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่มีความผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 นั้น ในประเด็นแห่งคดีที่ว่านายนพดล ปัทมะ ไม่ได้นำเรื่องแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชาไม่ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภานั้น ศาลฟังไม่ได้ว่า “จำเลยมีเจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ”   แปลว่าเราต้องเคารพคำวินิจฉันของศาลรัฐธรรมนูญ และคำพิพากษาของศาลฎีกาซึ่งสรุปสั้นๆ ได้คือ นายนพดล ปัทมะ ในสมัยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา ให้ปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกพร้อมแผนผังนั้น เป็นการกระทำที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา และขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ซึ่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทยที่กระทำขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ในอีกคดีหนึ่งที่ศาลฎีกาเห็นว่าไม่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพราะไม่ได้มี “เจตนาหลีกเลี่ยงไม่นำร่างแถลงการณ์ร่วมฯ ให้รัฐสภาพิจารณาเห็นชอบ” จึงต้องตั้งคำถามต่อจากนายนพดล ปัทมะ ที่ตั้งประเด็นในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนว่า จะให้เชื่อใครระหว่างนายสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะ กับกรมสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ของประเทศไทยนั้น ประเทศไทยได้รับบทเรียนจากกระทรวงการต่างประเทศที่ได้มีการกระทำแบบที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ แพ้คำตัดสินตัวปราสาทพระวิหารในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2505 แพ้การตีความพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2556 ดังนั้นการที่มาตั้งคำถามเพื่อด้อยค่าการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในทำนองว่าอาจจะมีความรู้น้อยกว่า กรมสนธิสัญญากระทรวงการต่างประเทศจึงไม่น่าเชื่อถือ โดยไม่ฟังเสียงทักท้วงจากประชาชน ถูกต้องแล้วหรือ? จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงต้องตั้งคำถามว่าข้อความต่อไปนี้ ไม่ใช่ความเท็จ และไม่ใช่การใส่ร้ายป้ายดีใดๆ จริงหรือไม่ ดังจะได้บันทึกให้อ่านกันเป็นข้อความซ้ำกัน 3 ครั้ง ความว่า  “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”  “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ”   “นายนพดล ปัทมะ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนแรกของประเทศไทย ลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ” ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 352 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผู้มาชุมนุมหน้าศาลยุติธรรมในโณมาเนียแสดงความไม่พอใจและตะโกนชื่อ "จอร์จเชสคู จอร์จเชสคู!" หลังจากศาลเลื่อนการพิจารณาคดีที่กล่าวหาจอร์จเชสคูเกี่ยวข้องกับการทำให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะไปเป็นวันที่ 13 มกราคม

    คอลิน จอร์เจสคู ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก (โรมาเนียแบ่งการเลือกตั้งเป็นสองรอบ) แต่ถูกศาลรัฐธรรมนูญประกาศให้เป็นโมฆะ โดยกล่าวหาว่าจอร์เจสคูมีส่วนพัวพันและเชื่อมโยงกับรัสเซีย ในแคมเปญช่วยหาเสียงของเขา ซึ่งถือเป็นอิทธิพลจากภายนอก แต่จากเอกสารของศาลที่เผยแพร่ออกมาก็ยังไม่ได้ชี้ชัดไปว่ารัสเซียเกี่ยวข้องอย่างไร

    คอลิน จอร์เจสคู วัย 62 ปี ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรกอย่างที่ไม่มีใครคาดคิด สร้างความวิตกกังวลต่อยุโรปเป็นอย่างมาก เนื่องจากเกรงว่าจะเป็นการปลุกกระแสต่อต้านยุโรป รวมทั้งนาโต้และยูเครน ซึ่งโรมาเนียคือตำแหน่งยุทศาสตร์ของนาโต้ที่สำคัญที่สุด!

    เขาเป็นผู้สมัครอิสระและมีแนวคิดชาตินิยมคล้ายคลึงกับปูติน และยังเคยกล่าวชมปูตินในเรื่องความรักชาติ จอร์เจสคูมักแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์นาโตและ EU อย่างรุนแรงบ่อยครั้ง พร้อมขู่จะยุติความช่วยเหลือทั้งหมดต่อยูเครน ซึ่งสร้างความไม่พอใจต่อยุโรปว่าโรมาเนียกำลังจะหันหลังให้ตะวันตกไปหามอสโก
    ผู้มาชุมนุมหน้าศาลยุติธรรมในโณมาเนียแสดงความไม่พอใจและตะโกนชื่อ "จอร์จเชสคู จอร์จเชสคู!" หลังจากศาลเลื่อนการพิจารณาคดีที่กล่าวหาจอร์จเชสคูเกี่ยวข้องกับการทำให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะไปเป็นวันที่ 13 มกราคม คอลิน จอร์เจสคู ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก (โรมาเนียแบ่งการเลือกตั้งเป็นสองรอบ) แต่ถูกศาลรัฐธรรมนูญประกาศให้เป็นโมฆะ โดยกล่าวหาว่าจอร์เจสคูมีส่วนพัวพันและเชื่อมโยงกับรัสเซีย ในแคมเปญช่วยหาเสียงของเขา ซึ่งถือเป็นอิทธิพลจากภายนอก แต่จากเอกสารของศาลที่เผยแพร่ออกมาก็ยังไม่ได้ชี้ชัดไปว่ารัสเซียเกี่ยวข้องอย่างไร คอลิน จอร์เจสคู วัย 62 ปี ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรกอย่างที่ไม่มีใครคาดคิด สร้างความวิตกกังวลต่อยุโรปเป็นอย่างมาก เนื่องจากเกรงว่าจะเป็นการปลุกกระแสต่อต้านยุโรป รวมทั้งนาโต้และยูเครน ซึ่งโรมาเนียคือตำแหน่งยุทศาสตร์ของนาโต้ที่สำคัญที่สุด! เขาเป็นผู้สมัครอิสระและมีแนวคิดชาตินิยมคล้ายคลึงกับปูติน และยังเคยกล่าวชมปูตินในเรื่องความรักชาติ จอร์เจสคูมักแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์นาโตและ EU อย่างรุนแรงบ่อยครั้ง พร้อมขู่จะยุติความช่วยเหลือทั้งหมดต่อยูเครน ซึ่งสร้างความไม่พอใจต่อยุโรปว่าโรมาเนียกำลังจะหันหลังให้ตะวันตกไปหามอสโก
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • MOU 2544 "นพดล" อย่าทำตัวเป็นเต่าหัวหด
    .
    หลังจากเมื่อวันอังคารที่ 24 ธันวาคม ที่ผ่านมา ผม อาจารย์ปานเทพ และคณะ เดินทางไปที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อทวงถามนายกฯ หลังครบ 15 วัน ที่ได้ยื่นหนังสือขอให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544
    .
    เรื่องนี้รัฐบาลเดือดร้อนมาก วันเดียวกันนั้นเลย นายกฯ อุ๊งอิ๊งค์ พอถูกถามเรื่อง MOU 2544 ก็ออกมาอ้อมๆ แอ้มๆ ว่าไม่ได้ปล่อยผ่านเรื่องนี้ แต่ยังยืนกรานไม่ยอมเปิดเวทีสาธารณะ หรือเวทีดีเบตตามสื่อ เพราะรู้ว่าเปิดเมื่อไรก็ตายคาเวทีเลย ไม่ว่าจะเป็นใคร แม้กระทั่งคนอย่างเช่นนายนพดล ปัทมะ ที่ทำตัวเป็นคนปากเก่ง
    .
    ปัจจุบันนี้ นายนพดล มีตำแหน่งเป็น สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ออกมาแถลงข่าวตอบโต้พวกผม เมื่อวันพุธที่ 25 ธันวาคม ที่ผ่านมา ไม่ใช่ตอบโต้อย่างเดียวด้อยค่าพวกผมว่า ระหว่างพวกผม กับกรมสนธิสัญญาฯ กระทรวงการต่างประเทศ จะเชื่อใคร
    .
    คุณนพดลครับ ถ้าคุณมีตา มีสมอง คุณคงรู้ว่าประชาชนทั่วไป 90กว่าเปอร์เซ็นต์ เขาคิดอย่างไรกับคุณ ผมตอบคุณอย่างนี้ดีกว่า สั้นๆ 4 ข้อ แล้วผมจะส่งคำท้าไปที่คุณด้วย อย่าเก่งแต่ปากสิ มาเจอกัน คุณโกหกหน้าด้านๆ โกหกประชาชน เพราะคุณพูดความจริงไม่ครบ
    .
    ประการแรก คุณดำเนินการเรื่องปราสาทพระวิหารแล้วศาลฎีกาตัดสินว่าไม่ผิด แต่นั่นเป็นคดีกล่าวหาเรื่องการทุจริตต่อหน้าที่ ไม่ได้แปลว่าคุณนพดลไม่ได้ทำผิด คุณน่ะทำผิด เพราะอีก 2 คดี คือคดีศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองสูงสุด ได้วินิจฉัยเสร็จสิ้นไปแล้วกรณีที่คุณนพดลไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา เพื่อยกปราสาทพระวิหารและพื้นที่ไทยบางส่วนให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียว เมื่อปี 2551
    .
    ประการที่สอง คุณพยายามด้อยค่าพวกผม สงสัยคุณไม่ได้ดูที่อาจารย์ปานเทพตอบโต้กับข้าราชการกรมสนธิสัญญาฯจนกระทั่งหน้าแตก ไปที่ศูนย์รับเรื่องฯ ประชุมกัน ไปถูก แต่กลับไม่ถูก
    .
    ประการที่สาม คุณนพดล จริงๆ คุณนี่ลืมตัวเพราะโดยสถานะจริงๆ คุณมีตำแหน่งเป็นแค่ สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ไม่ได้มีตำแหน่งบริหาร แต่กลับอ้างโน่นอ้างนี่ บอกยึดตามพระบรมราชโองการในหลวงรัชกาลที่ 9 แต่คุณนพดลตั้งใจฟังนายกฯอุ๊งอิ๊งค์กับทักษิณ ซึ่งเป็นนายกฯ ตัวจริง และนายกฯ ตัวปลอม ดันพูดมาหลายครั้งพูดว่า ถ้าตกลงเรื่องเขตแดนกัมพูชาไม่ได้ ก็ให้แบ่งกัน ซึ่งแปลว่ารัฐบาลไทยไม่ได้ยึดตามพระบรมราชโองการ
    .
    ประการที่สี่ ถ้าคุณแน่จริง ผ่านช่องไหนก็ได้ ของรัฐบาลก็ได้ NBT ก็ได้ ช่อง 5 ก็ได้ ช่อง 3 ช่อง 7 ก็ได้ คุณนพดล คุณอย่าทำตัวเป็นเต่าหัวหด ปากกล้าขาสั่น อย่าๆๆๆ อย่าช้า รีบรับคำท้ามาเลย ถ้าไม่รับคำท้ามาเจอต่อหน้าพูดคุยกันแบบลูกผู้ชาย กล้าพูดแต่ฝ่ายเดียว วันหลังอย่าสะเออะออกมาตอบโต้พวกผมอีก เพราะประชาชนทั่วไปเขารู้อยู่แล้วว่าคุณนพดลเอ๊ย ว่าคุณน่ะไม่มีราคาเลยแม้แต่นิดเดียว
    MOU 2544 "นพดล" อย่าทำตัวเป็นเต่าหัวหด . หลังจากเมื่อวันอังคารที่ 24 ธันวาคม ที่ผ่านมา ผม อาจารย์ปานเทพ และคณะ เดินทางไปที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อทวงถามนายกฯ หลังครบ 15 วัน ที่ได้ยื่นหนังสือขอให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544 . เรื่องนี้รัฐบาลเดือดร้อนมาก วันเดียวกันนั้นเลย นายกฯ อุ๊งอิ๊งค์ พอถูกถามเรื่อง MOU 2544 ก็ออกมาอ้อมๆ แอ้มๆ ว่าไม่ได้ปล่อยผ่านเรื่องนี้ แต่ยังยืนกรานไม่ยอมเปิดเวทีสาธารณะ หรือเวทีดีเบตตามสื่อ เพราะรู้ว่าเปิดเมื่อไรก็ตายคาเวทีเลย ไม่ว่าจะเป็นใคร แม้กระทั่งคนอย่างเช่นนายนพดล ปัทมะ ที่ทำตัวเป็นคนปากเก่ง . ปัจจุบันนี้ นายนพดล มีตำแหน่งเป็น สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ออกมาแถลงข่าวตอบโต้พวกผม เมื่อวันพุธที่ 25 ธันวาคม ที่ผ่านมา ไม่ใช่ตอบโต้อย่างเดียวด้อยค่าพวกผมว่า ระหว่างพวกผม กับกรมสนธิสัญญาฯ กระทรวงการต่างประเทศ จะเชื่อใคร . คุณนพดลครับ ถ้าคุณมีตา มีสมอง คุณคงรู้ว่าประชาชนทั่วไป 90กว่าเปอร์เซ็นต์ เขาคิดอย่างไรกับคุณ ผมตอบคุณอย่างนี้ดีกว่า สั้นๆ 4 ข้อ แล้วผมจะส่งคำท้าไปที่คุณด้วย อย่าเก่งแต่ปากสิ มาเจอกัน คุณโกหกหน้าด้านๆ โกหกประชาชน เพราะคุณพูดความจริงไม่ครบ . ประการแรก คุณดำเนินการเรื่องปราสาทพระวิหารแล้วศาลฎีกาตัดสินว่าไม่ผิด แต่นั่นเป็นคดีกล่าวหาเรื่องการทุจริตต่อหน้าที่ ไม่ได้แปลว่าคุณนพดลไม่ได้ทำผิด คุณน่ะทำผิด เพราะอีก 2 คดี คือคดีศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองสูงสุด ได้วินิจฉัยเสร็จสิ้นไปแล้วกรณีที่คุณนพดลไปลงนามในแถลงการณ์ร่วมระหว่างไทย-กัมพูชา เพื่อยกปราสาทพระวิหารและพื้นที่ไทยบางส่วนให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียว เมื่อปี 2551 . ประการที่สอง คุณพยายามด้อยค่าพวกผม สงสัยคุณไม่ได้ดูที่อาจารย์ปานเทพตอบโต้กับข้าราชการกรมสนธิสัญญาฯจนกระทั่งหน้าแตก ไปที่ศูนย์รับเรื่องฯ ประชุมกัน ไปถูก แต่กลับไม่ถูก . ประการที่สาม คุณนพดล จริงๆ คุณนี่ลืมตัวเพราะโดยสถานะจริงๆ คุณมีตำแหน่งเป็นแค่ สส. บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ไม่ได้มีตำแหน่งบริหาร แต่กลับอ้างโน่นอ้างนี่ บอกยึดตามพระบรมราชโองการในหลวงรัชกาลที่ 9 แต่คุณนพดลตั้งใจฟังนายกฯอุ๊งอิ๊งค์กับทักษิณ ซึ่งเป็นนายกฯ ตัวจริง และนายกฯ ตัวปลอม ดันพูดมาหลายครั้งพูดว่า ถ้าตกลงเรื่องเขตแดนกัมพูชาไม่ได้ ก็ให้แบ่งกัน ซึ่งแปลว่ารัฐบาลไทยไม่ได้ยึดตามพระบรมราชโองการ . ประการที่สี่ ถ้าคุณแน่จริง ผ่านช่องไหนก็ได้ ของรัฐบาลก็ได้ NBT ก็ได้ ช่อง 5 ก็ได้ ช่อง 3 ช่อง 7 ก็ได้ คุณนพดล คุณอย่าทำตัวเป็นเต่าหัวหด ปากกล้าขาสั่น อย่าๆๆๆ อย่าช้า รีบรับคำท้ามาเลย ถ้าไม่รับคำท้ามาเจอต่อหน้าพูดคุยกันแบบลูกผู้ชาย กล้าพูดแต่ฝ่ายเดียว วันหลังอย่าสะเออะออกมาตอบโต้พวกผมอีก เพราะประชาชนทั่วไปเขารู้อยู่แล้วว่าคุณนพดลเอ๊ย ว่าคุณน่ะไม่มีราคาเลยแม้แต่นิดเดียว
    Like
    Haha
    4
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 435 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปานเทพ” ยกคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ โต้ “นพดล” ชี้ชัดแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ปี 51 ให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียว ผิดรัฐธรรมนูญมาตรา 190 เพราะส่งผลกระทบต่อดินแดนแต่กลับไม่เอาเข้าสภา ถามกลับ ใส่ร้ายตรงไหน ระหว่าง “สนธิ” และคณะ กับกระทรวงการต่างประเทศที่เคยมีบทเรียนทำให้ไทยเสียปราสาทพระวิหาร ควรเชื่อใครมากกว่า

