อัปเดตล่าสุด
- จีดีพีปี 2568 ที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ที่ 3.5% แต่สภาพัฒน์คาดว่าจะขยายตัวได้ 2.8% เท่านั้น จากตัวเลขที่ออกมา ทำให้นายกรัฐมนตรี ออกอาการหัวเสีย
#คุณหนูออกอาการจีดีพีไม่ถึงเป้า #จีดีพีปี2568 #คุณหนูเหวี่ยงใส่แบงก์ชาติ #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
จีดีพีปี 2568 ที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ที่ 3.5% แต่สภาพัฒน์คาดว่าจะขยายตัวได้ 2.8% เท่านั้น จากตัวเลขที่ออกมา ทำให้นายกรัฐมนตรี ออกอาการหัวเสีย #คุณหนูออกอาการจีดีพีไม่ถึงเป้า #จีดีพีปี2568 #คุณหนูเหวี่ยงใส่แบงก์ชาติ #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯกรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น! - คำสาปแช่ง เกลียดชังของเหล่าผู้น้อย อาจส่งผลมาถึงตัวบิ๊กโจ๊กในวันนี้ ก็อาจเป็นไปได้
#แช่งบิ๊กโจ๊ก #กรรมคืนสนองสุรเชษฐ์หักพาล #บิ๊กโจ๊ก #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
คำสาปแช่ง เกลียดชังของเหล่าผู้น้อย อาจส่งผลมาถึงตัวบิ๊กโจ๊กในวันนี้ ก็อาจเป็นไปได้ #แช่งบิ๊กโจ๊ก #กรรมคืนสนองสุรเชษฐ์หักพาล #บิ๊กโจ๊ก #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ - ประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี ของยูเครนกล่าวหา โดนัลด์ ทรัมป์ ว่า เอาแต่เชื่อฟัง “ข้อมูลข่าวสารเท็จ” ของฝ่ายรัสเซีย เป็นการตอบโต้ผู้นำสหรัฐฯ ที่พูดเมื่อ 1 วันก่อนหน้านั้น โจมตีประมุขเคียฟกลายๆ ว่า เขาเป็นต้นตอปล่อยให้ความขัดแย้งกับรัสเซียเริ่มต้นขึ้นมาและลุกลามบานปลายอย่างไม่จำเป็น การโจมตีใส่กันเช่นนี้ส่อแสดงให้เห็นว่ายูเครนกับคณะบริหารใหม่ของอเมริกายิ่งมองหน้ากันไม่ติด หลังจากคณะผู้แทนทางการทูตระดับสูงของสหรัฐฯ และรัสเซียเปิดการหารือกันอย่างชื่นมื่นที่ซาอุดีอาระเบีย ในเรื่องหนทางยุติสงครามในยูเครนและการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างแดนอินทรีกับแดนหมีขาว โดยที่ไม่เชิญยูเครนหรือชาติยุโรปซึ่งหนุนหลังเคียฟเข้าร่วมด้วย
.
ระหว่างการแถลงข่าวสื่อมวลชนเมื่อวันอังคาร (18) ประธานาธิบดีทรัมป์กล่าวย้ำประเด็นจำนวนมากที่ฝ่ายรัสเซียได้พูดเอาไว้ในช่วง 3 ปีที่เกิดสงครามในยูเครน โดยประณามเคียฟว่าเป็นผู้เริ่มต้นทำให้เกิดการสู้รบขึ้นมาอย่างไม่จำเป็น พร้อมกับย้ำว่า บรรดาผู้นำในเคียฟไม่ควรปล่อยให้เกิดการสู้รบขัดแย้งขึ้นมาตั้งแต่แรก ทั้งนี้คำพูดเช่นนี้ของเขาอาจตีความได้ว่า เขาเห็นว่ายูเครนน่าจะยอมโอนอ่อนผ่อนตามแดนหมีขาว ก่อนที่รัสเซียจะยกทัพบุกเมื่อต้นปี 2022 นอกจากนั้น ทรัมป์ยังเสนอแนะว่าเซเลนสกีกำลังไม่เป็นที่นิยมชมชื่นของประชาชนชาวยูเครน
.
เซเลนสกีกล่าวตอบโต้กลับในวันพุธ โดยบอกว่า “โชคร้าย ท่านประธานาธิบดีทรัมป์ ผู้ซึ่งเรามีความเคารพอย่างใหญ่หลวงในฐานะเป็นผู้นำของประชาชนชาวอเมริกัน ... มีชีวิตอยู่ในท่ามกลางแวดวงข้อมูลข่าวสารเท็จเช่นนี้”
.
“ผมเชื่อว่าสหรัฐฯ ได้ช่วยเหลือให้ปูตินสามารถทลายการถูกโดดเดี่ยวมาเป็นเวลาหลายปี” เซเลนสกี กล่าว
.
ในวันอังคาร ทรัมป์กล่าวตำหนิทางยูเครนที่ส่งเสียงคร่ำครวญกรณีถูกกีดกันออกจากการเจรจาของสหรัฐฯ กับรัสเซีย ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย ในวันเดียวกัน
.
"ผมผิดหวังอย่างมาก ผมได้ยินว่าพวกเขาอารมณ์เสียที่ไม่มีที่นั่งบนโต๊ะเจรจา" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์-อา-ลาโก ของเขาในฟลอริดา หลังถูกสอบถามเกี่ยวกับปฏิกิริยาของยูเครน
.
"วันนี้ผมได้ยิน (ทางยูเครนพูด) ว่า โอ้ เราไม่ได้รับเชิญ ก็แน่นอนล่ะ คุณอยู่ตรงนั้นมา 3 ปี แต่คุณไม่เคยเริ่มมันเลย คุณควรทำข้อตกลง (กับรัสเซีย)" เขากล่าว
.
ในการแถลงข่าว ทรัมป์ยังส่งสัญญาณว่า อาจพบกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ก่อนสิ้นเดือนนี้ที่ซาอุดีอาระเบีย เวลาเดียวกันเขาก็เพิ่มความกดดันให้เซเลนสกีต้องจัดการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อเรียกร้องสำคัญของรัสเซีย ทั้งนี้ เนื่องจากเซเลนสกีรับตำแหน่งเกิน 5 ปีตามกำหนดวาระแล้ว แต่ยังไม่จัดการเลือกตั้งโดยอ้างว่า ยูเครนยังคงอยู่ภายใต้กฎอัยการศึก
.
"พวกเขา (พวกผู้นำยูเครน) ต้องการเก้าอี้บนโต๊ะเจรจา แต่คุณสามารถพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชวยูเครน มันนานมาแล้วนะที่เขามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์ระบุ พร้อมกับกล่าวว่า "นี่ไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากเรา มาจากประเทศอื่นๆ"
.
ผู้นำสหรัฐฯ ยังบอกว่า มีความมั่นใจมากยิ่งขึ้นว่า ตนเองมีอำนาจในการหยุดยั้งสงครามในยูเครน ภายหลังการหารือของคณะผู้แทนของสหรัฐฯ และรัสเซียที่กรุงริยาด ซึ่งเป็นการประชุมระดับสูงอย่างเป็นทางการครั้งแรกนับจากเดือนกุมภาพันธ์ 2022 ที่รัสเซียยกทัพบุกยูเครนนั้น
.
ขณะที่กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า ในการหารือที่ริยาดที่ใช้เวลายาวนานราว 4 ชั่วโมงครึ่ง รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนฝ่ายอเมริกา และรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ ของรัสเซีย ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะของฝ่ายแดนหมีขาว ได้ตกลงที่จะจัดตั้งคณะทำงานระดับสูงเพื่อหารือกันถึงเกี่ยวกับวิธีการยุติสงครามในยูเครนโดยเร็วที่สุด แต่ยังไม่ระบุชัดเจนว่าจะประชุมกันครั้งแรกเมื่อใด
.
ทั้งสองฝ่ายยังเห็นพ้องสร้างกลไกการหารือเพื่อจัดการ “สิ่งที่สร้างความระคายเคือง” ต่อความสัมพันธ์สองประเทศ และวางรากฐานสำหรับการร่วมมือในอนาคต
.
ด้าน ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทรัมป์ ซึ่งร่วมเจรจาที่ริยาดด้วย เสริมว่า ประเด็นด้านดินแดนและการรับประกันความมั่นคงจะเป็นส่วนหนึ่งในการหารือ
.
สำหรับ คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจของรัสเซีย กล่าวว่า ความพยายามของตะวันตกในการโดดเดี่ยวรัสเซียล้มเหลวอย่างชัดเจน และเสริมว่า รัสเซียและอเมริกาควรพัฒนาโครงการพลังงานร่วมกัน ซึ่งรวมถึงในอาร์กติกและภูมิภาคอื่นๆ
.
ด้านลาฟรอฟแสดงความเชื่อมั่นว่า อเมริกาเข้าใจจุดยืนของรัสเซียดีขึ้น และยังย้ำว่า มอสโกคัดค้านการนำกองกำลังนาโตไปประจำการในยูเครนภายใต้ข้อตกลงหยุดยิงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งเป็นประเด็นที่ผู้นำยุโรปกำลังถกเถียงกันอยู่ในขณะนี้
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016776
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี ของยูเครนกล่าวหา โดนัลด์ ทรัมป์ ว่า เอาแต่เชื่อฟัง “ข้อมูลข่าวสารเท็จ” ของฝ่ายรัสเซีย เป็นการตอบโต้ผู้นำสหรัฐฯ ที่พูดเมื่อ 1 วันก่อนหน้านั้น โจมตีประมุขเคียฟกลายๆ ว่า เขาเป็นต้นตอปล่อยให้ความขัดแย้งกับรัสเซียเริ่มต้นขึ้นมาและลุกลามบานปลายอย่างไม่จำเป็น การโจมตีใส่กันเช่นนี้ส่อแสดงให้เห็นว่ายูเครนกับคณะบริหารใหม่ของอเมริกายิ่งมองหน้ากันไม่ติด หลังจากคณะผู้แทนทางการทูตระดับสูงของสหรัฐฯ และรัสเซียเปิดการหารือกันอย่างชื่นมื่นที่ซาอุดีอาระเบีย ในเรื่องหนทางยุติสงครามในยูเครนและการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างแดนอินทรีกับแดนหมีขาว โดยที่ไม่เชิญยูเครนหรือชาติยุโรปซึ่งหนุนหลังเคียฟเข้าร่วมด้วย . ระหว่างการแถลงข่าวสื่อมวลชนเมื่อวันอังคาร (18) ประธานาธิบดีทรัมป์กล่าวย้ำประเด็นจำนวนมากที่ฝ่ายรัสเซียได้พูดเอาไว้ในช่วง 3 ปีที่เกิดสงครามในยูเครน โดยประณามเคียฟว่าเป็นผู้เริ่มต้นทำให้เกิดการสู้รบขึ้นมาอย่างไม่จำเป็น พร้อมกับย้ำว่า บรรดาผู้นำในเคียฟไม่ควรปล่อยให้เกิดการสู้รบขัดแย้งขึ้นมาตั้งแต่แรก ทั้งนี้คำพูดเช่นนี้ของเขาอาจตีความได้ว่า เขาเห็นว่ายูเครนน่าจะยอมโอนอ่อนผ่อนตามแดนหมีขาว ก่อนที่รัสเซียจะยกทัพบุกเมื่อต้นปี 2022 นอกจากนั้น ทรัมป์ยังเสนอแนะว่าเซเลนสกีกำลังไม่เป็นที่นิยมชมชื่นของประชาชนชาวยูเครน . เซเลนสกีกล่าวตอบโต้กลับในวันพุธ โดยบอกว่า “โชคร้าย ท่านประธานาธิบดีทรัมป์ ผู้ซึ่งเรามีความเคารพอย่างใหญ่หลวงในฐานะเป็นผู้นำของประชาชนชาวอเมริกัน ... มีชีวิตอยู่ในท่ามกลางแวดวงข้อมูลข่าวสารเท็จเช่นนี้” . “ผมเชื่อว่าสหรัฐฯ ได้ช่วยเหลือให้ปูตินสามารถทลายการถูกโดดเดี่ยวมาเป็นเวลาหลายปี” เซเลนสกี กล่าว . ในวันอังคาร ทรัมป์กล่าวตำหนิทางยูเครนที่ส่งเสียงคร่ำครวญกรณีถูกกีดกันออกจากการเจรจาของสหรัฐฯ กับรัสเซีย ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย ในวันเดียวกัน . "ผมผิดหวังอย่างมาก ผมได้ยินว่าพวกเขาอารมณ์เสียที่ไม่มีที่นั่งบนโต๊ะเจรจา" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์-อา-ลาโก ของเขาในฟลอริดา หลังถูกสอบถามเกี่ยวกับปฏิกิริยาของยูเครน . "วันนี้ผมได้ยิน (ทางยูเครนพูด) ว่า โอ้ เราไม่ได้รับเชิญ ก็แน่นอนล่ะ คุณอยู่ตรงนั้นมา 3 ปี แต่คุณไม่เคยเริ่มมันเลย คุณควรทำข้อตกลง (กับรัสเซีย)" เขากล่าว . ในการแถลงข่าว ทรัมป์ยังส่งสัญญาณว่า อาจพบกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ก่อนสิ้นเดือนนี้ที่ซาอุดีอาระเบีย เวลาเดียวกันเขาก็เพิ่มความกดดันให้เซเลนสกีต้องจัดการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อเรียกร้องสำคัญของรัสเซีย ทั้งนี้ เนื่องจากเซเลนสกีรับตำแหน่งเกิน 5 ปีตามกำหนดวาระแล้ว แต่ยังไม่จัดการเลือกตั้งโดยอ้างว่า ยูเครนยังคงอยู่ภายใต้กฎอัยการศึก . "พวกเขา (พวกผู้นำยูเครน) ต้องการเก้าอี้บนโต๊ะเจรจา แต่คุณสามารถพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชวยูเครน มันนานมาแล้วนะที่เขามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์ระบุ พร้อมกับกล่าวว่า "นี่ไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากเรา มาจากประเทศอื่นๆ" . ผู้นำสหรัฐฯ ยังบอกว่า มีความมั่นใจมากยิ่งขึ้นว่า ตนเองมีอำนาจในการหยุดยั้งสงครามในยูเครน ภายหลังการหารือของคณะผู้แทนของสหรัฐฯ และรัสเซียที่กรุงริยาด ซึ่งเป็นการประชุมระดับสูงอย่างเป็นทางการครั้งแรกนับจากเดือนกุมภาพันธ์ 2022 ที่รัสเซียยกทัพบุกยูเครนนั้น . ขณะที่กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า ในการหารือที่ริยาดที่ใช้เวลายาวนานราว 4 ชั่วโมงครึ่ง รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนฝ่ายอเมริกา และรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ ของรัสเซีย ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะของฝ่ายแดนหมีขาว ได้ตกลงที่จะจัดตั้งคณะทำงานระดับสูงเพื่อหารือกันถึงเกี่ยวกับวิธีการยุติสงครามในยูเครนโดยเร็วที่สุด แต่ยังไม่ระบุชัดเจนว่าจะประชุมกันครั้งแรกเมื่อใด . ทั้งสองฝ่ายยังเห็นพ้องสร้างกลไกการหารือเพื่อจัดการ “สิ่งที่สร้างความระคายเคือง” ต่อความสัมพันธ์สองประเทศ และวางรากฐานสำหรับการร่วมมือในอนาคต . ด้าน ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทรัมป์ ซึ่งร่วมเจรจาที่ริยาดด้วย เสริมว่า ประเด็นด้านดินแดนและการรับประกันความมั่นคงจะเป็นส่วนหนึ่งในการหารือ . สำหรับ คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจของรัสเซีย กล่าวว่า ความพยายามของตะวันตกในการโดดเดี่ยวรัสเซียล้มเหลวอย่างชัดเจน และเสริมว่า รัสเซียและอเมริกาควรพัฒนาโครงการพลังงานร่วมกัน ซึ่งรวมถึงในอาร์กติกและภูมิภาคอื่นๆ . ด้านลาฟรอฟแสดงความเชื่อมั่นว่า อเมริกาเข้าใจจุดยืนของรัสเซียดีขึ้น และยังย้ำว่า มอสโกคัดค้านการนำกองกำลังนาโตไปประจำการในยูเครนภายใต้ข้อตกลงหยุดยิงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งเป็นประเด็นที่ผู้นำยุโรปกำลังถกเถียงกันอยู่ในขณะนี้ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016776 .............. Sondhi X - ทรัมป์ทิ้งบอมบ์รอบใหม่ ขู่รีดภาษีศุลกากรรถนำเข้า 25% และจัดเก็บในระดับเดียวกันหรือสูงกว่าสำหรับผลิตภัณฑ์ยาและเซมิคอนดักเตอร์ ด้านจีนประณามมาตรการภาษีและการข่มขู่ของทรัมป์ระหว่างการประชุมองค์การการค้าโลกว่า เป็นการคุกคามระบบการค้าและทำให้เศรษฐกิจโลกถดถอย
.
นับจากเข้ารับตำแหน่งปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ ได้สั่งเพิ่มอัตราภาษีศุลกากรที่เรียกเก็บจากสินค้านำเข้าของพวกประเทศคู่ค้าใหญ่ที่สุดบางแห่งโดยอ้างว่า เพื่อตอบโต้กับแนวทางปฏิบัติทางการค้าที่เอาเปรียบและไม่เป็นธรรมกับสหรัฐฯ นอกจากนั้น ในหลายกรณีก็ระบุเหตุผลว่าเพื่อผลักดันนโยบายสำคัญของอเมริกา อย่างเช่นการปราบปรามการอพยพเข้าสหรัฐฯ อย่างผิดกฎหมาย
.
ก่อนหน้านี้เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ ผู้นำสหรัฐฯ ประกาศรีดภาษีศุลกากรจากสินค้านำเข้าทุกรายการจากจีนเพิ่มขึ้นอีก 10% และปักกิ่งได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกันในขนาดขอบเขตที่แคบกว่า จากนั้นทรัมป์ยังสั่งขึ้นภาษีที่เก็บจากเหล็กกล้าและอะลูมิเนียมนำเข้าจากทุกประเทศในอัตรา 25%
.
ล่าสุดในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์ให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวว่า จะขึ้นภาษีศุลกากรที่จะเรียกเก็บจากอุตสาหกรรมรถยนต์ในอัตราประมาณ 25% โดยจะบังคับใช้ในราววันที่ 2 เมษายน
.
สำหรับสินค้าพวกยาและเซมิคอนดักเตอร์ ซึ่งทรัมป์เคยบอกไว้ว่าจะพิจารณาเพิ่มภาษีในช่วงเวลาเดียวกับรถยนต์นั้น ทรัมป์ขยายความในคราวนี้ว่า จะเก็บสูงขึ้นในอัตรา 25% หรือสูงกว่านั้น แล้วจากนั้นจะเพิ่มขึ้นสูงมากภายใน 1 ปี แต่เขายังไม่ระบุว่าจะเริ่มเมื่อใด
.
เขายังบอกว่า ต้องการให้เวลาพวกบริษัทที่ได้รับผลกระทบ เพื่อจะได้กลับลำมาทำธุรกิจในอเมริกา และเสริมด้วยว่า ประเทศคู่ค้าของวอชิงตันก็สามารถหลีกเลี่ยงการถูกเก็บภาษีเพิ่มได้ด้วยการเข้าไปลงทุนตั้งโรงงานในอเมริกา
.
อย่างไรก็ตาม พวกผู้เชี่ยวชาญย้ำคำเตือนที่ได้ให้ไว้ตั้งแต่ก่อนหน้านี้ ที่ว่ามาตรการเพิ่มภาษีศุลกาการจากสินค้านำเข้านั้น คนอเมริกันเองมีแนวโน้มต้องแบกรับมากกว่าพวกผู้ส่งออกต่างชาติ เนื่องจากคนที่ต้องควักเงินจ่ายภาษีจริงๆ ก็คือผู้นำเข้าในอเมริกา และพวกเขาก็มักแบ่งเบาภาระนี้ด้วยการขึ้นราคาสินค้าที่จำหน่ายในสหรัฐฯ
.
เฉพาะรถยนต์นั้น ปัจจุบันรถยนต์ราว 50% ที่ขายในอเมริกาเป็นรถที่ผลิตภายในประเทศ ขณะที่รถนำเข้าประมาณครึ่งหนึ่งเป็นรถจากเม็กซิโกและแคนาดา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพวกแบรนด์ระดับอินเตอร์ไปตั้งโรงงานประกอบกันที่นั่น นอกจากนั้นยังมีญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และเยอรมนีที่เป็นซัปพลายเออร์รายสำคัญ
.
เอเชียจับตามาตรการภาษีศุลกากรของทรัมป์อย่างระมัดระวังมาก เนื่องจากมีซัปพลายเออร์หลักบางแห่งของอุตสาหกรรมรถยนต์ของอเมริกาตั้งอยู่
.
โยชิมาสะ ฮายาชิ เลขาธิการคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่น ให้สัมภาษณ์เมื่อวันพุธว่า ญี่ปุ่นได้หยิบยกประเด็นภาษีศุลกากรรถยนต์หารือกับอเมริกาแล้ว และรัฐบาลจะดำเนินมาตรการที่เหมาะสมควบคู่กับการตรวจสอบรายละเอียดที่เฉพาะเจาะจงของมาตรการภาษีดังกล่าว
.
ทางด้านไต้หวันที่เป็นฮับการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ของโลกและถูกทรัมป์กล่าวหาว่า ปล้นอุตสาหกรรมชิปไปจากอเมริกานั้น ก็แสดงท่าทีตื่นตัวเฝ้าระวัง ถึงแม้กระทรวงเศรษฐกิจแถลงว่า ขอบเขตผลิตภัณฑ์ที่จะถูกเรียกเก็บภาษียังไม่มีความชัดเจน และรัฐบาลจะติดตามทิศทางนโยบายของอเมริกาต่อไป รวมทั้งจะให้ความช่วยเหลือแก่อุตสาหกรรมท้องถิ่นที่ได้รับความเดือดร้อน
.
ก่อนหน้านี้ไทเปประกาศแล้วว่า จะเพิ่มการลงทุนในอเมริกาเพื่อหาทางหลีกเลี่ยงมาตรการภาษีของทรัมป์
.
ผู้นำอเมริกายังแสดงความยินดีที่สหภาพยุโรป ลดภาษีศุลกากรรถยนต์จาก 10% เหลือ 2.5% เท่ากับอเมริกา และบอกว่า ถ้าทุกประเทศทำแบบนี้ การค้าทั่วโลกจะแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม
.
ในอีกด้านหนึ่ง หลี่ เฉิงกัง เอกอัครราชทูตจีนประจำองค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ได้ประณามมาตรการภาษีศุลกากรและการข่มขู่ของทรัมป์ ในระหว่างการประชุมคณะมนตรีใหญ่ดับเบิลยูทีโอในวันอังคารโดยระบุว่า การขึ้นภาษีอย่างแรงและการดำเนินการฝ่ายเดียวของทรัมป์เช่นนี้ ส่งผลกระทบหนักหน่วงต่อระบบการค้าโลก ทำให้เศรษฐกิจไร้ความแน่นอนมากขึ้น การค้าโลกสะดุด เสี่ยงเกิดภาวะเฟ้อในอเมริกา บิดเบือนตลาด หรือแม้กระทั่งทำให้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะถดถอย
.
ทว่า เดวิด บิสบี นักการทูตของอเมริกาตอบโต้ว่า เศรษฐกิจจีนเป็นระบบเศรษฐกิจนักล่าที่ไม่ได้อิงกับตลาด และเสริมว่า ตลอดระยะเวลากว่า 2 ทศวรรษที่เข้าเป็นสมาชิก จีนละเมิด เพิกเฉย และหลบเลี่ยงกฎของดับเบิลยูทีโอมาหลายครั้ง
.
ทั้งนี้ ความขัดแย้งระหว่างสองชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในดับเบิลยูทีโอเกิดขึ้นมานานแล้ว โดยปักกิ่งกล่าวหาวอชิงตันละเมิดกฎ ขณะที่วอชิงตันระบุว่า ปักกิ่งไม่สมควรได้รับสถานะประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งได้รับการปฏิบัติพิเศษภายใต้กฎของดับเบิลยูทีโอ
.
