แกนคำสอนในศาสนาพุทธโดยเรียบเรียงจากพระไตรปิฏก
อัปเดตล่าสุด
- อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
สัทธรรมลำดับที่ : 999
ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
เนื้อความทั้งหมด :-
--การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
...
---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
--สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
+--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
+--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
+--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
--สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
“สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
: นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
+--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
ของเธอนั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
--สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
“ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
ดังนี้.
--สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
ของเธอนั้น,
http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
ดังนี้แล.
--- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97
(ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
)
--สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
+--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 999 ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ... ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่ สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ ดังนี้แล. --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97 (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว ) --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122. http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม-(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) ; อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙) ; นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๖๙/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี). การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ถูกแล้ว ถูกแล้ว สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลในตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สตินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่ง โวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, ดังนี้แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙ – ๓๐๐/๑๐๑๗ – ๑๐๒๒. (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว). สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิวกรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น! - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
สัทธรรมลำดับที่ : 631
ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
เนื้อความทั้งหมด :-
--การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
--ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม
เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ
อยู่ไซร้ ;
ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
“ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก)
http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก
ดังนี้.
--ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว
เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
อยู่ไซร้ ;
ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
“ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)
http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
ดังนี้.
--ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว
เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้;
ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
“ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต)
http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต
ดังนี้.
[+--
ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา
ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ;
ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒)
- ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
แทนอายตนะภายในหก
อย่างในสูตรนี้ ก็มี
*---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒
http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92
+--].-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244.
http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔.
http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 631 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต ดังนี้. [+-- ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) - ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี *---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92 +--].- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244. http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)-การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) ดังนี้. [ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งตา ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี].0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามคุณห้าคือบ่วง
สัทธรรมลำดับที่ : 251
ชื่อบทธรรม :- กามคุณห้าคือบ่วง
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251
เนื้อความทั้งหมด :-
--กามคุณห้าคือบ่วง
--ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้.
http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=กามคุณ
ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ
รูปที่เห็นด้วยตา,
เสียงที่ฟังด้วยหู,
กลิ่นที่ดมด้วยจมูก,
รสที่ลิ้มด้วยลิ้น,
และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย,
อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง.
--ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง
ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว
ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ;
+--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า
+--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด.
--ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่ง #เนื้อป่าตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง.
เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ;
--ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน,
พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว
ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ;
+--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า
+--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.-
#ทักขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/231/327-8.
http://etipitaka.com/read/thai/12/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๓๓/๓๒๗-๘.
http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=251
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามคุณห้าคือบ่วง สัทธรรมลำดับที่ : 251 ชื่อบทธรรม :- กามคุณห้าคือบ่วง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251 เนื้อความทั้งหมด :- --กามคุณห้าคือบ่วง --ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้. http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=กามคุณ ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงที่ฟังด้วยหู, กลิ่นที่ดมด้วยจมูก, รสที่ลิ้มด้วยลิ้น, และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด. --ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่ง #เนื้อป่าตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง. เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน, พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; +--สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า +--เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.- #ทักขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/231/327-8. http://etipitaka.com/read/thai/12/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๓๓/๓๒๗-๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/333/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=251 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=251 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- กามคุณห้าคือบ่วง-กามคุณห้าคือบ่วง ภิกษุ ท. ! กามคุณมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงที่ฟังด้วยหู, กลิ่นที่ดมด้วยจมูก, รสที่ลิ้มด้วยลิ้น, และโผฏฐัพพะที่สัมผัสด้วยกาย, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือกามคุณห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ติดอกติดใจสยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านี้แล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจ อย่างใด. ภิกษุ ท. ! เปรียบได้ดั่งเนื้อป่า ตัวที่ติดบ่วง นอนจมอยู่ในบ่วง. เมื่อนายพรานมาถึงเข้า, มันจะหนีไปไหนไม่พ้นเลย ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ก็ฉันนั้นเหมือนกัน, พวกเขา พากันติดอกติดใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ในกามคุณห้าอย่างเหล่านั้นแล้ว ก็ไม่มองเห็นส่วนที่เป็นโทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกพ้นไปได้จากทุกข์ ทำการบริโภคกามคุณทั้งห้านั้นอยู่ ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น อันคนทั้งหลายพึงเข้าใจเถิดว่า เป็นผู้จะถึงความพินาศย่อยยับ แล้วแต่มารผู้ใจบาป ต้องการจะทำตามอำเภอใจอย่างใด แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม
สัทธรรมลำดับที่ : 250
ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
+--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
+--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
+--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
*---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93
+--ลักษณะแห่งกามตัณหา
--ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
ดังนี้แล.-
...
--ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
+--ส่วนสัตว์เหล่าใด
กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
และสำรอก อวิชชาเสียได้
+--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม สัทธรรมลำดับที่ : 250 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา. +--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา. +--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา. *---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93 +--ลักษณะแห่งกามตัณหา --ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ, ดังนี้แล.- ... --ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร +--ส่วนสัตว์เหล่าใด กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ และสำรอก อวิชชาเสียได้ +--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10. http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.-๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วยกามธาตุ : นี้ เรียกว่า กามตัณหา. ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า ภวตัณหา. วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า วิภวตัณหา. - นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. ลักษณะแห่งกามตัณหา ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่งกามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่งกามทั้งหลาย และซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จากกามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า กามโยคะ, ดังนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
สัทธรรมลำดับที่ : 998
ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
เนื้อความทั้งหมด :-
--อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ
ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง
ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง
ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง
ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง
ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง,
นี้ฉันใด ;
--ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :
+--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
+--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
+--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
+--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
+--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
+--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา .
(ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด
เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด,
ฉันใดก็ฉันนั้น).
--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า
(ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ?
--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . .
ชนิดที่
มีวิเวกอาศัยแล้ว
มีวิราคะอาศัยแล้ว
มีนิโรธอาศัยแล้ว
มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล
(ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).-
(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ
ฯลฯ
อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ
ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน
--มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ;
http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน
--มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ;
http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน
--มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ;
http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
ดังนี้ก็มี
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284.
http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔.
http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 998 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . . ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).- (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 ดังนี้ก็มี ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284. http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว--ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว-(ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่นคือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) : อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วยความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วยปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วยอวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยการดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วยวิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยอริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วยสมถะและวิปัสสนา. ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน). อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน
สัทธรรมลำดับที่ : 630
ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
เนื้อความทั้งหมด :-
--การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย
ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !”
--ท่านผู้จอมเทพ !
รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี,
เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี,
กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี,
รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี,
โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ
ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ;
อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก
เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ;
และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว
ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี.
--ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน.
http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ
--ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย
ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้,
ดังนี้แล.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179.
http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙.
http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 630 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” --ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179. http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม-การปรินิพพานในทิฏฐธรรม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. ท่านผู้จอมเทพ ! ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน. ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
สัทธรรมลำดับที่ : 247
ชื่อบทธรรม :- ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=247
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
--ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ
ตัณหาในรูป,
ตัณหาในเสียง,
ตัณหาในกลิ่น,
ตัณหาในรส,
ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และ
ตัณหาในธรรมารมณ์.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/10.
http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
สัทธรรมลำดับที่ : 248
ชื่อบทธรรม : -ภพโดยวิภาค สามอย่าง
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=248
เนื้อความทั้งหมด :-
--ภพโดยวิภาค สามอย่าง
--ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! ภพ มีสามอย่างเหล่านี้ คือ:-
๑. กามภพ ภพมีกาม ;
๒. รูปภพ ภพมีรูป ;
๓. อรูปภพ ภพไม่มีรูป.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.-
อ้างอิงสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/8.
http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%98
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๘.
http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%98
สัทธรรมลำดับที่ : 249
ชื่อบทธรรม : -ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง
--ภิกษุ ท. ! ตัณหามีสามอย่างเหล่านี้, สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
สามอย่างคือ :-
๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม ;
๒. วิภวตัณหา ตัณหาในความมีความเป็น ;
๓. วิภวตัณหา ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ตัณหาสามอย่าง.
#ทุกขสุมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. 19/85/329.
http://etipitaka.com/read/thai/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๖/๓๒๙.
http://etipitaka.com/read/pali/19/86/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=249
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=247
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง สัทธรรมลำดับที่ : 247 ชื่อบทธรรม :- ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=247 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป, ตัณหาในเสียง, ตัณหาในกลิ่น, ตัณหาในรส, ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และ ตัณหาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/10. http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 สัทธรรมลำดับที่ : 248 ชื่อบทธรรม : -ภพโดยวิภาค สามอย่าง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=248 เนื้อความทั้งหมด :- --ภพโดยวิภาค สามอย่าง --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภพ มีสามอย่างเหล่านี้ คือ:- ๑. กามภพ ภพมีกาม ; ๒. รูปภพ ภพมีรูป ; ๓. อรูปภพ ภพไม่มีรูป. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.- อ้างอิงสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/8. http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%98 สัทธรรมลำดับที่ : 249 ชื่อบทธรรม : -ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง --ภิกษุ ท. ! ตัณหามีสามอย่างเหล่านี้, สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ :- ๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม ; ๒. วิภวตัณหา ตัณหาในความมีความเป็น ; ๓. วิภวตัณหา ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ตัณหาสามอย่าง. #ทุกขสุมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. 19/85/329. http://etipitaka.com/read/thai/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๖/๓๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/86/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=249 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=247 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง-ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป, ตัณหาในเสียง, ตัณหาในกลิ่น, ตัณหาในรส, ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และตัณหาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ตัณหา.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร
สัทธรรมลำดับที่ : 246
ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
เนื้อความทั้งหมด :-
--ที่เกิดแห่งอาหาร
--ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่
เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง.
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี
อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ
อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม,
อาหารที่สอง คือ ผัสสะ,
อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม),
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา
อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ;
ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่
เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง.
--ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้
มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ?
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ?
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย
มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ?
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ
และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ?
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ
--ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้
+--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
มีตัณหาเป็นแดนเกิด
+--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ
มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด
+--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ
มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
+--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ
มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
+--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ
มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
+--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ
มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
+--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ
มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
+--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ
มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ
มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย )
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย
เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
+--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล.
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29.
http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙.
http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร สัทธรรมลำดับที่ : 246 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอาหาร --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม), http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. --ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ +--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด +--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด +--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด +--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด +--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด +--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด +--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด +--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย ) เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา +--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29. http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ที่เกิดแห่งอาหาร-ที่เกิดแห่งอาหาร ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด (สัมภเวสี)* บ้าง. อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือมโนสัญเจตนา (มโนกรรม), อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
สัทธรรมลำดับที่ : 997
ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
เนื้อความทั้งหมด :-
--หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค
--อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก
มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง
มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง
มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง
มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง
มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี
มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี
มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี
มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี
(ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด;
--ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :-
+--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
+--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
+--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
+--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้.
(หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น
ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง
เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น).
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์;
กล่าวคือ
ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป,
ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา,
ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา,
ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร,
ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
#ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
#ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
#ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า
(จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ?
--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ
ชนิดที่
มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
--ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล
(จึงมีผล ๔ ประการนั้น).-
(----+
ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่;
แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง,
ดังนี้ก็มี;
---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙
http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด.
+--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น
วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี;
มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น
ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗);
---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗
http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙);
---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙
http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ;
---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑
http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน.
+--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ
วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้
แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป
วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด
สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น;
วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม
สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา;
วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา
สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ;
วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค
ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา.
+--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว
ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน
+----).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295.
http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕.
http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 997 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :- +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).- (----+ ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙ http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา. +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน +----). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295. http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว-(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขกมาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
สัทธรรมลำดับที่ : 629
ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
เนื้อความทั้งหมด :-
--(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ
--ภิกษุ ท. !
+--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล,
สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
+--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ;
+--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ;
+--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ.
http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน
--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้
สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)แล้ว
แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)ก็ถึงความบริบูรณ์;
แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
ฉันใดก็ฉันนั้น.
(ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)ต่อข้อความนี้
ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24.
http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔.
http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 629 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)แล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)ก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)ก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)ต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24. http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- (อีกนัยหนึ่ง)-(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อสัมมาสมาธิมีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะมีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; เมื่อนิพพิทาวิราคะมีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบแล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือกก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่นก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัยต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน
สัทธรรมลำดับที่ : 245
ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
เนื้อความทั้งหมด :-
--ที่เกิดแห่งอุปาทาน
--ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้
มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้
มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
มีตัณหาเป็นแดนเกิด.
--ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า
มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด?
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
มีอะไรเป็นแดนเกิด ?
--ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้
มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด,
มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
มีเวทนาเป็นแดนเกิด.
--ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ
มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
มีผัสสะเป็นกำเนิด
มีผัสสะเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ
มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
มีสฬายตนะเป็นกำเนิด
มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ
มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
มีนามรูปเป็นกำเนิด
มีนามรูปเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ
มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
มีวิญญาณเป็นกำเนิด
มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ
มีสังขารเป็นเหตุเกิด
มีสังขารเป็นกำเนิด
มีสังขารเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า
มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ
มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
มีอวิชชาเป็นกำเนิด
มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
--ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล
ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น
ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น
ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน
ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน
ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน
ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน
เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว
เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี
ดังนี้แล.-
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158.
http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน สัทธรรมลำดับที่ : 245 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปาทาน --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิด ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีเวทนาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ที่เกิดแห่งอุปาทาน-ที่เกิดแห่งอุปาทาน ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด. ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีเวทนาเป็นแดนเกิด แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอุปธิ
สัทธรรมลำดับที่ : 244
ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปธิ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244
เนื้อความทั้งหมด :-
--ที่เกิดแห่งอุปธิ
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป
ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า
“อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ?
และมีอะไรเป็นแดนเกิด ?
เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ?
เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า
“อุปธิมีตัณหา เป็นเหตุให้เกิด,
มีตัณหา เป็นเครื่องก่อให้เกิด,
มีตัณหา เป็นเครื่องกำเนิด,
และมีตัณหา เป็นแดนเกิด ;
เมื่อตัณหา มีอยู่ อุปธิก็มีอยู่,
เมื่อตัณหา ไม่มี อุปธิก็ไม่มี,
ดังนี้แล.-
--ภิกษุ ท.(ทั้งหลาย) เราเรียกภิกษุรูปนี้ว่า
#เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับแห่งอุปธิโดยชอบทุกประการ ฯ
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/105/257.
http://etipitaka.com/read/thai/16/105/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๑/๒๕๗.
http://etipitaka.com/read/pali/16/131/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=244
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอุปธิ สัทธรรมลำดับที่ : 244 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปธิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปธิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า “อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ? เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า “อุปธิมีตัณหา เป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหา เป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหา เป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหา เป็นแดนเกิด ; เมื่อตัณหา มีอยู่ อุปธิก็มีอยู่, เมื่อตัณหา ไม่มี อุปธิก็ไม่มี, ดังนี้แล.- --ภิกษุ ท.(ทั้งหลาย) เราเรียกภิกษุรูปนี้ว่า #เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับแห่งอุปธิโดยชอบทุกประการ ฯ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/105/257. http://etipitaka.com/read/thai/16/105/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๑/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/131/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=244 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=244 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ที่เกิดแห่งอุปธิ-ที่เกิดแห่งอุปธิ ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อพิจารณาสืบต่อไป ย่อมพิจารณาลึกลงไปอีกว่า “อุปธินี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? เมื่ออะไรมีอยู่ อุปธิก็มีอยู่ ? เมื่ออะไรไม่มี อุปธิก็ไม่มี ?” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เมื่อพิจารณาอยู่ ย่อมรู้ได้ชัดอย่างนี้ว่า “อุปธิมีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด ; เมื่อตัณหามีอยู่ อุปธิก็มีอยู่, เมื่อตัณหาไม่มี อุปธิก็ไม่มี, ดังนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 51 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน
สัทธรรมลำดับที่ : 996
ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไป
เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท)
เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค)
เพื่อความดับ (๓.นิโรธ)
เพื่อความสงบ (๔.อุปสม)
เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ)
เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ)
เพื่อ ๗.นิพพาน.
http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย
ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :-
+--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ;
+--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ;
+--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ;
+--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่;
+--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่.