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000125179

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ปานเทพ” ยกคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ โต้ “นพดล” ชี้ชัดแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ปี 51 ให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของกัมพูชาฝ่ายเดียว ผิดรัฐธรรมนูญมาตรา 190 เพราะส่งผลกระทบต่อดินแดนแต่กลับไม่เอาเข้าสภา ถามกลับ ใส่ร้ายตรงไหน ระหว่าง “สนธิ” และคณะ กับกระทรวงการต่างประเทศที่เคยมีบทเรียนทำให้ไทยเสียปราสาทพระวิหาร ควรเชื่อใครมากกว่า อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000125179 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Wow
    Love
    39
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1386 มุมมอง 2 รีวิว
  • รัฐบาล “อุ๊งอิ๊งค์” ยังไม่ยอมเปิดเวทีสาธารณะถกปม MOU2544 หลัง “สนธิ” และคณะยื่นทวงถาม ได้แค่ส่ง “นพดล ปัทมะ” ออกมาแถลงข่าวพูดด้านเดียวด้อยค่าฝ่ายต่อต้าน แต่กลับปฏิเสธไปดีเบตออกสื่อ ทั้งที่เชิญไปหลายครั้ง แถมโกหกอ้างตัวเองไม่ผิดที่เซ็นแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาปี 51 ทั้งที่ศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองสูงสุดตัดสินแล้วว่าผิดรัฐธรรมนูญเพราะไม่ผ่านสภา

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000124728

    #MGROnline #MOU2544
    รัฐบาล “อุ๊งอิ๊งค์” ยังไม่ยอมเปิดเวทีสาธารณะถกปม MOU2544 หลัง “สนธิ” และคณะยื่นทวงถาม ได้แค่ส่ง “นพดล ปัทมะ” ออกมาแถลงข่าวพูดด้านเดียวด้อยค่าฝ่ายต่อต้าน แต่กลับปฏิเสธไปดีเบตออกสื่อ ทั้งที่เชิญไปหลายครั้ง แถมโกหกอ้างตัวเองไม่ผิดที่เซ็นแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาปี 51 ทั้งที่ศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองสูงสุดตัดสินแล้วว่าผิดรัฐธรรมนูญเพราะไม่ผ่านสภา • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000124728 • #MGROnline #MOU2544
    MGRONLINE.COM
    “นพดล” เต่าหัวหด ถนัดจ้อฝ่ายเดียว โกหกด้อยค่าคนต้าน MOU44
    รัฐบาล “อุ๊งอิ๊งค์” ยังไม่ยอมเปิดเวทีสาธารณะถกปม MOU2544 หลัง “สนธิ” และคณะยื่นทวงถาม ได้แค่ส่ง “นพดล ปัทมะ” ออกมาแถลงข่าวพูดด้านเดียวด้อยค่าฝ่ายต่อต้าน แต่กลับปฏิเสธไปดีเบตออกสื่อ ทั้งที่เชิญไปหลายครั้ง แถมโกหกอ้างตัวเองไม่ผิดที
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเมืองเกาหลีใต้วุ่นไม่หยุด

    รัฐสภามีมติถอดถอน 'รักษาการประธานาธิบดี'ด้วยคะแนนเสียง 192-0 หลังจากเข้ามารับหน้าที่แทนประธานาธิบดี 'ยุน ซอกยอล' ที่ถูกถอดถอนไปไม่ถึง 2 สัปดาห์

    นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองเกาหลีใต้ เพราะการถอดถอนรักษาการประธานาธิบดีไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
    ทำให้อำนาจรักษาการประธานาธิบดีเกาหลีใต้รวมถึงนายกรัฐมนตรีตอนนี้ อยู่ในมือของ ชเว ซังม็อก (Choi Sang-mok) รองนายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของเกาหลีใต้

    การถอดถอน ฮัน ด็อก-ซู รักษาการประธานาธิบดี และยังเป็นนายกรัฐมนตรอีกตำแหน่งด้วยนั้น เกิดจากการที่เขาปฏิเสธแต่งตั้งผู้ที่จะเข้าดำรงตำแหนางในคณะผู้พิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญที่ว่างอยู่ 3 ตำแหน่ง โดยระบุว่าการกระทำดังกล่าวอยู่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ของเขาในฐานะประธานาธิบดีรักษาการ

    นอกจากนี้ เขายังต้องการให้มีการเจรจาประนีประนอมทางการเมืองระหว่างพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านที่กุมเสียงข้างมากในสภ แต่พรรคฝ่ายค้านเกาหลีใต้ไม่ยินยอมเจรจา และแสดงจุดยืนในการเดินหน้าถอดถอนนายฮันเว้นเสียแต่ว่ารักษาการประธานาธิบดีจะยอมอนุมัติการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญเสียก่อน
    การเมืองเกาหลีใต้วุ่นไม่หยุด รัฐสภามีมติถอดถอน 'รักษาการประธานาธิบดี'ด้วยคะแนนเสียง 192-0 หลังจากเข้ามารับหน้าที่แทนประธานาธิบดี 'ยุน ซอกยอล' ที่ถูกถอดถอนไปไม่ถึง 2 สัปดาห์ นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองเกาหลีใต้ เพราะการถอดถอนรักษาการประธานาธิบดีไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ทำให้อำนาจรักษาการประธานาธิบดีเกาหลีใต้รวมถึงนายกรัฐมนตรีตอนนี้ อยู่ในมือของ ชเว ซังม็อก (Choi Sang-mok) รองนายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของเกาหลีใต้ การถอดถอน ฮัน ด็อก-ซู รักษาการประธานาธิบดี และยังเป็นนายกรัฐมนตรอีกตำแหน่งด้วยนั้น เกิดจากการที่เขาปฏิเสธแต่งตั้งผู้ที่จะเข้าดำรงตำแหนางในคณะผู้พิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญที่ว่างอยู่ 3 ตำแหน่ง โดยระบุว่าการกระทำดังกล่าวอยู่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ของเขาในฐานะประธานาธิบดีรักษาการ นอกจากนี้ เขายังต้องการให้มีการเจรจาประนีประนอมทางการเมืองระหว่างพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านที่กุมเสียงข้างมากในสภ แต่พรรคฝ่ายค้านเกาหลีใต้ไม่ยินยอมเจรจา และแสดงจุดยืนในการเดินหน้าถอดถอนนายฮันเว้นเสียแต่ว่ารักษาการประธานาธิบดีจะยอมอนุมัติการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญเสียก่อน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ##
    ..
    ..
    ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ...
    .
    1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ
    2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่
    3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป
    4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก
    5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน
    6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้
    .
    แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111
    .
    สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!!
    .
    เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่าตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง...
    ...
    ...
    โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เช่น...
    .
    1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี
    2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน
    4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน
    5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน
    6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ***
    7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล
    8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล ***
    11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ ***
    12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ ***
    ...
    ...
    ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ
    .
    แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้
    .
    มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน
    .
    เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน
    .
    แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ...
    .
    แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน...
    ...
    ...
    ประเด็นสำคัญคือ
    .
    พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน
    .
    แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ
    .
    เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา
    .
    เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น
    .
    แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย
    .
    มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ
    .
    มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา
    .
    อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา
    .
    ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก
    .
    โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา
    .
    ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน)
    .
    ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป...
    .
    สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง
    .
    และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่
    1.รัฐสภา
    2.กระทรวงการต่างประเทศ และ
    3.กองทัพเรือ
    .
    เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ
    .
    สุดท้ายของฝากไว้...
    ....
    ....
    ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119

    ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
    ....
    ....
    https://youtu.be/pee-3jgOGrQ?si=VEkike7oS8olHZqn
    ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ## .. .. ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ... . 1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ 2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่ 3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป 4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก 5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน 6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้ . แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111 . สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!! . เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่าตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง... ... ... โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เช่น... . 1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี 2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี 3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน 4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน 5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน 6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา *** 7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล 8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล *** 11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ *** 12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ *** ... ... ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ . แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้ . มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน . เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน . แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ... . แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน... ... ... ประเด็นสำคัญคือ . พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน . แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ . เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา . เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น . แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย . มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ . มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา . อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา . ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก . โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา . ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน) . ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป... . สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง . และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่ 1.รัฐสภา 2.กระทรวงการต่างประเทศ และ 3.กองทัพเรือ . เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ . สุดท้ายของฝากไว้... .... .... ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119 ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต .... .... https://youtu.be/pee-3jgOGrQ?si=VEkike7oS8olHZqn
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 372 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ##
    ..
    ..
    ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ...
    .
    1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ

    2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่

    3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป

    4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก

    5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน

    6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้
    .
    แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111
    .
    สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!!
    .
    เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่านตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง...
    ...
    ...
    โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เช่น...
    .
    1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี
    2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
    3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน
    4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน
    5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน
    6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ***
    7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล
    8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ ***
    10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล ***
    11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ ***
    12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ ***
    ...
    ...
    ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ
    .
    แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ
    .
    เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้
    .
    มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน
    .
    เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน
    .
    แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ...
    .
    แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน...
    ...
    ...
    ประเด็นสำคัญคือ
    .
    พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน
    .
    แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ
    .
    เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา
    .
    เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น
    .
    แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย
    .
    มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ
    .
    มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา
    .
    อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา
    .
    ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก
    .
    โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา
    .
    ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน)
    .
    ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป...
    .
    สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง
    .
    และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่
    1.รัฐสภา
    2.กระทรวงการต่างประเทศ และ
    3.กองทัพเรือ
    .
    เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ
    .
    สุดท้ายของฝากไว้...
    ....
    ....
    ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119

    ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
    ....
    ....
    https://youtu.be/wR4PZ-c5ExA?si=onTI6IaLFkxZfEnv
    ## ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ ทวงคำตอบ กรณี MOU44 และ JC44 กับรัฐบาล ## .. .. ข้อเรียกร้อง ย่ออย่างสั้นที่สุดคือ... . 1.ขอให้นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี รักษาอธิปไตยของชาติ 2.ขอให้นายกรัฐมนตรี นำเรื่อง MOU44 และ JC44 เข้า ครม. ลงมติ และ ส่ง ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ตีความว่า การทำ MOU44 และ JC44 ชอบด้วย รัฐธรรมนูญหรือไม่ 3.หาก ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้เพิกถอน MOU44 และ JC44 ไป 4.หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU44 และ JC44 ไม่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ ขอให้ รัฐบาลไปเจรจา กับ กัมพูชา เพื่อยกเลิก MOU44 และ JC44 เพื่อป้องกันความสุ่มเสี่ยงที่ประเทศไทย อาจจะเสียเปรียบในอนาคต บนเวทีสากล หรือ ศาลโลก 5.ขอให้ยุติการตั้ง คณะกรรมาธิการร่วมทางเทคนิค ระหว่างไทยกับกัมพูชาด้านทะเล หรือ JTC เอาไว้ก่อน 6.ขอให้รัฐบาลเปิดเวทีสาธารณะ เพื่อเสวนาและให้ความรู้ประชาชน และ สุดท้ายให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในเรื่องนี้ . แต่ คำตอบของ นายกรัฐมนตรี คือ เห็นหนังสือร้องเรียนแล้ว ได้ส่งให้กระทรวงการต่างประเทศแล้ว หากมีเรื่องใดจะร้องทุกข์ให้มาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 111 . สรุปคำตอบของ ท่านนายกรัฐมนตรี คือ ถามวัว ตอบควาย...!!! . เนื่องจาก ครบกำหนด 15 วันแล้ว และ ท่านตอบไม่ตรงคำถาม ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ จึงได้มาทวงถามคำตอบอีกครั้ง... ... ... โดยในวันที่ 24 ธันวาคม 2567 นายกรัฐมนตรี มอบหมาย นาย สมคิด เชื้อคง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง หอบหิ้ว ข้าราชการนับ 10 หน่วยงาน มาร่วมประชุมรับหน้า ลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เช่น... . 1.ที่ปรึกษาสำนักปลัดสำนักยนายกรัฐมนตรี 2.ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี 3.ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน 4.ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน 5.ผู้อำนวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน 6.ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา *** 7.รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล 8.สำนักนโยบายและแผนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 9.ตัวแทนกองบัญชาการกองทัพเรือ *** 10.ผู้อำนวยการด้านกองความมั่นคงทางทะเล *** 11.นักการทูตชำนาญการกระทรวงการต่างประเทศ *** 12.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการสภาความนั่นคงแห่งชาติ *** ... ... ผมว่าการเชิญข้าราชการเหล่านี้มาคุยเป็นเรื่องดีครับ แต่ในทางที่ถูกคือควรจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนครับ . แน่นอนว่า วิธีนี้อาจเป็นการรักษาหน้าของ ข้าราชการที่ถูกเรียกมาให้ข้อมูลยันกับ คุณลุงสนธิ และ อาจารย์ปานเทพ . เพราะบางท่านอาจถูกบังคับให้มาด้วย ตำแหน่งหน้าที่ และ สายการบังคับบัญชา โดยที่ท่านเหล่านั้น อาจจะไม่ได้เต็มใจมาค้านข้อมูลของภาคประชาชนก็ได้ . มีข้อสังเกตุว่า การตระเตรียมการนำข้าราชการหลาย 10 ท่าน มาในวันนั้น ไม่ได้มีการแจ้งภาคประชาชนมากก่อน . เพราะภาคประชาชนเพียงมาทวงคำตอบ จึงไม่ได้เตรียมเอกสารหรือข้อมูลมาเพื่อพูดคุยกัน . แต่เมื่อเริ่มประชุม ฝ่ายตัวแทนรัฐบาลกลับ เริ่มต้น ให้ ภาคประชาชนถามคำถามที่ค้างคาใจ... . แม้กระนั้น อาจารย์ปานเทพ ก็เทพ สมชื่อ จัดหนักข้อมูชุดใหญ่ให้ที่ประชุม แถม เสริม และ แย้ง ข้อมูลของ ผู้อำนวยการกองกฎหมายกรมสนธิสัญญา ที่พูดไม่ครบถ้วนกระบวนความ จนความหมายผิดเพียนไปได้อย่างหนักแน่น จนอึ้งไปกันหมดทุกคน... ... ... ประเด็นสำคัญคือ . พระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงกำหนดวิธีการเจรจาไว้แล้ว ว่า ให้ใช้หลักกฎหมายสากล ซึ่งก็คือ เส้นมัธยฐาน . แต่ MOU44 และ JC44 ที่จัดทำขึ้นโดยไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา จึง ขัดต่อบทบัญญัตของ รัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้ การทำหนังสือสัญญาใดๆระหว่างประเทศ เป็น อำนาจ ของ พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นพระประมุขของประเทศ . เมื่อเป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ จึงต้องผ่านความเห็นชอบของสภา . เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบของสภา ดังนั้น MOU44 และ JC44 จึงเป็น เอกสารเถื่อน มีผลป็น โมฆะ มาตั้งแต่ต้น . แถม MOU44 ยัง มีแผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา แนบท้ายมาใน MOU44 อีกด้วย . มีผลเป็นการ "รับรู้" และ เป็นครั้งแรก ที่เอกสารของประเทศไทย ได้มี แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา เข้ามาสู้ระบบเอกสารของประเทศไทยอย่างทางการ . มีผลเป็นการที่ รัฐบาล และ หน่วยงานรัฐใดๆที่เกี่ยวข้อง "รับรู้" และ "ไม่ปฎิเสธ" แผนที่ไหล่ทวีป ที่วาดเอาตามอำเภอใจของ กัมพูชา . อีกทั้งใน MOU44 ยังมีเนื้อหาที่ ทำให้เกิดความพยายามที่จะยอมรับพื้นที่อ้างสิทธิระหว่างไทยกับกัมพูชา ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ลงมา . ว่าเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกันเป็นที่ยุติแล้ว มีจำนวน 16,000 ตารางกิโลเมตร ที่ไม่ต้องมีการตกลงเรื่องเขตแดนกันอีก . โดยกำหนดพื้นที่ด้านใต้ ละติจูดที่ 11 องศา ให้แบ่งผลประโยชน์กัน ระหว่าง ประเทศไทย กับ กัมพูชา . ซึ่งวิธีการดังกล่าง เป็นการ ตกลงกันเป็นอย่างอื่น นอกเหนือจาก หลักกฎหมาย ของ กฎหมายสากลทางทะเล (เส้น มัธยฐาน) . ซึ่งจะทำให้ ประเทศไทย สูญเสียผลประโยชน์เกินกว่าความเป็นจริง และ เป็นการ ขัดพระบรมราชโองการ ประกาศเขตไหล่ทวีป ของ ในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งได้กำหนด วิธีการเจรจาไว้เป็นหนึ่งเดียว ตลอดไป... . สรุป สุดท้าน ภาคประชาชน ขอให้ รัฐบาลทำให้สือตอบกลับมาเป็น ลายลักษณ์อักษร หากท่านทำผิดกฎหมาย ภาคประชาชน จะไปดำเนินคดีกับท่านเอง . และได้ บอกกล่าวว่าปีหน้าจะ ไปยื่นหนังสือที่ 1.รัฐสภา 2.กระทรวงการต่างประเทศ และ 3.กองทัพเรือ . เรื่อง ดินแดน อำนาจอธิปไตย และ สิทธิอธิปไตย เป็นเรื่องที่คุกรุ่นอยู่ในใจของประชาชนครับ . สุดท้ายของฝากไว้... .... .... ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 119 ผู้ใดกระทำการใด ๆ เพื่อให้ราชอาณาจักรหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรตกไปอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต .... .... https://youtu.be/wR4PZ-c5ExA?si=onTI6IaLFkxZfEnv
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 354 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ##
    ..
    ..
    ด่วนที่สุด!
    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗
    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗

    เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย
    กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
    อ้างถึง
    (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙

    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป

    ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้
    ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน
    ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓)
    ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙
    และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

    ขอแสดงความนับถือ
    นายสนธิ ลิ้มทองกุล
    นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    ## เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ## .. .. ด่วนที่สุด! ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) ##
    ..
    ..
    เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้
    วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้
    ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม
    .
    ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้
    .
    ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ
    ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ
    เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้
    ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้
    .
    ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ
    ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย
    .
    ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก
    ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
    .
    ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล
    ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว
    .
    ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย
    ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
    นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน
    .
    จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้
    .
    1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
    .
    2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน
    .
    3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที
    .
    4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป
    .
    5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง
    .
    6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป
    ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้
    .
    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    ## เปิด 7 ข้อเท็จจริง 6 ข้อเรียกร้อง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีให้หยุดดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 (ฉบับย่อ) ## .. .. เนื่องด้วยหนังสือของนายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ที่จะยื่นหนังสือถึง นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในวันนี้ (9 ธันวาคม 2567) มีความยาวถึง 14 หน้าและยังมีสิ่งที่ส่งมาด้วยอีกจำนวนมาก อันจะทำให้สื่อมวลชนอาจไม่สามารถนำเสนอข่าวตามเนื้อหาทั้งหมดได้ครบถ้วน จึงได้จัดทำสรุปเป็นฉบับย่อลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนดังนี้ วันนี้ (9 มีนาคม 2567) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะบุคคลได้ยื่นหนังสือถึงนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้นายกรัฐมนตรีหยุดการปฏิบัติหน้าที่การดำเนินการตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิ์เส้นไหล่ทวีปราชาณาอาณาจักรไทยกับกัมพูชา (MOU 2544) และแถลงการณ์ร่วมระหว่างนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยกับ นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (JC 2544) เพราะมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในการประกาศทะเลอาณาเขตและเขตทะเลต่อเนื่อง ตลอดจนประกาศเส้นเขตไหล่ทวีป ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1985 และกฎหมายอื่น รวมทั้งยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา และยังไม่มีพระบรมราชโองการประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น จึงต้องถือว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ด้วยเหตุผลดังนี้ ข้อ 1 ประเทศไทยได้ลงนามในหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และหนังสือสัญญาดังกล่าวระบุว่า “เกาะกูด” เป็นของสยาม . ข้อ 2 ต่อมาวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตประเทศไทยมีระยะ ”12 ไมล์ทะเล“ โดยวัดจากเส้นฐานที่ใช้สำหรับวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต เป็นการประกาศ “อำนาจอธิปไตย” ออกไปจากอาณาเขตพื้นดินและน่านน้ำภายในจนถึงแนวทะเลประชิดชายฝั่ง ซึ่งเรียกว่า“ทะเลอาณาเขต” รวมตลอดถึงห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต พื้นท้องทะเล และแผ่นดินใต้พื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขต ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ . ข้อ 3 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2512 โดยมีผลบังคับใช้สำหรับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2511 ส่งผลการยืนยันประกาศพื้นที่ของประเทศไทยทั้ง “น่านน้ำภายใน” และ “ทะเลอาณาเขต”ว่าเป็น “อำนาจอธิปไตย” ของประเทศไทยตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังได้กำหนด “เขตต่อเนื่อง” ขยายไปอีก 12 ไมล์ทะเลต่อจากทะเลอาณาเขต สำหรับเป็นพื้นที่ป้องกันการละเมิดข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง หรือการอนามัย ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขตของประเทศไทยอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ยังกำหนดด้วยว่าหากไม่มีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น รัฐทั้งสองอยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันให้ใช้ “เส้นมัธยะ” คือ จุดทุกจุดบนเส้นนั้นมีระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ที่สุดของเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตของแต่ละรัฐ ต่อมาวันที่ 11 มิถุนายน 2513 ได้มีประกาศของสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย โดยมีเส้นที่ลากเส้นจาก “หลักเขตที่ 73” ซึ่งตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดไปยังปลายแหลมด้านใต้สุดของ “เกาะกูด” นั้นเป็น “เส้นฐานตรง” โดยพื้นที่เหนือเส้นฐานตรงบริเวณนี้เป็น “น่านน้ำภายใน” ของราชอาณาจักรไทย มีอำนาจอธิปไตยเหมือนแผ่นดินของราชอาณาจักรไทยทุกประการ เมื่อ “เกาะกูด”เป็นของประเทศไทยตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ดังนั้น พื้นที่รอบเกาะกูด 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทย และน่านน้ำภายในของราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเขตแดนทางทะเลที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย ผู้ใดและชาติใดจะละเมิดมิได้ ดังนั้นพื้นที่เหนือของเส้นฐานตรงที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ถึงปลายแหลมสุดทิศด้านใต้ของเกาะกูดของราชอาณาจักรไทย จึงอยู่ใน“อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทย รวมทั้งทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเส้นฐานของเกาะกูดก็เป็นเขตที่อยู่ใน “อำนาจอธิปไตย” ของราชอาณาจักรไทยเช่นเดียวกัน อันเป็นไปตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งผู้ใดหรือชาติใดจะละเมิดมิได้ . ข้อ 4 ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18พฤษภาคม 2516 เพื่อประกาศสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย โดยได้แนบแผนที่ซึ่งลากเส้นเขตไหล่ทวีปจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดของประเทศไทยกับเกาะกงของกัมพูชา เป็น “เส้นมัธยะ” แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่มีพื้นที่อ้างสิทธิอธิปไตยจากประเทศอื่น ไม่มีการแบ่งปันการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในอ่าวไทยให้กับประเทศอื่นใด ซึ่งเป็นไปตามหลัก “เส้นมัธยะ” ของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 พระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ ยังกำหนดเงื่อนไขวิธีการเจรจาตกลงกระหว่างประเทศใกล้เคียงในอนาคตด้วยว่าต้องเป็นไปตามมูลฐานกฎหมายทะเลสากลเท่านั้นไม่ใช่การเจรจาตกลงกันตามอำเภอใจ ทั้งนี้ราชอาณาจักรไทยได้ยึดถือและปกป้องอำนาจอธิปไตยน่านน้ำทะเลภายในและทะเลอาณาเขต ตลอดจนรักษาสิทธิอธิปไตยตามเส้นเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการทุกฉบับ โดยได้ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 มาโดยตลอด และต่อมาประเทศไทยได้มีการลงนามและยึดถือมูลฐานตามที่กำหนดในอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ที่ได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาฯ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 ด้วย . ข้อ 5 อย่างไรก็ตาม MOU 2544 ได้แนบแผนที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตามพระราชกฤษฎีกาประกาศเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อปี 2515 ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในพื้นที่ไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีขนาดใหญ่เกินจริง โดยไม่ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” อันเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อประเทศกัมพูชาเกินกว่าหลักมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 การอ้างสิทธิดังกล่าวจึงส่งผลทำให้เป็นการเปลี่ยนแปลง “หลักการ” สำคัญของอำนาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย คือ เกิดการละเมิดอำนาจอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยบริเวณพื้นที่ “น่านน้ำภายใน”เหนือเส้นฐานตรงด้านทิศตะวันออกของเกาะกูด และการละเมิดอำนาจอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูด และไม่ยึดหลักเส้น “มัธยะ” เพียงอย่างเดียวที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 ตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 แต่กลับไปยึดถือ “เขตแดนแนวทางอื่น” ในการเจรจาตกลงกันเองระหว่างไทยและกัมพูชาในพื้นที่อ้างสิทธิเกินจริงของกัมพูชา รวมพื้นที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่กัมพูชาเป็นหลัก ดังนั้นการดำเนินการตาม MOU 2544 ที่ถูกรับรองโดย JC 2544 จึงเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดทะเลอาณาเขต เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2509 และพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2516 ซึ่งได้ยึดหลัก “เส้นมัธยะ” แห่งมูลฐานตามบทบัญญัติของอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 . ข้อ 6 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งลงนามใน MOU 2544 ได้เคยเขียนบทความเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ยอมรับว่า MOU 2544 มีสถานะเป็น “สนธิสัญญา” ในขณะที่ นายประจิตต์ โรจนพฤกษ์ อดีตหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทยที่ประสบความสำเร็จในการเจรจาพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียได้เขียนบทความ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 แนะนำว่า ฝ่ายไทยจะต้องรีบบอกเลิก MOU 2544 โดยเร็ว มิฉะนั้นแล้วฝ่ายไทยจะเสียเปรียบหากเป็นคดีขึ้นสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล ทั้งนี้การที่ประเทศไทยได้ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่ที่มีการอ้างสิทธิเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาตาม MOU 2544 อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบซ้ำรอยการถูกตัดสินโดย “หลักกฎหมายปิดปาก” ที่ประเทศไทยเคย “รับรู้”และ “ไม่ปฏิเสธ” แผนที่แนบท้ายหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เป็นเหตุที่ทำให้ประเทศไทยต้องเสียปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 2505 ในการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมาแล้ว . ข้อ 7 เมื่อพิจารณาตาม MOU 2544 แล้ว จะพบว่าประเทศไทยมีแต่จะเสียประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพราะไม่ว่าผลการเจรจาจะเป็นประการใด ประเทศไทยก็จะต้องสูญเสียสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวให้กลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยและกัมพูชาซึ่งมีพื้นที่อย่างน้อย 16,000 ตารางกิโลเมตรขึ้นไปใต้พื้นที่อ้างสิทธิไหล่ทวีประหว่างไทยกับกัมพูชาใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ หรือถึงขั้นสูญเสียอำนาจอธิปไตยทางทะเลไปมากกว่านี้ได้ด้วย ผลลัพธ์ดังกล่าวจึงย่อมส่งผลกระทบในทางเสียหายต่อสิทธิอธิปไตยมากกว่าวิธีการเจรจาด้วย “เส้นมัธยะ” ตามมูลฐานที่บัญญัติเอาไว้ภายใต้อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เมื่อ MOU 2544 ซึ่งได้รับรองโดย JC 2544 มีผลทำให้เกิดเป็นการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตหรือเขตอำนาจแห่งรัฐทางทะเลที่ไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภากรณีจึงขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตั้งแต่แรกและสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้น MOU 2544 ที่รับรองโดย JC 2544 ยังทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ด้วยเช่นเดียวกัน . จึงเรียนมาเพื่อขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการดำเนินการตาม MOU 2544 และ JC 2544 โดยทันที และดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอดังต่อไปนี้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือฉบับนี้ . 1)ให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปตามพระบรมราชโองการที่ประกาศตามมูลฐานแห่งอนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) อันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ตามบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 52 ของหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 . 2) ให้ท่านเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให้ส่ง MOU 2544 และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแต่แรก และขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่ รวมทั้งขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยหรือไม่ อันเป็นการดำเนินการตามมาตรา 178 วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อน . 3) หากดำเนินการตาม ๒) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544และ JC 2544 ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้ยกเลิกการเจรจาตาม MOU 2544 และ JC 2544 เพื่อปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาทันที . 4) หากดำเนินการตาม 2) แล้ว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า MOU 2544 และ JC 2544 ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ก็ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU 2544 และ JC 2544 ทันที โดยให้เจรจากันใหม่ภายใต้การกำหนดขอบเขตเฉพาะพื้นที่พัฒนาร่วมบนพื้นฐานโดยใช้หลักการของ “เส้นมัธยะ” ในการอ้างสิทธิไหล่ทวีปทับซ้อนตามจริงของมูลฐานแห่งบทบัญญัติอนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 แล้วนำผลของการเจรจาเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เจรจาเสร็จสิ้น ก่อนนำขึ้นกราบบังคมทูลเกล้าฯ ต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศเป็นพระราชโองการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของมาตรา 1 และมาตรา 178 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต่อไป . 5) ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU 2544 และ JC 2544ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้อง . 6) ให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชนในเรื่อง MOU 2544 และ JC 2544 โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ ทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ทั้งนี้ขอให้ท่านเสนอหนังสือฉบับนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา และหากคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาแล้วมีผลเป็นประการใดขอได้โปรดแจ้งข้าพเจ้าได้ทราบ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาหนังสือฉบับนี้ . https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1110891340404565/?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 441 มุมมอง 0 รีวิว
  • “สนธิ” ยื่นหนังสือทวงถามนายกฯ ปมยกเลิก MOU2544 และ JC2544 หลังยื่นข้อเรียกร้องครบ 15 วันแล้วยังนิ่งเฉย เสี่ยงทำให้ประเทศเสียอธิปไตยทางทะเล ผิดรัฐธรรมนูญ เตรียมดำเนินการทางกฎหมายตามที่เห็นสมควรต่อไป
    .
    วันนี้(24 ธ.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะได้เดินทางไปที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อยื่นหนังสือทวงถามกรณีให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544 ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ (กพร. ฝั่งตรงข้ามทำเนียบรัฐบาล) วันอังคารที่ 24 ธันวาคม 2567 ร่วมลงนามตั้งแต่ 9.00 น. และยื่นหนังสือเวลา 10.00 น. หลังเคยยื่นหนังสือเรียกร้องเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2567 และครบกำหนด 15 วัน จึงมาทวงถามในวันนี้
    .
    รายละเอียดหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี
    .
    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗
    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
    เรื่อง ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย
    .
    กราบเรียนฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
    อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙
    .
    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    .
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้น การแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้น ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป
    .
    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
    ขอแสดงความนับถือ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000123204
    ..............
    Sondhi X
    “สนธิ” ยื่นหนังสือทวงถามนายกฯ ปมยกเลิก MOU2544 และ JC2544 หลังยื่นข้อเรียกร้องครบ 15 วันแล้วยังนิ่งเฉย เสี่ยงทำให้ประเทศเสียอธิปไตยทางทะเล ผิดรัฐธรรมนูญ เตรียมดำเนินการทางกฎหมายตามที่เห็นสมควรต่อไป . วันนี้(24 ธ.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และคณะได้เดินทางไปที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อยื่นหนังสือทวงถามกรณีให้เพิกถอน MOU 2544 และ JC 2544 ที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ (กพร. ฝั่งตรงข้ามทำเนียบรัฐบาล) วันอังคารที่ 24 ธันวาคม 2567 ร่วมลงนามตั้งแต่ 9.00 น. และยื่นหนังสือเวลา 10.00 น. หลังเคยยื่นหนังสือเรียกร้องเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2567 และครบกำหนด 15 วัน จึงมาทวงถามในวันนี้ . รายละเอียดหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี . ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย . กราบเรียนฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ . ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว . บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้น การแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้น ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป . จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000123204 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    14
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 783 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544

    ด่วนท่ีสุด!

    ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗

    วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗

    เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย

    กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

    อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
    (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
    (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙

    ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป

    ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว
    บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้
    ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน

    ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓)

    ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙
    และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป

    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
    ขอแสดงความนับถือ
    นายสนธิ ลิ้มทองกุล
    นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    เปิดหนังสือทวงถามนายกรัฐมนตรีครบ 15 วันหลังได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้เพิกถอน MOU2544 และ JC2544 ด่วนท่ีสุด! ที่ กอ. ๑๙๙/๒๕๖๗ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗ เรื่อง ​ทวงถามการดำเนินการตามหนังสือให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีป ของราชอาณาจักรไทย กราบเรียน​ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อ้างถึง (๑) หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กอ.๑๗๒/๒๕๖๗ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๒) หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๕.๔/๑๐๖๒๔ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗ (๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (๔) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ – มาตรา ๑๒๙ ตามที่พวกข้าพเจ้า นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ และมวลหมู่ประชาชนจำนวนมาก ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ขอให้ท่านหยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯ และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย และบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทย โดยขอให้ดำเนินการในประการสำคัญ คือ ขอให้ท่านและคณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย และขอให้ท่านเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณามีมติให้ส่ง MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ด้วยหรือไม่ ตามมาตรา ๑๗๘ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีการเจรจากับกัมพูชาเพื่อยกเลิก MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ระงับการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค (Joint Technical Committee: JTC) ตาม MOU ๒๕๔๔ และ JC ๒๕๔๔ ไว้ก่อน จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยและมีการดำเนินการให้ถูกต้องตามตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมทั้งขอให้จัดเวทีสาธารณะให้แก่ประชาชน โดยให้มีความเห็นของผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งที่มีความเห็นต่างและที่มีความเห็นด้วยในเวทีอภิปรายสาธารณะซึ่งมีความเป็นกลางและเป็นธรรม ในสัดส่วนของเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญของประเทศไทยต่อไป ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง (๒) แจ้งว่า ได้นำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบและนำพิจารณากราบเรียนนายกรัฐมนตรีตามที่เห็นสมควร และได้ประสานงานส่งเรื่องให้กระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณา โดยขอให้แจ้งผลให้ข้าพเจ้าทราบโดยตรงให้ข้าพเจ้าโดยตรง ความละเอียดทราบแล้วนั้น แต่หนังสือดังกล่าวไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการใดๆ ตามข้อเรียกร้อง รวม ๖ ประการ ซึ่งข้าพเจ้ากับมวลหมู่ประชาชนได้ให้เวลาแก่ท่านดำเนินการและแจ้งตอบเป็นเวลา ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว บัดนี้ ระยะเวลาได้ครบกำหนด ๑๕ วัน แล้ว ท่านและคณะรัฐมนตรียังไม่ได้แจ้งผลการดำเนินการตามที่ได้ร้องขอตามหนังสือที่อ้างถึง(๑) ให้แก่ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน อีกทั้งได้ปรากฏข้อเท็จจริงในสื่อมวลชนจำนวนมากว่า ท่านได้รับหนังสือและรับรู้ ในข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนแล้ว แต่ท่านกลับนิ่งเฉยและไม่ปรากฏคำสัมภาษณ์ว่าจะเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีหรือจัดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังไม่ตอบรับใดๆว่าจะจัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ในการตัดสินใจในปัญหาสำคัญของประเทศ ตามคำร้องขอในหนังสือตามที่อ้างถึง(๑) ซึ่งเป็นการกระทำที่สวนทางและขัดแย้งกับที่ท่านได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า พร้อมจะพูดคุยกับข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชน ดังนั้นการแสดงออกดังกล่าวของท่านและคณะรัฐมนตรี ทำให้ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนเห็นประจักษ์ชัดแจ้งว่า ท่านและคณะรัฐมนตรีจงใจละเลยต่อหน้าที่ในการรักษาไว้ซึ่งเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้านอ่าวไทย ผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงแห่งรัฐในพื้นที่ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องรอบเกาะกูด รวมทั้งเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย อันเป็นการกระทำที่ละเลยต่อหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๗ ตามที่อ้างถึง (๓) ดังนั้นข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจึงเห็นว่า หากท่านและคณะรัฐมนตรียังคงนิ่งเฉยต่อข้อเรียกร้องของข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจนอาจทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตไหล่ทวีปซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย ข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะถือว่าท่านและคณะรัฐมนตรีได้กระทำการอันเป็นการตระเตรียมหรือสนับสนุนการกระทำความผิดที่จะทำให้ราชอาณาจักรไทยหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของราชอาณาจักรไทยต้องไปอยู่ในอธิปไตยของรัฐต่างประเทศหรือเพื่อให้เอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป รวมทั้งเห็นว่าท่านและคณะรัฐมนตรีมีพฤติการณ์บางประการที่ทำให้เห็นว่าได้ตระเตรียมการเพื่อคบคิดกับผู้นำของประเทศกัมพูชาด้วยความประสงค์ที่จะเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ ทำให้รัฐได้รับความเสียหาย อันอาจเป็นการกระทำความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และมาตรา ๑๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๒๙ ตามที่อ้างถึง (๔) ซึ่งข้าพเจ้าและมวลหมู่ประชาชนจะได้ดำเนินการตามมาตรการทางกฎหมายและตามที่เห็นสมควรเพื่อปกป้องอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของราชอาณาจักรไทยต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    Like
    Love
    Wow
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 286 มุมมอง 1 รีวิว
  • พวกผู้สนับสนุนและต่อต้านประธานาธิบดียุน ซ็อกยอล แห่งเกาหลีใต้ พากันออกมาชุมนุมโดยอยู่ห่างกันเพียงไม่กี่ร้อยเมตรในกรุงโซล ในวันเสาร์ (21 ธ.ค.) ราว 1 สัปดาห์หลังจากเขาถูกรัฐสภาถอดถอนจากตำแหน่ง จากกรณีประกาศอัยการศึก ที่ประกาศยกเลิกในเวลาต่อมาไม่กี่ชั่วโมง
    .
    แม้ปัจจุบัน ยุน ถูกพักอำนาจประธานาธิบดี แต่ยังคงอยู่ในตำแหน่ง เขาไม่ยอมทำตามหมายเรียกต่างๆ ของพวกเจ้าหน้าที่ที่กำลังสืบสวนว่า กฎอัยการศึกที่เขาประกาศใช้ในช่วงค่ำวันที่ 3 ธันวาคมและยกเลิกในอีกไม่กี่ชั่วโมงต่อมานั้น เข้าข่ายก่อกบฏหรือไม่
    .
    นอกจากนี้ ยุน ยังไม่ตอบสนองใดๆ ต่อความพยายามในการติดต่อเขาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะเป็นผู้ตัดสินใจขั้นสุดท้ายว่าจะรับรองถอดถอนเขาพ้นจากตำแหน่งหรือคืนอำนาจประธานาธิบดีแก่เขา ทั้งนี้ ศาลมีแผนนัดไต่สวนมูลฟ้องเป็นครั้งแรกในวันศุกร์ (27 ธ.ค.)
    .
    การประท้วงทั้งสนับสนุนและต่อต้านยุนในวันเสาร์ (21 ธ.ค.) จัดขึ้นในจัตุรัสควางฮวามุน ใจกลางเมืองหลวง อย่างไรก็ตาม ไม่มีรายงานเกี่ยวกับการกระทบกระทั่งใดๆ
    .
    พวกผู้ประท้วงต่อต้านยุนหลายหมื่นคน ส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่มสาววัย 20 ถึง 30 ปีเศษๆ รวมตัวกันตอนเวลา 15.00น. โบกไฟเค-ป็อป และป้ายข้อความที่เขียนว่า "จับกุม! ขังคุก! หัวหน้ากบฏยุน ซ็อกยอล"
    .
    "ผมอยากถามยุน ว่าเขาทำเรื่องแบบนี้กับประชาธิปไตยได้อย่างไร ในยุคทศวรรษที่ 21 และผมคิดว่าถ้าเขามีมโนธรรมสำนึก เขาควรลาออกไป" ผู้ประท้วงวัย 27 ปีรายหนึ่งกล่าว
    .
    ส่วนผู้ประท้วงสนับสนุนยุนหลายพันคน ส่วนใหญ่เป็นมีสูงอายุกว่าและเป็นกลุ่มคนหัวอนุรักษนิยมมากกว่า รวมตัวกันตั้งแต่ช่วงเที่ยงวัน คัดค้านการถอดถอนยุนพ้นจากตำแหน่ง และสนับสนุนให้คืนอำนาจประธานาธิบดีแก่เขา
    .
    "รัฐสภาที่โกงการเลือกตั้ง กำลังกัดกร่อนประเทศทีละน้อย และเป็นศูนย์กลางของอำนาจสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ดังนั้นพวกเราจึงออกมารวมตัวกันและพูดในสิ่งเดียวกัน เราคัดค้านอย่างที่สุดต่อการถอดถอน" ผู้ชุมนุมรายหนึ่งกล่าว
    .
    ทั้งนี้ ยุน กล่าวอ้างการโกงเลือกตั้ง และ "ขุมกำลังต่อต้านรัฐ" พวกเข้าข้างฝักใฝ่เกาหลีเหนือ เป็นข้ออ้างความชอบธรรมในการประกาศกฎอัยการศึก คำกล่าวอ้างที่ทางคณะกรรมการการเลือกตั้งปฏิเสธ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000122558
    ..............
    Sondhi X
    พวกผู้สนับสนุนและต่อต้านประธานาธิบดียุน ซ็อกยอล แห่งเกาหลีใต้ พากันออกมาชุมนุมโดยอยู่ห่างกันเพียงไม่กี่ร้อยเมตรในกรุงโซล ในวันเสาร์ (21 ธ.ค.) ราว 1 สัปดาห์หลังจากเขาถูกรัฐสภาถอดถอนจากตำแหน่ง จากกรณีประกาศอัยการศึก ที่ประกาศยกเลิกในเวลาต่อมาไม่กี่ชั่วโมง . แม้ปัจจุบัน ยุน ถูกพักอำนาจประธานาธิบดี แต่ยังคงอยู่ในตำแหน่ง เขาไม่ยอมทำตามหมายเรียกต่างๆ ของพวกเจ้าหน้าที่ที่กำลังสืบสวนว่า กฎอัยการศึกที่เขาประกาศใช้ในช่วงค่ำวันที่ 3 ธันวาคมและยกเลิกในอีกไม่กี่ชั่วโมงต่อมานั้น เข้าข่ายก่อกบฏหรือไม่ . นอกจากนี้ ยุน ยังไม่ตอบสนองใดๆ ต่อความพยายามในการติดต่อเขาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะเป็นผู้ตัดสินใจขั้นสุดท้ายว่าจะรับรองถอดถอนเขาพ้นจากตำแหน่งหรือคืนอำนาจประธานาธิบดีแก่เขา ทั้งนี้ ศาลมีแผนนัดไต่สวนมูลฟ้องเป็นครั้งแรกในวันศุกร์ (27 ธ.ค.) . การประท้วงทั้งสนับสนุนและต่อต้านยุนในวันเสาร์ (21 ธ.ค.) จัดขึ้นในจัตุรัสควางฮวามุน ใจกลางเมืองหลวง อย่างไรก็ตาม ไม่มีรายงานเกี่ยวกับการกระทบกระทั่งใดๆ . พวกผู้ประท้วงต่อต้านยุนหลายหมื่นคน ส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่มสาววัย 20 ถึง 30 ปีเศษๆ รวมตัวกันตอนเวลา 15.00น. โบกไฟเค-ป็อป และป้ายข้อความที่เขียนว่า "จับกุม! ขังคุก! หัวหน้ากบฏยุน ซ็อกยอล" . "ผมอยากถามยุน ว่าเขาทำเรื่องแบบนี้กับประชาธิปไตยได้อย่างไร ในยุคทศวรรษที่ 21 และผมคิดว่าถ้าเขามีมโนธรรมสำนึก เขาควรลาออกไป" ผู้ประท้วงวัย 27 ปีรายหนึ่งกล่าว . ส่วนผู้ประท้วงสนับสนุนยุนหลายพันคน ส่วนใหญ่เป็นมีสูงอายุกว่าและเป็นกลุ่มคนหัวอนุรักษนิยมมากกว่า รวมตัวกันตั้งแต่ช่วงเที่ยงวัน คัดค้านการถอดถอนยุนพ้นจากตำแหน่ง และสนับสนุนให้คืนอำนาจประธานาธิบดีแก่เขา . "รัฐสภาที่โกงการเลือกตั้ง กำลังกัดกร่อนประเทศทีละน้อย และเป็นศูนย์กลางของอำนาจสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ดังนั้นพวกเราจึงออกมารวมตัวกันและพูดในสิ่งเดียวกัน เราคัดค้านอย่างที่สุดต่อการถอดถอน" ผู้ชุมนุมรายหนึ่งกล่าว . ทั้งนี้ ยุน กล่าวอ้างการโกงเลือกตั้ง และ "ขุมกำลังต่อต้านรัฐ" พวกเข้าข้างฝักใฝ่เกาหลีเหนือ เป็นข้ออ้างความชอบธรรมในการประกาศกฎอัยการศึก คำกล่าวอ้างที่ทางคณะกรรมการการเลือกตั้งปฏิเสธ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000122558 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 676 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทักษิณ กลับลำหลอกประชาชน จุดจบสุดท้ายคงไม่สวย
    การพูดเอามัน ตามสไตล์ทักษิณ อาจมีปัญหาตามมาอย่างที่ไม่อาจปฏิเสธได้ การพูดของทักษิณดังกล่าวจะถูกนําเข้ามาพิจารณาในคดียุบพรรคเพื่อไทย ในข้อหาครอบงําพรรคการเมือง
    ในที่สุด ทักษิณ ชินวัตร ก็เผยธาตุแท้ออกมาให้คนไทยได้เห็นกัน จากที่ต้องการกลับประเทศไทยเพื่อมาเลี้ยงหลาน ในฐานะอากงคนหนึ่ง แต่ทุกวันนี้คงเห็นแล้วนอกจากเลี้ยงหลานแล้วยังกลับมาเลี้ยงลูกสาวคนเล็ก แพทองทาน นายกรัฐมนตรีอีกด้วย หลังจากเข้าร่วมสัมมนากับพรรคเพื่อไทยพร้อมกับประกาศไล่แกนนําพรรคร่วมรัฐบาลที่ไม่จริงใจออกจากการเป็นรัฐบาล การประกาศเช่นนั้นด้านหนึ่งก็เป็นการแสดงให้เห็นว่า
    ทักษิณกําลังออกมาปกป้องลูกสาวตัวเอง ซึ่งถ้าเป็นเรื่องครอบครัวปกติทั่วไป ก็คงไม่ผิด แต่พอเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการบ้านเมืองปฏิเสธไม่ได้ว่าหมิ่นเหม่ และท้าทายความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายพอสมควร
    เดิมทีการแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารประเทศหรือการแสดงวิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศแม้บางเรื่องที่รัฐบาลดําเนินการในปัจจุบัน จะดันไปสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของทักษิณแต่ด้วยความบังเอิญหรือจงใจ
    ก็ยังพอเข้าใจได้ว่า ถ้าจะเอาผิดตามกฎหมายจากเรื่องทํานองนี้อาจเป็นการบังคับใช้กฎหมาย ที่ดูจะเกินเลยไปหน่อย เช่นเดียวกับการเปิดบ้านจันทร์ส่องล่า ให้แกนนําพรรคร่วมรัฐบาลมากินมาม่าด้วยกัน ก็ยังมีช่องทางที่รอดจากคมหอกของกฎหมายไปได้
    แต่การที่ทักษิณออกมาพูดล้วงลึกไปถึงเรื่องภายในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีนั้น ถือว่าเป็นการล้ําเส้นพอสมควร กล่าวก็คือโดยหลักการแล้วการประชุมคณะรัฐมนตรีไม่ได้เป็นการจัดการประชุมที่เปิดเผยต่อสาธารณะ
    เหมือนกับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาพูดง่ายๆ คือการประชุมคณะรัฐมนตรีจะเป็นการประชุมภายในเฉพาะรัฐมนตรี
    นี่เป็นการแสดงให้เห็นว่า นายใหญ่รู้เห็นทุกอย่าง แต่อีกมุมในแง่ทางกฎหมายที่ว่าด้วยการยุบพรรคการเมืองนั้น ก็นับว่าเป็นการพาพรรคเพื่อไทยเข้าสู่กองไฟอย่างเห็นได้ชัด ใน เวลานี้ กกต ได้เห็นไพ่ในมือของพรรคเพื่อไทยเกือบหมดแล้วแต่พรรคเพื่อไทยกลับยังไม่เห็นของในมือกกต เลยแม้แต่น้อย ว่ากกต จะมีทีเด็ดอะไรมาเอาผิดกับพรรคเพื่อไทยดังนั้นคําพูดของนายใหญ่ที่ออกมาจึงเป็นการทําให้พรรคเพื่อไทยเข้าใกล้ศาลรัฐธรรมนูญเข้าไปอีกก้าว
    ติดตามเจาะลึกแบบนี้ได้ที่
    #คิงส์โพธิ์ดำ
    ทักษิณ กลับลำหลอกประชาชน จุดจบสุดท้ายคงไม่สวย การพูดเอามัน ตามสไตล์ทักษิณ อาจมีปัญหาตามมาอย่างที่ไม่อาจปฏิเสธได้ การพูดของทักษิณดังกล่าวจะถูกนําเข้ามาพิจารณาในคดียุบพรรคเพื่อไทย ในข้อหาครอบงําพรรคการเมือง ในที่สุด ทักษิณ ชินวัตร ก็เผยธาตุแท้ออกมาให้คนไทยได้เห็นกัน จากที่ต้องการกลับประเทศไทยเพื่อมาเลี้ยงหลาน ในฐานะอากงคนหนึ่ง แต่ทุกวันนี้คงเห็นแล้วนอกจากเลี้ยงหลานแล้วยังกลับมาเลี้ยงลูกสาวคนเล็ก แพทองทาน นายกรัฐมนตรีอีกด้วย หลังจากเข้าร่วมสัมมนากับพรรคเพื่อไทยพร้อมกับประกาศไล่แกนนําพรรคร่วมรัฐบาลที่ไม่จริงใจออกจากการเป็นรัฐบาล การประกาศเช่นนั้นด้านหนึ่งก็เป็นการแสดงให้เห็นว่า ทักษิณกําลังออกมาปกป้องลูกสาวตัวเอง ซึ่งถ้าเป็นเรื่องครอบครัวปกติทั่วไป ก็คงไม่ผิด แต่พอเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการบ้านเมืองปฏิเสธไม่ได้ว่าหมิ่นเหม่ และท้าทายความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายพอสมควร เดิมทีการแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารประเทศหรือการแสดงวิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศแม้บางเรื่องที่รัฐบาลดําเนินการในปัจจุบัน จะดันไปสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของทักษิณแต่ด้วยความบังเอิญหรือจงใจ ก็ยังพอเข้าใจได้ว่า ถ้าจะเอาผิดตามกฎหมายจากเรื่องทํานองนี้อาจเป็นการบังคับใช้กฎหมาย ที่ดูจะเกินเลยไปหน่อย เช่นเดียวกับการเปิดบ้านจันทร์ส่องล่า ให้แกนนําพรรคร่วมรัฐบาลมากินมาม่าด้วยกัน ก็ยังมีช่องทางที่รอดจากคมหอกของกฎหมายไปได้ แต่การที่ทักษิณออกมาพูดล้วงลึกไปถึงเรื่องภายในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีนั้น ถือว่าเป็นการล้ําเส้นพอสมควร กล่าวก็คือโดยหลักการแล้วการประชุมคณะรัฐมนตรีไม่ได้เป็นการจัดการประชุมที่เปิดเผยต่อสาธารณะ เหมือนกับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาพูดง่ายๆ คือการประชุมคณะรัฐมนตรีจะเป็นการประชุมภายในเฉพาะรัฐมนตรี นี่เป็นการแสดงให้เห็นว่า นายใหญ่รู้เห็นทุกอย่าง แต่อีกมุมในแง่ทางกฎหมายที่ว่าด้วยการยุบพรรคการเมืองนั้น ก็นับว่าเป็นการพาพรรคเพื่อไทยเข้าสู่กองไฟอย่างเห็นได้ชัด ใน เวลานี้ กกต ได้เห็นไพ่ในมือของพรรคเพื่อไทยเกือบหมดแล้วแต่พรรคเพื่อไทยกลับยังไม่เห็นของในมือกกต เลยแม้แต่น้อย ว่ากกต จะมีทีเด็ดอะไรมาเอาผิดกับพรรคเพื่อไทยดังนั้นคําพูดของนายใหญ่ที่ออกมาจึงเป็นการทําให้พรรคเพื่อไทยเข้าใกล้ศาลรัฐธรรมนูญเข้าไปอีกก้าว ติดตามเจาะลึกแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธิ์ดำ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 452 มุมมอง 0 รีวิว
  • รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้เผยได้ร่างโรดแมปเตรียมพร้อมไว้แล้วกรณีที่ทรัมป์ฟื้นการเจรจานิวเคลียร์กับเปียงยาง แต่ยอมรับว่า สถานการณ์วุ่นวายทางการเมืองทำให้การติดต่อประสานงานกับทีมงานของว่าที่ผู้นำใหม่ของสหรัฐฯ สะดุด
    .
    ในวันพุธ (18 ธ.ค.) ที่งานแถลงข่าวร่วมต่อสื่อต่างประเทศซึ่งเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก โช แต-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศ และชอย ซัง-ม็อก รัฐมนตรีคลังเกาหลีใต้ พยายามฟื้นความมั่นใจของชาติพันธมิตรและนักลงทุนในตลาด นับจากที่ประธานาธิบดียุน ซอก-ยอล พยายามประกาศกฎอัยการศึกเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. และดึงประเทศเข้าสู่วิกฤตการเมืองครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิบปี
    .
    โชเผยว่า เกาหลีใต้ได้สร้างเครือข่ายและช่องทางสื่อสารกับทีมหาเสียงของว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของอเมริกา “ที่แข็งแกร่งกว่าประเทศใดๆ” ทว่า การประกาศกฎอัยการศึกทำให้เครือข่ายและช่องทางเหล่านั้นสะดุดและบ่อนทำลายโมเมนตัมทางการเมืองระหว่างสองฝ่าย
    .
    ทีมงานของโชยังร่างโรดแมปสำหรับความเป็นไปได้ที่วอชิงตันและเปียงยางอาจฟื้นการเจรจานิวเคลียร์ โดยอ้างอิงการที่ทรัมป์เลือกอดีตผู้นำหน่วยข่าวกรองเป็นผู้แทนภารกิจพิเศษที่รวมถึงนโยบายต่อเกาหลีเหนือ
    .
    ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา เปียงยางเพิกเฉยต่อการทาบทามเพื่อฟื้นการเจรจาโดยปราศจากเงื่อนไขของประธานาธิบดีโจ ไบเดน แต่ทีมงานของทรัมป์พยายามหาทางเจรจาโดยตรงกับคิม จอง-อึน ผู้นำเกาหลีเหนือ เพื่อลดความเสี่ยงในการปะทะทางทหาร
    .
    นอกจากนั้นทรัมป์ยังส่งสัญญาณว่า ต้องการเจรจาเพื่อยุติสงครามในยูเครน แต่โชเชื่อว่า เรื่องนี้ต้องใช้เวลาสักพักจนกว่าจะเกิดขึ้นจริง และจำเป็นต้องหาทางตอบโต้กรณีที่เกาหลีเหนือส่งทหารไปรัสเซียควบคู่กับการเฝ้าติดตามสถานการณ์
    .
    ในส่วนจีนนั้น โชเผยว่า ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ถูกคาดหมายว่า จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) ในเกาหลีใต้ปีหน้า ซึ่งจะถือเป็นการเยือนโซลครั้งแรกของประมุขจีนในรอบ 11 ปี
    .
    เขายังกล่าวถึงการที่จีนตัดสินใจขยายมาตรการเดินทางเข้าเกาหลีใต้โดยไม่ต้องใช้วีซ่าว่า เป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารเชิงยุทธศาสตร์ระดับสูงระหว่างกันและความพยายามในการปรับปรุงความสัมพันธ์ และเสริมว่า โซลกำลังสำรวจความเป็นไปได้สำหรับมาตรการเดียวกัน
    .
    ทั้งนี้ นอกจากต้องพยายามควบคุมผลกระทบจากวิกฤตการเมืองต่อตลาดการเงินและตลาดปริวรรตเงินตราแล้ว เกาหลีใต้ยังต้องเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตที่ไม่แน่นอนกับอเมริกาภายใต้คณะบริหารของทรัมป์
    .
    ภายหลังความพยายามในการประกาศกฎอัยการศึกของยุนที่ถูกสภาลงมติถอดถอนเมื่อวันเสาร์ (14 ธ.ค.) และขณะนี้ศาลรัฐธรรมนูญกำลังพิจารณาว่า จะถอดถอนหรือคืนตำแหน่งให้นั้น วอชิงตันได้วิจารณ์สถานการณ์การเมืองของเกาหลีใต้อย่างตรงไปตรงมาผิดปกติ โดยเคิร์ต แคมป์เบลล์ รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศ ระบุว่า การตัดสินใจของยุน “ผิดพลาดร้ายแรง”
    .
    ทางด้านชอย รัฐมนตรีคลังเกาหลีใต้ แถลงว่า รัฐบาลจะใช้ทรัพยากรทั้งหมดที่มีเพื่อจัดการเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ และรับมือความผันผวนรุนแรงในตลาดปริวรรตเงินตราอย่างเต็มที่
    .
    โชและชอยเป็นส่วนหนึ่งของคณะรัฐมนตรีที่คัดค้านแผนการประกาศกฎอัยการศึกของยุนอย่างเปิดเผยระหว่างการประชุมกลางดึกก่อนที่ยุนจะประกาศคำสั่งนี้ไม่นาน
    .
    ระหว่างให้การต่อรัฐสภาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โชกล่าวว่า ได้เตือนว่า การประกาศกฎอัยการศึกอาจทำลายความสำเร็จที่เกาหลีใต้สร้างสมมาตลอด 70 ปี แต่ยุนไม่สนใจคำขอร้องของตนให้ทบทวนการตัดสินใจ
    .
    โชกล่าวในงานแถลงข่าวว่า ครั้งล่าสุดที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกในเกาหลีใต้คือปี 1979 ซึ่งเขาได้เข้าทำงานในกระทรวงต่างประเทศ และสำทับว่า เขา “อึ้ง” กับการตัดสินใจดังกล่าวและไม่นึกไม่ฝันว่า เหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นอีกครั้งในอีก 45 ปีต่อมา
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000121640
    ..............
    Sondhi X
    รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีใต้เผยได้ร่างโรดแมปเตรียมพร้อมไว้แล้วกรณีที่ทรัมป์ฟื้นการเจรจานิวเคลียร์กับเปียงยาง แต่ยอมรับว่า สถานการณ์วุ่นวายทางการเมืองทำให้การติดต่อประสานงานกับทีมงานของว่าที่ผู้นำใหม่ของสหรัฐฯ สะดุด . ในวันพุธ (18 ธ.ค.) ที่งานแถลงข่าวร่วมต่อสื่อต่างประเทศซึ่งเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก โช แต-ยุล รัฐมนตรีต่างประเทศ และชอย ซัง-ม็อก รัฐมนตรีคลังเกาหลีใต้ พยายามฟื้นความมั่นใจของชาติพันธมิตรและนักลงทุนในตลาด นับจากที่ประธานาธิบดียุน ซอก-ยอล พยายามประกาศกฎอัยการศึกเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. และดึงประเทศเข้าสู่วิกฤตการเมืองครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิบปี . โชเผยว่า เกาหลีใต้ได้สร้างเครือข่ายและช่องทางสื่อสารกับทีมหาเสียงของว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของอเมริกา “ที่แข็งแกร่งกว่าประเทศใดๆ” ทว่า การประกาศกฎอัยการศึกทำให้เครือข่ายและช่องทางเหล่านั้นสะดุดและบ่อนทำลายโมเมนตัมทางการเมืองระหว่างสองฝ่าย . ทีมงานของโชยังร่างโรดแมปสำหรับความเป็นไปได้ที่วอชิงตันและเปียงยางอาจฟื้นการเจรจานิวเคลียร์ โดยอ้างอิงการที่ทรัมป์เลือกอดีตผู้นำหน่วยข่าวกรองเป็นผู้แทนภารกิจพิเศษที่รวมถึงนโยบายต่อเกาหลีเหนือ . ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา เปียงยางเพิกเฉยต่อการทาบทามเพื่อฟื้นการเจรจาโดยปราศจากเงื่อนไขของประธานาธิบดีโจ ไบเดน แต่ทีมงานของทรัมป์พยายามหาทางเจรจาโดยตรงกับคิม จอง-อึน ผู้นำเกาหลีเหนือ เพื่อลดความเสี่ยงในการปะทะทางทหาร . นอกจากนั้นทรัมป์ยังส่งสัญญาณว่า ต้องการเจรจาเพื่อยุติสงครามในยูเครน แต่โชเชื่อว่า เรื่องนี้ต้องใช้เวลาสักพักจนกว่าจะเกิดขึ้นจริง และจำเป็นต้องหาทางตอบโต้กรณีที่เกาหลีเหนือส่งทหารไปรัสเซียควบคู่กับการเฝ้าติดตามสถานการณ์ . ในส่วนจีนนั้น โชเผยว่า ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ถูกคาดหมายว่า จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) ในเกาหลีใต้ปีหน้า ซึ่งจะถือเป็นการเยือนโซลครั้งแรกของประมุขจีนในรอบ 11 ปี . เขายังกล่าวถึงการที่จีนตัดสินใจขยายมาตรการเดินทางเข้าเกาหลีใต้โดยไม่ต้องใช้วีซ่าว่า เป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารเชิงยุทธศาสตร์ระดับสูงระหว่างกันและความพยายามในการปรับปรุงความสัมพันธ์ และเสริมว่า โซลกำลังสำรวจความเป็นไปได้สำหรับมาตรการเดียวกัน . ทั้งนี้ นอกจากต้องพยายามควบคุมผลกระทบจากวิกฤตการเมืองต่อตลาดการเงินและตลาดปริวรรตเงินตราแล้ว เกาหลีใต้ยังต้องเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตที่ไม่แน่นอนกับอเมริกาภายใต้คณะบริหารของทรัมป์ . ภายหลังความพยายามในการประกาศกฎอัยการศึกของยุนที่ถูกสภาลงมติถอดถอนเมื่อวันเสาร์ (14 ธ.ค.) และขณะนี้ศาลรัฐธรรมนูญกำลังพิจารณาว่า จะถอดถอนหรือคืนตำแหน่งให้นั้น วอชิงตันได้วิจารณ์สถานการณ์การเมืองของเกาหลีใต้อย่างตรงไปตรงมาผิดปกติ โดยเคิร์ต แคมป์เบลล์ รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศ ระบุว่า การตัดสินใจของยุน “ผิดพลาดร้ายแรง” . ทางด้านชอย รัฐมนตรีคลังเกาหลีใต้ แถลงว่า รัฐบาลจะใช้ทรัพยากรทั้งหมดที่มีเพื่อจัดการเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ และรับมือความผันผวนรุนแรงในตลาดปริวรรตเงินตราอย่างเต็มที่ . โชและชอยเป็นส่วนหนึ่งของคณะรัฐมนตรีที่คัดค้านแผนการประกาศกฎอัยการศึกของยุนอย่างเปิดเผยระหว่างการประชุมกลางดึกก่อนที่ยุนจะประกาศคำสั่งนี้ไม่นาน . ระหว่างให้การต่อรัฐสภาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โชกล่าวว่า ได้เตือนว่า การประกาศกฎอัยการศึกอาจทำลายความสำเร็จที่เกาหลีใต้สร้างสมมาตลอด 70 ปี แต่ยุนไม่สนใจคำขอร้องของตนให้ทบทวนการตัดสินใจ . โชกล่าวในงานแถลงข่าวว่า ครั้งล่าสุดที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกในเกาหลีใต้คือปี 1979 ซึ่งเขาได้เข้าทำงานในกระทรวงต่างประเทศ และสำทับว่า เขา “อึ้ง” กับการตัดสินใจดังกล่าวและไม่นึกไม่ฝันว่า เหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นอีกครั้งในอีก 45 ปีต่อมา . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000121640 .............. Sondhi X
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 728 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประธานาธิบดี ยุน ซ็อกยอล ของเกาหลีใต้ ที่ถูกรัฐสภาลงมติถอดถอน ทำให้ต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ ยังคงปฏิเสธหมายเรียกไปให้ปากคำของเจ้าหน้าที่สอบสวนทีมต่างๆ ขณะที่ศาลรัฐธรรมนูญเผยว่าเริ่มดำเนินการตามกระบวนการพิจารณาจะรับรองหรือปฏิเสธการถอดถอนประธานาธิบดีผู้นี้แล้วตั้งแต่วันจันทร์ (16 ธ.ค.)
    .
    ลี จิน โฆษกศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ แถลงในวันจันทร์ (16) ว่า ตุลาการรัฐธรรมนูญที่เวลานี้มีด้วยกัน 6 คน เริ่มการพิจารณาหารือแล้วเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามกระบวนการ หลังจากรัฐสภาลงมติถอดถอนยุนเมื่อวันเสาร์ (14) ที่ผ่านมา โดยจะจัดทำประชาพิจารณ์ครั้งแรกในวันที่ 27 ที่จะถึงนี้ เพื่อเตรียมการรับรองประเด็นสำคัญทางกฎหมายและกำหนดกรอบการการดำเนินการต่างๆ
    .
    ศาลรัฐธรรมนูญมีเวลาพิจารณาประมาณ 6 เดือนเพื่อตัดสินว่า จะยืนตามมติของรัฐสภาหรือไม่ และหากวินิจฉัยเห็นชอบให้ถอดถอนยุน เกาหลีใต้ก็จะต้องจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ภายในเวลา 2 เดือน
    .
    ครั้งล่าสุดที่มีการพิจารณาเรื่องเช่นนี้ คือในปี 2017 ศาลรัฐธรรมนูญใช้เวลาราว 3 เดือน ก็สามารถประกาศคำตัดสินยืนยันให้ถอดถอน พัค กึน-ฮเย ประธานาธิบดีในขณะนั้น ซึ่งถูกสภาลงมติถอดถอนจากกรณีการใช้อำนาจโดยมิชอบ
    .
    นอกจากถูกรัฐสภาลงมติให้เข้าสู่กระบวนการถูกถอดถอนแล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นๆ จัดการสอบสวนเขาคู่ขนานไปด้วย ทำให้ ยุน ที่ถูกห้ามเดินทางออกนอกประเทศก่อนหน้านี้แล้ว ยังอาจถูกตั้งข้อหากบฏจากการประกาศกฎอัยการศึกที่มีผลบังคับใช้เพียงไม่กี่ชั่วโมงเมื่อวันที่ 3 ที่ผ่านมา เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่อาวุโสอีกหลายคน
    .
    ทางด้านตำรวจเผยว่า ทีมสอบสวนร่วมระหว่างตำรวจ กระทรวงกลาโหม และสำนักงานปราบปรามการทุจริต ได้เรียกยุนมาสอบปากคำวันพุธ (18) นี้ ในข้อกล่าวหาเป็นผู้นำในการประกาศกฎอัยการศึกอย่างผิดกฎหมาย ทว่า หน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีปฏิเสธไม่ยอมรับหมายเรียก โดยอ้างว่า ไม่อยู่ในสถานะที่จะทำได้ และสำนักงานปราบปรามการทุจริตแจ้งว่า จะส่งหมายเรียกผ่านจดหมายลงทะเบียนด่วนอีกครั้ง
    .
    สำนักข่าวยอนฮัป ซึ่งเป็นสำนักข่าวกึ่งทางการของเกาหลีใต้รายงานว่า ตั้งแต่เมื่อสัปดาห์ที่แล้วทางเจ้าหน้าที่สอบสวนพยายามส่งหมายเรียกยุนไปให้ปากคำ ด้วยการส่งเจ้านห้าที่เดินทางไปที่สำนักงานประธานาธิบดีและที่บ้านพักประจำตำแหน่ง ทว่า หน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีไม่ยอมรับหมายดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลเดียวกัน
    .
    เช่นเดียวกับสำนักงานอัยการที่ต้องออกหมายเรียกยุนครั้งที่ 2 ในวันจันทร์เพื่อให้เขาไปให้ปากคำเกี่ยวกับข้อกล่าวหากบฏและการใช้อำนาจโดยมิชอบ หลังจากถูกปฏิเสธไปเมื่อวันอาทิตย์ (15) โดยอ้างว่า กำลังจัดทีมกฎหมายเพื่อสู้คดี ทางเจ้าหน้าที่ระบุว่า หากยุนยังปฏิเสธอีก จะมีการออกหมายจับต่อไป
    .
    สื่อท้องถิ่นยังรายงานว่า ยุน ซึ่งมีตำแหน่งเป็นอัยการสูงสุดของประเทศ ก่อนที่จะชนะเลือกตั้งได้เป็นประธานาธิบดี ได้แต่งตั้งคิม ฮองอิล อดีตอัยการ เป็นผู้นำของทีมทนายความรับมือทั้งในกรณีการถูกถอดถอนและการถูกสอบสวนคดีอาญา
    .
    ในอีกด้านหนึ่ง ตำรวจระบุว่า เมื่อวันอาทิตย์ (15) ได้จับกุมอดีตผู้บัญชาการและผู้บัญชาการคนปัจจุบัน ของกองบัญชาการข่าวกรองกลาโหม ฐานเกี่ยวข้องพัวพันกับข้อกล่าวหาเป็นกบฏของยุน
    .
    สำนักงานอัยการยังเปิดเผยว่า กำลังขอหมายจับ กว็อก จองกึน ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ ที่ถูกกล่าวหาว่า ส่งกองกำลังพิเศษไปยังรัฐสภาระหว่างการประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งทำให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างทหารกับเจ้าหน้าที่สภา
    .
    ทางด้านพรรคพลังประชาชน (พีพีพี) ต้นสังกัดของยุนนั้น เมื่อวันจันทร์ ฮัน ด็องฮุน หัวหน้าพรรค ซึ่งแม้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการประกาศกฎอัยการศึก รวมทั้งให้การสนับสนุนการถอดถอนยุน ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่ง พร้อมขอโทษประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการประกาศกฎอัยการศึก
    .
    ฮันยังประณามกลุ่มสุดโต่ง โดยเฉพาะพวกนักทฤษฎีสมรู้ร่วมคิดที่คอยกระพือข่าวเท็จทางโซเชียลมีเดียว่า มีการโกงเลือกตั้งอย่างมโหฬาร จึงทำให้พีพีพีพ่ายแพ้ยับเยินในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาเมื่อเดือน เม.ย.ที่ผ่านมา พร้อมกับเตือนว่า ลัทธิอนุรักษนิยมอาจหมดอนาคตในเกาหลีใต้ หากพีพีพียังคงหนุนหลังคนเหล่านี้
    .
    ทั้งนี้ ในการประกาศกฎอัยการศึกเมื่อต้นเดือน เหตุผลหนึ่งที่ยุนยกมาเป็นข้ออ้าง คือเรื่องระบบการเลือกตั้งของเกาหลีใต้ไม่โปร่งใส
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000120822
    ..............
    Sondhi X
    ประธานาธิบดี ยุน ซ็อกยอล ของเกาหลีใต้ ที่ถูกรัฐสภาลงมติถอดถอน ทำให้ต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ ยังคงปฏิเสธหมายเรียกไปให้ปากคำของเจ้าหน้าที่สอบสวนทีมต่างๆ ขณะที่ศาลรัฐธรรมนูญเผยว่าเริ่มดำเนินการตามกระบวนการพิจารณาจะรับรองหรือปฏิเสธการถอดถอนประธานาธิบดีผู้นี้แล้วตั้งแต่วันจันทร์ (16 ธ.ค.) . ลี จิน โฆษกศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ แถลงในวันจันทร์ (16) ว่า ตุลาการรัฐธรรมนูญที่เวลานี้มีด้วยกัน 6 คน เริ่มการพิจารณาหารือแล้วเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามกระบวนการ หลังจากรัฐสภาลงมติถอดถอนยุนเมื่อวันเสาร์ (14) ที่ผ่านมา โดยจะจัดทำประชาพิจารณ์ครั้งแรกในวันที่ 27 ที่จะถึงนี้ เพื่อเตรียมการรับรองประเด็นสำคัญทางกฎหมายและกำหนดกรอบการการดำเนินการต่างๆ . ศาลรัฐธรรมนูญมีเวลาพิจารณาประมาณ 6 เดือนเพื่อตัดสินว่า จะยืนตามมติของรัฐสภาหรือไม่ และหากวินิจฉัยเห็นชอบให้ถอดถอนยุน เกาหลีใต้ก็จะต้องจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ภายในเวลา 2 เดือน . ครั้งล่าสุดที่มีการพิจารณาเรื่องเช่นนี้ คือในปี 2017 ศาลรัฐธรรมนูญใช้เวลาราว 3 เดือน ก็สามารถประกาศคำตัดสินยืนยันให้ถอดถอน พัค กึน-ฮเย ประธานาธิบดีในขณะนั้น ซึ่งถูกสภาลงมติถอดถอนจากกรณีการใช้อำนาจโดยมิชอบ . นอกจากถูกรัฐสภาลงมติให้เข้าสู่กระบวนการถูกถอดถอนแล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นๆ จัดการสอบสวนเขาคู่ขนานไปด้วย ทำให้ ยุน ที่ถูกห้ามเดินทางออกนอกประเทศก่อนหน้านี้แล้ว ยังอาจถูกตั้งข้อหากบฏจากการประกาศกฎอัยการศึกที่มีผลบังคับใช้เพียงไม่กี่ชั่วโมงเมื่อวันที่ 3 ที่ผ่านมา เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่อาวุโสอีกหลายคน . ทางด้านตำรวจเผยว่า ทีมสอบสวนร่วมระหว่างตำรวจ กระทรวงกลาโหม และสำนักงานปราบปรามการทุจริต ได้เรียกยุนมาสอบปากคำวันพุธ (18) นี้ ในข้อกล่าวหาเป็นผู้นำในการประกาศกฎอัยการศึกอย่างผิดกฎหมาย ทว่า หน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีปฏิเสธไม่ยอมรับหมายเรียก โดยอ้างว่า ไม่อยู่ในสถานะที่จะทำได้ และสำนักงานปราบปรามการทุจริตแจ้งว่า จะส่งหมายเรียกผ่านจดหมายลงทะเบียนด่วนอีกครั้ง . สำนักข่าวยอนฮัป ซึ่งเป็นสำนักข่าวกึ่งทางการของเกาหลีใต้รายงานว่า ตั้งแต่เมื่อสัปดาห์ที่แล้วทางเจ้าหน้าที่สอบสวนพยายามส่งหมายเรียกยุนไปให้ปากคำ ด้วยการส่งเจ้านห้าที่เดินทางไปที่สำนักงานประธานาธิบดีและที่บ้านพักประจำตำแหน่ง ทว่า หน่วยรักษาความปลอดภัยประธานาธิบดีไม่ยอมรับหมายดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลเดียวกัน . เช่นเดียวกับสำนักงานอัยการที่ต้องออกหมายเรียกยุนครั้งที่ 2 ในวันจันทร์เพื่อให้เขาไปให้ปากคำเกี่ยวกับข้อกล่าวหากบฏและการใช้อำนาจโดยมิชอบ หลังจากถูกปฏิเสธไปเมื่อวันอาทิตย์ (15) โดยอ้างว่า กำลังจัดทีมกฎหมายเพื่อสู้คดี ทางเจ้าหน้าที่ระบุว่า หากยุนยังปฏิเสธอีก จะมีการออกหมายจับต่อไป . สื่อท้องถิ่นยังรายงานว่า ยุน ซึ่งมีตำแหน่งเป็นอัยการสูงสุดของประเทศ ก่อนที่จะชนะเลือกตั้งได้เป็นประธานาธิบดี ได้แต่งตั้งคิม ฮองอิล อดีตอัยการ เป็นผู้นำของทีมทนายความรับมือทั้งในกรณีการถูกถอดถอนและการถูกสอบสวนคดีอาญา . ในอีกด้านหนึ่ง ตำรวจระบุว่า เมื่อวันอาทิตย์ (15) ได้จับกุมอดีตผู้บัญชาการและผู้บัญชาการคนปัจจุบัน ของกองบัญชาการข่าวกรองกลาโหม ฐานเกี่ยวข้องพัวพันกับข้อกล่าวหาเป็นกบฏของยุน . สำนักงานอัยการยังเปิดเผยว่า กำลังขอหมายจับ กว็อก จองกึน ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ ที่ถูกกล่าวหาว่า ส่งกองกำลังพิเศษไปยังรัฐสภาระหว่างการประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งทำให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างทหารกับเจ้าหน้าที่สภา . ทางด้านพรรคพลังประชาชน (พีพีพี) ต้นสังกัดของยุนนั้น เมื่อวันจันทร์ ฮัน ด็องฮุน หัวหน้าพรรค ซึ่งแม้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการประกาศกฎอัยการศึก รวมทั้งให้การสนับสนุนการถอดถอนยุน ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่ง พร้อมขอโทษประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการประกาศกฎอัยการศึก . ฮันยังประณามกลุ่มสุดโต่ง โดยเฉพาะพวกนักทฤษฎีสมรู้ร่วมคิดที่คอยกระพือข่าวเท็จทางโซเชียลมีเดียว่า มีการโกงเลือกตั้งอย่างมโหฬาร จึงทำให้พีพีพีพ่ายแพ้ยับเยินในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาเมื่อเดือน เม.ย.ที่ผ่านมา พร้อมกับเตือนว่า ลัทธิอนุรักษนิยมอาจหมดอนาคตในเกาหลีใต้ หากพีพีพียังคงหนุนหลังคนเหล่านี้ . ทั้งนี้ ในการประกาศกฎอัยการศึกเมื่อต้นเดือน เหตุผลหนึ่งที่ยุนยกมาเป็นข้ออ้าง คือเรื่องระบบการเลือกตั้งของเกาหลีใต้ไม่โปร่งใส . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000120822 .............. Sondhi X
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 742 มุมมอง 0 รีวิว
  • ป.ป.ช.รับเรื่องคดีเอื้อทักษิณนอนชั้น 14 ไม่ติดคุก เปิดชื่อ 12 จนท.กรมคุก-รพ.ตำรวจ ไต่สวนชุดใหญ่