นอกจากนั้น การที่คณะบริหารของทรัมป์ประกาศแผนถอนตัวจากองค์กรระดับโลกหลายแห่ง ยังเท่ากับว่า ดับเบิลยูทีโอไม่ใช่ประเด็นสำคัญที่ทำเนียบขาวคำนึงถึงมากนัก
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016777
..............
Sondhi Xทรัมป์ทิ้งบอมบ์รอบใหม่ ขู่รีดภาษีศุลกากรรถนำเข้า 25% และจัดเก็บในระดับเดียวกันหรือสูงกว่าสำหรับผลิตภัณฑ์ยาและเซมิคอนดักเตอร์ ด้านจีนประณามมาตรการภาษีและการข่มขู่ของทรัมป์ระหว่างการประชุมองค์การการค้าโลกว่า เป็นการคุกคามระบบการค้าและทำให้เศรษฐกิจโลกถดถอย . นับจากเข้ารับตำแหน่งปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ ได้สั่งเพิ่มอัตราภาษีศุลกากรที่เรียกเก็บจากสินค้านำเข้าของพวกประเทศคู่ค้าใหญ่ที่สุดบางแห่งโดยอ้างว่า เพื่อตอบโต้กับแนวทางปฏิบัติทางการค้าที่เอาเปรียบและไม่เป็นธรรมกับสหรัฐฯ นอกจากนั้น ในหลายกรณีก็ระบุเหตุผลว่าเพื่อผลักดันนโยบายสำคัญของอเมริกา อย่างเช่นการปราบปรามการอพยพเข้าสหรัฐฯ อย่างผิดกฎหมาย . ก่อนหน้านี้เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ ผู้นำสหรัฐฯ ประกาศรีดภาษีศุลกากรจากสินค้านำเข้าทุกรายการจากจีนเพิ่มขึ้นอีก 10% และปักกิ่งได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกันในขนาดขอบเขตที่แคบกว่า จากนั้นทรัมป์ยังสั่งขึ้นภาษีที่เก็บจากเหล็กกล้าและอะลูมิเนียมนำเข้าจากทุกประเทศในอัตรา 25% . ล่าสุดในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์ให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวว่า จะขึ้นภาษีศุลกากรที่จะเรียกเก็บจากอุตสาหกรรมรถยนต์ในอัตราประมาณ 25% โดยจะบังคับใช้ในราววันที่ 2 เมษายน . สำหรับสินค้าพวกยาและเซมิคอนดักเตอร์ ซึ่งทรัมป์เคยบอกไว้ว่าจะพิจารณาเพิ่มภาษีในช่วงเวลาเดียวกับรถยนต์นั้น ทรัมป์ขยายความในคราวนี้ว่า จะเก็บสูงขึ้นในอัตรา 25% หรือสูงกว่านั้น แล้วจากนั้นจะเพิ่มขึ้นสูงมากภายใน 1 ปี แต่เขายังไม่ระบุว่าจะเริ่มเมื่อใด . เขายังบอกว่า ต้องการให้เวลาพวกบริษัทที่ได้รับผลกระทบ เพื่อจะได้กลับลำมาทำธุรกิจในอเมริกา และเสริมด้วยว่า ประเทศคู่ค้าของวอชิงตันก็สามารถหลีกเลี่ยงการถูกเก็บภาษีเพิ่มได้ด้วยการเข้าไปลงทุนตั้งโรงงานในอเมริกา . อย่างไรก็ตาม พวกผู้เชี่ยวชาญย้ำคำเตือนที่ได้ให้ไว้ตั้งแต่ก่อนหน้านี้ ที่ว่ามาตรการเพิ่มภาษีศุลกาการจากสินค้านำเข้านั้น คนอเมริกันเองมีแนวโน้มต้องแบกรับมากกว่าพวกผู้ส่งออกต่างชาติ เนื่องจากคนที่ต้องควักเงินจ่ายภาษีจริงๆ ก็คือผู้นำเข้าในอเมริกา และพวกเขาก็มักแบ่งเบาภาระนี้ด้วยการขึ้นราคาสินค้าที่จำหน่ายในสหรัฐฯ . เฉพาะรถยนต์นั้น ปัจจุบันรถยนต์ราว 50% ที่ขายในอเมริกาเป็นรถที่ผลิตภายในประเทศ ขณะที่รถนำเข้าประมาณครึ่งหนึ่งเป็นรถจากเม็กซิโกและแคนาดา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพวกแบรนด์ระดับอินเตอร์ไปตั้งโรงงานประกอบกันที่นั่น นอกจากนั้นยังมีญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และเยอรมนีที่เป็นซัปพลายเออร์รายสำคัญ . เอเชียจับตามาตรการภาษีศุลกากรของทรัมป์อย่างระมัดระวังมาก เนื่องจากมีซัปพลายเออร์หลักบางแห่งของอุตสาหกรรมรถยนต์ของอเมริกาตั้งอยู่ . โยชิมาสะ ฮายาชิ เลขาธิการคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่น ให้สัมภาษณ์เมื่อวันพุธว่า ญี่ปุ่นได้หยิบยกประเด็นภาษีศุลกากรรถยนต์หารือกับอเมริกาแล้ว และรัฐบาลจะดำเนินมาตรการที่เหมาะสมควบคู่กับการตรวจสอบรายละเอียดที่เฉพาะเจาะจงของมาตรการภาษีดังกล่าว . ทางด้านไต้หวันที่เป็นฮับการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ของโลกและถูกทรัมป์กล่าวหาว่า ปล้นอุตสาหกรรมชิปไปจากอเมริกานั้น ก็แสดงท่าทีตื่นตัวเฝ้าระวัง ถึงแม้กระทรวงเศรษฐกิจแถลงว่า ขอบเขตผลิตภัณฑ์ที่จะถูกเรียกเก็บภาษียังไม่มีความชัดเจน และรัฐบาลจะติดตามทิศทางนโยบายของอเมริกาต่อไป รวมทั้งจะให้ความช่วยเหลือแก่อุตสาหกรรมท้องถิ่นที่ได้รับความเดือดร้อน . ก่อนหน้านี้ไทเปประกาศแล้วว่า จะเพิ่มการลงทุนในอเมริกาเพื่อหาทางหลีกเลี่ยงมาตรการภาษีของทรัมป์ . ผู้นำอเมริกายังแสดงความยินดีที่สหภาพยุโรป ลดภาษีศุลกากรรถยนต์จาก 10% เหลือ 2.5% เท่ากับอเมริกา และบอกว่า ถ้าทุกประเทศทำแบบนี้ การค้าทั่วโลกจะแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม . ในอีกด้านหนึ่ง หลี่ เฉิงกัง เอกอัครราชทูตจีนประจำองค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ได้ประณามมาตรการภาษีศุลกากรและการข่มขู่ของทรัมป์ ในระหว่างการประชุมคณะมนตรีใหญ่ดับเบิลยูทีโอในวันอังคารโดยระบุว่า การขึ้นภาษีอย่างแรงและการดำเนินการฝ่ายเดียวของทรัมป์เช่นนี้ ส่งผลกระทบหนักหน่วงต่อระบบการค้าโลก ทำให้เศรษฐกิจไร้ความแน่นอนมากขึ้น การค้าโลกสะดุด เสี่ยงเกิดภาวะเฟ้อในอเมริกา บิดเบือนตลาด หรือแม้กระทั่งทำให้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะถดถอย . ทว่า เดวิด บิสบี นักการทูตของอเมริกาตอบโต้ว่า เศรษฐกิจจีนเป็นระบบเศรษฐกิจนักล่าที่ไม่ได้อิงกับตลาด และเสริมว่า ตลอดระยะเวลากว่า 2 ทศวรรษที่เข้าเป็นสมาชิก จีนละเมิด เพิกเฉย และหลบเลี่ยงกฎของดับเบิลยูทีโอมาหลายครั้ง . ทั้งนี้ ความขัดแย้งระหว่างสองชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในดับเบิลยูทีโอเกิดขึ้นมานานแล้ว โดยปักกิ่งกล่าวหาวอชิงตันละเมิดกฎ ขณะที่วอชิงตันระบุว่า ปักกิ่งไม่สมควรได้รับสถานะประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งได้รับการปฏิบัติพิเศษภายใต้กฎของดับเบิลยูทีโอ . นอกจากนั้น การที่คณะบริหารของทรัมป์ประกาศแผนถอนตัวจากองค์กรระดับโลกหลายแห่ง ยังเท่ากับว่า ดับเบิลยูทีโอไม่ใช่ประเด็นสำคัญที่ทำเนียบขาวคำนึงถึงมากนัก . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016777 .............. Sondhi X - เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสคนใหม่ประจำสิงคโปร์แถลงว่า ยุโรปไม่ต้องการให้ชาติเอเชียต้องเลือกระหว่างสหรัฐฯ และจีน ท่ามกลางกระแสการแข่งขันโลกเชี่ยวกราก ปูทางประธานาธิบดี เอ็มมานุเอล มาครง ขึ้นเวทีการประชุมแชงกรีลาไดอะล็อกฟอรัม พฤษภาคมนี้ ขณะที่สิงคโปร์เปิดอกรับเอเชียมองวอชิงตันทำตัวเหมือนเจ้าของที่กำลังเรียกเก็บค่าเช่า
.
รอยเตอร์รายงานวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสคนใหม่ประจำสิงคโปร์ สตีเฟน มาร์กีซีโอ (Stephen Marchisio) เริ่มทำหน้าที่ตั้งแต่วันอังคาร (18) เปิดใจว่า ฝรั่งเศสเห็นแรงกดดันเพิ่มขึ้น “บางทีมาจากฝั่งสหรัฐฯ” ที่พันธมิตรในเอเชียจำเป็นต้องตัดสินใจเลือกข้าง”
.
เขาย้ำว่า “มันมีความสำคัญที่ต้องกล่าวว่าพวกเราสามารถพูดคุยได้กับทุกคน” และเสริมว่า “พวกเราไม่ต้องการให้ใครต้องเลือก”
.
ทูตแดนน้ำหอมคนใหม่ของประธานาธิบดีเอ็มมานุเอล มาครงให้สัมภาษณ์กับนักข่าวระหว่างอาหารค่ำในสิงคโปร์ที่ซึ่งมาครงจะเดินทางมาที่นี่เพื่อขึ้นกล่าวในการประชุมความมั่นคงแชงกรีลาฟอรัมในวันที่ 30 พ.ค.ที่จะถึง
.
มาร์กีซีโอกล่าวว่า ประธานาธิบดีมาครงจะขึ้นกล่าวยืนยันบนเวทีว่า ทุกชาติภายในภูมิภาคสามารถปกป้องผลประโยชน์ของชาติตัวเองได้
.
“พวกคุณสามารถทำได้ถึงแม้ว่าคุณจะไม่เห็นด้วยกับรูปแบบทางการเมืองของจีน และคุณสามารถทำได้ถึงแม้คุณจะไม่ต้องการฐานทัพจากสหรัฐฯ ในดินแดนของพวกคุณก็ตาม”
.
สถานทูตสหรัฐฯ ในสิงคโปร์ได้ตอบคำถามรอยเตอร์ไปยังแถลงการณ์ของกลุ่ม G-7 ที่ลงนามในมิวนิกโดยฝรั่งเศสและสหรัฐฯ ที่กล่าวว่า สมาชิกทุกชาติมีพันธต่อภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรี เปิดกว้าง และมั่นคง
.
ตามแถลงการณ์ทูตฝรั่งเศสชี้ว่า ยุโรปต้องสามัคคี
.
มาร์กีซีโอยังชี้ว่า ยุโรปต้องมีความสามัคคีที่รวมไปถึงการสั่งซื้ออาวุธอเมริกัน ที่ชี้ว่าเป็นการตอบโต้คำแถลงจากรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ดีเจ แวนซ์ ในมิวนิกเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา
.
ทูตแดนน้ำหอมกล่าวว่า มีบางประเทศมองความเกี่ยวข้องในการซื้ออาวุธเป็นหนทางที่จะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลทรัมป์สมัยแรก แต่ทว่ามุมมองนี้เปลี่ยนไปแล้วโดยเฉพาะหลังจากที่รองประธานาธิบดีแวนซ์ของสหรัฐฯ ได้ส่งสัญญาณผ่านำแถลงที่เผ็ดร้อนในการประชุมมิวนิกฟอรัมในยุโรป
.
“เกิดอะไรขึ้นในมิวนิก? เขาพยายามโจมตีแก่นกลางของประชาธิปไตย” และเสริมต่อว่า “ดังนั้นมันจึงทำให้เกิดไปสู่คำถามอื่นต่อ”
.
ดังนั้นเวลานี้ประเทศในยุโรปอาจจะไม่ซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์อเมริกัน และเสริมต่อว่าเป็นเพราะไม่มีหลักประกันในการทำเช่นนั้นจะช่วยผ่อนคลายความกดดันของสหรัฐฯ ลงหรือวาทะโจมตีแสดงความเป็นปรปักษ์
.
“พวกเราไม่ต้องการที่จะกล่าวว่า ..แต่พวกเราจะตอบโต้หากว่าพวกเราต้องทำ” โดยอ้างไปถึงภาษีและแรงกดดันอื่นๆ ของสหรัฐฯ
.
มาร์กีซีโอรายงานว่า สถานการณ์ที่ดีที่สุดของฝรั่งเศสคือการไม่ต้องการตอบโต้เอาคืนจากการที่ทั้งสหรัฐอเมริกาและชาติยุโรปต่างมีผลประโยชน์ร่วมกันมากมายรวมไปถึงอุตสาหกรรม
.
การแสดงความเห็นของทูตฝรั่งเศสคนใหม่สะท้อนความเห็นรัฐมนตรีกลาโหมสิงคโปร์ อึ้ง เอ็ง เฮง (Ng Eng Hen) ที่แถลงในการประชุมความมั่นคงยุโรปว่า “ภาพของอเมริกาที่มีต่อเอเชียได้เปลี่ยนไป”
.
“ภาพลักษณ์เปลี่ยนไปจากผู้ปลดปล่อยไปสู่ผู้สร้างความปั่นป่วนไปสู่เจ้าของที่ต้องการเรียกเก็บค่าเช่า”
.
บลูมเบิร์กรายงานวันจันทร์ (17) ว่า อึ้ง เอ็ง เฮง แถลงในการประชุมนอกรอบที่การประชุมความมั่นคงมิวนิกว่า แนวคิดที่เกิดขึ้นมาเป็นเวลาหลายปีหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง
.
ทั้งนี้ เว็บไซต์รัฐบาลสิงคโปร์ได้โพสต์เมื่อสุดสัปดาห์ในคำแถลงของรัฐมนตรีกลาโหมสิงคโปร์กล่าววิจารณ์สหรัฐฯ ในการประชุมมิวนิก
.
คำแถลงเกิดขึ้นหลังรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่สมัยทรัมป์มืดมัวตาบอดไม่สนใจต่อประวัติศาสตร์ที่เป็นมาของพันธมิตรนาโตเปิดฉากแผนการหารือตรงกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูตินต่ออนาคตของสงครามเครมลินในยูเครน
.
บลูมเบิร์กวิเคราะห์ว่า สิงคโปร์เป็นเหมือนเช่นชาติส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ต้องการแสวงหาทางสายกลางในการเพิ่มขึ้นของภาพที่ซับซ้อนทางการเมืองเชิงภูมิศาสตร์ เพื่อเสาะหาความสัมพันธ์ที่สมดุลกับสหรัฐอเมริกาในฐานะหุ้นส่วนความมั่นคงหลักและต่อจีนในฐานะแหล่งของการพัฒนาและหนึ่งในพันธมิตรทางการค้าที่ใหญ่ที่สุดของตัวเอง
.
ทั้งนี้สหรัฐฯ ในสมัยอดีตรัฐบาลประธานาธิบดี โจ ไบเดน อเมริกาได้ทำงานเพื่อสร้างข้อผูกพันทางความมั่นคงภายในภูมิภาคต่อต้านการรุกคืบจากจีนในทะเลจีนใต้ และเป็นความวิตกทางความมั่นคงที่ยังคงเกิดขึ้นจากความมุ่งมั่นของปักกิ่งในการนำไต้หวันกลับสู่อ้อมอกอีกครั้งในอนาคตไม่ว่าจะเป็นการใช้กำลังหรือไม่
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016775
..............
Sondhi Xเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสคนใหม่ประจำสิงคโปร์แถลงว่า ยุโรปไม่ต้องการให้ชาติเอเชียต้องเลือกระหว่างสหรัฐฯ และจีน ท่ามกลางกระแสการแข่งขันโลกเชี่ยวกราก ปูทางประธานาธิบดี เอ็มมานุเอล มาครง ขึ้นเวทีการประชุมแชงกรีลาไดอะล็อกฟอรัม พฤษภาคมนี้ ขณะที่สิงคโปร์เปิดอกรับเอเชียมองวอชิงตันทำตัวเหมือนเจ้าของที่กำลังเรียกเก็บค่าเช่า . รอยเตอร์รายงานวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสคนใหม่ประจำสิงคโปร์ สตีเฟน มาร์กีซีโอ (Stephen Marchisio) เริ่มทำหน้าที่ตั้งแต่วันอังคาร (18) เปิดใจว่า ฝรั่งเศสเห็นแรงกดดันเพิ่มขึ้น “บางทีมาจากฝั่งสหรัฐฯ” ที่พันธมิตรในเอเชียจำเป็นต้องตัดสินใจเลือกข้าง” . เขาย้ำว่า “มันมีความสำคัญที่ต้องกล่าวว่าพวกเราสามารถพูดคุยได้กับทุกคน” และเสริมว่า “พวกเราไม่ต้องการให้ใครต้องเลือก” . ทูตแดนน้ำหอมคนใหม่ของประธานาธิบดีเอ็มมานุเอล มาครงให้สัมภาษณ์กับนักข่าวระหว่างอาหารค่ำในสิงคโปร์ที่ซึ่งมาครงจะเดินทางมาที่นี่เพื่อขึ้นกล่าวในการประชุมความมั่นคงแชงกรีลาฟอรัมในวันที่ 30 พ.ค.ที่จะถึง . มาร์กีซีโอกล่าวว่า ประธานาธิบดีมาครงจะขึ้นกล่าวยืนยันบนเวทีว่า ทุกชาติภายในภูมิภาคสามารถปกป้องผลประโยชน์ของชาติตัวเองได้ . “พวกคุณสามารถทำได้ถึงแม้ว่าคุณจะไม่เห็นด้วยกับรูปแบบทางการเมืองของจีน และคุณสามารถทำได้ถึงแม้คุณจะไม่ต้องการฐานทัพจากสหรัฐฯ ในดินแดนของพวกคุณก็ตาม” . สถานทูตสหรัฐฯ ในสิงคโปร์ได้ตอบคำถามรอยเตอร์ไปยังแถลงการณ์ของกลุ่ม G-7 ที่ลงนามในมิวนิกโดยฝรั่งเศสและสหรัฐฯ ที่กล่าวว่า สมาชิกทุกชาติมีพันธต่อภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรี เปิดกว้าง และมั่นคง . ตามแถลงการณ์ทูตฝรั่งเศสชี้ว่า ยุโรปต้องสามัคคี . มาร์กีซีโอยังชี้ว่า ยุโรปต้องมีความสามัคคีที่รวมไปถึงการสั่งซื้ออาวุธอเมริกัน ที่ชี้ว่าเป็นการตอบโต้คำแถลงจากรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ดีเจ แวนซ์ ในมิวนิกเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา . ทูตแดนน้ำหอมกล่าวว่า มีบางประเทศมองความเกี่ยวข้องในการซื้ออาวุธเป็นหนทางที่จะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลทรัมป์สมัยแรก แต่ทว่ามุมมองนี้เปลี่ยนไปแล้วโดยเฉพาะหลังจากที่รองประธานาธิบดีแวนซ์ของสหรัฐฯ ได้ส่งสัญญาณผ่านำแถลงที่เผ็ดร้อนในการประชุมมิวนิกฟอรัมในยุโรป . “เกิดอะไรขึ้นในมิวนิก? เขาพยายามโจมตีแก่นกลางของประชาธิปไตย” และเสริมต่อว่า “ดังนั้นมันจึงทำให้เกิดไปสู่คำถามอื่นต่อ” . ดังนั้นเวลานี้ประเทศในยุโรปอาจจะไม่ซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์อเมริกัน และเสริมต่อว่าเป็นเพราะไม่มีหลักประกันในการทำเช่นนั้นจะช่วยผ่อนคลายความกดดันของสหรัฐฯ ลงหรือวาทะโจมตีแสดงความเป็นปรปักษ์ . “พวกเราไม่ต้องการที่จะกล่าวว่า ..แต่พวกเราจะตอบโต้หากว่าพวกเราต้องทำ” โดยอ้างไปถึงภาษีและแรงกดดันอื่นๆ ของสหรัฐฯ . มาร์กีซีโอรายงานว่า สถานการณ์ที่ดีที่สุดของฝรั่งเศสคือการไม่ต้องการตอบโต้เอาคืนจากการที่ทั้งสหรัฐอเมริกาและชาติยุโรปต่างมีผลประโยชน์ร่วมกันมากมายรวมไปถึงอุตสาหกรรม . การแสดงความเห็นของทูตฝรั่งเศสคนใหม่สะท้อนความเห็นรัฐมนตรีกลาโหมสิงคโปร์ อึ้ง เอ็ง เฮง (Ng Eng Hen) ที่แถลงในการประชุมความมั่นคงยุโรปว่า “ภาพของอเมริกาที่มีต่อเอเชียได้เปลี่ยนไป” . “ภาพลักษณ์เปลี่ยนไปจากผู้ปลดปล่อยไปสู่ผู้สร้างความปั่นป่วนไปสู่เจ้าของที่ต้องการเรียกเก็บค่าเช่า” . บลูมเบิร์กรายงานวันจันทร์ (17) ว่า อึ้ง เอ็ง เฮง แถลงในการประชุมนอกรอบที่การประชุมความมั่นคงมิวนิกว่า แนวคิดที่เกิดขึ้นมาเป็นเวลาหลายปีหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง . ทั้งนี้ เว็บไซต์รัฐบาลสิงคโปร์ได้โพสต์เมื่อสุดสัปดาห์ในคำแถลงของรัฐมนตรีกลาโหมสิงคโปร์กล่าววิจารณ์สหรัฐฯ ในการประชุมมิวนิก . คำแถลงเกิดขึ้นหลังรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่สมัยทรัมป์มืดมัวตาบอดไม่สนใจต่อประวัติศาสตร์ที่เป็นมาของพันธมิตรนาโตเปิดฉากแผนการหารือตรงกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูตินต่ออนาคตของสงครามเครมลินในยูเครน . บลูมเบิร์กวิเคราะห์ว่า สิงคโปร์เป็นเหมือนเช่นชาติส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ต้องการแสวงหาทางสายกลางในการเพิ่มขึ้นของภาพที่ซับซ้อนทางการเมืองเชิงภูมิศาสตร์ เพื่อเสาะหาความสัมพันธ์ที่สมดุลกับสหรัฐอเมริกาในฐานะหุ้นส่วนความมั่นคงหลักและต่อจีนในฐานะแหล่งของการพัฒนาและหนึ่งในพันธมิตรทางการค้าที่ใหญ่ที่สุดของตัวเอง . ทั้งนี้สหรัฐฯ ในสมัยอดีตรัฐบาลประธานาธิบดี โจ ไบเดน อเมริกาได้ทำงานเพื่อสร้างข้อผูกพันทางความมั่นคงภายในภูมิภาคต่อต้านการรุกคืบจากจีนในทะเลจีนใต้ และเป็นความวิตกทางความมั่นคงที่ยังคงเกิดขึ้นจากความมุ่งมั่นของปักกิ่งในการนำไต้หวันกลับสู่อ้อมอกอีกครั้งในอนาคตไม่ว่าจะเป็นการใช้กำลังหรือไม่ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016775 .............. Sondhi X - ปรากฏการณ์นี้แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจโมเดลลิ่งส่งเด็ก เอนฯ ออนไลน์ อยู่ในยุคเฟื่องฟู กรณีนี้ก็คือ แอดมินนางสาวปณิตา วัยเพียง 18 ปี แต่กลับมีเด็กเอนฯอยู่ใน controlมากถึง 1,000 คน
#เด็กเอนโดนบังคับอัพยาจนเสียชีวิต #เด็กเอนฯยุคออนไลน์ #แม่เล้าวัย18 #อลิน #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
ปรากฏการณ์นี้แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจโมเดลลิ่งส่งเด็ก เอนฯ ออนไลน์ อยู่ในยุคเฟื่องฟู กรณีนี้ก็คือ แอดมินนางสาวปณิตา วัยเพียง 18 ปี แต่กลับมีเด็กเอนฯอยู่ใน controlมากถึง 1,000 คน #เด็กเอนโดนบังคับอัพยาจนเสียชีวิต #เด็กเอนฯยุคออนไลน์ #แม่เล้าวัย18 #อลิน #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ - นิสัยของคนยิว ไม่ไว้หน้าใครและไม่ยอมเสียเปรียบใคร ถ้ามีปัญหาพร้อมบวก ตรงข้ามกับนิสัยชิลๆ แบบคนไทย ความรู้สึกของคนไทยที่ปาย จึงติดลบกับพวกยิว จนอยากขับไล่ไปให้หมด
#ยิวยึดเมืองปาย #คนยิวป่วนปาย #คนปายไม่ทนยิว #ยิวอิสราเอล #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
นิสัยของคนยิว ไม่ไว้หน้าใครและไม่ยอมเสียเปรียบใคร ถ้ามีปัญหาพร้อมบวก ตรงข้ามกับนิสัยชิลๆ แบบคนไทย ความรู้สึกของคนไทยที่ปาย จึงติดลบกับพวกยิว จนอยากขับไล่ไปให้หมด #ยิวยึดเมืองปาย #คนยิวป่วนปาย #คนปายไม่ทนยิว #ยิวอิสราเอล #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ - ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เปิดเผยว่าเขาสั่งการให้กระทรวงยุติธรรม เลิกจ้างบรรดาอัยการอเมริกาในยุคของไบเดน ที่ยังเหลือยู่ทั้งหมด อ้างว่ากระทรวงแห่งนี้ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
.