--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด
เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.-
http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย
(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้
ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา
เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว
ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา,
ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69.
http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙.
http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน สัทธรรมลำดับที่ : 996 ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 เนื้อความทั้งหมด :- --การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไป เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค) เพื่อความดับ (๓.นิโรธ) เพื่อความสงบ (๔.อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ) เพื่อ ๗.นิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :- +--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; +--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; +--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; +--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; +--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย (ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69. http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว--(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)-(สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกันใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้). การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว (มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (วิราค) เพื่อความดับ (นิโรธ) เพื่อความสงบ (อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (สมฺโพธ) เพื่อนิพพาน. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ : เป็นผู้ มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; เป็นผู้ มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; และ มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ
สัทธรรมลำดับที่ : 628
ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
เนื้อความทั้งหมด :-
--(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ
--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว,
อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร
--เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่,
ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร
ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่,
ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์
ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่,
ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ
ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่,
สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข
ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่,
วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา
ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
--เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่,
วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ
ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
...
*--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ.
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210.
http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 628 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ ... *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210. http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- (อีกนัยหนึ่ง)-(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุให้มีการเกิด
สัทธรรมลำดับที่ : 243
ชื่อบทธรรม :- เหตุให้มีการเกิด
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243
เนื้อความทั้งหมด :-
--เหตุให้มีการเกิด
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้.
&ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า”
--อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,
&กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม,
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,
&รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง,
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้.
&อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
http://etipitaka.com/read/pali/20/289/?keywords=กมฺมํ
กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย
ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น
มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว
ด้วยธาตุชั้นประณีต.
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป
ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.-
#ทุกขสมุทัย #อรยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/212/517.
http://etipitaka.com/read/thai/20/212/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.
http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=243
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุให้มีการเกิด สัทธรรมลำดับที่ : 243 ชื่อบทธรรม :- เหตุให้มีการเกิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุให้มีการเกิด --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า” --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ http://etipitaka.com/read/pali/20/289/?keywords=กมฺมํ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต. การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อรยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/212/517. http://etipitaka.com/read/thai/20/212/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=243 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=243 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- เหตุให้มีการเกิด-เหตุให้มีการเกิด “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า” อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณ เป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง, การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี ของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพันตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต. การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ภพ ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาพืชของภพ
สัทธรรมลำดับที่ : 242
ชื่อบทธรรม :- พืชของภพ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242
เนื้อความทั้งหมด :-
--พืชของภพ
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้.
&ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ถ้ากรรมมีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้.
&กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
ด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ),
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! ถ้ากรรมมีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,
&รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
ด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ).
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! ถ้ากรรมมีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้,
&อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?
--“หามิได้ พระเจ้าข้า !”
--อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ
กรรมจึงเป็นเนื้อนา,
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช,
ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช.
http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ
วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว
ด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ),
การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างนี้.
--อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.-
#ทุกขสมุทัย #อรยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/211/516.
http://etipitaka.com/read/thai/20/211/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖.
http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=242
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาพืชของภพ สัทธรรมลำดับที่ : 242 ชื่อบทธรรม :- พืชของภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242 เนื้อความทั้งหมด :- --พืชของภพ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. &ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. &กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ). การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! ถ้ากรรมมีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, &อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. http://etipitaka.com/read/pali/20/288/?keywords=กมฺมํ+เขตฺตํ+วิญฺญาณํ+พีชํ+ตณฺหาสิเนโห+อวิชฺชานีวรณานํ วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้ว ด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --อานนท์ ! #ภพย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อรยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/211/516. http://etipitaka.com/read/thai/20/211/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=242 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=242 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- พืชของภพ-พืชของภพ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวอยู่ว่า ‘ภพ – ภพ’ ดังนี้. ภพ ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ถ้ากรรม มีกามธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้. กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, รูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อนา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ). การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ถ้ากรรม มีอรูปธาตุเป็นวิบาก จักไม่ได้มีแล้วไซร้, อรูปภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นเนื้อหา, วิญญาณเป็นเมล็ดพืช, ตัณหาเป็นยาง (สำหรับหล่อเลี้ยงเชื้องอก) ของพืช. วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูกพัน ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นประณีต(อรูปธาตุ), การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. อานนท์ ! ภพ ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
สัทธรรมลำดับที่ : 995
ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
เนื้อความทั้งหมด :-
--ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
--อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.
--อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
(อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
: นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
ดังนี้.
เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
--อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
: ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
.... ฯลฯ(เปยยาล)....
(ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
....
--อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
: ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
$เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
.... ฯลฯ ....
( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
....
--อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
: ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
.... ฯลฯ....
( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
....
อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
: ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
ด้วยการกำหนดว่า
“นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
: นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
ดังนี้.
เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
-- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
. . . . ฯลฯ . . . .
(ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
. . . .
--อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
--อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
: ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
“อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
. . . . ฯลฯ . . . .
(มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
. . . .
--อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-
(สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
).
*--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล).... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค-ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 144 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
สัทธรรมลำดับที่ : 627
ชื่อบทธรรม :- กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
เนื้อความทั้งหมด :-
--กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
--ภิกษุ ท. !
-เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่,
หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว
ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑;
-เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่,
อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ
ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
-เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่,
สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร
ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
-เมื่อ ๔.สีล มีอยู่,
สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล
ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
-เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
-เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
-เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ
#ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
*--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย
แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่.
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187.
http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗.
http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
ศึกษาเพื่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 627 ชื่อบทธรรม :- กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 เนื้อความทั้งหมด :- --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑; -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187. http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ-กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ ภิกษุ ท. ! เมื่อ สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย๑; เมื่อ หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. เมื่อ นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ
สัทธรรมลำดับที่ : 241
ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
เนื้อความทั้งหมด :-
--เครื่องจูงใจสู่ภพ
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า
‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’
http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ
ดังนี้,
ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า !
และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?”
--ราธะ !
ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี
ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี
นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี
ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น) ก็ดี และ
อุปายะ(ความยึดมั่น)
เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ
เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ
ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ;
กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’
ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้
เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.-
*--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’
ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ.
#ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368.
http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.
http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเครื่องจูงใจสู่ภพ สัทธรรมลำดับที่ : 241 ชื่อบทธรรม :- เครื่องจูงใจสู่ภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 เนื้อความทั้งหมด :- --เครื่องจูงใจสู่ภพ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ(ภวเนตฺติ)*--๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=ภวเนตฺติ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหา(ความอยากมีอยากเป็น) ก็ดี และ อุปายะ(ความยึดมั่น) เป็นกิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพและอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘#เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.- *--๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/192/368. http://etipitaka.com/read/thai/17/192/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=241 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- เครื่องจูงใจสู่ภพ-เครื่องจูงใจสู่ภพ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระองค์ตรัสอยู่ว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ๑ เครื่องนำไปสู่ภพ’ ดังนี้, ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า ! และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?” ๑. อรรถกถาแก้คำ ว่า ‘ภวเนตฺติ’ ซึ่งใน ที่นี้แปลว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ’ ว่า ‘ภวรชฺขุ’ ซึ่งหมายถึง เชือก หรือบ่วง ที่จะจูงสัตว์ไปสู่ภพ. ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี ราคะ (ความกำหนัด) ก็ดี นันทิ (ความเพลิน) ก็ดี ตัณหาก็ดี และอุปายะ (กิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพ) และอุปาทานอันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใด ๆ ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย และในวิญญาณ ; กิเลสเหล่านี้นี่เรา เรียกว่า ‘เครื่องนำไปสู่ภพ.’ ความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพมีได้ เพราะความดับไม่เหลือของกิเลสมีฉันทราคะเป็นต้นเหล่านั้นเอง.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก
สัทธรรมลำดับที่ : 240
ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญโญชน์อย่างเอก
--ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว
ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป
ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้
เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้.
http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ
--ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว
ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง
แล.
-บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง
ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน
ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้
และความเป็นอย่างอื่นไปได้
ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
แล.-
#ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193.
http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓.
http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง..
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก สัทธรรมลำดับที่ : 240 ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 เนื้อความทั้งหมด :- --สัญโญชน์อย่างเอก --ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ --ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล. -บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้ และความเป็นอย่างอื่นไปได้ ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ แล.- #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193. http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- สัญโญชน์อย่างเอก-สัญโญชน์อย่างเอก ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง ตัณหาสัญโญชน์ นี้. ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วยตัณหาสัญโญชน์แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
สัทธรรมลำดับที่ : 994
ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
เนื้อความทั้งหมด :-
--ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
--ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า
http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ
ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ?
--ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : -
http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา
+--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ;
+--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ;
--ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล
ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.-
http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366.
http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖.
http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ สัทธรรมลำดับที่ : 994 ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : - http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.- http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366. http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ-(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณะรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด). ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้แล ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 101 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา
สัทธรรมลำดับที่ : 626
ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
เนื้อความทั้งหมด :-
--อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ
ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
--ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ....
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?”
--ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น.
http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
--ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า
“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)”
ดังนี้.
--ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า
“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น”
ดังนี้ แล้วไซร้,
+-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ;
ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ;
ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว
เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑;
คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ;
เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ;
เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ;
เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ;
เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม
ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น.
(ในกรณีแห่ง
โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ
ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย
โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ...
นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ
และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ
ต่างกันแต่ชื่อ
).
--ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.-
http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ;
เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น
: นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น.
คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก
หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย.
*--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96.
http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖.
http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 626 ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้ แล้วไซร้, +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ... นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ ). --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.- http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96. http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ-(ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่าสักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธันตะ ก็มี). อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้แล้วไซร้, ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง ; โดยประการอื่น๑ ; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูป ทั้งหลายโดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วยโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุและธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ). ๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น: นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
สัทธรรมลำดับที่ : 239
ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
เนื้อความทั้งหมด :-
--เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
“โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ?
สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?”
--โลก ถูกตัณหาชักนำไป,
--โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ.
http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก
สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.-
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183.
http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓.
http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก สัทธรรมลำดับที่ : 239 ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 เนื้อความทั้งหมด :- --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” --โลก ถูกตัณหาชักนำไป, --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183. http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก-(ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. - ๑๗/๑๙๒/๒๗๖). เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” โลก ถูกตัณหาชักนำไป, โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ ตัณหา.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่
สัทธรรมลำดับที่ : 238
ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
เนื้อความทั้งหมด :-
--สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
--ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย
ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก
ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)
http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา
#ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ;
ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.-
(ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี.
http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต
--- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖
http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
).
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286.
http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖.
http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่ สัทธรรมลำดับที่ : 238 ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา) http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.- (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖ http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96 ). #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา-สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า สักกายสมุทัย.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ามัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
สัทธรรมลำดับที่ : 993
ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
เนื้อความทั้งหมด :-
--มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
(๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ
๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
(๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93
(๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
แต่เขา
หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน
อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง
ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง.
+-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
(๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
+++ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
และทั้ง
๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
(๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
แต่เขา
๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่
และทั้งเขา
๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
(๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
แต่เขา
๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ
ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขา
๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
(๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
+-+ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ
ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
แต่เขา
๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย
แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่
และทั้งเขา
๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
(๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่ว่าเขา
๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
และทั้งเขา
๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑.
+-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.-
http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้
ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159.
http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ามัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค สัทธรรมลำดับที่ : 993 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93 (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +++ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่ และทั้งเขา ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +-+ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขา ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159. http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค-มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หา เป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่ง ชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขามีปกติใคร่ครวญ เนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขาสามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 113 มุมมอง 0 รีวิว
เรื่องราวเพิ่มเติม