    ที่ประชุม ป.ป.ช. มีมติรับเรื่องกรณีอธิบดีราชทัณฑ์-แพทย์ใหญ่ รพ.ตำรวจ เอื้อประโยชน์นักโทษชายทักษิณ นอนวีไอพีชั้น 14 ไม่ติดคุกจริง เปิด 12 รายชื่ออธิบดี-รองอธิบดี-ผบ.เรือนจำ-แพทย์ -พัศดี- พยาบาล โดนไต่สวนชุดใหญ่

    วันนี้ (16 ธ.ค.) นายสาโรจน์ พึงรำพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ในฐานะโฆษกสำนักงาน ป.ป.ช. แถลงว่า วันนี้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้พิจารณากรณีกล่าวหา นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ และ พล.ต.ท.ทวีศิลป์ เวชวิทารณ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กรณีส่งตัวผู้ต้องขังราย นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และบิดาของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จากเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจโดยมิชอบ และให้นายทักษิณ ชินวัตร อยู่รักษาที่โรงพยาบาลตำรวจ จนกระทั่งครบ 180 วัน ทั้งที่ไม่เจ็บป่วยจริง เพื่อเอื้อประโยชน์ให้นายทักษิณ ชินวัตร ไม่ต้องถูกคุมขังในเรือนจำ

    โดยพิจารณารายงานการตรวจสอบเบื้องต้นแล้วเห็นว่า จากการตรวจสอบพบว่า มีข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพียงพอ จึงมีมติรับเรื่องไว้พิจารณาและดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง โดยให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะเป็นองค์คณะไต่สวน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 51 โดยให้ดำเนินการไต่สวนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ สังกัดกรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวม 12 คน ทั้งนี้ หากในชั้นไต่สวนพบว่ามีบุคคลอื่น มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด ให้ดำเนินการไต่สวนกับบุคคลดังกล่าวต่อไป

    รายงานข่าวเพิ่มเติมระบุว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ให้กรรมการ ป.ป.ช. ทุกคนเป็นองค์คณะไต่สวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐ กรมราชทัณฑ์ เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 12 ราย กรณีเอื้อประโยชน์ นายทักษิณ เข้าพักรักษาตัวที่ ห้องพิเศษชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ประกอบด้วย 

    1. นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์   อธิบดีกรมราชทัณฑ์

    2. นายสิทธิ สุธีวงศ์  เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมราชทัณฑ์

    3. นายชาญ วชิรเดช  รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ 

    4. นายนัสที ทองปลาด  ผู้บัญชาการเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร

    5. พลตำรวจโท โสภณรัชต์ สิงหจารุ  เมื่อครั้งนายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ

    6. พลตำรวจโท ทวีศิลป์ เวชวิทารณ์  นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ

    7. พันตำรวจเอก ชนะ จงโชคดี  นายแพทย์ (สบ 5) โรงพยาบาลตำรวจ แพทย์เจ้าของไข้ และผู้ออกใบความเห็นแพทย์

    8. พลตำรวจตรี สามารถ ม่วงศิริ  แพทย์โรงพยาบาลตำรวจ ผู้ออกใบความเห็นแพทย์

    9. นายแพทย์ วัฒน์ชัย มิ่งบรรเจิดสุข  ผู้อำนวยการทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

    10. แพทย์หญิง รวมทิพย์ สุภานันท์  แพทย์ผู้ตรวจร่างกายขณะรับตัวผู้ต้องขังใหม่

    11. นายสัญญา วงค์หินกอง  พัศดีเวร เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร

    12. นายธัญพิสิษฐ์ ขบวน  พยาบาลเวร เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร 

    ทั้งนี้ การตั้งองค์คณะไต่สวนคดีชั้น 14 ของ ป.ป.ช. ครั้งนี้ เป็นการไต่สวนคดีตามขั้นตอนทางกฎหมาย ยังต้องผ่านขั้นตอนอีกหลายขั้นตอน ถ้าพบว่ามีมูลจึงจะมีการแจ้งข้อกล่าวหา และเปิดโอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง จากนั้นจึงจะสรุปสำนวน ส่งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลอีกครั้ง เพราะฉะนั้นข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐทั้ง 12 ราย ตามรายชื่อข้างต้น ยังถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์อยู่ 

    สำหรับกรณีนี้ ปรากฏเป็นข่าวมาก่อนหน้านี้แล้วว่า ป.ป.ช.ได้ทำการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงรวบรวมพยานหลักฐานมาระยะหนึ่งแล้ว ขณะที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ได้ส่งรายงานการตรวจสอบที่ชี้ว่า นายทักษิณ ได้รับสิทธิรักษาพยาบาลดีกว่าผู้ต้องขังรายอื่น มาให้ ป.ป.ช. พิจารณาประกอบในช่วงเดือน ส.ค.2567 ที่ผ่านมาด้วย

    ขณะที่การตั้งองค์คณะไต่สวนชุดใหญ่ขึ้นมาไต่สวนคดีของ ป.ป.ช. เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 51 ที่ระบุว่า ในการไต่สวนเรื่องใดที่เป็นเรื่องสำคัญมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง หรือเป็นกรณีมีการไต่สวนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำเนินการไต่สวนเอง หรือจะแต่งตั้งกรรมการไม่น้อยกว่าสองคนและบุคคลอื่นเป็นคณะกรรมการไต่สวนก็ได้
    คณะกรรมการไต่สวนตามวรรคหนึ่งมีอำนาจแต่งตั้งหัวหน้าพนักงานไต่สวนหรือพนักงานไต่สวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ช่วยเหลือคณะกรรมการไต่สวนในการดำเนินการตามหน้าที่ได้ตามที่เห็นสมควร
    ............
    Sondhi X
    ป.ป.ช.รับเรื่องคดีเอื้อทักษิณนอนชั้น 14 ไม่ติดคุก เปิดชื่อ 12 จนท.กรมคุก-รพ.ตำรวจ ไต่สวนชุดใหญ่ ที่ประชุม ป.ป.ช. มีมติรับเรื่องกรณีอธิบดีราชทัณฑ์-แพทย์ใหญ่ รพ.ตำรวจ เอื้อประโยชน์นักโทษชายทักษิณ นอนวีไอพีชั้น 14 ไม่ติดคุกจริง เปิด 12 รายชื่ออธิบดี-รองอธิบดี-ผบ.เรือนจำ-แพทย์ -พัศดี- พยาบาล โดนไต่สวนชุดใหญ่ วันนี้ (16 ธ.ค.) นายสาโรจน์ พึงรำพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ในฐานะโฆษกสำนักงาน ป.ป.ช. แถลงว่า วันนี้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้พิจารณากรณีกล่าวหา นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ และ พล.ต.ท.ทวีศิลป์ เวชวิทารณ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กรณีส่งตัวผู้ต้องขังราย นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และบิดาของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จากเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจโดยมิชอบ และให้นายทักษิณ ชินวัตร อยู่รักษาที่โรงพยาบาลตำรวจ จนกระทั่งครบ 180 วัน ทั้งที่ไม่เจ็บป่วยจริง เพื่อเอื้อประโยชน์ให้นายทักษิณ ชินวัตร ไม่ต้องถูกคุมขังในเรือนจำ โดยพิจารณารายงานการตรวจสอบเบื้องต้นแล้วเห็นว่า จากการตรวจสอบพบว่า มีข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพียงพอ จึงมีมติรับเรื่องไว้พิจารณาและดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง โดยให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะเป็นองค์คณะไต่สวน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 51 โดยให้ดำเนินการไต่สวนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ สังกัดกรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวม 12 คน ทั้งนี้ หากในชั้นไต่สวนพบว่ามีบุคคลอื่น มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด ให้ดำเนินการไต่สวนกับบุคคลดังกล่าวต่อไป รายงานข่าวเพิ่มเติมระบุว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ให้กรรมการ ป.ป.ช. ทุกคนเป็นองค์คณะไต่สวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐ กรมราชทัณฑ์ เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 12 ราย กรณีเอื้อประโยชน์ นายทักษิณ เข้าพักรักษาตัวที่ ห้องพิเศษชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ประกอบด้วย  1. นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์   อธิบดีกรมราชทัณฑ์ 2. นายสิทธิ สุธีวงศ์  เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ 3. นายชาญ วชิรเดช  รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์  4. นายนัสที ทองปลาด  ผู้บัญชาการเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร 5. พลตำรวจโท โสภณรัชต์ สิงหจารุ  เมื่อครั้งนายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ 6. พลตำรวจโท ทวีศิลป์ เวชวิทารณ์  นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ 7. พันตำรวจเอก ชนะ จงโชคดี  นายแพทย์ (สบ 5) โรงพยาบาลตำรวจ แพทย์เจ้าของไข้ และผู้ออกใบความเห็นแพทย์ 8. พลตำรวจตรี สามารถ ม่วงศิริ  แพทย์โรงพยาบาลตำรวจ ผู้ออกใบความเห็นแพทย์ 9. นายแพทย์ วัฒน์ชัย มิ่งบรรเจิดสุข  ผู้อำนวยการทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ 10. แพทย์หญิง รวมทิพย์ สุภานันท์  แพทย์ผู้ตรวจร่างกายขณะรับตัวผู้ต้องขังใหม่ 11. นายสัญญา วงค์หินกอง  พัศดีเวร เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร 12. นายธัญพิสิษฐ์ ขบวน  พยาบาลเวร เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร  ทั้งนี้ การตั้งองค์คณะไต่สวนคดีชั้น 14 ของ ป.ป.ช. ครั้งนี้ เป็นการไต่สวนคดีตามขั้นตอนทางกฎหมาย ยังต้องผ่านขั้นตอนอีกหลายขั้นตอน ถ้าพบว่ามีมูลจึงจะมีการแจ้งข้อกล่าวหา และเปิดโอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง จากนั้นจึงจะสรุปสำนวน ส่งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลอีกครั้ง เพราะฉะนั้นข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐทั้ง 12 ราย ตามรายชื่อข้างต้น ยังถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์อยู่  สำหรับกรณีนี้ ปรากฏเป็นข่าวมาก่อนหน้านี้แล้วว่า ป.ป.ช.ได้ทำการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงรวบรวมพยานหลักฐานมาระยะหนึ่งแล้ว ขณะที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ได้ส่งรายงานการตรวจสอบที่ชี้ว่า นายทักษิณ ได้รับสิทธิรักษาพยาบาลดีกว่าผู้ต้องขังรายอื่น มาให้ ป.ป.ช. พิจารณาประกอบในช่วงเดือน ส.ค.2567 ที่ผ่านมาด้วย ขณะที่การตั้งองค์คณะไต่สวนชุดใหญ่ขึ้นมาไต่สวนคดีของ ป.ป.ช. เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 51 ที่ระบุว่า ในการไต่สวนเรื่องใดที่เป็นเรื่องสำคัญมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง หรือเป็นกรณีมีการไต่สวนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำเนินการไต่สวนเอง หรือจะแต่งตั้งกรรมการไม่น้อยกว่าสองคนและบุคคลอื่นเป็นคณะกรรมการไต่สวนก็ได้ คณะกรรมการไต่สวนตามวรรคหนึ่งมีอำนาจแต่งตั้งหัวหน้าพนักงานไต่สวนหรือพนักงานไต่สวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ช่วยเหลือคณะกรรมการไต่สวนในการดำเนินการตามหน้าที่ได้ตามที่เห็นสมควร ............ Sondhi X
    Like
    Haha
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 877 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดช่องยื่นผู้ตรวจฯ ส่งศาลฉีก MOU2544 ก่อนตัดสินใจลงถนน
    .
    ปมประเด็นปัญหาในเรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาผ่านกรณีMOU 2544 นั้น ถือเป็นประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ และมีนักวิชาการ รวมไปถึงผู้ทรงคุณวุฒิออกมาให้ความเห็นเป็นอย่างมาก โดยนายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก โดยระบุว่า "MOU 2544 มีความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่? กรณีที่คุณสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะทำหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2567 ขอให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU 2544 และ JC 2544 ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯและฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตยและบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องและเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยนั้น ผมเห็นด้วยกับเหตุผลตามหนังสือดังกล่าวทุกประการ เพราะหากรัฐบาลยังดำเนินการใดๆต่อไปตาม MOU 2544 เท่ากับเป็นการเปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย กลายเป็น “การรับรู้” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลโดยปริยาย"
    .
    "ดังนั้นการที่รัฐบาลไทย “รับรู้” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล แม้ว่ารัฐบาลไทยจะอ้างว่ายังคงปฏิเสธการลากเส้นของกัมพูชาดังกล่าว ประเทศไทยก็จะตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดของเราคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว และกลายเป็นการยอมรับความไม่ชัดเจนของพื้นที่อาณาเขตทางทะเลว่ามีความเหลื่อมซ้อนกันอยู่ระหว่างสองประเทศ ตลอดทั้งการให้สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตรีไทยในทำนองว่าหากตกลงกันไม่ได้ ก็แบ่งครึ่งกัน จึงอาจเข้าทำนองรอยเดิมกรณีปราสาทพระวิหารที่ฝ่ายไทยต้องพ่ายแพ้ด้วยเหตุผลของ “กฎหมายปิดปาก” นั่นเอง"
    .
    นายธีรภัทร์ ให้ความเห็นอีกว่า ข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะให้นายกรัฐมนตรีเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและมีมติให้ส่ง MOU 2544และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อนนั้น จึงเป็นข้อเรียกร้องที่มีเหตุมีผลที่รัฐบาลควรสนองตอบ และเป็นทางออกที่เป็นไปตามกติกาของบ้านเมือง อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไม่สนองตอบข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะ ผมก็ขอเสนอต่อไปว่าคุณสนธิและคณะควรจะเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ผ่านผู้ตรวจการแผ่นดินตามมาตรา 231 ของรัฐธรรมนูญฯเพื่อให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาให้ได้ข้อยุติต่อไปได้ หากกระบวนการโดยสันติตามรัฐธรรมนูญฯไม่บังเกิดผลแล้ว จึงค่อยใช้เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯกันต่อไป
    ..............
    Sondhi X
    เปิดช่องยื่นผู้ตรวจฯ ส่งศาลฉีก MOU2544 ก่อนตัดสินใจลงถนน . ปมประเด็นปัญหาในเรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาผ่านกรณีMOU 2544 นั้น ถือเป็นประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ และมีนักวิชาการ รวมไปถึงผู้ทรงคุณวุฒิออกมาให้ความเห็นเป็นอย่างมาก โดยนายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก โดยระบุว่า "MOU 2544 มีความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่? กรณีที่คุณสนธิ ลิ้มทองกุลและคณะทำหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2567 ขอให้หยุดการปฏิบัติหน้าที่กรณี MOU 2544 และ JC 2544 ซึ่งมีการดำเนินการที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ขัดต่อพระบรมราชโองการฯและฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย อันเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสียเอกราช อำนาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตยและบูรณภาพแห่งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องและเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยนั้น ผมเห็นด้วยกับเหตุผลตามหนังสือดังกล่าวทุกประการ เพราะหากรัฐบาลยังดำเนินการใดๆต่อไปตาม MOU 2544 เท่ากับเป็นการเปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย กลายเป็น “การรับรู้” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลโดยปริยาย" . "ดังนั้นการที่รัฐบาลไทย “รับรู้” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล แม้ว่ารัฐบาลไทยจะอ้างว่ายังคงปฏิเสธการลากเส้นของกัมพูชาดังกล่าว ประเทศไทยก็จะตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดของเราคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว และกลายเป็นการยอมรับความไม่ชัดเจนของพื้นที่อาณาเขตทางทะเลว่ามีความเหลื่อมซ้อนกันอยู่ระหว่างสองประเทศ ตลอดทั้งการให้สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตรีไทยในทำนองว่าหากตกลงกันไม่ได้ ก็แบ่งครึ่งกัน จึงอาจเข้าทำนองรอยเดิมกรณีปราสาทพระวิหารที่ฝ่ายไทยต้องพ่ายแพ้ด้วยเหตุผลของ “กฎหมายปิดปาก” นั่นเอง" . นายธีรภัทร์ ให้ความเห็นอีกว่า ข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะให้นายกรัฐมนตรีเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและมีมติให้ส่ง MOU 2544และ JC 2544 ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทบัญญัติมาตรา 1 และมาตรา 178 เพื่อให้ได้ข้อยุติในข้อสงสัยนี้เสียก่อนนั้น จึงเป็นข้อเรียกร้องที่มีเหตุมีผลที่รัฐบาลควรสนองตอบ และเป็นทางออกที่เป็นไปตามกติกาของบ้านเมือง อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไม่สนองตอบข้อเรียกร้องของคุณสนธิและคณะ ผมก็ขอเสนอต่อไปว่าคุณสนธิและคณะควรจะเสนอเรื่องดังกล่าวนี้ผ่านผู้ตรวจการแผ่นดินตามมาตรา 231 ของรัฐธรรมนูญฯเพื่อให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาให้ได้ข้อยุติต่อไปได้ หากกระบวนการโดยสันติตามรัฐธรรมนูญฯไม่บังเกิดผลแล้ว จึงค่อยใช้เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯกันต่อไป .............. Sondhi X
    Like
    7
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 849 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประธานาธิบดียุน ซ็อกยอล แห่งเกาหลีใต้ ประกาศว่าจะต่อสู้เพื่ออนาคตทางการเมือง หลังเขาถูกถอดถอนพ้นจากตำแหน่ง ในการโหวตครั้งที่ 2 ของรัฐสภาที่นำโดยฝ่ายค้าน ต่อการประกาศกฎอัยการศึกที่มีผลบังคับในช่วงสั้นๆ ความเคลื่อนไหวที่สร้างความตกตะลึงไปทั่วประเทศ
    .
    ศาลรัฐธรรมนูญจะตัดสินใจว่าจะรับรองการถอดถอนยุนพ้นจากเก้าอี้หรือไม่ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งใน 6 เดือนข้างหน้า และถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเห็นชอบมติถอดถอน เมื่อนั้นก็จะมีการเลือกตั้งใหม่
    .
    นายกรัฐมนตรีนายฮัน ด็อก-ซู ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากยุน ก้าวมาเป็นรักษาการประธานาธิบดี ในระหว่างที่ ยุน ยังคงอยู่ในตำแหน่ง แต่อำนาจประธานาธิบดีของเขาถูกพักเอาไว้ ในขณะที่วาระการดำรงตำแหน่งของเขาเพิ่งผ่านมาได้แค่ครึ่งทาง
    .
    "ผมจะใช้ทุกความเข้มแข็งที่ผมมีและทุกความพยายามในการรักษาเสถียรภาพแก่รัฐบาล" ฮันบอกกับผู้สื่อข่าวหลังการโหวต
    .
    วิกฤตการเมืองครั้งนี้ อันนำมาซึ่งการลาออกและการจับกุมเจ้าหน้าที่กลาโหมและเจ้าหน้าที่ทหารระดับสูงหลายรายก่อความกังวลเกี่ยวกับศักยภาพของเกาหลีใต้ในการป้องปรามเกาหลีเหนือ ชาติติดอาวุธนิวเคลียร์ ในช่วงเวลาที่ เปียงยาง กำลังยกระดับคลังแสงและกระชับความสัมพันธ์แน่นแฟ้นขึ้นกับรัสเซีย
    .
    ยุน ถือเป็นประธานาธิบดีอนุรักษนิยมคนที่ 2 ติดต่อกันที่ถูกถอดถอนในเกาหลีใต้ หลังจากพัค กึน-ฮเย ถูกเขี่ยพ้นจากตำแหน่งในปี 2017 ทั้งนี้ ยุน ถูกยื่นถอดถอนครั้งแรกเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่แล้ว แต่รอดพ้นมาได้สืบเนื่องจากสมาชิกพรรคของเขาส่วนใหญ่บอตคอตการลงมติ ส่งผลให้องค์ประชุมไม่ครบ อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดแล้ว ก็เขาถูกถอดถอนในการลงมติรอบ 2
    .
    "แม้ว่าผมจะหยุดแล้วในตอนนี้ แต่การเดินทางเคียงข้างประชาชนของผมในช่วง 2 ปีครึ่งที่ผ่านมา ในการมุ่งหน้าสู่อนาคต จะไม่มีวันหยุดลง ผมจะไม่มีวันยอมแพ้" ยุนกล่าว
    .
    บรรดาผู้ประท้วงใกล้อาคารรัฐสภาที่สนับสนุนการถอดถอนยุน ส่งเสียงยินดีอย่างกึกก้องขานรับข่าวการลงมติถอดถอน สวนทางกับบรรยากาศของที่ชุมนุมของฝ่ายสนับสนุนยุน
    .
    ญัตติถอดถอนประธานาธิบดีครั้งนี้มี ส.ส.ทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาลร่วมกันโหวตเห็นชอบ 204 เสียง คัดค้าน 85 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง และมีคะแนนโหวตที่เป็นโมฆะ (nullified) อีก 8 เสียง
    .
    ส.ส.พรรคพลังประชาชน (PPP) ที่เป็นฝั่งรัฐบาลประกาศไม่บอยคอตการโหวตเหมือนเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และมี ส.ส.อย่างน้อย 12 คนที่ช่วยโหวตสนับสนุนญัตติถอดถอนของฝ่ายค้าน เปิดทางสำหรับการได้คะแนนเสียง 2 ใน 3 ที่จำเป็นสำหรับการถอดถอน ในสมัชชาที่มีทั้งหมด 300 ที่นั่ง และมีพรรค PPP ครองเสียงข้างมากด้วยจำนวน 192 เสียง
    .
    ยุน สร้างความตกตะลึงไปทั่วประเทศเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม เมื่อเขาประกาศกฎอัยการศึก ให้อำนาจฉุกเฉินอย่างกว้างขวางแก่กองทัพในการขุดรากถอนโคนในสิ่งที่เขาเรียกว่า "กองกำลังต่อต้านรัฐ" และพิชิตการทำตัวเป็นอุปสรรคขัดขวางของฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง
    .
    อย่างไรก็ตาม เขายกเลิกประกาศดังกล่าวเพียงแค่อีก 6 ชั่วโมงต่อมา หลังจากรัฐสภาขัดขืนทหารและตำรวจ ลงมติคัดค้านอัยการศึก แต่มันฉุดให้ประเทศแห่งนี้ดำดิ่งสู่วิกฤตรัฐธรรมนูญและโหมกระพือเสียงเรียกร้องอย่างกว้างขวางให้เขาลาออกจากตำแหน่ง ในเหตุผลที่ว่าเขาละเมิดกฎหมาย
    .
    ต่อมา ยุน ออกมาขอโทษ แต่ปกป้องการตัดสินใจของตนเอง แต่เมินเสียงเรียกร้องให้ลาออกจากตำแหน่ง กระตุ้นให้บรรดาพรรคฝ่ายค้ายยื่นถอดถอน ภายใต้การสนับสนุนของผู้ชุมนุมจำนวนมาก
    .
    นอกจากนี้ ยุน ยังอยู่ภายใต้การสืบสวนทางอาญา ตามคำกล่าวหาก่อกบฏจากการประกาศอัยการศึก และเจ้าหน้าที่สั่งห้ามเขาเดินทางออกนอกประเทศ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000120164
    ..............
    Sondhi X
    ประธานาธิบดียุน ซ็อกยอล แห่งเกาหลีใต้ ประกาศว่าจะต่อสู้เพื่ออนาคตทางการเมือง หลังเขาถูกถอดถอนพ้นจากตำแหน่ง ในการโหวตครั้งที่ 2 ของรัฐสภาที่นำโดยฝ่ายค้าน ต่อการประกาศกฎอัยการศึกที่มีผลบังคับในช่วงสั้นๆ ความเคลื่อนไหวที่สร้างความตกตะลึงไปทั่วประเทศ . ศาลรัฐธรรมนูญจะตัดสินใจว่าจะรับรองการถอดถอนยุนพ้นจากเก้าอี้หรือไม่ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งใน 6 เดือนข้างหน้า และถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเห็นชอบมติถอดถอน เมื่อนั้นก็จะมีการเลือกตั้งใหม่ . นายกรัฐมนตรีนายฮัน ด็อก-ซู ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากยุน ก้าวมาเป็นรักษาการประธานาธิบดี ในระหว่างที่ ยุน ยังคงอยู่ในตำแหน่ง แต่อำนาจประธานาธิบดีของเขาถูกพักเอาไว้ ในขณะที่วาระการดำรงตำแหน่งของเขาเพิ่งผ่านมาได้แค่ครึ่งทาง . "ผมจะใช้ทุกความเข้มแข็งที่ผมมีและทุกความพยายามในการรักษาเสถียรภาพแก่รัฐบาล" ฮันบอกกับผู้สื่อข่าวหลังการโหวต . วิกฤตการเมืองครั้งนี้ อันนำมาซึ่งการลาออกและการจับกุมเจ้าหน้าที่กลาโหมและเจ้าหน้าที่ทหารระดับสูงหลายรายก่อความกังวลเกี่ยวกับศักยภาพของเกาหลีใต้ในการป้องปรามเกาหลีเหนือ ชาติติดอาวุธนิวเคลียร์ ในช่วงเวลาที่ เปียงยาง กำลังยกระดับคลังแสงและกระชับความสัมพันธ์แน่นแฟ้นขึ้นกับรัสเซีย . ยุน ถือเป็นประธานาธิบดีอนุรักษนิยมคนที่ 2 ติดต่อกันที่ถูกถอดถอนในเกาหลีใต้ หลังจากพัค กึน-ฮเย ถูกเขี่ยพ้นจากตำแหน่งในปี 2017 ทั้งนี้ ยุน ถูกยื่นถอดถอนครั้งแรกเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่แล้ว แต่รอดพ้นมาได้สืบเนื่องจากสมาชิกพรรคของเขาส่วนใหญ่บอตคอตการลงมติ ส่งผลให้องค์ประชุมไม่ครบ อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดแล้ว ก็เขาถูกถอดถอนในการลงมติรอบ 2 . "แม้ว่าผมจะหยุดแล้วในตอนนี้ แต่การเดินทางเคียงข้างประชาชนของผมในช่วง 2 ปีครึ่งที่ผ่านมา ในการมุ่งหน้าสู่อนาคต จะไม่มีวันหยุดลง ผมจะไม่มีวันยอมแพ้" ยุนกล่าว . บรรดาผู้ประท้วงใกล้อาคารรัฐสภาที่สนับสนุนการถอดถอนยุน ส่งเสียงยินดีอย่างกึกก้องขานรับข่าวการลงมติถอดถอน สวนทางกับบรรยากาศของที่ชุมนุมของฝ่ายสนับสนุนยุน . ญัตติถอดถอนประธานาธิบดีครั้งนี้มี ส.ส.ทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาลร่วมกันโหวตเห็นชอบ 204 เสียง คัดค้าน 85 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง และมีคะแนนโหวตที่เป็นโมฆะ (nullified) อีก 8 เสียง . ส.ส.พรรคพลังประชาชน (PPP) ที่เป็นฝั่งรัฐบาลประกาศไม่บอยคอตการโหวตเหมือนเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และมี ส.ส.อย่างน้อย 12 คนที่ช่วยโหวตสนับสนุนญัตติถอดถอนของฝ่ายค้าน เปิดทางสำหรับการได้คะแนนเสียง 2 ใน 3 ที่จำเป็นสำหรับการถอดถอน ในสมัชชาที่มีทั้งหมด 300 ที่นั่ง และมีพรรค PPP ครองเสียงข้างมากด้วยจำนวน 192 เสียง . ยุน สร้างความตกตะลึงไปทั่วประเทศเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม เมื่อเขาประกาศกฎอัยการศึก ให้อำนาจฉุกเฉินอย่างกว้างขวางแก่กองทัพในการขุดรากถอนโคนในสิ่งที่เขาเรียกว่า "กองกำลังต่อต้านรัฐ" และพิชิตการทำตัวเป็นอุปสรรคขัดขวางของฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง . อย่างไรก็ตาม เขายกเลิกประกาศดังกล่าวเพียงแค่อีก 6 ชั่วโมงต่อมา หลังจากรัฐสภาขัดขืนทหารและตำรวจ ลงมติคัดค้านอัยการศึก แต่มันฉุดให้ประเทศแห่งนี้ดำดิ่งสู่วิกฤตรัฐธรรมนูญและโหมกระพือเสียงเรียกร้องอย่างกว้างขวางให้เขาลาออกจากตำแหน่ง ในเหตุผลที่ว่าเขาละเมิดกฎหมาย . ต่อมา ยุน ออกมาขอโทษ แต่ปกป้องการตัดสินใจของตนเอง แต่เมินเสียงเรียกร้องให้ลาออกจากตำแหน่ง กระตุ้นให้บรรดาพรรคฝ่ายค้ายยื่นถอดถอน ภายใต้การสนับสนุนของผู้ชุมนุมจำนวนมาก . นอกจากนี้ ยุน ยังอยู่ภายใต้การสืบสวนทางอาญา ตามคำกล่าวหาก่อกบฏจากการประกาศอัยการศึก และเจ้าหน้าที่สั่งห้ามเขาเดินทางออกนอกประเทศ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000120164 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 821 มุมมอง 0 รีวิว
  • มิคาอิล กาเวลาชวิลี (Mikheil Kavelashvili) ผู้สมัครจากพรรครัฐบาล "Georgian Dream" ของนายกรัฐมนตรีได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีคนใหม่ของจอร์เจีย