"เราต้องทำความสะอาดบ้านในทันที และฟื้นฟูความชื่อมั่น ยุคทองของอเมริกาจำเป็นต้องมีระบบยุติธรรมที่ยุติธรรม และมันเริ่มขึ้นแล้วในวันนี้" ทรัมป์โพสต์ข้อความบนทรัสต์โซเชียล
.
สำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามไปยังกระทรวงยุติธรรม แต่กระทรวงยุติธรรมยังไม่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานข่าวดังกล่าว
.
เมื่อสัปดาห์ก่อน ทำเนียบขาวส่งหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาไปยังอัยการสหรัฐฯ หลายคนทั่วประเทศ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากอดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และล่าสุดในวันจันทร์ (17 ก.พ.) อัยการสหรัฐฯ หลายคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากไบเดน แถลงว่ากำลังลาออก ส่วนคนอื่นๆ ได้ออกจากรัฐบาลตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว
.
แม้ตามธรรรมเนียมแล้ว บรรดาอัยการหรัฐฯ จะลาออกหลังมีการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานประธานาธิบดี แต่โดยปกติแล้วรัฐบาลที่กำลังเข้ารับตำแหน่งจะร้องขอให้พวกเขาลาออกจากตำแหน่งอย่างละมุนละม่อมและไม่ออกหนังสือเลิกจ้างที่ใช้ถ้อยคำกะทัดรัดเช่นนี้ จากความเห็นของอดีตทนายความทั้งในอดีตและปัจจุบันของกระทรวงยุติธรรม
.
การเลิกจ้างบรรดาอัยการสหรัฐฯ ซึ่งทำหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายรัฐบาลกลางระดับสูงสุด ตามเขตต่างๆ ของอัยการรายนั้นๆ ถือเป็นการยกเครื่องล่าสุดภายในกระทรวงยุติธรรม นับตั้งแต่ ทรัมป์ เข้ารับตำแหน่งในเดือนที่แล้ว
.
แม้กระทั่งพวกเจ้าหน้าที่ที่มีอาชีพการเงินในกระทรวงยุติธรรม ที่ปกติแล้วจะยังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปแม้จะมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ตาม แต่คราวนี้มีพวกเขาหลายสิบคนในเมืองต่างๆ อย่างเช่นวอชิงตันและนิวยอร์ก ที่ถูกไล่ออกหรือลาออกไป นับตั้งแต่ ทรัมป์ ก้าวเข้าสู่อำนาจ
.
ระหว่างรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ทรัมป์ประกาศกร้าวว่าจะยุติการใช้กระทรวงยุติธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง ในสิ่งที่เขากล่าวอ้างว่าถูกใช้เล่นงานเขา ในช่วงหลายขวบปีที่พ้นจากอำนาจไป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016385
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เปิดเผยว่าเขาสั่งการให้กระทรวงยุติธรรม เลิกจ้างบรรดาอัยการอเมริกาในยุคของไบเดน ที่ยังเหลือยู่ทั้งหมด อ้างว่ากระทรวงแห่งนี้ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน . "เราต้องทำความสะอาดบ้านในทันที และฟื้นฟูความชื่อมั่น ยุคทองของอเมริกาจำเป็นต้องมีระบบยุติธรรมที่ยุติธรรม และมันเริ่มขึ้นแล้วในวันนี้" ทรัมป์โพสต์ข้อความบนทรัสต์โซเชียล . สำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามไปยังกระทรวงยุติธรรม แต่กระทรวงยุติธรรมยังไม่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานข่าวดังกล่าว . เมื่อสัปดาห์ก่อน ทำเนียบขาวส่งหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาไปยังอัยการสหรัฐฯ หลายคนทั่วประเทศ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากอดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และล่าสุดในวันจันทร์ (17 ก.พ.) อัยการสหรัฐฯ หลายคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากไบเดน แถลงว่ากำลังลาออก ส่วนคนอื่นๆ ได้ออกจากรัฐบาลตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว . แม้ตามธรรรมเนียมแล้ว บรรดาอัยการหรัฐฯ จะลาออกหลังมีการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานประธานาธิบดี แต่โดยปกติแล้วรัฐบาลที่กำลังเข้ารับตำแหน่งจะร้องขอให้พวกเขาลาออกจากตำแหน่งอย่างละมุนละม่อมและไม่ออกหนังสือเลิกจ้างที่ใช้ถ้อยคำกะทัดรัดเช่นนี้ จากความเห็นของอดีตทนายความทั้งในอดีตและปัจจุบันของกระทรวงยุติธรรม . การเลิกจ้างบรรดาอัยการสหรัฐฯ ซึ่งทำหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายรัฐบาลกลางระดับสูงสุด ตามเขตต่างๆ ของอัยการรายนั้นๆ ถือเป็นการยกเครื่องล่าสุดภายในกระทรวงยุติธรรม นับตั้งแต่ ทรัมป์ เข้ารับตำแหน่งในเดือนที่แล้ว . แม้กระทั่งพวกเจ้าหน้าที่ที่มีอาชีพการเงินในกระทรวงยุติธรรม ที่ปกติแล้วจะยังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปแม้จะมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ตาม แต่คราวนี้มีพวกเขาหลายสิบคนในเมืองต่างๆ อย่างเช่นวอชิงตันและนิวยอร์ก ที่ถูกไล่ออกหรือลาออกไป นับตั้งแต่ ทรัมป์ ก้าวเข้าสู่อำนาจ . ระหว่างรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ทรัมป์ประกาศกร้าวว่าจะยุติการใช้กระทรวงยุติธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง ในสิ่งที่เขากล่าวอ้างว่าถูกใช้เล่นงานเขา ในช่วงหลายขวบปีที่พ้นจากอำนาจไป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016385 .............. Sondhi X - โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ บ่งชี้ว่ายูเครนอาจจำเป็นต้องจัดเลือกตั้งใหม่ และเน้นย้ำว่า โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ผู้นำโดยพฤตินัยของเคียฟในปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมนัก
.
ทรัมป์ แสดงความคิดเห็นไม่กี่ชั่วโมงหลังจากคณะผู้เจรจาของสหรัฐฯและรัสเซีย พบปะกันในกรุงริยาด เมืองหลวงของซาอุดีอาระเบีย เพื่อหารือถึงแนวทางต่างๆในการยุติความขัดแย้งในยูเครน มันถือเป็นการพูดคุยกัยครั้งแรกนับตั้งแต่อดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน ผู้นำอเมริกาคนก่อนหน้าทรัมป์ ระงับการติดต่อทั้งหมดกับมอสโกในปี 2022
.
ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เน้นย้ำมาตลอดว่ามอสโกมองว่า เซเลนสกี ไม่มีความชอบธรรมทางกฎหมายมานานแล้ว สืบเนื่องจากวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีของเขา สิ้นสุดลงไปตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2024 และจนถึงตอนนี้ยังไม่มีการจัดเลือกตั้งใหม่ ก็เพราะกฎอัยการศึกที่ประกาศโดยเซเลนสกี
.
ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันอังคาร(18ก.พ.) ทรัมป์เน้นย้ำว่าเซเลนสกี ไม่เป็นที่นิยมอย่างมากภายในประเทศของตนเอง "ผู้นำในยูเครน ผมไม่อยากพูดเลยว่า เขามีคะแนนนิยมลดต่ำอยู่แค่ระดับ 4%" ทรัมป์ระบุ
.
"ตอนที่พวกเขาบอกว่าต้องการเก้าอี้ในโต๊ะเจรจา คุณอาจพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชาวยูเครน มันนานมาแล้วนับตั้งแต่เรามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์เน้นย้ำ "มันไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากผม และออกมาจากประเทศอื่นๆหลายชาติเช่นกัน"
.
พวกเจ้าที่ยูเครนยืนยันว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะจัดการเลือกตั้งใหม่ในระหว่างที่ความขัดแย้งกับรัสเซียยังคงดำเนินอยู่
.
คะแนนิยมของเซเลนสกี พุ่งทะลุฟ้าแตะระดับ 90% ในช่วงเดือนแรกๆของความขัดแย้งในปี 2022 แต่นับตั้งแต่นั้นก็ร่วลงสู่ระดับ 50%
.
ตามหลังความพ่ายแพ้อย่างต่อเนื่องในสมรภูมิรบและปัญหารื้อรังในด้านเศรษฐกิจ เมื่อเดือนที่แล้ว สื่อมวลชนยูเครนอ้างผลสำรวจของสำนักโพล Socis poll พบว่าเหลือชาวยูเครนแค่ 40% ที่ยังคงเชื่อมั่นในเซเลนสกี ผิดกับ วาเลรี ซาลูซนีย์ อดีตนายพลแห่งกองทัพยูเครน ที่เวลานี้เป็นเอกอัครราชทูตประจำลอนดอน ที่ได้รับความเชื่อมั่นเกือบๆ 72%
.
ดมิทรี เปสคอฟ โฆษกวังเครมลินบอกในวันอังคาร(18ก.พ.) ว่า ปูติน เปิดกว้างที่จะเจรจากับ เซเลนสกี แต่ก็ต่อเมื่อประเด็นเกี่ยวกับความชอบธรรมของผู้นำยูเครนได้รับการคลี่คลายแล้วเท่านั้น
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016369
..............
Sondhi Xโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ บ่งชี้ว่ายูเครนอาจจำเป็นต้องจัดเลือกตั้งใหม่ และเน้นย้ำว่า โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ผู้นำโดยพฤตินัยของเคียฟในปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมนัก . ทรัมป์ แสดงความคิดเห็นไม่กี่ชั่วโมงหลังจากคณะผู้เจรจาของสหรัฐฯและรัสเซีย พบปะกันในกรุงริยาด เมืองหลวงของซาอุดีอาระเบีย เพื่อหารือถึงแนวทางต่างๆในการยุติความขัดแย้งในยูเครน มันถือเป็นการพูดคุยกัยครั้งแรกนับตั้งแต่อดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน ผู้นำอเมริกาคนก่อนหน้าทรัมป์ ระงับการติดต่อทั้งหมดกับมอสโกในปี 2022 . ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เน้นย้ำมาตลอดว่ามอสโกมองว่า เซเลนสกี ไม่มีความชอบธรรมทางกฎหมายมานานแล้ว สืบเนื่องจากวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีของเขา สิ้นสุดลงไปตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2024 และจนถึงตอนนี้ยังไม่มีการจัดเลือกตั้งใหม่ ก็เพราะกฎอัยการศึกที่ประกาศโดยเซเลนสกี . ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันอังคาร(18ก.พ.) ทรัมป์เน้นย้ำว่าเซเลนสกี ไม่เป็นที่นิยมอย่างมากภายในประเทศของตนเอง "ผู้นำในยูเครน ผมไม่อยากพูดเลยว่า เขามีคะแนนนิยมลดต่ำอยู่แค่ระดับ 4%" ทรัมป์ระบุ . "ตอนที่พวกเขาบอกว่าต้องการเก้าอี้ในโต๊ะเจรจา คุณอาจพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชาวยูเครน มันนานมาแล้วนับตั้งแต่เรามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์เน้นย้ำ "มันไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากผม และออกมาจากประเทศอื่นๆหลายชาติเช่นกัน" . พวกเจ้าที่ยูเครนยืนยันว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะจัดการเลือกตั้งใหม่ในระหว่างที่ความขัดแย้งกับรัสเซียยังคงดำเนินอยู่ . คะแนนิยมของเซเลนสกี พุ่งทะลุฟ้าแตะระดับ 90% ในช่วงเดือนแรกๆของความขัดแย้งในปี 2022 แต่นับตั้งแต่นั้นก็ร่วลงสู่ระดับ 50% . ตามหลังความพ่ายแพ้อย่างต่อเนื่องในสมรภูมิรบและปัญหารื้อรังในด้านเศรษฐกิจ เมื่อเดือนที่แล้ว สื่อมวลชนยูเครนอ้างผลสำรวจของสำนักโพล Socis poll พบว่าเหลือชาวยูเครนแค่ 40% ที่ยังคงเชื่อมั่นในเซเลนสกี ผิดกับ วาเลรี ซาลูซนีย์ อดีตนายพลแห่งกองทัพยูเครน ที่เวลานี้เป็นเอกอัครราชทูตประจำลอนดอน ที่ได้รับความเชื่อมั่นเกือบๆ 72% . ดมิทรี เปสคอฟ โฆษกวังเครมลินบอกในวันอังคาร(18ก.พ.) ว่า ปูติน เปิดกว้างที่จะเจรจากับ เซเลนสกี แต่ก็ต่อเมื่อประเด็นเกี่ยวกับความชอบธรรมของผู้นำยูเครนได้รับการคลี่คลายแล้วเท่านั้น . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016369 .............. Sondhi X - ประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน วิพากษ์วิจารณ์การเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซีย ที่กีดกันไม่ให้เคียฟเข้าร่วม ระบุความพยายามยุติสงครามต้อง "ยุติธรรม" และบรรดาประเทศยุโรป ในนั้นรวมถึงตุรกี ควรมีส่วนร่วมด้วย
.
ความเห็นของเขามีขึ้นหลังจากวอชิงตันและมอสโก เผยว่าพวกเขาจะเปิดเผยชื่อคณะทำงานสำหรับเจรจาเส้นทางสู่การยุติสงครามในยูเครน ระหว่างการเจรจาอย่างเป็นทางการระดับสูงครั้งแรกของทั้ง 2 ฝ่าย นับตั้งแต่รัสเซียรุกรานยูเครนเมื่อเกือบ 3 ปีก่อน
.
ความเห็นอันเดือดดาลของผู้นำยูเครน มีขึ้นหลังจากเขาได้พบปะกับประธานาธิบดี เรเจป ตัยยิบ แอร์โดอัน แห่งตุรกี เป็นเวลาเกือบ 3 ชั่วโมง ในกรุงอังการา เมืองหลวงของตุรกี
.
"ยูเครนและยุโรปในสามัญสำนักอย่างกว้างๆ และนี่รวมถึงสหภาพยุโรป ตุรกีและสหราชอาณาจักร ควรมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสนทนาและก่อรูปร่างมาตรการรับประกันความมั่นคงที่จำเป็นร่วมกับอเมริกา ในเรื่องเกี่ยวกับชะตากรรมของเรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลก" เซเลนสกีกล่าว
.
"ความพยายามเป็นคนกลางใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง ควรเป็นไปอย่างยุติธรรม" เขากล่าว ประณามเจรจาระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ในริยาด ก่อนหน้านี้ในวันอังคาร (18 ก.พ.) และเน้นย้ำจุดยืนคัดค้าน "การพูดคุยใดๆ ที่ปราศจากยูเครน เกี่ยวกับแนวทางยุติสงครามในยูเครน"
.
เซเลนสกีเผยว่าเขาไม่ได้รับเชิญให้ร่วมเจรจาในริยาด และตัดสินใจเลื่อนโปรแกรมเดินทางเยือนเมืองหลวงของซาดุอีอาระเบีย จากเดิมที่คาดหมายว่าจะมีขึ้นในวันพุธ (19 ก.พ.) ไปเป็นวันที่ 10 มีนาคม
.
การยกเครื่องนโยบายเกี่ยวกับรัสเซียของทรัมป์ โหมกระพือความกังวลว่าวอชิงตันกำลังเตรียมการบีบเคียฟให้ยอมเจรจาต่อรองบนเงื่อนไขของมอสโก
.
นอกเหนือจากการเจรจาในริยาดแล้ว ความกังวลนี้มีมากขึ้นไปอีก เมื่อ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ เซอร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย พบปะหารือกันในประเด็นความมั่นคงยุโรปและยูเครน โดยไม่มีตัวแทนใดๆ จากเคียฟหรือบรัสเซลส์เข้าร่วมด้วย
.
ในส่วนของแอร์โดอัน ที่ยืนอยู่ข้างๆ เซเลนสกี ระหว่างแถลงข่าว ได้เสนอให้ตุรกีเป็นเจ้าภาพการเจรจาใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง โดยย้อนให้นึกถึงครั้งที่ทั้ง 2 ฝ่าย พบปะกันในอิสตุนบูลในปี 2022 ไม่กี่สัปดาห์หลังรัสเซียรุกรานยูเครน
.
"ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพในอุดมคติสำหรับความเป็นไปได้ในการเจรจาใดๆ ระหว่างรัสเซีย ยูเครนและอเมริกา ในอนาคตอันใกล้นี้" เขากล่าว พร้อมบอกว่าการเจรจาในอิสตันบูล "เป็นจุดอ้างอิงที่สำคัญและเป็นแพลตฟอร์มที่ฝ่ายต่างๆ เฉียดใกล้ได้ข้อตกลงหนึ่งมากที่สุดแล้ว"
.
การเดินทางครั้งนี้ของเซเลนสกี ถือเป็นครั้งที่ 3 แล้วที่เขาเดินทางเยือนตุรกี นับตั้งแต่รัสเซียรุกราน โดยคราวนี้เกิดขึ้นในขณะที่เขาพยายามค้ำยันสถานะของเคียฟ ตามหลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เอื้อมมือเข้าหามอสโก
.
ตุรกี ซึ่งเป็นชาติสมาชิกนาโต หาทางคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีกับ 2 ชาติเพื่อนบ้านคู่สงครามทะเลดำ โดยที่แอร์โดอัน วางสถานะของตนเองในฐานะคนกลางและผู้สร้างสันติระหว่าง 2 ฝ่าย
.
แม้อังการาจะมอบโดรนแก่ยูเครน แต่ขณะเดียวกัน พวกเขาก็เพิกเฉยปลีกตัวออกต่างจากมาตรการคว่ำบาตรที่นำโดยตะวันตก ที่กำหนดเล่นงานมอสโก
.
เช่นเดียวกับซาอุดีอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตุรกีเล่นบทบาทสำคัญในการเป็นคนกลางแลกเปลี่ยนเชลยศึกหลายรายระหว่างรัสเซียกับยูเครน ข้อตกลงนี้พบเห็นนักโทษหลายร้อยคนถูกปล่อยตัวกลับมาตุภูมิ แม้ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016367
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน วิพากษ์วิจารณ์การเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซีย ที่กีดกันไม่ให้เคียฟเข้าร่วม ระบุความพยายามยุติสงครามต้อง "ยุติธรรม" และบรรดาประเทศยุโรป ในนั้นรวมถึงตุรกี ควรมีส่วนร่วมด้วย . ความเห็นของเขามีขึ้นหลังจากวอชิงตันและมอสโก เผยว่าพวกเขาจะเปิดเผยชื่อคณะทำงานสำหรับเจรจาเส้นทางสู่การยุติสงครามในยูเครน ระหว่างการเจรจาอย่างเป็นทางการระดับสูงครั้งแรกของทั้ง 2 ฝ่าย นับตั้งแต่รัสเซียรุกรานยูเครนเมื่อเกือบ 3 ปีก่อน . ความเห็นอันเดือดดาลของผู้นำยูเครน มีขึ้นหลังจากเขาได้พบปะกับประธานาธิบดี เรเจป ตัยยิบ แอร์โดอัน แห่งตุรกี เป็นเวลาเกือบ 3 ชั่วโมง ในกรุงอังการา เมืองหลวงของตุรกี . "ยูเครนและยุโรปในสามัญสำนักอย่างกว้างๆ และนี่รวมถึงสหภาพยุโรป ตุรกีและสหราชอาณาจักร ควรมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสนทนาและก่อรูปร่างมาตรการรับประกันความมั่นคงที่จำเป็นร่วมกับอเมริกา ในเรื่องเกี่ยวกับชะตากรรมของเรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลก" เซเลนสกีกล่าว . "ความพยายามเป็นคนกลางใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง ควรเป็นไปอย่างยุติธรรม" เขากล่าว ประณามเจรจาระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ในริยาด ก่อนหน้านี้ในวันอังคาร (18 ก.พ.) และเน้นย้ำจุดยืนคัดค้าน "การพูดคุยใดๆ ที่ปราศจากยูเครน เกี่ยวกับแนวทางยุติสงครามในยูเครน" . เซเลนสกีเผยว่าเขาไม่ได้รับเชิญให้ร่วมเจรจาในริยาด และตัดสินใจเลื่อนโปรแกรมเดินทางเยือนเมืองหลวงของซาดุอีอาระเบีย จากเดิมที่คาดหมายว่าจะมีขึ้นในวันพุธ (19 ก.พ.) ไปเป็นวันที่ 10 มีนาคม . การยกเครื่องนโยบายเกี่ยวกับรัสเซียของทรัมป์ โหมกระพือความกังวลว่าวอชิงตันกำลังเตรียมการบีบเคียฟให้ยอมเจรจาต่อรองบนเงื่อนไขของมอสโก . นอกเหนือจากการเจรจาในริยาดแล้ว ความกังวลนี้มีมากขึ้นไปอีก เมื่อ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ เซอร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย พบปะหารือกันในประเด็นความมั่นคงยุโรปและยูเครน โดยไม่มีตัวแทนใดๆ จากเคียฟหรือบรัสเซลส์เข้าร่วมด้วย . ในส่วนของแอร์โดอัน ที่ยืนอยู่ข้างๆ เซเลนสกี ระหว่างแถลงข่าว ได้เสนอให้ตุรกีเป็นเจ้าภาพการเจรจาใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง โดยย้อนให้นึกถึงครั้งที่ทั้ง 2 ฝ่าย พบปะกันในอิสตุนบูลในปี 2022 ไม่กี่สัปดาห์หลังรัสเซียรุกรานยูเครน . "ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพในอุดมคติสำหรับความเป็นไปได้ในการเจรจาใดๆ ระหว่างรัสเซีย ยูเครนและอเมริกา ในอนาคตอันใกล้นี้" เขากล่าว พร้อมบอกว่าการเจรจาในอิสตันบูล "เป็นจุดอ้างอิงที่สำคัญและเป็นแพลตฟอร์มที่ฝ่ายต่างๆ เฉียดใกล้ได้ข้อตกลงหนึ่งมากที่สุดแล้ว" . การเดินทางครั้งนี้ของเซเลนสกี ถือเป็นครั้งที่ 3 แล้วที่เขาเดินทางเยือนตุรกี นับตั้งแต่รัสเซียรุกราน โดยคราวนี้เกิดขึ้นในขณะที่เขาพยายามค้ำยันสถานะของเคียฟ ตามหลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เอื้อมมือเข้าหามอสโก . ตุรกี ซึ่งเป็นชาติสมาชิกนาโต หาทางคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีกับ 2 ชาติเพื่อนบ้านคู่สงครามทะเลดำ โดยที่แอร์โดอัน วางสถานะของตนเองในฐานะคนกลางและผู้สร้างสันติระหว่าง 2 ฝ่าย . แม้อังการาจะมอบโดรนแก่ยูเครน แต่ขณะเดียวกัน พวกเขาก็เพิกเฉยปลีกตัวออกต่างจากมาตรการคว่ำบาตรที่นำโดยตะวันตก ที่กำหนดเล่นงานมอสโก . เช่นเดียวกับซาอุดีอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตุรกีเล่นบทบาทสำคัญในการเป็นคนกลางแลกเปลี่ยนเชลยศึกหลายรายระหว่างรัสเซียกับยูเครน ข้อตกลงนี้พบเห็นนักโทษหลายร้อยคนถูกปล่อยตัวกลับมาตุภูมิ แม้ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016367 .............. Sondhi X - ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ระบุมาตรการรีดภาษีของสหรัฐฯ ที่เรียกเก็บกับรถยนต์นำเข้าจะอยู่ที่ราว 25% ความเคลื่อนไหวที่เป็นการมอบข้อมูลใหม่ในด้านภาษี ที่คาดหมายว่าเขาจะมีการเปิดตัวราววันที่ 2 เมษายน
.
"มันจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับ 25%" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์อาลาโก พร้อมกับเน้นว่ามาตรการรีดภาษีอย่างเจาะจงนี้จะมีการเปิดตัวในเดือนเมษายน
.
เมื่อถูกถามว่าเขามีความคิดรีดภาษีภาคอื่นอย่างเช่นยา ด้วยหรือไม่ ทรัมป์ตอบว่า "มันจะอยู่ที่ 25% หรือสูงกว่านั้น และมันจะอยู่ในระดับสูงมากๆ ตลอดทั้งปี" อย่างไรก็ตามทรัมป์บอกว่าเขาต้องการให้เวลาบริษัทต่างๆ ในการหวนคืนสู่ตลาดสหรัฐฯ
.
ในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์เผยว่าเขาได้รับการติดต่อจากบรรดาบริษัทยักษ์ใหญ่หลายแห่ง ที่ต้องการกลับเข้าสู่สหรัฐฯ สืบเนื่องจากท่าทีของวอชิงตันในด้านการรีดภาษีและมาตรการจูงใจทางภาษี
.
ทรัมป์ แถลงมาตรการทางภาษีต่างๆ นับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม ขู่เล่นงานทั้งมิตรและศัตรูไม่ต่างกัน
.
เขาไม่ได้ให้รายละเอียดมากมายนักเกี่ยวกับแผนรีดภาษียานยนต์ หรือภาคอื่นๆ ที่อาจถูกเล่นงานด้วย อย่างเช่นเซมิคอนดักเตอร์และยา
.
พวกผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าบ่อยครั้งที่กลายเป็นชาวอเมริกันเองที่ต้องเป็นคนชดใช้มาตรการรีดภาษีสินค้านำเข้าสหรัฐฯ แทนที่จะเป็นผู้ส่งออกต่างชาติ
.
ทั้งนี้ ราว 50% ของรถยนต์ที่จำหน่ายในสหรัฐฯ เป็นรถยนต์ที่ผลิตภายในประเทศ นอกเหนือจากนั้นเป็นการนำเข้า โดยราวครึ่งหนึ่งของรถยนต์นำเข้ามาจากเม็กซิโกและแคนาดา ส่วนที่เหลือมาจากชาติผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่เจ้าอื่นๆ
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016368
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ระบุมาตรการรีดภาษีของสหรัฐฯ ที่เรียกเก็บกับรถยนต์นำเข้าจะอยู่ที่ราว 25% ความเคลื่อนไหวที่เป็นการมอบข้อมูลใหม่ในด้านภาษี ที่คาดหมายว่าเขาจะมีการเปิดตัวราววันที่ 2 เมษายน . "มันจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับ 25%" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์อาลาโก พร้อมกับเน้นว่ามาตรการรีดภาษีอย่างเจาะจงนี้จะมีการเปิดตัวในเดือนเมษายน . เมื่อถูกถามว่าเขามีความคิดรีดภาษีภาคอื่นอย่างเช่นยา ด้วยหรือไม่ ทรัมป์ตอบว่า "มันจะอยู่ที่ 25% หรือสูงกว่านั้น และมันจะอยู่ในระดับสูงมากๆ ตลอดทั้งปี" อย่างไรก็ตามทรัมป์บอกว่าเขาต้องการให้เวลาบริษัทต่างๆ ในการหวนคืนสู่ตลาดสหรัฐฯ . ในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์เผยว่าเขาได้รับการติดต่อจากบรรดาบริษัทยักษ์ใหญ่หลายแห่ง ที่ต้องการกลับเข้าสู่สหรัฐฯ สืบเนื่องจากท่าทีของวอชิงตันในด้านการรีดภาษีและมาตรการจูงใจทางภาษี . ทรัมป์ แถลงมาตรการทางภาษีต่างๆ นับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม ขู่เล่นงานทั้งมิตรและศัตรูไม่ต่างกัน . เขาไม่ได้ให้รายละเอียดมากมายนักเกี่ยวกับแผนรีดภาษียานยนต์ หรือภาคอื่นๆ ที่อาจถูกเล่นงานด้วย อย่างเช่นเซมิคอนดักเตอร์และยา . พวกผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าบ่อยครั้งที่กลายเป็นชาวอเมริกันเองที่ต้องเป็นคนชดใช้มาตรการรีดภาษีสินค้านำเข้าสหรัฐฯ แทนที่จะเป็นผู้ส่งออกต่างชาติ . ทั้งนี้ ราว 50% ของรถยนต์ที่จำหน่ายในสหรัฐฯ เป็นรถยนต์ที่ผลิตภายในประเทศ นอกเหนือจากนั้นเป็นการนำเข้า โดยราวครึ่งหนึ่งของรถยนต์นำเข้ามาจากเม็กซิโกและแคนาดา ส่วนที่เหลือมาจากชาติผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่เจ้าอื่นๆ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016368 .............. Sondhi X - สหรัฐฯ กับรัสเซียเห็นพ้องกันที่จะเริ่มต้นทำงานเพื่อยุติสงครามในยูเครน และปรับปรุงสายสัมพันธ์ทางการทูตและทางเศรษฐกิจระหว่างกัน รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ระบุภายหลังการเจรจากันของคณะผู้แทนสหรัฐฯ ที่นำโดยตัวเขา กับคณะของรัสเซียซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ เป็นผู้นำ ที่กรุงริยาด ซาอุดีอาระเบีย โดยที่ไม่มีตัวแทนจากยูเครนหรือทางยุโรปเข้าร่วมด้วย
.
ในการให้สัมภาษณ์สำนักข่าวเอพีภายหลังการเจรจากับฝ่ายรัสเซีย รูบิโอกล่าวว่าทั้งสองฝ่ายมีการตกลงกันอย่างกว้างๆ ที่จะมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ การหวนคืนในเรื่องการให้เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้กลับเข้าประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูตของกันและกันในกรุงวอชิงตันและกรุงมอสโก การก่อตั้งทีมงานระดับสูงเพื่อสนับสนุนการเจรจาสันติภาพยูเครน และการสำรวจลู่ทางเพื่อให้มีความสัมพันธ์และความร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น
.
อย่างไรก็ดี เขาย้ำว่า การพูดจาคราวนี้ถือเป็นหลักหมายของการเริ่มต้นสนทนากัน และยังจำเป็นจะต้องทำงานกันต่อไปอีกมาก
.
ทั้งนี้ สายสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซียได้ตกลงมาสู่ระดับต่ำที่สุดในรอบหลายสิบปีระหว่างที่เกิดสงครามในยูเครน โดยที่สถานเอกอัครราชทูตของแต่ละฝ่ายซึ่งตั้งอยู่ในเมืองหลวงของอีกฝ่ายหนึ่ง ต่างได้รับความกระทบกระเทือนหนักจากการที่ต่างฝ่ายต่างสั่งขับไล่นักการทูตของกันและกันเป็นจำนวนมากหลายๆ ระลอกในช่วงหลายๆ ปีที่ผ่านมา และจากการที่สหรัฐฯ จับมือกับยุโรปในการประกาศใช้มาตรการแซงก์ชันด้านต่างๆ กับรัสเซีย
.
รูบิโอ ยังกล่าวแสดงความหวังให้การสู้รบขัดแย้งในยูเครนเดินเข้าสู่จุดจบที่สามารถยอมรับกันได้ และสหรัฐฯ กับรัสเซียจะมีโอกาสอันน่าเชื่อถือที่จะจับมือกันในทางภูมิรัฐศาสตร์ในประเด็นต่างๆ ที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนในทางเศรษฐกิจด้วยประเด็นซึ่งจะเป็นผลดีต่อโลกและก็จะปรับปรุงความสัมพันธ์ของสองประเทศในระยะยาว
.
การหารือในวันอังคารคราวนี้ ยังมุ่งหมายที่จะแผ้วถางทางให้แก่การประชุมซัมมิตระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ กับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ทว่าภายหลังการเจรจาสิ้นสุดลง ยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาฝ่ายกิจการต่างประเทศของปูติน ซึ่งอยู่ในคณะของฝ่ายรัสเซีย บอกกับสถานีโทรทัศน์แชนเนลวัน ของรัสเซียว่า ยังไม่มีการกำหนดวันแน่นอนสำหรับซัมมิตดังที่ว่านี้ และ “ไม่น่าเป็นไปได้” ที่จะเกิดขึ้นมาในสัปดาห์หน้า
.
ในส่วนของ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เขากล่าวกับพวกผู้สื่อข่าวหลังการหารือว่า “การสนทนากันคราวนี้เป็นประโยชน์มาก” โดยที่เขาอ้างอิงถึงเป้าหมาย 3 ประการเช่นเดียวกับที่รูบิโอพูด และบอกว่าวอชิงตันกับมอสโกตกลงกันที่จะแต่งตั้งคณะตัวแทนที่จะดำเนินการ “การปรึกษาหารืออย่างเป็นประจำ” ในเรื่องยูเครนขึ้นมา
.
“เราไม่เพียงแค่รับฟัง แต่ยังได้ยินกันและกันอีกด้วย” ลาฟรอฟบอก “และผมมีเหตุผลที่จะเชื่อว่าฝ่ายอเมริกันได้เริ่มต้นที่จะเข้าอกเข้าใจจุดยืนของเราดีขึ้นแล้ว ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เราได้พูดสรุปโดยมีการลงรายละเอียด ใช้ตัวอย่างเฉพาะเจาะจงต่างๆ โดยยึดโยงอยู่กับคำปราศรัยครั้งแล้วครั้งเล่าของประธานาธิบดีปูติน”
.
ก่อนหน้าการเจรจาคราวนี้ ทั้งสองฝ่ายดูจะมีความพยายามเน้นย้ำไมให้เกิดการตั้งความหวังมากจนเกินความเป็นจริง
.
ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงเมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า การหารือคราวนี้มุ่งเน้นการฟื้นฟูความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโกเป็นหลัก ตลอดจนถึงการเตรียมพร้อมสำหรับการเจรจาที่อาจเกิดขึ้นเกี่ยวกับยูเครน และการจัดเตรียมการประชุมสุดยอดระหว่างประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์
.
ส่วน แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า การประชุมที่ซาอุดีอาระเบียมีเป้าหมายในการพิจารณาว่า รัสเซียจริงจังกับข้อตกลงสันติภาพแค่ไหน และจะเริ่มต้นการเจรจาอย่างละเอียดได้หรือไม่
.
บรูซเสริมว่า แม้ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมการหารือในวันอังคาร แต่การเจรจาสันติภาพที่แท้จริงจะต้องมีเคียฟร่วมวงด้วย
.
การเจรจาคราวนี้จัดขึ้นที่ที่พระราชวังดิริยาห์ในกรุงริยาด โดยคณะของฝ่ายของสหรัฐฯ นอกจากรัฐมนตรีต่างประเทาศรูบิโอ แล้ว ยังมี ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาว และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลาง ขณะที่ฝ่ายรัสเซีย ได้แก่ เซียร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ผู้ช่วยอาวุโสของปูติน
.
รายงานข่าวระบุว่า การหารือเริ่มต้นขึ้นโดยไม่มีการจับมือหรือการแถลงใดๆ แต่มีเจ้าชายไฟซาล บิน ฟาร์ฮัน และมูซาอัด บิน โมฮัมหมัด อัล-ไอบาน รัฐมนตรีต่างประเทศและที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของซาอุดีอาระเบียตามลำดับร่วมอยู่ด้วย
.
การหารือครั้งนี้ถือเป็นการหารือระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสองชาติครั้งแรกนับจากที่รัสเซียบุกยูเครน และยังถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศครั้งใหญ่ของอเมริกา
.
เปสคอฟแถลงเมื่อวันอังคารระหว่างที่การหารือในริยาดดำเนินอยู่ว่า การแก้ไขวิกฤตยูเครนอย่างยั่งยืนไม่มีทางเป็นไปได้หากไม่พิจารณาสถานการณ์ความมั่นคงของยุโรป และสำทับว่า ยูเครนมีสิทธิอธิปไตยในการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แต่รัสเซียคัดค้านการเข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ของเคียฟ
.
โฆษกเครมลินเสริมว่า ปูตินพร้อมคุยกับเซเลนสกีถ้าจำเป็น
.
รัสเซียยังระบุก่อนการหารือว่า ปูตินและทรัมป์ต้องการออกจาก “ความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ” และไม่เห็นความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องร่วมเจรจาใดๆ
.
คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจและประธานกองทุนการลงทุนโดยตรงของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์สถานีทีวีของทางการรัสเซียเมื่อวันอังคารว่า เขาคาดหวังว่า จะมีความคืบหน้าภายในเวลา 2-3 เดือน
.
ในส่วนความคืบหน้าที่อาจนำไปสู่ข้อตกลงหยุดยิงในยูเครนนั้นยังไม่มีความชัดเจน โดยทั้งอเมริกาและรัสเซียต่างออกตัวว่า การหารือในวันอังคารเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของกระบวนการที่ยาวนานเท่านั้น
.
บรูซ โฆษกกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ กล่าวว่า การหารือที่ริยาดไม่ควรถูกคาดหวังว่า จะมีรายละเอียดหรือมีความคืบหน้าเกี่ยวกับการเจรจาหยุดยิง
.
ขณะที่อูชาคอฟให้สัมภาษณ์สื่อของทางการรัสเซียว่า การพูดคุยในวันอังคารเป็นเพียงการหารือถึงวิธีเริ่มต้นการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016365
..............
Sondhi Xสหรัฐฯ กับรัสเซียเห็นพ้องกันที่จะเริ่มต้นทำงานเพื่อยุติสงครามในยูเครน และปรับปรุงสายสัมพันธ์ทางการทูตและทางเศรษฐกิจระหว่างกัน รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ระบุภายหลังการเจรจากันของคณะผู้แทนสหรัฐฯ ที่นำโดยตัวเขา กับคณะของรัสเซียซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ เป็นผู้นำ ที่กรุงริยาด ซาอุดีอาระเบีย โดยที่ไม่มีตัวแทนจากยูเครนหรือทางยุโรปเข้าร่วมด้วย . ในการให้สัมภาษณ์สำนักข่าวเอพีภายหลังการเจรจากับฝ่ายรัสเซีย รูบิโอกล่าวว่าทั้งสองฝ่ายมีการตกลงกันอย่างกว้างๆ ที่จะมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ การหวนคืนในเรื่องการให้เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้กลับเข้าประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูตของกันและกันในกรุงวอชิงตันและกรุงมอสโก การก่อตั้งทีมงานระดับสูงเพื่อสนับสนุนการเจรจาสันติภาพยูเครน และการสำรวจลู่ทางเพื่อให้มีความสัมพันธ์และความร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น . อย่างไรก็ดี เขาย้ำว่า การพูดจาคราวนี้ถือเป็นหลักหมายของการเริ่มต้นสนทนากัน และยังจำเป็นจะต้องทำงานกันต่อไปอีกมาก . ทั้งนี้ สายสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซียได้ตกลงมาสู่ระดับต่ำที่สุดในรอบหลายสิบปีระหว่างที่เกิดสงครามในยูเครน โดยที่สถานเอกอัครราชทูตของแต่ละฝ่ายซึ่งตั้งอยู่ในเมืองหลวงของอีกฝ่ายหนึ่ง ต่างได้รับความกระทบกระเทือนหนักจากการที่ต่างฝ่ายต่างสั่งขับไล่นักการทูตของกันและกันเป็นจำนวนมากหลายๆ ระลอกในช่วงหลายๆ ปีที่ผ่านมา และจากการที่สหรัฐฯ จับมือกับยุโรปในการประกาศใช้มาตรการแซงก์ชันด้านต่างๆ กับรัสเซีย . รูบิโอ ยังกล่าวแสดงความหวังให้การสู้รบขัดแย้งในยูเครนเดินเข้าสู่จุดจบที่สามารถยอมรับกันได้ และสหรัฐฯ กับรัสเซียจะมีโอกาสอันน่าเชื่อถือที่จะจับมือกันในทางภูมิรัฐศาสตร์ในประเด็นต่างๆ ที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนในทางเศรษฐกิจด้วยประเด็นซึ่งจะเป็นผลดีต่อโลกและก็จะปรับปรุงความสัมพันธ์ของสองประเทศในระยะยาว . การหารือในวันอังคารคราวนี้ ยังมุ่งหมายที่จะแผ้วถางทางให้แก่การประชุมซัมมิตระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ กับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ทว่าภายหลังการเจรจาสิ้นสุดลง ยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาฝ่ายกิจการต่างประเทศของปูติน ซึ่งอยู่ในคณะของฝ่ายรัสเซีย บอกกับสถานีโทรทัศน์แชนเนลวัน ของรัสเซียว่า ยังไม่มีการกำหนดวันแน่นอนสำหรับซัมมิตดังที่ว่านี้ และ “ไม่น่าเป็นไปได้” ที่จะเกิดขึ้นมาในสัปดาห์หน้า . ในส่วนของ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เขากล่าวกับพวกผู้สื่อข่าวหลังการหารือว่า “การสนทนากันคราวนี้เป็นประโยชน์มาก” โดยที่เขาอ้างอิงถึงเป้าหมาย 3 ประการเช่นเดียวกับที่รูบิโอพูด และบอกว่าวอชิงตันกับมอสโกตกลงกันที่จะแต่งตั้งคณะตัวแทนที่จะดำเนินการ “การปรึกษาหารืออย่างเป็นประจำ” ในเรื่องยูเครนขึ้นมา . “เราไม่เพียงแค่รับฟัง แต่ยังได้ยินกันและกันอีกด้วย” ลาฟรอฟบอก “และผมมีเหตุผลที่จะเชื่อว่าฝ่ายอเมริกันได้เริ่มต้นที่จะเข้าอกเข้าใจจุดยืนของเราดีขึ้นแล้ว ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เราได้พูดสรุปโดยมีการลงรายละเอียด ใช้ตัวอย่างเฉพาะเจาะจงต่างๆ โดยยึดโยงอยู่กับคำปราศรัยครั้งแล้วครั้งเล่าของประธานาธิบดีปูติน” . ก่อนหน้าการเจรจาคราวนี้ ทั้งสองฝ่ายดูจะมีความพยายามเน้นย้ำไมให้เกิดการตั้งความหวังมากจนเกินความเป็นจริง . ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงเมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า การหารือคราวนี้มุ่งเน้นการฟื้นฟูความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโกเป็นหลัก ตลอดจนถึงการเตรียมพร้อมสำหรับการเจรจาที่อาจเกิดขึ้นเกี่ยวกับยูเครน และการจัดเตรียมการประชุมสุดยอดระหว่างประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ . ส่วน แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า การประชุมที่ซาอุดีอาระเบียมีเป้าหมายในการพิจารณาว่า รัสเซียจริงจังกับข้อตกลงสันติภาพแค่ไหน และจะเริ่มต้นการเจรจาอย่างละเอียดได้หรือไม่ . บรูซเสริมว่า แม้ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมการหารือในวันอังคาร แต่การเจรจาสันติภาพที่แท้จริงจะต้องมีเคียฟร่วมวงด้วย . การเจรจาคราวนี้จัดขึ้นที่ที่พระราชวังดิริยาห์ในกรุงริยาด โดยคณะของฝ่ายของสหรัฐฯ นอกจากรัฐมนตรีต่างประเทาศรูบิโอ แล้ว ยังมี ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาว และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลาง ขณะที่ฝ่ายรัสเซีย ได้แก่ เซียร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ผู้ช่วยอาวุโสของปูติน . รายงานข่าวระบุว่า การหารือเริ่มต้นขึ้นโดยไม่มีการจับมือหรือการแถลงใดๆ แต่มีเจ้าชายไฟซาล บิน ฟาร์ฮัน และมูซาอัด บิน โมฮัมหมัด อัล-ไอบาน รัฐมนตรีต่างประเทศและที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของซาอุดีอาระเบียตามลำดับร่วมอยู่ด้วย . การหารือครั้งนี้ถือเป็นการหารือระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสองชาติครั้งแรกนับจากที่รัสเซียบุกยูเครน และยังถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศครั้งใหญ่ของอเมริกา . เปสคอฟแถลงเมื่อวันอังคารระหว่างที่การหารือในริยาดดำเนินอยู่ว่า การแก้ไขวิกฤตยูเครนอย่างยั่งยืนไม่มีทางเป็นไปได้หากไม่พิจารณาสถานการณ์ความมั่นคงของยุโรป และสำทับว่า ยูเครนมีสิทธิอธิปไตยในการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แต่รัสเซียคัดค้านการเข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ของเคียฟ . โฆษกเครมลินเสริมว่า ปูตินพร้อมคุยกับเซเลนสกีถ้าจำเป็น . รัสเซียยังระบุก่อนการหารือว่า ปูตินและทรัมป์ต้องการออกจาก “ความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ” และไม่เห็นความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องร่วมเจรจาใดๆ . คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจและประธานกองทุนการลงทุนโดยตรงของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์สถานีทีวีของทางการรัสเซียเมื่อวันอังคารว่า เขาคาดหวังว่า จะมีความคืบหน้าภายในเวลา 2-3 เดือน . ในส่วนความคืบหน้าที่อาจนำไปสู่ข้อตกลงหยุดยิงในยูเครนนั้นยังไม่มีความชัดเจน โดยทั้งอเมริกาและรัสเซียต่างออกตัวว่า การหารือในวันอังคารเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของกระบวนการที่ยาวนานเท่านั้น . บรูซ โฆษกกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ กล่าวว่า การหารือที่ริยาดไม่ควรถูกคาดหวังว่า จะมีรายละเอียดหรือมีความคืบหน้าเกี่ยวกับการเจรจาหยุดยิง . ขณะที่อูชาคอฟให้สัมภาษณ์สื่อของทางการรัสเซียว่า การพูดคุยในวันอังคารเป็นเพียงการหารือถึงวิธีเริ่มต้นการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016365 .............. Sondhi X - เจ้าหน้าที่ระดับสูงนาโตเชื่อว่า สหรัฐฯ จะยังไม่ลาออกจากนาโตแต่น่าจะถอนกำลังทหารออกไปบางส่วนหลังยุโรปไม่ใช่เป้าหมายหลักอีกต่อไปสำหรับวอชิงตัน
.
บลูมเบิร์กของสหรัฐฯ รายงานวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า วอชิงตันน่าที่จะยังคงอยู่ร่วมกับนาโตต่อไป แต่ทว่าอาจจะลดกองกำลังประจำการลงในยุโรปจากการที่สหรัฐฯ หันเห็นความจำเป็นไปอยู่ที่ภูมิภาคอินโดแปซิฟิก
.
พลเรือเอกจูเซปเป คาโว ดราโกเน ประธานคณะกรรมการกองทัพประจำ NATO เดือนที่แล้วได้กล่าวในการประชุมนอกรอบในการประชุมความมั่นคงมิวนิกที่ซึ่งบรรดาผู้นำยุโรปมาเพื่อเผชิญหน้ากับรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ รวมถึงความคาดหวังการลดลงของการปกป้องทางความมั่นคงของสหรัฐฯ
.
พลเรือเอกคาโว ดราโกเน กล่าวว่า “สหรัฐฯ จะไม่ถอนตัวออกไปจากนาโต” ในการให้สัมภาษณ์ในเมืองมิวนิก แต่การถอนกำลังทหารอเมริกันบางส่วนออกไปจากทั้งหมด 100,000 นายที่ประจำอยู่ในยุโรปอาจมีวาระเกิดขึ้น เป็นเพราะมีความผูกพันบางประการที่สหรัฐฯ ต้องออกห่างไปจากที่นี่ ไปอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิก”
.
แต่พลเรือเอกจากอิตาลีที่ได้นั่งในตำแหน่งสำคัญนี้เปิดเผยว่า “อย่างไรก็ตามผมไม่คิดว่าจะเป็นตัวเลขมหาศาลที่จะนำอเมริกันออกไปจากยุโรป”
.
ความมั่นคงยุโรปมีความสำคัญอย่างสูงในการประชุมความมั่นคงมิวนิก เหนือจากทั้งหมดคือการแก้ปัญหาสงครามยูเครนที่ยาวนานยืดเยื้อร่วม 3 ปี
.
แต่ทว่าผู้นำชาติยุโรปและยูเครนต่างไม่ทันตั้งตัวถึงแผนทรัมป์ที่จะหารือกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูติน ที่ต่างวิตกกันว่ายุโรปจะไม่ได้มีส่วนร่วม
.
คาโว ดราโกเน เห็นพ้องกับสมาชิกนาโตหลายคนในยุโรปเรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณการป้องกันประเทศ โดยรับรู้ว่าการหันเหความสนใจของสหรัฐฯ หมายถึงยุโรปจำเป็นต้องเพิ่มความแข็งแกร่งขึ้นมา
.
“มันมีความไม่สมดุลเกิดขึ้น ดังนั้นพวกเราจำเป็นต้องทำให้มีความสมดุลกลับคืนมา” พร้อมกับเรียกแนวคิดที่ว่ายุโรปไม่สามารถปกป้องตัวเองว่า “เป็นการดูหมิ่น”
.
อย่างไรก็ตาม การลดลงใดๆ ของอเมริกาในยุโรปนั้นเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับโดยนาโตด้วยทัศนคติเชิงปฏิบัติ” เขากล่าวพร้อมยืนกรานว่า กองทัพในภูมิภาคจำเป็นต้องเข้ามาแทนที่เพื่ออุดช่องโหว่
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016363
..............
Sondhi Xเจ้าหน้าที่ระดับสูงนาโตเชื่อว่า สหรัฐฯ จะยังไม่ลาออกจากนาโตแต่น่าจะถอนกำลังทหารออกไปบางส่วนหลังยุโรปไม่ใช่เป้าหมายหลักอีกต่อไปสำหรับวอชิงตัน . บลูมเบิร์กของสหรัฐฯ รายงานวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า วอชิงตันน่าที่จะยังคงอยู่ร่วมกับนาโตต่อไป แต่ทว่าอาจจะลดกองกำลังประจำการลงในยุโรปจากการที่สหรัฐฯ หันเห็นความจำเป็นไปอยู่ที่ภูมิภาคอินโดแปซิฟิก . พลเรือเอกจูเซปเป คาโว ดราโกเน ประธานคณะกรรมการกองทัพประจำ NATO เดือนที่แล้วได้กล่าวในการประชุมนอกรอบในการประชุมความมั่นคงมิวนิกที่ซึ่งบรรดาผู้นำยุโรปมาเพื่อเผชิญหน้ากับรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ รวมถึงความคาดหวังการลดลงของการปกป้องทางความมั่นคงของสหรัฐฯ . พลเรือเอกคาโว ดราโกเน กล่าวว่า “สหรัฐฯ จะไม่ถอนตัวออกไปจากนาโต” ในการให้สัมภาษณ์ในเมืองมิวนิก แต่การถอนกำลังทหารอเมริกันบางส่วนออกไปจากทั้งหมด 100,000 นายที่ประจำอยู่ในยุโรปอาจมีวาระเกิดขึ้น เป็นเพราะมีความผูกพันบางประการที่สหรัฐฯ ต้องออกห่างไปจากที่นี่ ไปอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิก” . แต่พลเรือเอกจากอิตาลีที่ได้นั่งในตำแหน่งสำคัญนี้เปิดเผยว่า “อย่างไรก็ตามผมไม่คิดว่าจะเป็นตัวเลขมหาศาลที่จะนำอเมริกันออกไปจากยุโรป” . ความมั่นคงยุโรปมีความสำคัญอย่างสูงในการประชุมความมั่นคงมิวนิก เหนือจากทั้งหมดคือการแก้ปัญหาสงครามยูเครนที่ยาวนานยืดเยื้อร่วม 3 ปี . แต่ทว่าผู้นำชาติยุโรปและยูเครนต่างไม่ทันตั้งตัวถึงแผนทรัมป์ที่จะหารือกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูติน ที่ต่างวิตกกันว่ายุโรปจะไม่ได้มีส่วนร่วม . คาโว ดราโกเน เห็นพ้องกับสมาชิกนาโตหลายคนในยุโรปเรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณการป้องกันประเทศ โดยรับรู้ว่าการหันเหความสนใจของสหรัฐฯ หมายถึงยุโรปจำเป็นต้องเพิ่มความแข็งแกร่งขึ้นมา . “มันมีความไม่สมดุลเกิดขึ้น ดังนั้นพวกเราจำเป็นต้องทำให้มีความสมดุลกลับคืนมา” พร้อมกับเรียกแนวคิดที่ว่ายุโรปไม่สามารถปกป้องตัวเองว่า “เป็นการดูหมิ่น” . อย่างไรก็ตาม การลดลงใดๆ ของอเมริกาในยุโรปนั้นเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับโดยนาโตด้วยทัศนคติเชิงปฏิบัติ” เขากล่าวพร้อมยืนกรานว่า กองทัพในภูมิภาคจำเป็นต้องเข้ามาแทนที่เพื่ออุดช่องโหว่ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016363 .............. Sondhi X - พวกผู้นำยุโรปที่ร่วมประชุมฉุกเฉินในกรุงปารีส มองต่างมุมเกี่ยวกับการหาวิธีรับมือการกลับลำนโยบายต่อยูเครนของทรัมป์ ฝรั่งเศสและอังกฤษพยายามผลักดันการรับประกันความมั่นคงของเคียฟ โดยที่ผู้นำลอนดอนยอมรับต้องรออเมริกาออกหน้าก่อน แต่เยอรมนีค้านข้อเสนอส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครน
.
ประธานาธิบดีเอมมานูเอล มาครง ของฝรั่งเศส เป็นเจ้าภาพจัดประชุมฉุกเฉินที่ปารีสในวันจันทร์ ขณะที่ยุโรปกังวลว่า ตนเองจะถูกตัดออกจากการเจรจาสันติภาพในยูเครน ซึ่งแม้แต่เคียฟก็ยังถูกเทเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ส่งคณะผู้แทนระดับสูงไปประชุมกับคณะเจ้าหน้าที่รัสเซียที่ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมีกำหนดเริ่มต้นในวันอังคาร (18 ก.พ.) โดยที่ทั้งเคียฟและยุโรปไม่ได้รับเชิญ
.
บรรดาผู้นำยุโรปถกเถียงกันในปารีสเกี่ยวกับการเพิ่มงบประมาณกลาโหมเพื่อลดการพึ่งพิงอเมริกา การรับประกันความมั่นคงของยูเครน ตลอดจนการจัดส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครนหากมีทำข้อตกลงหยุดยิงกับรัสเซีย
.
มาครงเผยเมื่อเช้าวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า ได้หารือทางโทรศัพท์กับทรัมป์ และประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี และได้เรียกร้องการรับประกันความมั่นคงที่เข้มแข็งและเชื่อถือได้สำหรับยูเครน เพื่อให้ข้อตกลงสันติภาพไม่จบแบบเดียวกับข้อตกลงมินสก์ในปี 2014 และ 2015 ที่ไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งในดินแดนด้านตะวันออกของยูเครนได้
.
ผู้นำฝรั่งเศสบอกว่า การกลับสู่ทำเนียบขาวของทรัมป์เทียบได้กับการช็อตด้วยไฟฟ้า แต่เตือนว่าข้อตกลงสันติภาพไม่ควรจบลงที่การยอมจำนน
.
ด้านเซเลนสกีประกาศว่า ยูเครนจะไม่ยอมรับข้อตกลงสันติภาพใดๆ ที่มีการหารือลับหลังโดยที่เคียฟไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง
.
สำหรับนายกรัฐมนตรีดิค ชูฟ ของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเข้าร่วมประชุมที่ปารีสด้วย โพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ว่า ทุกประเทศรับรู้ถึงความจำเป็นเร่งด่วน และในช่วงเวลาที่สำคัญต่อความมั่นคงของยุโรปขณะนี้ ยุโรปต้องสนับสนุนยูเครนต่อไปด้วยการเป็นแกนนำในการรับประกันข้อตกลงใดๆ ก่อนสำทับว่า การร่วมมือกับอเมริกามีความสำคัญเช่นเดียวกัน
.
กระนั้น ยังไม่ชัดเจนว่ายุโรปจะโน้มน้าววอชิงตันอย่างไร หลังจากที่ทรัมป์ทำยูเครนและพันธมิตรยุโรปอึ้งไปตามๆ กันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ด้วยการโทรศัพท์คุยกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ที่ถูกตะวันตกโดดเดี่ยวมาหลายปี โดยไม่ปรึกษาใครในยุโรปเลย
.
นายกรัฐมนตรีเคียร์ สตาร์เมอร์ของอังกฤษที่เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาประกาศว่า พร้อมส่งทหารอังกฤษไปยูเครนถ้าจำเป็น ล่าสุดกลับแบะท่าว่า อเมริกาต้องรับประกันความปลอดภัยก่อน ยุโรปจึงจะสามารถส่งกองกำลังไปยูเครนได้
.
ทว่า ภายหลังการหารือ นายกรัฐมนตรีโอลาฟ ชอลซ์ของเยอรมนี ตั้งข้อสังเกตว่า ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะถกเถียงกันเกี่ยวกับการส่งกองกำลังสันติภาพไปยูเครน เนื่องจากยังคงมีการสู้รบกันอยู่
.
สำหรับนายกรัฐมนตรีโดนัลด์ ทุสค์ของโปแลนด์ กล่าวว่า ทุกคนในที่ประชุมรับรู้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่เฟสใหม่ ขณะที่ตัวเขาเองพูดไว้ตั้งแต่ก่อนเข้าประชุมว่า โปแลนด์จะไม่ส่งทหารเข้าไปในดินแดนยูเครน โดย "โปแลนด์จะสนับสนุนยูเครนแบบเดียวกับที่ทำมาจนถึงตอนนี้ โปแลนด์ให้การสนับสนุนยูเครนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับศักยภาพทางการเงินของเรา ทั้งในแง่ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและด้านการทหาร" เขากล่าว
.
อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป ที่เป็นองค์กรบริหารของอียู ระบุว่า ยูเครนสมควรมีสันติภาพด้วยสถานะที่เข้มแข็ง รวมทั้งได้รับการรับประกันความมั่นคง นอกจากนั้น ความเป็นเอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแห่งดินแดนของยูเครนควรได้รับการเคารพ
.
มาร์ค รึตเตอ เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ประกาศว่า ยุโรปมีความมุ่งมั่นชัดเจนในการสนับสนุนยูเครน
.
นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เมตเทอ เฟรเดริกเซิน กล่าวว่า เดนมาร์กเปิดกว้างในประเด็นการส่งทหารไปยูเครน แต่เตือนว่า คำถามสำคัญคืออเมริกาจะสนับสนุนเรื่องนี้หรือไม่ พร้อมสำทับว่า รัสเซียกำลังคุกคามยุโรปทั้งหมด และเตือนวอชิงตันว่า การเร่งรัดข้อตกลงหยุดยิงจะเปิดโอกาสให้มอสโกระดมพลอีกครั้งเพื่อกลับไปโจมตียูเครนหรือประเทศอื่นในยุโรป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016364
..............
Sondhi Xพวกผู้นำยุโรปที่ร่วมประชุมฉุกเฉินในกรุงปารีส มองต่างมุมเกี่ยวกับการหาวิธีรับมือการกลับลำนโยบายต่อยูเครนของทรัมป์ ฝรั่งเศสและอังกฤษพยายามผลักดันการรับประกันความมั่นคงของเคียฟ โดยที่ผู้นำลอนดอนยอมรับต้องรออเมริกาออกหน้าก่อน แต่เยอรมนีค้านข้อเสนอส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครน . ประธานาธิบดีเอมมานูเอล มาครง ของฝรั่งเศส เป็นเจ้าภาพจัดประชุมฉุกเฉินที่ปารีสในวันจันทร์ ขณะที่ยุโรปกังวลว่า ตนเองจะถูกตัดออกจากการเจรจาสันติภาพในยูเครน ซึ่งแม้แต่เคียฟก็ยังถูกเทเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ส่งคณะผู้แทนระดับสูงไปประชุมกับคณะเจ้าหน้าที่รัสเซียที่ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมีกำหนดเริ่มต้นในวันอังคาร (18 ก.พ.) โดยที่ทั้งเคียฟและยุโรปไม่ได้รับเชิญ . บรรดาผู้นำยุโรปถกเถียงกันในปารีสเกี่ยวกับการเพิ่มงบประมาณกลาโหมเพื่อลดการพึ่งพิงอเมริกา การรับประกันความมั่นคงของยูเครน ตลอดจนการจัดส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครนหากมีทำข้อตกลงหยุดยิงกับรัสเซีย . มาครงเผยเมื่อเช้าวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า ได้หารือทางโทรศัพท์กับทรัมป์ และประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี และได้เรียกร้องการรับประกันความมั่นคงที่เข้มแข็งและเชื่อถือได้สำหรับยูเครน เพื่อให้ข้อตกลงสันติภาพไม่จบแบบเดียวกับข้อตกลงมินสก์ในปี 2014 และ 2015 ที่ไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งในดินแดนด้านตะวันออกของยูเครนได้ . ผู้นำฝรั่งเศสบอกว่า การกลับสู่ทำเนียบขาวของทรัมป์เทียบได้กับการช็อตด้วยไฟฟ้า แต่เตือนว่าข้อตกลงสันติภาพไม่ควรจบลงที่การยอมจำนน . ด้านเซเลนสกีประกาศว่า ยูเครนจะไม่ยอมรับข้อตกลงสันติภาพใดๆ ที่มีการหารือลับหลังโดยที่เคียฟไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง . สำหรับนายกรัฐมนตรีดิค ชูฟ ของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเข้าร่วมประชุมที่ปารีสด้วย โพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ว่า ทุกประเทศรับรู้ถึงความจำเป็นเร่งด่วน และในช่วงเวลาที่สำคัญต่อความมั่นคงของยุโรปขณะนี้ ยุโรปต้องสนับสนุนยูเครนต่อไปด้วยการเป็นแกนนำในการรับประกันข้อตกลงใดๆ ก่อนสำทับว่า การร่วมมือกับอเมริกามีความสำคัญเช่นเดียวกัน . กระนั้น ยังไม่ชัดเจนว่ายุโรปจะโน้มน้าววอชิงตันอย่างไร หลังจากที่ทรัมป์ทำยูเครนและพันธมิตรยุโรปอึ้งไปตามๆ กันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ด้วยการโทรศัพท์คุยกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ที่ถูกตะวันตกโดดเดี่ยวมาหลายปี โดยไม่ปรึกษาใครในยุโรปเลย . นายกรัฐมนตรีเคียร์ สตาร์เมอร์ของอังกฤษที่เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาประกาศว่า พร้อมส่งทหารอังกฤษไปยูเครนถ้าจำเป็น ล่าสุดกลับแบะท่าว่า อเมริกาต้องรับประกันความปลอดภัยก่อน ยุโรปจึงจะสามารถส่งกองกำลังไปยูเครนได้ . ทว่า ภายหลังการหารือ นายกรัฐมนตรีโอลาฟ ชอลซ์ของเยอรมนี ตั้งข้อสังเกตว่า ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะถกเถียงกันเกี่ยวกับการส่งกองกำลังสันติภาพไปยูเครน เนื่องจากยังคงมีการสู้รบกันอยู่ . สำหรับนายกรัฐมนตรีโดนัลด์ ทุสค์ของโปแลนด์ กล่าวว่า ทุกคนในที่ประชุมรับรู้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่เฟสใหม่ ขณะที่ตัวเขาเองพูดไว้ตั้งแต่ก่อนเข้าประชุมว่า โปแลนด์จะไม่ส่งทหารเข้าไปในดินแดนยูเครน โดย "โปแลนด์จะสนับสนุนยูเครนแบบเดียวกับที่ทำมาจนถึงตอนนี้ โปแลนด์ให้การสนับสนุนยูเครนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับศักยภาพทางการเงินของเรา ทั้งในแง่ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและด้านการทหาร" เขากล่าว . อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป ที่เป็นองค์กรบริหารของอียู ระบุว่า ยูเครนสมควรมีสันติภาพด้วยสถานะที่เข้มแข็ง รวมทั้งได้รับการรับประกันความมั่นคง นอกจากนั้น ความเป็นเอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแห่งดินแดนของยูเครนควรได้รับการเคารพ . มาร์ค รึตเตอ เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ประกาศว่า ยุโรปมีความมุ่งมั่นชัดเจนในการสนับสนุนยูเครน . นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เมตเทอ เฟรเดริกเซิน กล่าวว่า เดนมาร์กเปิดกว้างในประเด็นการส่งทหารไปยูเครน แต่เตือนว่า คำถามสำคัญคืออเมริกาจะสนับสนุนเรื่องนี้หรือไม่ พร้อมสำทับว่า รัสเซียกำลังคุกคามยุโรปทั้งหมด และเตือนวอชิงตันว่า การเร่งรัดข้อตกลงหยุดยิงจะเปิดโอกาสให้มอสโกระดมพลอีกครั้งเพื่อกลับไปโจมตียูเครนหรือประเทศอื่นในยุโรป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016364 .............. Sondhi X - ทักษิณได้คืบจะเอาศอก จากเดิมที่ศาลให้ไปต่างประเทศเฉพาะการทำงานในนามรัฐบาล แต่ทักษิณก็พยายามอาศัยช่องทางนี้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว โดยเฉพาะการเดินทางไปยังกัมพูชา
#ทักษิณได้คืบจะเอาศอก #ทักษิณหาช่องออกนอกประเทศ #ทักษิณชินวัตร #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
ทักษิณได้คืบจะเอาศอก จากเดิมที่ศาลให้ไปต่างประเทศเฉพาะการทำงานในนามรัฐบาล แต่ทักษิณก็พยายามอาศัยช่องทางนี้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว โดยเฉพาะการเดินทางไปยังกัมพูชา #ทักษิณได้คืบจะเอาศอก #ทักษิณหาช่องออกนอกประเทศ #ทักษิณชินวัตร #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ - เก็บภาษีความเค็ม เพื่อสร้างสุขภาพที่ดี แต่ไม่แตะบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
.
ข่าวสารบ้านเมืองเวลานี้คนส่วนใหญ่อาจจะให้ความสนใจกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองเป็นหลัก ทำให้ข่าวสารด้านเศรษฐกิจกลายเป็นข่าวกระแสรองไปโดยปริยาย แต่เวลานี้มีเรื่องเศรษฐกิจใกล้ตัวที่ประชาชนควรต้องรับรู้ คือ การออกมาตรการภาษีความเค็ม โดยจะเริ่มจากสินค้าจำพวกขนมคบเคี้ยว
.
ในประเด็นนี้ นางสาวกุลยา ตันติเตมิท อธิบดีกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า กรมสรรพสามิตเตรียมเร่งสรุปแผนการจัดเก็บภาษีสินค้าตัวใหม่ และ ปรับปรุงโครงสร้างภาษีสินค้าที่อยู่ในพิกัด โดยเฉพาะการเก็บภาษีจากสินค้าที่มีส่วนประกอบของโซเดียม หรือภาษีความเค็ม ซึ่งในหลักการกรมสรรพสามิตจะจัดเก็บจากปริมาณการใช้โซเดียมเป็นหลัก เพื่อเป็นการช่วยปรับพฤติกรรมให้ลดการบริโภคโซเดียมลดลง
.
อธิบดีกรมสรรพสามิต ระบุว่า ในเฟสแรกจะเน้นไปที่สินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว ซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่ค่อยมีความจำเป็นในการบริโภคเมื่อเทียบกับสินค้าอื่น ส่วนสินค้าที่เป็นประเภทเครื่องปรุง และบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยังไม่อยู่ในแผนการจัดเก็บ ทั้งนี้ ได้หารือร่วมกับภาคเอกชน เพื่อให้มีการปรับตัวรองรับการจัดเก็บภาษีดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ดี สำหรับการจัดเก็บจริงนั้น ทางกรมฯก็จะให้เวลาภาคเอกชนในการปรับตัวเช่นเดียวกันกับการจัดเก็บภาษีความหวาน คือการนับอัตราแบบขั้นบันได เพื่อเวลาผู้ประกอบการได้ปรับตัว โดยเรื่องการเก็บภาษีความเค็มนั้น เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชาชน
.
สำหรับการจัดเก็บภาษีความเค็ม เป็นมาตรการใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้นเพิ่มเติมจากเดิมที่ก่อนหน้านี้ หน่วยงานภาครัฐได้กำหนดการจัดเก็บภาษีความหวานที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 2566 กล่าวคือ ปริมาณน้ำตาล 6-8 กรัม คิดอัตราภาษี 0.3 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 8-10 กรัม คิดอัตราภาษี 1 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 10-14 กรัม คิดอัตราภาษี 3 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 14-18 กรัม คิดอัตราภาษี 5 บาทต่อลิตร และปริมาณน้ำตาล ตั้งแต่ 18 กรัม คิดอัตราภาษี 5 บาทต่อลิตร
...............
Sondhi Xเก็บภาษีความเค็ม เพื่อสร้างสุขภาพที่ดี แต่ไม่แตะบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป . ข่าวสารบ้านเมืองเวลานี้คนส่วนใหญ่อาจจะให้ความสนใจกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองเป็นหลัก ทำให้ข่าวสารด้านเศรษฐกิจกลายเป็นข่าวกระแสรองไปโดยปริยาย แต่เวลานี้มีเรื่องเศรษฐกิจใกล้ตัวที่ประชาชนควรต้องรับรู้ คือ การออกมาตรการภาษีความเค็ม โดยจะเริ่มจากสินค้าจำพวกขนมคบเคี้ยว . ในประเด็นนี้ นางสาวกุลยา ตันติเตมิท อธิบดีกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า กรมสรรพสามิตเตรียมเร่งสรุปแผนการจัดเก็บภาษีสินค้าตัวใหม่ และ ปรับปรุงโครงสร้างภาษีสินค้าที่อยู่ในพิกัด โดยเฉพาะการเก็บภาษีจากสินค้าที่มีส่วนประกอบของโซเดียม หรือภาษีความเค็ม ซึ่งในหลักการกรมสรรพสามิตจะจัดเก็บจากปริมาณการใช้โซเดียมเป็นหลัก เพื่อเป็นการช่วยปรับพฤติกรรมให้ลดการบริโภคโซเดียมลดลง . อธิบดีกรมสรรพสามิต ระบุว่า ในเฟสแรกจะเน้นไปที่สินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว ซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่ค่อยมีความจำเป็นในการบริโภคเมื่อเทียบกับสินค้าอื่น ส่วนสินค้าที่เป็นประเภทเครื่องปรุง และบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยังไม่อยู่ในแผนการจัดเก็บ ทั้งนี้ ได้หารือร่วมกับภาคเอกชน เพื่อให้มีการปรับตัวรองรับการจัดเก็บภาษีดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ดี สำหรับการจัดเก็บจริงนั้น ทางกรมฯก็จะให้เวลาภาคเอกชนในการปรับตัวเช่นเดียวกันกับการจัดเก็บภาษีความหวาน คือการนับอัตราแบบขั้นบันได เพื่อเวลาผู้ประกอบการได้ปรับตัว โดยเรื่องการเก็บภาษีความเค็มนั้น เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชาชน . สำหรับการจัดเก็บภาษีความเค็ม เป็นมาตรการใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้นเพิ่มเติมจากเดิมที่ก่อนหน้านี้ หน่วยงานภาครัฐได้กำหนดการจัดเก็บภาษีความหวานที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 2566 กล่าวคือ ปริมาณน้ำตาล 6-8 กรัม คิดอัตราภาษี 0.3 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 8-10 กรัม คิดอัตราภาษี 1 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 10-14 กรัม คิดอัตราภาษี 3 บาทต่อลิตร ปริมาณน้ำตาล 14-18 กรัม คิดอัตราภาษี 5 บาทต่อลิตร และปริมาณน้ำตาล ตั้งแต่ 18 กรัม คิดอัตราภาษี 5 บาทต่อลิตร ............... Sondhi X - เปิดร่างกฎหมายกาสิโน ขีดเส้นให้มีแค่ 10% เท่านั้น ภาคประชาชนค้านเต็มกำลัง
.
มาถึงชั่วโมงนี้แม้ว่าจะมีกระแสต่อต้านการเปิดกาสิโนถูกกฎหมาย แต่คงเป็นเรื่องยากที่รัฐบาลจะทบทวนตามข้อเรียกร้องของภาคประชาชน ภายหลังล่าสุดเว็บไซต์ระบบกลางทางกฎหมาย ได้เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ปี พ.ศ. .... หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นร่างผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระที่ 1 เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชน ระหว่างวันที่ 15 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2568
.
สาระสำคัญในพระราชบัญญัติดังกล่าว มีการระบุสัดส่วนชัดเจนของกาสิโนตามมาตรา 18 ( 6) ที่กำหนดสัดส่วนพื้นที่ของกาสิโนในสถานบันเทิงครบวงจร ทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานบันเทิงครบวงจร ในกรณีที่กาสิโนตั้งอยู่ในอาคารใดให้นับจากพื้นที่อาคารนั้นทั้งหมด
.
นอกจากนี้ มาตรา 46 ในการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ต้องกำหนดให้มีใบอนุญาตตามจำนวนกิจการหรือธุรกิจในสถานบันเทิงตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัตินี้อย่างน้อยสี่ประเภท ร่วมกับกาสิโน และให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตในกิจการใดกิจการหนึ่ง เป็นผู้ได้รับอนุญาตในกิจการอื่นที่ประกอบกันเป็นสถานบันเทิงครบวงจร โดยไม่ต้องยื่นคำขอมีใบอนุญาตเป็นรายกิจการใหม่อีก และให้ระบุการได้รับอนุญาตสำหรับกิจการที่ได้รับอนุญาตหรือใบอนุญาตอื่นให้ชัดแจ้งไว้ในใบอนุญาตทุกใบด้วย
.
มาตรา 63 ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการดังนี้ (1) จัดให้มีเขตบริเวณของกาสิโนซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากสถานประกอบธุรกิจสถานบันเทิงอื่นโดยมีรั้วและประตูทางเข้าแยกจากสถานประกอบธุรกิจอื่น เว้นแต่เป็นธุรกิจที่อยู่ในกาสิโนเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเล่นพนัน (2) มีการควบคุมการเข้าออกโดย มีการตรวจสอบและลงทะเบียนหนังสือเดินทางหรือบัตรประชาชนหรือเอกสารระบุตัวตนอื่น พร้อมทั้งภาพถ่ายใบหน้า(4) ตรวจสอบผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันให้เป็นไปตามมาตรา 64 และมาตรา 65
.
ด้าน กลุ่มเครือข่ายประชาชน นำโดย นายพิชิต ไชยมงคล และ นายนัสเซอร์ ยีหมะ ตัวแทนเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) นายใจเพชร กล้าจน ตัวแทนกองทัพธรรม และ นายอานนท์ กลิ่นแก้ว ตัวแทนศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) เดินทางมายื่นหนังสือคัดค้านการเปิดกาสิโนในประเทศไทย
.
เนื้อหาในหนังสือระบุว่า ขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกากำลังพิจารณาร่าง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. …. ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี แต่พบว่ามีการบรรจุ “กาสิโน” ไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าวด้วย ซึ่งกลุ่มผู้คัดค้านเปรียบเปรยว่า เป็นเหมือนการแอบผสมสารพิษลงในอาหาร แม้จะมีสัดส่วนเพียง 10% ของพื้นที่สถานบันเทิงตามมาตรา 18 (6) ของร่างกฎหมาย แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้
.
การพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล ไม่มีความจำเป็นต้องพึ่งกาสิโน เพราะธุรกิจการพนันมีแต่จะทำให้คุณภาพของสังคมไทยเสื่อมโทรมลง และนำไปสู่ปัญหาสังคมในอนาคต พวกเขาจึงเสนอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาข้อเสนอของภาคประชาชนและแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีให้รับทราบถึงความห่วงใยของประชาชนต่อเรื่องนี้
..............
Sondhi Xเปิดร่างกฎหมายกาสิโน ขีดเส้นให้มีแค่ 10% เท่านั้น ภาคประชาชนค้านเต็มกำลัง . มาถึงชั่วโมงนี้แม้ว่าจะมีกระแสต่อต้านการเปิดกาสิโนถูกกฎหมาย แต่คงเป็นเรื่องยากที่รัฐบาลจะทบทวนตามข้อเรียกร้องของภาคประชาชน ภายหลังล่าสุดเว็บไซต์ระบบกลางทางกฎหมาย ได้เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ปี พ.ศ. .... หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นร่างผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระที่ 1 เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชน ระหว่างวันที่ 15 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2568 . สาระสำคัญในพระราชบัญญัติดังกล่าว มีการระบุสัดส่วนชัดเจนของกาสิโนตามมาตรา 18 ( 6) ที่กำหนดสัดส่วนพื้นที่ของกาสิโนในสถานบันเทิงครบวงจร ทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละสิบของที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานบันเทิงครบวงจร ในกรณีที่กาสิโนตั้งอยู่ในอาคารใดให้นับจากพื้นที่อาคารนั้นทั้งหมด . นอกจากนี้ มาตรา 46 ในการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร ต้องกำหนดให้มีใบอนุญาตตามจำนวนกิจการหรือธุรกิจในสถานบันเทิงตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัตินี้อย่างน้อยสี่ประเภท ร่วมกับกาสิโน และให้ถือว่าผู้ได้รับใบอนุญาตในกิจการใดกิจการหนึ่ง เป็นผู้ได้รับอนุญาตในกิจการอื่นที่ประกอบกันเป็นสถานบันเทิงครบวงจร โดยไม่ต้องยื่นคำขอมีใบอนุญาตเป็นรายกิจการใหม่อีก และให้ระบุการได้รับอนุญาตสำหรับกิจการที่ได้รับอนุญาตหรือใบอนุญาตอื่นให้ชัดแจ้งไว้ในใบอนุญาตทุกใบด้วย . มาตรา 63 ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการดังนี้ (1) จัดให้มีเขตบริเวณของกาสิโนซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากสถานประกอบธุรกิจสถานบันเทิงอื่นโดยมีรั้วและประตูทางเข้าแยกจากสถานประกอบธุรกิจอื่น เว้นแต่เป็นธุรกิจที่อยู่ในกาสิโนเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเล่นพนัน (2) มีการควบคุมการเข้าออกโดย มีการตรวจสอบและลงทะเบียนหนังสือเดินทางหรือบัตรประชาชนหรือเอกสารระบุตัวตนอื่น พร้อมทั้งภาพถ่ายใบหน้า(4) ตรวจสอบผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันให้เป็นไปตามมาตรา 64 และมาตรา 65 . ด้าน กลุ่มเครือข่ายประชาชน นำโดย นายพิชิต ไชยมงคล และ นายนัสเซอร์ ยีหมะ ตัวแทนเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) นายใจเพชร กล้าจน ตัวแทนกองทัพธรรม และ นายอานนท์ กลิ่นแก้ว ตัวแทนศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) เดินทางมายื่นหนังสือคัดค้านการเปิดกาสิโนในประเทศไทย . เนื้อหาในหนังสือระบุว่า ขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกากำลังพิจารณาร่าง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. …. ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี แต่พบว่ามีการบรรจุ “กาสิโน” ไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าวด้วย ซึ่งกลุ่มผู้คัดค้านเปรียบเปรยว่า เป็นเหมือนการแอบผสมสารพิษลงในอาหาร แม้จะมีสัดส่วนเพียง 10% ของพื้นที่สถานบันเทิงตามมาตรา 18 (6) ของร่างกฎหมาย แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้ . การพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล ไม่มีความจำเป็นต้องพึ่งกาสิโน เพราะธุรกิจการพนันมีแต่จะทำให้คุณภาพของสังคมไทยเสื่อมโทรมลง และนำไปสู่ปัญหาสังคมในอนาคต พวกเขาจึงเสนอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาข้อเสนอของภาคประชาชนและแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีให้รับทราบถึงความห่วงใยของประชาชนต่อเรื่องนี้ .............. Sondhi X - อิหร่านระบุคำขู่ของสหรัฐฯ และอิสราเอลที่มีกับเตหะราน ถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างโจ่งแจ้ง พร้อมเตือนทั้ง 2 ชาติ อย่าได้ทำสิ่งที่น่ารังเกียจกับอิหร่าน
.
ถ้อยแถลงนี้มีขึ้นหลังจาก เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล พบปะกับ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในเยรูซาเลม เมื่อวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) และบอกว่าทั้ง 2 ประเทศ มีความมั่งมุ่นทำลายความทะเยอทะยานทางนิวเคลียร์ของอิหร่าน และอิทธิพลของเตหะรานในตะวันออกกลาง
.
เนทันยาฮู อวดอ้างว่าอิสราเอลก่อความเสียหายอย่างหนักแก่อิหร่าน นับตั้งแต่สงครามในกาซาเริ่มต้นขึ้น และบอกว่าภายใต้แรงสนับสนุนของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ "ผมไม่สงสัยเลยว่าเราสามารถและจะปิดฉากงานนี้"
.
ระหว่างแถลงข่าวกับสื่อมวลชนรายสัปดาห์เมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) เอสมาอิล เบกาอี โฆษกกระทรวงการต่างประเทศอิหร่าน ตอบโต้ว่า "เมื่อเป็นเรื่องของประเทศหนึ่งๆ อย่างอิหร่าน พวกเขาไม่อาจทำในสิ่งที่น่ารังเกียจ คุณไม่อาจข่มขู่อิหร่านด้วยมือข้างหนึ่ง แล้วอีกข้างหนึ่งอวดอ้างสนับสนุนการเจรจา"
.
ทรัมป์ แสดงออกเปิดกว้างสำหรับเจรจาตกลงกับเตหะราน แต่ขณะเดียวก็คืนสถานะยุทธการ "กดดันขั้นสูงสุด" ต่ออิหร่าน นโยบายที่เขาเคยใช้ครั้งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ สมัยแรก เพื่อหยุดเตหะรานจากการมีอาวุธนิวเคลียร์ในครอบครอง
.
เมื่อช่วงต้นที่ผ่านมา อยาตอลเลาะห์ อาลี คอเมเนอี ผู้นำสูงสุดของอิหร่าน บอกว่าไม่ควรมีการเจรจากับสหรัฐฯ ไม่กี่วันหลังจาก ทรัมป์ เรียกร้องให้มีข้อตกลงนิวเคลียร์ฉบับใหม่ ขณะที่ผู้นำสูงสุดของอิหร่านรายนี้เคยวิพากษ์รัฐบาลทรัมป์ชุดก่อน ว่าไม่ยึดถือคำมั่นสัญญา
.
"คุณไม่ควรเจรจากับรัฐบาลแบบนั้น มันไม่ฉลาด ไม่ชาญฉลาด ไม่เป็นเกียรติที่จะเจรจา" คาเมเนอีกล่าวระหว่างการประชุมกับผู้บัญชาการกองทัพ "สหรัฐฯ เคยทำลาย ละเมิด และฉีกข้อตกลงนิวเคลียร์มาก่อน และบุคคลเดียวกันที่อยู่ในอำนาจในตอนนี้ คือคนที่ฉีกสัญญา”
.
ในปี 2018 ทรัมป์ถอนสหรัฐฯ ออกจากข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่าน ที่ทางเตหะรานทำไว้กับบรรดามหาอำนาจโลกในปี 2015 และกลับมากำหนดมาตรการคว่ำบาตรอีกรอบ เพื่อฉีกเศรษฐกิจอิหร่านเป็นชิ้นๆ
.
หนึ่งปีหลังจากนั้น อิหร่านตอบโต้การละเมิดข้อตกลงควบคุมนิวเคลียร์ ด้วยการเร่งเสริมสมรรถนะยูเรเนียมให้มีความบริสุทธิ์ 60% เข้าใกล้ระดับราว 90% ที่จำเป็นสำหรับเกรดผลิตอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตาม เตหะรานยืนกรานว่าโครงการนิวเคลียร์ของพวกเขามีจุดประสงค์ทางสันติแต่เพียงอย่างเดียว
.
แม้ถ้อยแถลงของโฆษกกระทรวงการต่างประเทศอิหร่าน ใช้ถ้อยคำที่แข็งกร้าว แต่ดูเหมือนอิทธิพลของเตหะรานทั่วภูมิภาคตะวันออกกลางจะอ่อนแอลงอย่างมาก ในขณะที่พันธมิตรต่างๆ ของพวกเขาในภูมิภาค ที่รู้จักกันในฐานะ "อักษะแห่งการต่อต้าน" ทั้งถูกถอนรากถอนโคนหรือไม่ก็ได้รับความเสียหายร้ายแรง นับตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างฮามาส-อิสราเอลเริ่มต้นขึ้นในกาซา และการล่มสลายของอดีตประธานาธิบดีบาชาร์ อัล อัสซาด ในซีเรีย เมื่อเดือนธันวาคม
.
อักษะแห่งการต่อต้านนี้ ไม่ได้มีเฉพาะแค่ฮามาส แต่ยังรวมไปถึงพวกฮิซบอลเลาะห์ในเลบานอน กบฏฮูตีในเยเมน และกลุ่มติดอาวุธชีอะห์ต่างๆ ในอิรักและซีเรีย
.
ตลอด 16 เดือนนับตั้งแต่สงครามกาซาปะทุขึ้น อิสราเอลได้ลอบสังหารพวกผู้นำของฮามาสและฮิซบอลเลาะห์ไปแล้วหลายคน ในขณะที่อิหร่านและอิหร่านปฏิบัติการโจมตีอย่างจำกัด ตอบโต้กันไปมาแล้วหลายรอบ
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015978
..............
Sondhi Xอิหร่านระบุคำขู่ของสหรัฐฯ และอิสราเอลที่มีกับเตหะราน ถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างโจ่งแจ้ง พร้อมเตือนทั้ง 2 ชาติ อย่าได้ทำสิ่งที่น่ารังเกียจกับอิหร่าน . ถ้อยแถลงนี้มีขึ้นหลังจาก เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล พบปะกับ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ในเยรูซาเลม เมื่อวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) และบอกว่าทั้ง 2 ประเทศ มีความมั่งมุ่นทำลายความทะเยอทะยานทางนิวเคลียร์ของอิหร่าน และอิทธิพลของเตหะรานในตะวันออกกลาง . เนทันยาฮู อวดอ้างว่าอิสราเอลก่อความเสียหายอย่างหนักแก่อิหร่าน นับตั้งแต่สงครามในกาซาเริ่มต้นขึ้น และบอกว่าภายใต้แรงสนับสนุนของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ "ผมไม่สงสัยเลยว่าเราสามารถและจะปิดฉากงานนี้" . ระหว่างแถลงข่าวกับสื่อมวลชนรายสัปดาห์เมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) เอสมาอิล เบกาอี โฆษกกระทรวงการต่างประเทศอิหร่าน ตอบโต้ว่า "เมื่อเป็นเรื่องของประเทศหนึ่งๆ อย่างอิหร่าน พวกเขาไม่อาจทำในสิ่งที่น่ารังเกียจ คุณไม่อาจข่มขู่อิหร่านด้วยมือข้างหนึ่ง แล้วอีกข้างหนึ่งอวดอ้างสนับสนุนการเจรจา" . ทรัมป์ แสดงออกเปิดกว้างสำหรับเจรจาตกลงกับเตหะราน แต่ขณะเดียวก็คืนสถานะยุทธการ "กดดันขั้นสูงสุด" ต่ออิหร่าน นโยบายที่เขาเคยใช้ครั้งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ สมัยแรก เพื่อหยุดเตหะรานจากการมีอาวุธนิวเคลียร์ในครอบครอง . เมื่อช่วงต้นที่ผ่านมา อยาตอลเลาะห์ อาลี คอเมเนอี ผู้นำสูงสุดของอิหร่าน บอกว่าไม่ควรมีการเจรจากับสหรัฐฯ ไม่กี่วันหลังจาก ทรัมป์ เรียกร้องให้มีข้อตกลงนิวเคลียร์ฉบับใหม่ ขณะที่ผู้นำสูงสุดของอิหร่านรายนี้เคยวิพากษ์รัฐบาลทรัมป์ชุดก่อน ว่าไม่ยึดถือคำมั่นสัญญา . "คุณไม่ควรเจรจากับรัฐบาลแบบนั้น มันไม่ฉลาด ไม่ชาญฉลาด ไม่เป็นเกียรติที่จะเจรจา" คาเมเนอีกล่าวระหว่างการประชุมกับผู้บัญชาการกองทัพ "สหรัฐฯ เคยทำลาย ละเมิด และฉีกข้อตกลงนิวเคลียร์มาก่อน และบุคคลเดียวกันที่อยู่ในอำนาจในตอนนี้ คือคนที่ฉีกสัญญา” . ในปี 2018 ทรัมป์ถอนสหรัฐฯ ออกจากข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่าน ที่ทางเตหะรานทำไว้กับบรรดามหาอำนาจโลกในปี 2015 และกลับมากำหนดมาตรการคว่ำบาตรอีกรอบ เพื่อฉีกเศรษฐกิจอิหร่านเป็นชิ้นๆ . หนึ่งปีหลังจากนั้น อิหร่านตอบโต้การละเมิดข้อตกลงควบคุมนิวเคลียร์ ด้วยการเร่งเสริมสมรรถนะยูเรเนียมให้มีความบริสุทธิ์ 60% เข้าใกล้ระดับราว 90% ที่จำเป็นสำหรับเกรดผลิตอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตาม เตหะรานยืนกรานว่าโครงการนิวเคลียร์ของพวกเขามีจุดประสงค์ทางสันติแต่เพียงอย่างเดียว . แม้ถ้อยแถลงของโฆษกกระทรวงการต่างประเทศอิหร่าน ใช้ถ้อยคำที่แข็งกร้าว แต่ดูเหมือนอิทธิพลของเตหะรานทั่วภูมิภาคตะวันออกกลางจะอ่อนแอลงอย่างมาก ในขณะที่พันธมิตรต่างๆ ของพวกเขาในภูมิภาค ที่รู้จักกันในฐานะ "อักษะแห่งการต่อต้าน" ทั้งถูกถอนรากถอนโคนหรือไม่ก็ได้รับความเสียหายร้ายแรง นับตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างฮามาส-อิสราเอลเริ่มต้นขึ้นในกาซา และการล่มสลายของอดีตประธานาธิบดีบาชาร์ อัล อัสซาด ในซีเรีย เมื่อเดือนธันวาคม . อักษะแห่งการต่อต้านนี้ ไม่ได้มีเฉพาะแค่ฮามาส แต่ยังรวมไปถึงพวกฮิซบอลเลาะห์ในเลบานอน กบฏฮูตีในเยเมน และกลุ่มติดอาวุธชีอะห์ต่างๆ ในอิรักและซีเรีย . ตลอด 16 เดือนนับตั้งแต่สงครามกาซาปะทุขึ้น อิสราเอลได้ลอบสังหารพวกผู้นำของฮามาสและฮิซบอลเลาะห์ไปแล้วหลายคน ในขณะที่อิหร่านและอิหร่านปฏิบัติการโจมตีอย่างจำกัด ตอบโต้กันไปมาแล้วหลายรอบ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015978 .............. Sondhi X - เครื่องบินโดยสารลำหนึ่งของสายการบินเดลตา แอร์ไลน์ส พลิกหงายท้องหลังลงจอดกระแทกที่สนามบินโทรอนโต เพียร์สัน ในแคนาดา ท่ามกลางลมแรง สืบเนื่องจากพายุหิมะ ในวันจันทร์ (17 ก.พ.) ส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 15 ราย จากทั้งหมด 80 คนบนเครื่องบิน ตามการเปิดเผยของพวกเจ้าหน้าที่
.
ในบรรดาผู้ได้รับบาดเจ็บนั้น มีอยู่ 3 รายที่อาการสาหัส ในนั้นมีเด็กรวมอยู่ด้วย 1 คน
.
สายการบินเดลตา เปิดเผยว่าเครื่องบิน CRJ900 ที่ปฏิบัติการโดยสายการบินลูก "เอ็นเดเวอร์แอร์" เป็นเครื่องบินลำที่ประสบอุบัติเหตุ โดยมันบรรทุกผู้โดยสาร 76 คนและลูกเรือ 4 คน ทั้งนี้ CRJ900 ผลิตโดยบริษัทบอมบาร์เดียร์ของแคนาดา บรรทุกได้สูงสุด 90 คน
.
สาเหตุของอุบัติเหตุครั้งนี้ยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่ผู้ใช้บนสื่อสังคมออนไลน์รายหนึ่งโพสต์วิดีโอหลังเกิดเหตุ เป็นภาพรถดับเพลิงกำลังฉีดน้ำเข้าใส่เครื่องบิน ที่พลิกหงายท้องอยู่บนรันเวย์ที่ถูกปกคลุมไปด้วยหิมะ
.
"เราอยู่ในโทรอนโต เราเพิ่งลงจอด เครื่องบินของเรากระแทกและมันพลิกหงายท้อง หน่วยดับเพลิงอยู่ในที่เกิดเหตุแล้ว แม้พลิกหงายท้อง แต่ทุกๆ คน ผู้คนเกือบทั้งหมดปลอดภัยดี เรากำลังออกไป มีควันคลุ้งออกมาบ้าง" จอห์น เบลสัน ผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งบรรยายภาพในวิดีโอ
.
ท่าอากาศยานเพียร์สัน บอกก่อนหน้านี้ในวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่ากำลังรับมือกับลมแรงและอุณหภูมิเย็นยะเยือก ส่วนสายการบินต่างๆ ก็พยายามบริหารจัดการกับเที่ยวบินต่างๆ ที่ต้องยกเลิก หลังจากพายุหิมะในช่วงสุดสัปดาห์ ที่เทหิมะลงมาหนาถึง 22 เซนติเมตร บริเวณสนามบิน
.
ในบรรดาผู้ได้รับบาดเจ็บ 15 ราย มีอยู่ 2 คนที่ถูกลำเลียงทางอากาศไปยังศูนย์อุบัติเหตุ ส่วนเด็กถูกพาไปยังโรงพยาบาลเด็กแห่งหนึ่ง ขณะที่อีก 12 ที่เหลือ ถูกส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาล "เราไม่มีผู้เสียชีวิต และเราพบตัวลูกเรือและผู้โดยสารทั้งหมดแล้ว" หัวหน้าหน่วยการแพทย์ฉุกเฉินระบุ
.
สนามบินโทรอนโต ต้องปิดทำการเป็นเวลา 90 นาที ก่อนกลับมาเปิดปฏิบัติการทั้งเที่ยวบินขาเข้าและขาออกหลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม มันทำให้หลายเที่ยวบินต้องเบี่ยงไปลงจอดที่ท่าอากาศยานอื่นๆ และก่อปัญหาดีเลย์ตามสนามบินนั้นๆ ในนั้นรวมถึงสนามบินทรูโด ในมอนทรีออล ที่เผยว่ากำลังเตรียมพร้อมรองรับอีกหลายเที่ยวบินที่ต้องเบี่ยงมาลงจอด ซึ่งแน่นอนว่ามันอาจก่อปัญหาล่าช้าเพิ่มเติม
.
คณะกรรมการความปลอดภัยด้านการขนส่งของแคนาดา (TSB) เผยว่ากำลังส่งคณะทำงานลงพื้นที่เพื่อทำการสืบสวน ส่วนคณะกรรมการความปลอดภัยด้านการขนส่งแห่งชาติสหรัฐฯ เผยว่าทีมสืบสวนของพวกเขาจะเข้าข่วยเหลือทีมงานของ TSB ด้วยเช่นกัน
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015977
..............
Sondhi Xเครื่องบินโดยสารลำหนึ่งของสายการบินเดลตา แอร์ไลน์ส พลิกหงายท้องหลังลงจอดกระแทกที่สนามบินโทรอนโต เพียร์สัน ในแคนาดา ท่ามกลางลมแรง สืบเนื่องจากพายุหิมะ ในวันจันทร์ (17 ก.พ.) ส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 15 ราย จากทั้งหมด 80 คนบนเครื่องบิน ตามการเปิดเผยของพวกเจ้าหน้าที่ . ในบรรดาผู้ได้รับบาดเจ็บนั้น มีอยู่ 3 รายที่อาการสาหัส ในนั้นมีเด็กรวมอยู่ด้วย 1 คน . สายการบินเดลตา เปิดเผยว่าเครื่องบิน CRJ900 ที่ปฏิบัติการโดยสายการบินลูก "เอ็นเดเวอร์แอร์" เป็นเครื่องบินลำที่ประสบอุบัติเหตุ โดยมันบรรทุกผู้โดยสาร 76 คนและลูกเรือ 4 คน ทั้งนี้ CRJ900 ผลิตโดยบริษัทบอมบาร์เดียร์ของแคนาดา บรรทุกได้สูงสุด 90 คน . สาเหตุของอุบัติเหตุครั้งนี้ยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่ผู้ใช้บนสื่อสังคมออนไลน์รายหนึ่งโพสต์วิดีโอหลังเกิดเหตุ เป็นภาพรถดับเพลิงกำลังฉีดน้ำเข้าใส่เครื่องบิน ที่พลิกหงายท้องอยู่บนรันเวย์ที่ถูกปกคลุมไปด้วยหิมะ . "เราอยู่ในโทรอนโต เราเพิ่งลงจอด เครื่องบินของเรากระแทกและมันพลิกหงายท้อง หน่วยดับเพลิงอยู่ในที่เกิดเหตุแล้ว แม้พลิกหงายท้อง แต่ทุกๆ คน ผู้คนเกือบทั้งหมดปลอดภัยดี เรากำลังออกไป มีควันคลุ้งออกมาบ้าง" จอห์น เบลสัน ผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งบรรยายภาพในวิดีโอ . ท่าอากาศยานเพียร์สัน บอกก่อนหน้านี้ในวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่ากำลังรับมือกับลมแรงและอุณหภูมิเย็นยะเยือก ส่วนสายการบินต่างๆ ก็พยายามบริหารจัดการกับเที่ยวบินต่างๆ ที่ต้องยกเลิก หลังจากพายุหิมะในช่วงสุดสัปดาห์ ที่เทหิมะลงมาหนาถึง 22 เซนติเมตร บริเวณสนามบิน . ในบรรดาผู้ได้รับบาดเจ็บ 15 ราย มีอยู่ 2 คนที่ถูกลำเลียงทางอากาศไปยังศูนย์อุบัติเหตุ ส่วนเด็กถูกพาไปยังโรงพยาบาลเด็กแห่งหนึ่ง ขณะที่อีก 12 ที่เหลือ ถูกส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาล "เราไม่มีผู้เสียชีวิต และเราพบตัวลูกเรือและผู้โดยสารทั้งหมดแล้ว" หัวหน้าหน่วยการแพทย์ฉุกเฉินระบุ . สนามบินโทรอนโต ต้องปิดทำการเป็นเวลา 90 นาที ก่อนกลับมาเปิดปฏิบัติการทั้งเที่ยวบินขาเข้าและขาออกหลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม มันทำให้หลายเที่ยวบินต้องเบี่ยงไปลงจอดที่ท่าอากาศยานอื่นๆ และก่อปัญหาดีเลย์ตามสนามบินนั้นๆ ในนั้นรวมถึงสนามบินทรูโด ในมอนทรีออล ที่เผยว่ากำลังเตรียมพร้อมรองรับอีกหลายเที่ยวบินที่ต้องเบี่ยงมาลงจอด ซึ่งแน่นอนว่ามันอาจก่อปัญหาล่าช้าเพิ่มเติม . คณะกรรมการความปลอดภัยด้านการขนส่งของแคนาดา (TSB) เผยว่ากำลังส่งคณะทำงานลงพื้นที่เพื่อทำการสืบสวน ส่วนคณะกรรมการความปลอดภัยด้านการขนส่งแห่งชาติสหรัฐฯ เผยว่าทีมสืบสวนของพวกเขาจะเข้าข่วยเหลือทีมงานของ TSB ด้วยเช่นกัน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015977 .............. Sondhi X - ประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน กล่าวระหว่างให้สัมภาษณ์สหรัฐฯกำลังพยายาม "สร้างความพึงพอใจ" แก่รัสเซีย ในการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน และเตือนถึงความอ่อนแอทางทหารของยุโรป
.
ในปฏิกิริยาที่มีต่อท่าทีของพวกเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ที่แสดงความคิดเห็นต่างๆ ไปในทิศทางประนีประนอมกับรัสเซีย ทางเซเลนสกีกล่าวว่า "เวลานี้ สหรัฐฯ กำลังพูดในสิ่งต่างๆ ที่เป็นผลดีกับปูตินมากๆ เพราะพวกเขาอยากสร้างความพึงพอใจแก่เขา" ผู้นำยูเครนระบุ ระหว่างการให้สัมภาษณ์ที่บันทึกเทปเอาไว้ ในเมืองมิวนิกเมื่อวันเสาร์ (15 ก.พ.)
.
"พวกต้องการพบปะกันอย่างเร่งด่วนและมีชัยอย่างรวดเร็ว แต่สิ่งที่พวกเขาอยากได้ก็แค่ข้อตกลงหยุดยิง ไม่ใช่ชัยชนะ" เซเลนสกีกล่าว
.
ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว สร้างความตกตะลึงแก่บรรดาพันธมิตร ด้วยการเปิดเผยว่าเขาได้พูดคุยโดยตรงกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เกี่ยวกับกระบวนการเดินหน้ายุติสงครามในยูเครนอย่างรวดเร็ว
.
ขณะเดียวกัน พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ก็ดูเหมือนจะตัดความเป็นไปได้ที่ยูเครนจะเข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกนาโต หรือทวงคืนดินแดนทั้งหมดที่สูญเสียไปตั้งแต่ปี 2014
.
ในแนวโน้มของข้อตกลงใดๆ ในอนาคต เซเลนสกีบอกว่า "เราจะไม่ลงนามสิ่งใดเพียงเพื่อได้รับเสียงชื่นชม และขอเน้นย้ำว่าชะตากรรมของประเทศของเราสำหรับหลายชั่วอายุคนกำลังตกอยู่ในความเสี่ยง" เขากล่าว พร้อมปฏิเสธความคิดยอมสละดินแดนของยูเครนที่ถูกรัสเซียยึดไป "เราจะทวงคืนมันทั้งหมด"
.
คำกล่าวนี้ของเซเลนสกี เป็นเทปบันทึกการสัมภาษณ์ซึ่งมีขึ้นระหว่างการประชุมความมั่นคงที่เมืองมิวนิก เป็นเวลา 3 วัน สิ้นสุดในวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) ก่อนหน้านี้พวกผู้ยุโรปจะจัดประชุมหารือฉุกเฉินในกรุงปารีส เพื่อระดมวิธีรับมืออเมริกา หลังจากตลอดสัปดาห์ที่แล้วคณะบริหารทรัมป์เดินเกมรุกทางการทูตที่ดูเหมือนอ้าแขนรับรัสเซียและเมินเฉยทอดทิ้งพันธมิตรเก่าแก่อย่างยุโรป และเวลานี้ยังอยู่ระหว่างการพูดคุย
.
ประธานาธิบดียูเครนเตือนว่ายุโรปจะอยู่ในสถานะอ่อนแอ หากไม่อาจพึ่งพิงร่มเงาความมั่นคงของสหรัฐฯ "แม้มีการยกระดับความพร้อมในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในแง่ของความเข้มแข็งทางทหาร จำนวนของกำลังพลสู้รบ กองเรือ กองทัพอากาศและโดรน แต่ผมคิดโดยสัตย์จริงว่า ณ วันนี้ ยุโรปนั้นอ่อนแอ"
.
เซเลนสกี อ้างว่า ยูเครน มีความยืดหยุ่นมากขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา และ "ปูตินไม่สามารถรุกรานยึดครองเรา ในหนทางที่เขาต้องการ" อย่างไรก็ตามเขาเตือนว่า "ยูเครนจะไม่อาจได้รับชัยชนะหากปราศจากแรงสนับสนุนจากอเมริกา"
.
ผู้นำยูเครนเผยด้วยว่าเขาและทรัมป์ได้พูดคุยกันเกี่ยวกับการประจำการทหารต่างชาติ เพื่อพิทักษ์ข้อตกลงหยุดยิงใดๆ ในอนาคต "ผมบอกกับเขาไปว่า อเมริกาควรเป็นส่วนหนึ่งในสิ่งนี้ เพราะไม่เช่นนั้น เราอาจสูญเสียความเป็นหนึ่งเดียวกัน"
.
ณ ที่ประชุมบรรดาผู้สนับสนุนเคียฟในบรัสเซลส์ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เฮกเซธ ปฏิเสธโดยสิ้นเชิงเกี่ยวกับความเป็นไปได้ใดๆ ที่สหรัฐฯ จะประจำการทหารในยูเครน
.
เมื่อถามว่าเขาจะยอมสละตำแหน่งประธานาธิบดีหรือไม่ ถ้ามันมีความจำเป็นเพื่อข้อตกลงหนึ่งๆ เซเลนสกี บอกว่า "เพื่อสันติภาพแล้ว ผมพร้อมทำในทุกอย่าง" เขากล่าว "ถ้าพรุ่งนี้ยูเครนได้รับการตอบรับเข้าร่วมอียูและนาโต ถ้าทหารรัสเซียถอนทหารและเราได้รับคำรับประกันความมั่นคง ผมคงไม่ต้องการอะไรที่มากไปกว่านี้อีกแล้ว"
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015976
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน กล่าวระหว่างให้สัมภาษณ์สหรัฐฯกำลังพยายาม "สร้างความพึงพอใจ" แก่รัสเซีย ในการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน และเตือนถึงความอ่อนแอทางทหารของยุโรป . ในปฏิกิริยาที่มีต่อท่าทีของพวกเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ที่แสดงความคิดเห็นต่างๆ ไปในทิศทางประนีประนอมกับรัสเซีย ทางเซเลนสกีกล่าวว่า "เวลานี้ สหรัฐฯ กำลังพูดในสิ่งต่างๆ ที่เป็นผลดีกับปูตินมากๆ เพราะพวกเขาอยากสร้างความพึงพอใจแก่เขา" ผู้นำยูเครนระบุ ระหว่างการให้สัมภาษณ์ที่บันทึกเทปเอาไว้ ในเมืองมิวนิกเมื่อวันเสาร์ (15 ก.พ.) . "พวกต้องการพบปะกันอย่างเร่งด่วนและมีชัยอย่างรวดเร็ว แต่สิ่งที่พวกเขาอยากได้ก็แค่ข้อตกลงหยุดยิง ไม่ใช่ชัยชนะ" เซเลนสกีกล่าว . ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว สร้างความตกตะลึงแก่บรรดาพันธมิตร ด้วยการเปิดเผยว่าเขาได้พูดคุยโดยตรงกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เกี่ยวกับกระบวนการเดินหน้ายุติสงครามในยูเครนอย่างรวดเร็ว . ขณะเดียวกัน พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ก็ดูเหมือนจะตัดความเป็นไปได้ที่ยูเครนจะเข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกนาโต หรือทวงคืนดินแดนทั้งหมดที่สูญเสียไปตั้งแต่ปี 2014 . ในแนวโน้มของข้อตกลงใดๆ ในอนาคต เซเลนสกีบอกว่า "เราจะไม่ลงนามสิ่งใดเพียงเพื่อได้รับเสียงชื่นชม และขอเน้นย้ำว่าชะตากรรมของประเทศของเราสำหรับหลายชั่วอายุคนกำลังตกอยู่ในความเสี่ยง" เขากล่าว พร้อมปฏิเสธความคิดยอมสละดินแดนของยูเครนที่ถูกรัสเซียยึดไป "เราจะทวงคืนมันทั้งหมด" . คำกล่าวนี้ของเซเลนสกี เป็นเทปบันทึกการสัมภาษณ์ซึ่งมีขึ้นระหว่างการประชุมความมั่นคงที่เมืองมิวนิก เป็นเวลา 3 วัน สิ้นสุดในวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) ก่อนหน้านี้พวกผู้ยุโรปจะจัดประชุมหารือฉุกเฉินในกรุงปารีส เพื่อระดมวิธีรับมืออเมริกา หลังจากตลอดสัปดาห์ที่แล้วคณะบริหารทรัมป์เดินเกมรุกทางการทูตที่ดูเหมือนอ้าแขนรับรัสเซียและเมินเฉยทอดทิ้งพันธมิตรเก่าแก่อย่างยุโรป และเวลานี้ยังอยู่ระหว่างการพูดคุย . ประธานาธิบดียูเครนเตือนว่ายุโรปจะอยู่ในสถานะอ่อนแอ หากไม่อาจพึ่งพิงร่มเงาความมั่นคงของสหรัฐฯ "แม้มีการยกระดับความพร้อมในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในแง่ของความเข้มแข็งทางทหาร จำนวนของกำลังพลสู้รบ กองเรือ กองทัพอากาศและโดรน แต่ผมคิดโดยสัตย์จริงว่า ณ วันนี้ ยุโรปนั้นอ่อนแอ" . เซเลนสกี อ้างว่า ยูเครน มีความยืดหยุ่นมากขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา และ "ปูตินไม่สามารถรุกรานยึดครองเรา ในหนทางที่เขาต้องการ" อย่างไรก็ตามเขาเตือนว่า "ยูเครนจะไม่อาจได้รับชัยชนะหากปราศจากแรงสนับสนุนจากอเมริกา" . ผู้นำยูเครนเผยด้วยว่าเขาและทรัมป์ได้พูดคุยกันเกี่ยวกับการประจำการทหารต่างชาติ เพื่อพิทักษ์ข้อตกลงหยุดยิงใดๆ ในอนาคต "ผมบอกกับเขาไปว่า อเมริกาควรเป็นส่วนหนึ่งในสิ่งนี้ เพราะไม่เช่นนั้น เราอาจสูญเสียความเป็นหนึ่งเดียวกัน" . ณ ที่ประชุมบรรดาผู้สนับสนุนเคียฟในบรัสเซลส์ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เฮกเซธ ปฏิเสธโดยสิ้นเชิงเกี่ยวกับความเป็นไปได้ใดๆ ที่สหรัฐฯ จะประจำการทหารในยูเครน . เมื่อถามว่าเขาจะยอมสละตำแหน่งประธานาธิบดีหรือไม่ ถ้ามันมีความจำเป็นเพื่อข้อตกลงหนึ่งๆ เซเลนสกี บอกว่า "เพื่อสันติภาพแล้ว ผมพร้อมทำในทุกอย่าง" เขากล่าว "ถ้าพรุ่งนี้ยูเครนได้รับการตอบรับเข้าร่วมอียูและนาโต ถ้าทหารรัสเซียถอนทหารและเราได้รับคำรับประกันความมั่นคง ผมคงไม่ต้องการอะไรที่มากไปกว่านี้อีกแล้ว" . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015976 .............. Sondhi X - จีนเรียกร้องสหรัฐฯ "แก้ไขความผิดพลาด" หลังจากกระทรวงการต่างประเทศอเมริกาถอดถ้อยคำ "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกจากเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ แม้ทางวอชิงตันอ้างว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของการอัปเดตตามปกติ
.
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้มีการอัปเดตเอกสารข้อเท็จจริงเกี่ยวกับไต้หวันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว คงไว้ซึ่งจุดยืนของวอชิงตันในการคัดค้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้งไต้หวันและจีน ซึ่งอ้างว่าเกาะปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตยแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของดินแดน
.
อย่างไรก็ตาม ในการอัปเดตดังกล่าว ได้มีการลบถ้อยคำ "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป พร้อมอ้างอิงเพิ่มเติมเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างไต้หวันกับเพนตากอน ในด้านโครงการพัฒนาเทคโนโลยีและเซมิคอนดักเตอร์ และบอกว่าสหรัฐฯ จะสนับสนุนสถานภาพสมาชิกของไต้หวันในองค์กรระหว่างประเทศทั้งหลายตามความเหมาะสม
.
ที่ผ่านมา ปักกิ่งออกมาประณามเป็นประจำ ต่อความเคลื่อนไหวให้การรับรองไต้หวันในระดับสากล หรือการติดต่อระหว่างพวกเจ้าหน้าที่ไต้หวันกับเจ้าหน้าที่ต่างชาติ มองว่ามันเป็นการสนับสนุนสถานะแยกดินแดนของไต้หวันออกจากจีน
.
การอัปเดตบนเว็บไซต์ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ มีขึ้นราว 3 สัปดาห์ หลังจาก โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ สาบานตนเข้ารับตำแหน่งเป็นสมัย 2
.
กัว เจียคุน โฆษกกระทรวงการต่างประเทศของจีน ระบุว่าการแก้ไขใหม่เกี่ยวกับไต้หวัน บนเว็บไซต์ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เป็นการก้าวถอยหลังครั้งใหญ่ และเป็นการ "ส่งข้อความผิดๆ อย่างร้ายแรงถึงกองกำลังแบ่งแยกดินแดนเอกราชไต้หวัน"
.
"มันเป็นตัวอย่างอีกครั้งของความดื้อดึงของสหรัฐฯ ในการยึดถือนโยบายผิดพลาดแห่งการใช้ไต้หวันกดขี่จีน เราเรียกร้องให้ฝ่ายอเมริกาแก้ไขความผิดพลาดในทันที" โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีนระบุ
.
สหรัฐฯ ก็เหมือนกับประเทศส่วนใหญ่ที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับไต้หวัน แต่พวกเขาเป็นผู้สนับสนุนระดับนานาชาติที่เข้มแข็งที่สุด มีพันธสัญญาภายใต้กฎหมายที่ต้องมอบหนทางแห่งการป้องกันตนเองแก่เกาะแห่งนี้
.
"เป็นไปตามปกติ มีการอัปเดตเอกสารข้อเท็จจริงเพื่อแจ้งกับสาธารณชนเกี่ยวกับความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการของเรากับไต้หวัน" โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุในช่วงค่ำวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) "สหรัฐฯ ยังคงมีพันธสัญญาต่อนโยบายจีนเดียว" อ้างถึงจุดยืนอย่างเป็นทางการของวอชิงตัน ที่ไม่รับรองเอกราชไต้หวัน และยอมรับแต่เพียงสถานะของจีนในประเด็นนี้
.
อย่างไรก็ตาม โฆษกรายนี้บอกว่า "สหรัฐฯ มุ่งมั่นสงวนไว้ซึ่งสันติภาพแลเเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวต่อสถานภาพปัจจุบันไม่ว่าจะจากฝ่ายไหน เราสนับสนุนการเจรจาข้ามช่องแคบ และเราคาดหมายว่าความเห็นต่างข้ามช่องแคบจะคลี่คลายด้วยวิธีทางแห่งสันติ ปราศจากการกดขี่ ในแนวทางซึ่งเป็นที่ยอมรับของประชาชนจาก 2 ฟากฝั่งของช่องแคบ"
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015975
..............
Sondhi Xจีนเรียกร้องสหรัฐฯ "แก้ไขความผิดพลาด" หลังจากกระทรวงการต่างประเทศอเมริกาถอดถ้อยคำ "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกจากเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ แม้ทางวอชิงตันอ้างว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของการอัปเดตตามปกติ . กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้มีการอัปเดตเอกสารข้อเท็จจริงเกี่ยวกับไต้หวันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว คงไว้ซึ่งจุดยืนของวอชิงตันในการคัดค้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้งไต้หวันและจีน ซึ่งอ้างว่าเกาะปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตยแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของดินแดน . อย่างไรก็ตาม ในการอัปเดตดังกล่าว ได้มีการลบถ้อยคำ "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป พร้อมอ้างอิงเพิ่มเติมเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างไต้หวันกับเพนตากอน ในด้านโครงการพัฒนาเทคโนโลยีและเซมิคอนดักเตอร์ และบอกว่าสหรัฐฯ จะสนับสนุนสถานภาพสมาชิกของไต้หวันในองค์กรระหว่างประเทศทั้งหลายตามความเหมาะสม . ที่ผ่านมา ปักกิ่งออกมาประณามเป็นประจำ ต่อความเคลื่อนไหวให้การรับรองไต้หวันในระดับสากล หรือการติดต่อระหว่างพวกเจ้าหน้าที่ไต้หวันกับเจ้าหน้าที่ต่างชาติ มองว่ามันเป็นการสนับสนุนสถานะแยกดินแดนของไต้หวันออกจากจีน . การอัปเดตบนเว็บไซต์ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ มีขึ้นราว 3 สัปดาห์ หลังจาก โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ สาบานตนเข้ารับตำแหน่งเป็นสมัย 2 . กัว เจียคุน โฆษกกระทรวงการต่างประเทศของจีน ระบุว่าการแก้ไขใหม่เกี่ยวกับไต้หวัน บนเว็บไซต์ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เป็นการก้าวถอยหลังครั้งใหญ่ และเป็นการ "ส่งข้อความผิดๆ อย่างร้ายแรงถึงกองกำลังแบ่งแยกดินแดนเอกราชไต้หวัน" . "มันเป็นตัวอย่างอีกครั้งของความดื้อดึงของสหรัฐฯ ในการยึดถือนโยบายผิดพลาดแห่งการใช้ไต้หวันกดขี่จีน เราเรียกร้องให้ฝ่ายอเมริกาแก้ไขความผิดพลาดในทันที" โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีนระบุ . สหรัฐฯ ก็เหมือนกับประเทศส่วนใหญ่ที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับไต้หวัน แต่พวกเขาเป็นผู้สนับสนุนระดับนานาชาติที่เข้มแข็งที่สุด มีพันธสัญญาภายใต้กฎหมายที่ต้องมอบหนทางแห่งการป้องกันตนเองแก่เกาะแห่งนี้ . "เป็นไปตามปกติ มีการอัปเดตเอกสารข้อเท็จจริงเพื่อแจ้งกับสาธารณชนเกี่ยวกับความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการของเรากับไต้หวัน" โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุในช่วงค่ำวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) "สหรัฐฯ ยังคงมีพันธสัญญาต่อนโยบายจีนเดียว" อ้างถึงจุดยืนอย่างเป็นทางการของวอชิงตัน ที่ไม่รับรองเอกราชไต้หวัน และยอมรับแต่เพียงสถานะของจีนในประเด็นนี้ . อย่างไรก็ตาม โฆษกรายนี้บอกว่า "สหรัฐฯ มุ่งมั่นสงวนไว้ซึ่งสันติภาพแลเเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวต่อสถานภาพปัจจุบันไม่ว่าจะจากฝ่ายไหน เราสนับสนุนการเจรจาข้ามช่องแคบ และเราคาดหมายว่าความเห็นต่างข้ามช่องแคบจะคลี่คลายด้วยวิธีทางแห่งสันติ ปราศจากการกดขี่ ในแนวทางซึ่งเป็นที่ยอมรับของประชาชนจาก 2 ฟากฝั่งของช่องแคบ" . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015975 .............. Sondhi X - เครมลินแถลงเอง เซียร์เก ราฟลอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาด้านนโยบายต่างประเทศของประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน จะนำคณะเจรจาหารือกับทีมเจ้าหน้าที่ระดับสูงของอเมริกาที่นำโดยมาร์โค รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ซึ่งจะเริ่มต้นวันอังคาร (18 ก.พ.) ที่กรุงริยาด ของซาอุดีอาระเบีย ขณะที่รูบิโอพยายามคลายความกังวลโดยยืนยันว่า ยูเครนและยุโรปจะยังมีส่วนร่วมในการเจรจาข้อตกลงสันติภาพ หากการหารือระหว่างวอชิงตัน-มอสโกคืบหน้า
.
การหารือที่เมืองหลวงซาอุดีอาระเบียคราวนี้ เกิดขึ้นหลังจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ พูดคุยทางโทรศัพท์กับปูตินเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว หลังจากนั้นเขาแถลงว่าน่าจะได้พบปะแบบพบหน้ากับผู้นำเครมลินในเร็วๆ นี้ โดยอาจจะเป็นที่ซาอุดีอาระเบีย นอกจากนั้นทางสหรัฐฯยังเคลื่อนไหวแต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่จะไปหารือกับฝ่ายรัสเซีย โดยเห็นกันว่าเพื่อปูทางสำหรับการประชุมซัมมิตทรัมป์-ปูติน เวลาเดียวกันก็เป็นการเริ่มต้นเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งในยูเครนตามที่ทรัมป์เคยหาเสียงไว้ ทั้งนี้ความเคลื่อนไหวคราวนี้ของทรัมป์ ยังถือเป็นการสิ้นสุดการโดดเดี่ยวมอสโกจากกรณีบุกยูเครนเมื่อวันที่ 22 ก.พ.2022
.
คณะของสหรัฐฯ นั้น นอกจากรูบิโอที่เดินทางถึงกรุงริยาดตั้งแต่ค่ำวันอาทิตย์ (16) แล้ว ยังประกอบด้วย ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติ และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลางของทำเนียบขาว
.
รูบิโอกล่าวกับทีวีสหรัฐฯเมื่อวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) ว่า ช่วงไม่กี่วันหรือไม่กี่สัปดาห์นับจากนี้ จะตัดสินว่า ปูตินจริงจังกับการสร้างสันติภาพหรือไม่
.
ด้านวิตคอฟฟ์ให้สัมภาษณ์รายการ “ซันเดย์ มอร์นิง ฟิวเจอร์” ของฟ็อกซ์ นิวส์ว่า ตนและวอลซ์จะดำเนินการประชุมตามแนวทางที่ทรัมป์กำหนด และหวังว่าจะมีความคืบหน้าบางอย่างเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับยูเครน
.
ในอีกด้านหนึ่ง ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงในวันจันทร์ว่า ราฟลอฟและอูชาคอฟจะร่วมหารือกับเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ เกี่ยวกับการจัดเตรียมการหารือระหว่างปูตินกับทรัมป์ และเรื่องเกี่ยวกับข้อตกลงสันติภาพในยูเครนที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงฟื้นความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโก
.
อย่างไรก็ดี เปสคอฟปฏิเสธที่จะแสดงความคิดเห็นว่า ปูตินกับทรัมป์จะพบกันปลายเดือนนี้ที่ซาอุดีอาระเบียหรือไม่ ขณะที่เมื่อวันอาทิตย์ ทรัมป์ให้สัมภาษณ์ว่า ยังไม่ได้กำหนดวันเวลาที่จะพบกับผู้นำรัสเซีย แต่น่าจะเป็นเร็วๆ นี้
.
ในส่วนประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกีของยูเครนนั้น รายงานระบุว่าได้ เดินทางถึงสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตั้งแต่วันอาทิตย์ รวมทั้งเล็งเยือนซาอุดีอาระเบียและตุรกีต่อ แต่ยืนยันว่า ไม่มีแผนพบกับเจ้าหน้าที่รัสเซียหรือสหรัฐฯ ขณะที่เชื่อกันว่า ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมหารือที่ซาอุดีอาระเบียเป็นเจ้าภาพ
.
แอนดริว เยอร์แมค ที่ปรึกษาระดับสูงของเซเลนสกี เปิดเผยเมื่อวันอาทิตย์ว่า ไม่มีความเป็นไปได้ที่เจ้าหน้าที่ยูเครนกับรัสเซียจะประชุมกันโดยตรงในอนาคตอันใกล้ อย่างน้อยจนกว่ายูเครนจะร่างแผนการเพื่อยุติสงครามและสร้างสันติภาพเสร็จสิ้น
.
การหารือระหว่างคณะเจ้าหน้าที่อเมริกาและรัสเซียยังเกิดขึ้นท่ามกลางความกังวลว่า ยูเครนและยุโรปกำลังถูกกีดกันไม่ให้มีส่วนร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจาก คีธ เคลล็อก ผู้แทนพิเศษด้านยูเครนและรัสเซียของทรัมป์ ประกาศชัดเจนเมื่อวันเสาร์ (15 ก.พ.) ว่า ยุโรปจะไม่มีส่วนร่วมในการเจรจาสันติภาพ
.
กระนั้น เมื่อวันอาทิตย์ รูบิโอได้พยายามคลายความกังวลเรื่องนี้โดยบอกว่า ทั้งเคียฟและยุโรปจะมีส่วนร่วมใน “การเจรจาจริง” ที่จะเกิดขึ้นมา หากการหารือระหว่างอเมริกากับรัสเซียมีความคืบหน้า และสำทับว่า การหารือในขณะนี้เป็นแค่โอกาสในการหยั่งเชิงว่า รัสเซียจะจริงจังแค่ไหน
.
นอกจากนั้น วิตคอฟฟ์ยังตั้งข้อสังเกตว่า เจ้าหน้าที่ยูเครนได้พบกับเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ หลายคนระหว่างการประชุมความมั่นคงที่มิวนิกเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ขณะที่ทรัมป์ก็ได้พูดคุยกับเซเลนสกีเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015972
..............
Sondhi Xเครมลินแถลงเอง เซียร์เก ราฟลอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาด้านนโยบายต่างประเทศของประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน จะนำคณะเจรจาหารือกับทีมเจ้าหน้าที่ระดับสูงของอเมริกาที่นำโดยมาร์โค รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ซึ่งจะเริ่มต้นวันอังคาร (18 ก.พ.) ที่กรุงริยาด ของซาอุดีอาระเบีย ขณะที่รูบิโอพยายามคลายความกังวลโดยยืนยันว่า ยูเครนและยุโรปจะยังมีส่วนร่วมในการเจรจาข้อตกลงสันติภาพ หากการหารือระหว่างวอชิงตัน-มอสโกคืบหน้า . การหารือที่เมืองหลวงซาอุดีอาระเบียคราวนี้ เกิดขึ้นหลังจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ พูดคุยทางโทรศัพท์กับปูตินเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว หลังจากนั้นเขาแถลงว่าน่าจะได้พบปะแบบพบหน้ากับผู้นำเครมลินในเร็วๆ นี้ โดยอาจจะเป็นที่ซาอุดีอาระเบีย นอกจากนั้นทางสหรัฐฯยังเคลื่อนไหวแต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่จะไปหารือกับฝ่ายรัสเซีย โดยเห็นกันว่าเพื่อปูทางสำหรับการประชุมซัมมิตทรัมป์-ปูติน เวลาเดียวกันก็เป็นการเริ่มต้นเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งในยูเครนตามที่ทรัมป์เคยหาเสียงไว้ ทั้งนี้ความเคลื่อนไหวคราวนี้ของทรัมป์ ยังถือเป็นการสิ้นสุดการโดดเดี่ยวมอสโกจากกรณีบุกยูเครนเมื่อวันที่ 22 ก.พ.2022 . คณะของสหรัฐฯ นั้น นอกจากรูบิโอที่เดินทางถึงกรุงริยาดตั้งแต่ค่ำวันอาทิตย์ (16) แล้ว ยังประกอบด้วย ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติ และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลางของทำเนียบขาว . รูบิโอกล่าวกับทีวีสหรัฐฯเมื่อวันอาทิตย์ (16 ก.พ.) ว่า ช่วงไม่กี่วันหรือไม่กี่สัปดาห์นับจากนี้ จะตัดสินว่า ปูตินจริงจังกับการสร้างสันติภาพหรือไม่ . ด้านวิตคอฟฟ์ให้สัมภาษณ์รายการ “ซันเดย์ มอร์นิง ฟิวเจอร์” ของฟ็อกซ์ นิวส์ว่า ตนและวอลซ์จะดำเนินการประชุมตามแนวทางที่ทรัมป์กำหนด และหวังว่าจะมีความคืบหน้าบางอย่างเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับยูเครน . ในอีกด้านหนึ่ง ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงในวันจันทร์ว่า ราฟลอฟและอูชาคอฟจะร่วมหารือกับเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ เกี่ยวกับการจัดเตรียมการหารือระหว่างปูตินกับทรัมป์ และเรื่องเกี่ยวกับข้อตกลงสันติภาพในยูเครนที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงฟื้นความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโก . อย่างไรก็ดี เปสคอฟปฏิเสธที่จะแสดงความคิดเห็นว่า ปูตินกับทรัมป์จะพบกันปลายเดือนนี้ที่ซาอุดีอาระเบียหรือไม่ ขณะที่เมื่อวันอาทิตย์ ทรัมป์ให้สัมภาษณ์ว่า ยังไม่ได้กำหนดวันเวลาที่จะพบกับผู้นำรัสเซีย แต่น่าจะเป็นเร็วๆ นี้ . ในส่วนประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกีของยูเครนนั้น รายงานระบุว่าได้ เดินทางถึงสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตั้งแต่วันอาทิตย์ รวมทั้งเล็งเยือนซาอุดีอาระเบียและตุรกีต่อ แต่ยืนยันว่า ไม่มีแผนพบกับเจ้าหน้าที่รัสเซียหรือสหรัฐฯ ขณะที่เชื่อกันว่า ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมหารือที่ซาอุดีอาระเบียเป็นเจ้าภาพ . แอนดริว เยอร์แมค ที่ปรึกษาระดับสูงของเซเลนสกี เปิดเผยเมื่อวันอาทิตย์ว่า ไม่มีความเป็นไปได้ที่เจ้าหน้าที่ยูเครนกับรัสเซียจะประชุมกันโดยตรงในอนาคตอันใกล้ อย่างน้อยจนกว่ายูเครนจะร่างแผนการเพื่อยุติสงครามและสร้างสันติภาพเสร็จสิ้น . การหารือระหว่างคณะเจ้าหน้าที่อเมริกาและรัสเซียยังเกิดขึ้นท่ามกลางความกังวลว่า ยูเครนและยุโรปกำลังถูกกีดกันไม่ให้มีส่วนร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจาก คีธ เคลล็อก ผู้แทนพิเศษด้านยูเครนและรัสเซียของทรัมป์ ประกาศชัดเจนเมื่อวันเสาร์ (15 ก.พ.) ว่า ยุโรปจะไม่มีส่วนร่วมในการเจรจาสันติภาพ . กระนั้น เมื่อวันอาทิตย์ รูบิโอได้พยายามคลายความกังวลเรื่องนี้โดยบอกว่า ทั้งเคียฟและยุโรปจะมีส่วนร่วมใน “การเจรจาจริง” ที่จะเกิดขึ้นมา หากการหารือระหว่างอเมริกากับรัสเซียมีความคืบหน้า และสำทับว่า การหารือในขณะนี้เป็นแค่โอกาสในการหยั่งเชิงว่า รัสเซียจะจริงจังแค่ไหน . นอกจากนั้น วิตคอฟฟ์ยังตั้งข้อสังเกตว่า เจ้าหน้าที่ยูเครนได้พบกับเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ หลายคนระหว่างการประชุมความมั่นคงที่มิวนิกเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ขณะที่ทรัมป์ก็ได้พูดคุยกับเซเลนสกีเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015972 .............. Sondhi X - “องค์การค้า สกสค.” ถอย! ยกเลิกประกาศผู้ชนะ งานพิมพ์แบบเรียนปี 68 “ก.บัญชีกลาง” ชี้ไม่สมบูรณ์
.
“องค์การค้า สกสค.” จ๋อย! ถูก “กรมบัญชีกลาง” สั่งยกเลิกประกาศผู้ชนะงานพิมพ์แบบเรียนปี 68 งบฯพันล้าน ที่เพิ่งประกาศให้ “วรรณชาติเพรส” ผู้ยื่นประมูลรายเดียวกวาดเรียบ 145 รายการ ชี้การแข่งขันไม่สมบูรณ์ เผย “รมว.ศธ.” เคยสั่งให้ยกเลิกแล้ว เหตุมีปัญหาในระบบจัดซื้อฯ แต่องค์การค้าฯกลับเดินหน้าต่อ จนถูก “กรมบัญชีกลาง” เบรกหัวทิ่ม
.
จากกรณีที่ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (องค์การค้าของ สกสค.) เปิดประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ วงเงินงบประมาณ 1,060 ล้านบาท ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) เมื่อวันที่ 28 ม.ค.68 และต่อมาเมื่อวันที่ 7 ก.พ.68 ได้ประกาศให้ บริษัท วรรณชาติเพรส (2020) จำกัด ซึ่งเป็นผู้ยื่นเสนอราคาเพียงรายเดียว เป็นผู้ชนะการประกวดราคาจ้างพิมพ์ฯทั้ง 145 รายการนั้น
.
วันนี้ (17 ก.พ.68) องค์การค้าของ สกสค.ได้ออกประกาศเรื่อง ยกเลิกประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคา จ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ลงนามโดย นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์ รองเลขาธิการ สกสค. รักษาการแทนเลขาธิการ สกสค.
.
โดยเนื้อหาระบุว่า ตามประกาศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสติภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (องค์การค้าของ สกสค.) เรื่อง ประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ตามเอกสารประกวดราคาเลขที่ D64.1/2567 ลงวันที่ 25 ธ.ค.67 ซึ่งกำหนดยื่นเสนอราคาในวันที่ 28 ม.ค.68 ปรากฏว่ามีผู้ยื่นเอกสารเสนอราคาเพียงรายเดียว และได้ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาในวันที่ 7 ก.พ.68
.
องค์การค้าของ สกสค.พิจารณาตามหนังสือ
คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด
ที่ กค (กวจ) 0405.3/ว350 ลงวันที่ 23 ก.ค.62 ประกอบหนังสือคณะกรรมการวิวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.4/5774 ลงวันที่ 11 ก.พ.68 โดยเห็นควรยกเลิกเนื่องจากเห็นว่าเป็นการแข่งขันไม่สมบูรณ์ องค์การค้าของ สกสค. จึงขอยกเลิกประกาศผู้ชนะการเสนอราคาดังกล่าว ประกาศ ณ วันที่ 17 ก.พ.68
.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้เมื่อวันที่ 29 ม.ค.68 นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล รมช.ศึกษาธิการ ก็ได้แนวทางการดำเนินการหลังทราบว่า มีผู้ยื่นเสนอราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 เพียงรายเดียวว่า พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ ได้สั่งการยกเลิกประกวดราคาฯครั้งนี้ เพื่อความโปร่งใส เนื่องจากเกิดจากปัญหาในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และมีรายงานว่า องค์การค้าของ สกสค. ได้ทำหนังสือสอบถาม กรมบัญชีกลาง เพื่อขอคำปรึกษาในเรื่องของการจัดพิมพ์หนังสือแบบเรียนประจำปี 2568 ที่มีผู้ยื่นเสนอราคาเพียงรายเดียวด้วย
.
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 7 ก.พ.68 องค์การค้าของ สกสค. กลับออกมีประกาศลงนามโดย นายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการ สกสค. ให้ บริษัท วรรณชาติเพรส (2020) จำกัด เป็นผู้ชนะการเสนอราคาประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ กระทั่ง คณะกรรมการวิวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ได้มีหลังสือลงวันที่ 11 ก.พ.68 เห็นควรยกเลิก เนื่องจากเห็นว่าเป็นการแข่งขันไม่สมบูรณ์ทางองค์การค้าของ สกสค.จึงออกประกาศยกเลิกในที่สุด.
..............
Sondhi X“องค์การค้า สกสค.” ถอย! ยกเลิกประกาศผู้ชนะ งานพิมพ์แบบเรียนปี 68 “ก.บัญชีกลาง” ชี้ไม่สมบูรณ์ . “องค์การค้า สกสค.” จ๋อย! ถูก “กรมบัญชีกลาง” สั่งยกเลิกประกาศผู้ชนะงานพิมพ์แบบเรียนปี 68 งบฯพันล้าน ที่เพิ่งประกาศให้ “วรรณชาติเพรส” ผู้ยื่นประมูลรายเดียวกวาดเรียบ 145 รายการ ชี้การแข่งขันไม่สมบูรณ์ เผย “รมว.ศธ.” เคยสั่งให้ยกเลิกแล้ว เหตุมีปัญหาในระบบจัดซื้อฯ แต่องค์การค้าฯกลับเดินหน้าต่อ จนถูก “กรมบัญชีกลาง” เบรกหัวทิ่ม . จากกรณีที่ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (องค์การค้าของ สกสค.) เปิดประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ วงเงินงบประมาณ 1,060 ล้านบาท ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) เมื่อวันที่ 28 ม.ค.68 และต่อมาเมื่อวันที่ 7 ก.พ.68 ได้ประกาศให้ บริษัท วรรณชาติเพรส (2020) จำกัด ซึ่งเป็นผู้ยื่นเสนอราคาเพียงรายเดียว เป็นผู้ชนะการประกวดราคาจ้างพิมพ์ฯทั้ง 145 รายการนั้น . วันนี้ (17 ก.พ.68) องค์การค้าของ สกสค.ได้ออกประกาศเรื่อง ยกเลิกประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคา จ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ลงนามโดย นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์ รองเลขาธิการ สกสค. รักษาการแทนเลขาธิการ สกสค. . โดยเนื้อหาระบุว่า ตามประกาศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสติภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (องค์การค้าของ สกสค.) เรื่อง ประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ตามเอกสารประกวดราคาเลขที่ D64.1/2567 ลงวันที่ 25 ธ.ค.67 ซึ่งกำหนดยื่นเสนอราคาในวันที่ 28 ม.ค.68 ปรากฏว่ามีผู้ยื่นเอกสารเสนอราคาเพียงรายเดียว และได้ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาในวันที่ 7 ก.พ.68 . องค์การค้าของ สกสค.พิจารณาตามหนังสือ คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.3/ว350 ลงวันที่ 23 ก.ค.62 ประกอบหนังสือคณะกรรมการวิวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.4/5774 ลงวันที่ 11 ก.พ.68 โดยเห็นควรยกเลิกเนื่องจากเห็นว่าเป็นการแข่งขันไม่สมบูรณ์ องค์การค้าของ สกสค. จึงขอยกเลิกประกาศผู้ชนะการเสนอราคาดังกล่าว ประกาศ ณ วันที่ 17 ก.พ.68 . ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้เมื่อวันที่ 29 ม.ค.68 นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล รมช.ศึกษาธิการ ก็ได้แนวทางการดำเนินการหลังทราบว่า มีผู้ยื่นเสนอราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 เพียงรายเดียวว่า พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ ได้สั่งการยกเลิกประกวดราคาฯครั้งนี้ เพื่อความโปร่งใส เนื่องจากเกิดจากปัญหาในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และมีรายงานว่า องค์การค้าของ สกสค. ได้ทำหนังสือสอบถาม กรมบัญชีกลาง เพื่อขอคำปรึกษาในเรื่องของการจัดพิมพ์หนังสือแบบเรียนประจำปี 2568 ที่มีผู้ยื่นเสนอราคาเพียงรายเดียวด้วย . อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 7 ก.พ.68 องค์การค้าของ สกสค. กลับออกมีประกาศลงนามโดย นายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการ สกสค. ให้ บริษัท วรรณชาติเพรส (2020) จำกัด เป็นผู้ชนะการเสนอราคาประกวดราคาจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ปีการศึกษา 2568 จำนวน 145 รายการ กระทั่ง คณะกรรมการวิวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ได้มีหลังสือลงวันที่ 11 ก.พ.68 เห็นควรยกเลิก เนื่องจากเห็นว่าเป็นการแข่งขันไม่สมบูรณ์ทางองค์การค้าของ สกสค.จึงออกประกาศยกเลิกในที่สุด. .............. Sondhi X - กรณี ป.ป.ช.ส่งหนังสือลับเรียก 44 ส.ส.พรรคก้าวไกล รับทราบข้อกล่าวหา ปม มาตรา112 ทำเอาบรรดาขุนพลเสื้อส้ม หลายคนเก็บอาการไม่อยู่ ออกมาใช้สื่อออนไลน์วิจารณ์การทำงานของ ป.ป.ช.อย่างดุเดือด
#112เขย่าขวัญพรรคส้ม #พรรคส้มวิกฤต #25สสเสี่ยงหลุดเก้าอี้ #มาตรา112 #พรรคประชาชน #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
กรณี ป.ป.ช.ส่งหนังสือลับเรียก 44 ส.ส.พรรคก้าวไกล รับทราบข้อกล่าวหา ปม มาตรา112 ทำเอาบรรดาขุนพลเสื้อส้ม หลายคนเก็บอาการไม่อยู่ ออกมาใช้สื่อออนไลน์วิจารณ์การทำงานของ ป.ป.ช.อย่างดุเดือด #112เขย่าขวัญพรรคส้ม #พรรคส้มวิกฤต #25สสเสี่ยงหลุดเก้าอี้ #มาตรา112 #พรรคประชาชน #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ - สังคมตาสว่างเนื้อใน บิ๊กโจ๊ก เด็กเลี้ยงแกะ สารภาพหมดใส้ จัดฉาก แอบถ่าย ปล่อยคลิป วันมูหะมัดนอร์ มะทา
#สังคมตาสว่างบิ๊กโจ๊ก #บิ๊กโจ๊กเด็กเลี้ยงแกะ #แก๊งเด็กเลี้ยงแกะ #คลิปแอบถ่ายวันนอร์สุชาติ #บิ๊กโจ๊ก #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
สังคมตาสว่างเนื้อใน บิ๊กโจ๊ก เด็กเลี้ยงแกะ สารภาพหมดใส้ จัดฉาก แอบถ่าย ปล่อยคลิป วันมูหะมัดนอร์ มะทา #สังคมตาสว่างบิ๊กโจ๊ก #บิ๊กโจ๊กเด็กเลี้ยงแกะ #แก๊งเด็กเลี้ยงแกะ #คลิปแอบถ่ายวันนอร์สุชาติ #บิ๊กโจ๊ก #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
เรื่องราวเพิ่มเติม