    เขาได้รับคะแนนเสียง 224 เสียงจากคณะผู้เลือกตั้งทั้งหมด 300 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนรัฐสภาและผู้แทนภูมิภาคเท่าๆกัน ซึ่งเป็นการเลือกประธานาธิบดีรูปแบบใหม่ตามรัฐธรรมนูญเมื่อปี 2017 ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้

    กาเวลาชวิลี ว่าที่ประธานาธิบดีคนใหม่ของจอร์เจีย เป็นนักการเมืองฝ่ายขวาผู้รักชาติตัวจริงประกาศจะให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ของจอร์เจียเป็นอันดับแรก และจะไม่ยอมให้ NATO หรือ EU ทำลายอนาคตของจอร์เจียเหมือนอย่างที่ทำกับยูเครน

    มิเคอิล คาเวลาชวิลี เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพ เคยคว้าแชมป์ฟุตบอลรัสเซียในปี 1995 ร่วมกับ Spartak-Alania ต่อมาเป็นกองหน้าให้กับแมนเชสเตอร์ ซิตี้ ของอังกฤษระหว่างปี 1996 ถึง 1997

    ในปี 2016 เขาได้เป็นผู้แทนราษฎรสังกัดพรรค Georgian Dream แต่ลาออกจากพรรคในปี 2022 เพื่อก่อตั้งองค์กร People's Power ซึ่งกฎหมายตัวแทนต่างประเทศถูกร่างขึ้นครั้งแรกที่นี่โดยคาเวลาชวิลี จนนำไปสู่การไม่พอใจของตะวันตกและอเมริกา และเกิดการประท้วงครั้งใหญ่ในปี 2023 ซึ่งในที่สุดร่างกฎหมายตัวแทนต่างชาติได้ผ่านสภาและประกาศใช้ในปี 2024

    ต่อมาในการเลือกตั้งรัฐสภาเดือนตุลาคม 2024 Kavelashvili กลับมาลงสมัครเลือกตั้งในนามพรรค Georgian Dream อีกครั้งและได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกรัฐสภา และในที่สุดเขาเป็นตัวแทนพรรคในการสมัครตำแหน่งประธานาธิบดีจอร์เจีย
    จอร์เจียถือเป็นประเทศที่ตะวันตกต้องการให้อยู่ในอาณัติ เนื่องจากจะเป็นการปิดล้อมรัสเซียอย่างสมบูรณ์

    ก่อนหน้านี้การเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก ตะวันตกต้องผิดหวังเมื่อผู้ชนะมีท่าทีสนับสนุนรัสเซีย จนนำไปสู่การประกาศยกเลิกผลการเลือกตั้งจากศาลรัฐธรรมนูญโรมาเนีย ซึ่งยังไม่มีกำหนดการเลือกตั้งครั้งใหม่
    มิคาอิล กาเวลาชวิลี (Mikheil Kavelashvili) ผู้สมัครจากพรรครัฐบาล "Georgian Dream" ของนายกรัฐมนตรีได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีคนใหม่ของจอร์เจีย เขาได้รับคะแนนเสียง 224 เสียงจากคณะผู้เลือกตั้งทั้งหมด 300 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนรัฐสภาและผู้แทนภูมิภาคเท่าๆกัน ซึ่งเป็นการเลือกประธานาธิบดีรูปแบบใหม่ตามรัฐธรรมนูญเมื่อปี 2017 ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้ กาเวลาชวิลี ว่าที่ประธานาธิบดีคนใหม่ของจอร์เจีย เป็นนักการเมืองฝ่ายขวาผู้รักชาติตัวจริงประกาศจะให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ของจอร์เจียเป็นอันดับแรก และจะไม่ยอมให้ NATO หรือ EU ทำลายอนาคตของจอร์เจียเหมือนอย่างที่ทำกับยูเครน มิเคอิล คาเวลาชวิลี เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพ เคยคว้าแชมป์ฟุตบอลรัสเซียในปี 1995 ร่วมกับ Spartak-Alania ต่อมาเป็นกองหน้าให้กับแมนเชสเตอร์ ซิตี้ ของอังกฤษระหว่างปี 1996 ถึง 1997 ในปี 2016 เขาได้เป็นผู้แทนราษฎรสังกัดพรรค Georgian Dream แต่ลาออกจากพรรคในปี 2022 เพื่อก่อตั้งองค์กร People's Power ซึ่งกฎหมายตัวแทนต่างประเทศถูกร่างขึ้นครั้งแรกที่นี่โดยคาเวลาชวิลี จนนำไปสู่การไม่พอใจของตะวันตกและอเมริกา และเกิดการประท้วงครั้งใหญ่ในปี 2023 ซึ่งในที่สุดร่างกฎหมายตัวแทนต่างชาติได้ผ่านสภาและประกาศใช้ในปี 2024 ต่อมาในการเลือกตั้งรัฐสภาเดือนตุลาคม 2024 Kavelashvili กลับมาลงสมัครเลือกตั้งในนามพรรค Georgian Dream อีกครั้งและได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกรัฐสภา และในที่สุดเขาเป็นตัวแทนพรรคในการสมัครตำแหน่งประธานาธิบดีจอร์เจีย จอร์เจียถือเป็นประเทศที่ตะวันตกต้องการให้อยู่ในอาณัติ เนื่องจากจะเป็นการปิดล้อมรัสเซียอย่างสมบูรณ์ ก่อนหน้านี้การเลือกตั้งประธานาธิบดีโรมาเนียรอบแรก ตะวันตกต้องผิดหวังเมื่อผู้ชนะมีท่าทีสนับสนุนรัสเซีย จนนำไปสู่การประกาศยกเลิกผลการเลือกตั้งจากศาลรัฐธรรมนูญโรมาเนีย ซึ่งยังไม่มีกำหนดการเลือกตั้งครั้งใหม่
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 374 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts