• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1001
    ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ
    ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :-
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น
    เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า
    ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ
    คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ).
    คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต
    มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา;
    ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ )
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น
    แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ
    อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก
    มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน;
    และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ
    อย่างเดียวกับสูตรข้างบน
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 1001 ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :- +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).- http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา; ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ ) http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน; และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรข้างบน ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90. http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    -(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : อนภิชฌา และอัพยาบาท คือ สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับสัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค). ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูปโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูปหรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขารโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่าการตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์ (ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา)-
    0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ จึงเรียกว่าจิตหลุดพ้นดี
    สัทธรรมลำดับที่ : 633
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ (ตา)​
    ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง,
    ทิฏฐิของเธอนั้น #เป็นสัมมาทิฏฐิ.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=สมฺมาทิฏฺฐิ
    เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ;
    เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ
    ดังนี้

    (ในกรณีแห่ง
    ๒.โสตะ(หู)​ ๓.ฆานะ(จมูก)​ ๔.ชิวหา(ลิ้น)​ ๕.กายะ(ร่างกาย)​ และ ๖.มนะ(ใจ)​
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.จักษุ(ตา)
    ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจ#สุตันตปิฎก#บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/146/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=633
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ จึงเรียกว่าจิตหลุดพ้นดี สัทธรรมลำดับที่ : 633 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ (ตา)​ ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น #เป็นสัมมาทิฏฐิ. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=สมฺมาทิฏฺฐิ เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ ดังนี้ (ในกรณีแห่ง ๒.โสตะ(หู)​ ๓.ฆานะ(จมูก)​ ๔.ชิวหา(ลิ้น)​ ๕.กายะ(ร่างกาย)​ และ ๖.มนะ(ใจ)​ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.จักษุ(ตา) ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจ​ #สุตันตปิฎก​ #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/146/245. http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=633 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=633 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น จักษุ ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 1000
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
    ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
    แล.-

    (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
    มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
    ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
    : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
    #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
    เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
    จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค สัทธรรมลำดับที่ : 1000 ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :- ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.- (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29. http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    -หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัด กระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ : อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.
    0 Comments 0 Shares 69 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 999
    ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    ...
    ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
    --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
    มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
    เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
    เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
    เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
    เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
    +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
    จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
    +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
    “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
    ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
    ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
    ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
    : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
    กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
    สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
    +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
    ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
    เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
    “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
    ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
    และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
    ดังนี้.
    --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
    ของเธอนั้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
    ดังนี้แล.
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97

    (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
    เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
    ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
    จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
    สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
    ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
    ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
    คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
    )

    --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
    +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
    เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 999 ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ... ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่ สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ ดังนี้แล. --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97 (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว ) --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122. http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    -(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) ; อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙) ; นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๖๙/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี). การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ถูกแล้ว ถูกแล้ว สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลในตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สตินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่ง โวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, ดังนี้แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙ – ๓๐๐/๑๐๑๗ – ๑๐๒๒. (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว). สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    0 Comments 0 Shares 125 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 631
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ
    อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก
    ดังนี้.
    --ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
    อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
    ดังนี้.
    --ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว
    เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ
    ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต
    ดังนี้.

    [+--
    ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ;
    ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒)
    - ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
    แทนอายตนะภายในหก
    อย่างในสูตรนี้ ก็มี
    *---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92
    +--].-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 631 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมกถิโก ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน ดังนี้. --ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต ดังนี้. [+-- ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ตา ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) - ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี *---ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/17/199/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%92 +--].- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/145/244. http://etipitaka.com/read/thai/18/145/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๗/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/177/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=631 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=631 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง จักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” (ธมฺมกถิโก) ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” (ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน)ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งจักษุ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น อยู่แล้วไซร้; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” (ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปตฺโต) ดังนี้. [ในกรณีแห่ง หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งตา ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ; ในสูตรอื่น (ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๙/๓๐๒) ทรงแสดงไว้ด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แทนอายตนะภายในหก อย่างในสูตรนี้ ก็มี].
    0 Comments 0 Shares 60 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 998
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ
    ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง
    ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง
    ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง
    ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง
    ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :
    +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา .
    (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด
    เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด,
    ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . .
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว
    มีวิราคะอาศัยแล้ว
    มีนิโรธอาศัยแล้ว
    มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).-

    (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ
    ฯลฯ
    อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ

    ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97

    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99

    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 998 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . . ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).- (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 ดังนี้ก็มี ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284. http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว--ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    -(ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่นคือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) : อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วยความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วยปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วยอวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยการดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วยวิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยอริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วยสมถะและวิปัสสนา. ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน). อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).
    0 Comments 0 Shares 79 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 630
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !”
    --ท่านผู้จอมเทพ !
    รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี,
    เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี,
    รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ;
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ;
    และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว
    ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี.
    --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 630 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” --ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179. http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. ท่านผู้จอมเทพ ! ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน. ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 83 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 997
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก
    มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง
    มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี
    (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :-
    +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้.
    (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น
    ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง
    เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์;
    กล่าวคือ
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า
    (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล
    (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).-

    (----+
    ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
    ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่;
    แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี;
    ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด.
    +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น
    วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี;
    มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น
    ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ;
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน.
    +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ
    วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้
    แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป
    วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น;
    วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา;
    วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ;
    วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค
    ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา.
    +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว
    ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน
    +----).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 997 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :- +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).- (----+ ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙ http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา. +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน +----). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295. http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    -(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขกมาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 629
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล,
    สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ;
    +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ;
    +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้
    สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว
    แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์;
    แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.

    (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้
    ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 629 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24. http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อสัมมาสมาธิมีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะมีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; เมื่อนิพพิทาวิราคะมีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบแล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือกก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่นก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัยต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).
    0 Comments 0 Shares 67 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 996
    ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไป
    เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท)
    เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค)
    เพื่อความดับ (๓.นิโรธ)
    เพื่อความสงบ (๔.อุปสม)
    เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ)
    เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ)
    เพื่อ ๗.นิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย

    ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :-
    +--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ;
    +--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่;
    +--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย

    (ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้
    ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา
    เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว
    ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา,
    ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตน สัทธรรมลำดับที่ : 996 ชื่อบทธรรม :- การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 เนื้อความทั้งหมด :- --การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว-(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไป เพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (๑.เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (๒.วิราค) เพื่อความดับ (๓.นิโรธ) เพื่อความสงบ (๔.อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (๕.อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (๖.สมฺโพธ) เพื่อ ๗.นิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/22/95/?keywords=เอกนฺตนิพฺพิทาย ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ :- +--เป็นผู้ ๑.มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; +--เป็นผู้ ๒.มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; +--เป็นผู้ ๓.มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; +--เป็นผู้ ๔.มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; +--และ ๕.มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=นิพฺพานาย (ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/74/69. http://etipitaka.com/read/thai/22/74/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๔/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/22/94/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=996 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว--(มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ)
    -(สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกันใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้). การเป็นอยู่ที่น้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัว (มัชฌิมาปฏิปทาโดยอัตโนมัติ) ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว (เอกนฺตนิพฺพิท) เพื่อความคลายกำหนัด (วิราค) เพื่อความดับ (นิโรธ) เพื่อความสงบ (อุปสม) เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญ) เพื่อความรู้พร้อม (สมฺโพธ) เพื่อนิพพาน. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ : เป็นผู้ มีปกติตามเห็นความไม่งามในกาย อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าปฏิกูลในอาหาร อยู่ ; เป็นผู้ มีความสำคัญว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง อยู่ ; เป็นผู้ มีปกติตามเห็นว่าไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง อยู่; และ มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เมื่อบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    0 Comments 0 Shares 109 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 628
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว,
    อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร
    --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่,
    ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร
    ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่,
    ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์
    ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่,
    ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ
    ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่,
    สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่,
    วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา
    ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ
    ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    ...
    *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 628 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ ... *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210. http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 Comments 0 Shares 107 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 Comments 0 Shares 164 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 627
    ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่,
    หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว
    ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑;
    -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่,
    อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ
    ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่,
    สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร
    ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่,
    สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ
    #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย
    แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 627 ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 เนื้อความทั้งหมด :- --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑; -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187. http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    -กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ ภิกษุ ท. ! เมื่อ สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย๑; เมื่อ หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. เมื่อ นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 Comments 0 Shares 141 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 994
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ
    ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ?
    --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : -
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา
    +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ;
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล
    ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.-
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ สัทธรรมลำดับที่ : 994 ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : - http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.- http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366. http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    -(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณะรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด). ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้แล ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.
    0 Comments 0 Shares 129 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 626
    ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ
    ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ....
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?”
    --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)”
    ดังนี้.
    --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น”
    ดังนี้ แล้วไซร้,
    +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว
    เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑;
    คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น.

    (ในกรณีแห่ง
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ
    ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ...
    นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ
    และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ
    ต่างกันแต่ชื่อ
    ).

    --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ;
    เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น
    : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น.
    คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก
    หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย.

    *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 626 ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้ แล้วไซร้, +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ... นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ ). --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.- http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96. http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    -(ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่าสักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธันตะ ก็มี). อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้แล้วไซร้, ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง ; โดยประการอื่น๑ ; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูป ทั้งหลายโดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วยโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุและธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ). ๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น: นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น.
    0 Comments 0 Shares 111 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    สัทธรรมลำดับที่ : 993
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค

    (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ
    ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92

    (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93

    (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    แต่เขา
    หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน
    อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง
    ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง.
    +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94

    (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +++ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และทั้ง
    ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95

    (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่
    และทั้งเขา
    ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96

    (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ
    ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา
    ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97

    (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +-+ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ
    ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา
    ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย
    แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่
    และทั้งเขา
    ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98

    (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่ว่าเขา
    ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    และทั้งเขา
    ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑.
    +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99

    (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้
    ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค สัทธรรมลำดับที่ : 993 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93 (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +++ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่ และทั้งเขา ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +-+ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขา ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159. http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    -มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หา เป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่ง ชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขามีปกติใคร่ครวญ เนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขาสามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    0 Comments 0 Shares 124 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 992
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ
    การแสวงหากาม (กาเมสนา)
    การแสวงหาภพ (ภเวสนา)
    การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ...
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ .....
    สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ .....
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้
    ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้
    ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี.
    +--สำหรับคำว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น
    ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ
    เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี.
    +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้
    หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส
    เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ.
    +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา)
    ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น
    สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน
    ได้แก่ : -
    +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา)
    ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน
    คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.
    ]-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด สัทธรรมลำดับที่ : 992 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ..... ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. +--สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : - +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี. ]- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354. http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    -(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็นสัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบ หรือ มิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. -๒๑/๓๐๓/๒๐๖. ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี -๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, และ ทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี - ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบ หรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.) อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึงพรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือกาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วยกาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.]-
    0 Comments 0 Shares 142 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ
    สัทธรรมลำดับที่ : 991
    ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
    จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน

    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน

    (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
    สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
    จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
    ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
    โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
    ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
    แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
    ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
    http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
    และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
    -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
    ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
    อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
    เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
    แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
    เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
    -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ สัทธรรมลำดับที่ : 991 ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991 เนื้อความทั้งหมด :- --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.- http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96 ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97 และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99 ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔. http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205. http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มีสัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษที่ยิ่งกว่า สัตบุรุษ.
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ที่มีความหลุดพ้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 990
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=990
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น
    --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาไม่ได้ในธรรมวินัย (ศาสนา) ใด;
    http://etipitaka.com/read/pali/10/175/?keywords=ธมฺมวินเย+อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    สมณะก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สองก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สามก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สี่ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น.

    --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยใด;
    สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สองก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สามก็หาได้ ในธรรมวินัยนั้น
    สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น.

    --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยนี้ แล
    สมณะ หาได้ในธรรมวินัยนี้เทียว
    สมณะที่สอง หาได้ในธรรมวินัยนี้
    สมณะที่สาม หาได้ในธรรมวินัยนี้
    สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้.
    วาทะเครื่องสอนของพวกอื่น ว่างจากสมณะของพวกอื่น (จากพวกนั้น).

    --สุภัททะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้
    จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะ #ไม่ว่างจากพระอรหันต์ ทั้งหลาย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/176/?keywords=อรหนฺเตหิ+อสฺสาติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/121/138.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/121/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๑๗๕/๑๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/175/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=990
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=990
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ที่มีความหลุดพ้น สัทธรรมลำดับที่ : 990 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=990 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาไม่ได้ในธรรมวินัย (ศาสนา) ใด; http://etipitaka.com/read/pali/10/175/?keywords=ธมฺมวินเย+อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค สมณะก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สองก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สามก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สี่ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น. --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยใด; สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สองก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สามก็หาได้ ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น. --สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยนี้ แล สมณะ หาได้ในธรรมวินัยนี้เทียว สมณะที่สอง หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะที่สาม หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้. วาทะเครื่องสอนของพวกอื่น ว่างจากสมณะของพวกอื่น (จากพวกนั้น). --สุภัททะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้ จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะ #ไม่ว่างจากพระอรหันต์ ทั้งหลาย.- http://etipitaka.com/read/pali/10/176/?keywords=อรหนฺเตหิ+อสฺสาติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/121/138. http://etipitaka.com/read/thai/10/121/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๑๗๕/๑๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/10/175/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=990 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=990 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นสัญญลักษณ์ของศาสนาที่มีความหลุดพ้น สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาไม่ได้ในธรรมวินัย (ศาสนา) ใด; สมณะก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สองก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สามก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สี่ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น. สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยใด; สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สองก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สามก็หาได้ ในธรรมวินัยนั้น สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น. สุภัททะ ! อริยอัฏฐังคิกมรรค หาได้ในธรรมวินัยนี้ แล สมณะ หาได้ในธรรมวินัยนี้เทียว สมณะที่สอง หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะที่สาม หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะที่สี่ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้. วาทะเครื่องสอนของพวกอื่น ว่างจากสมณะของพวกอื่น (จากพวกนั้น). สุภัททะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้ จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะ ไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย.
    0 Comments 0 Shares 142 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 989
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    --อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ.
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท.
    --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๑.มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๒.มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๓.มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๔.มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ ๑.
    (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา)
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนา

    --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ, กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนาคามินี+ปฏิปทาติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/296/1223 - 1225.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/296/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖๗/๑๒๒๓ - ๑๒๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=989
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 989 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา --อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ. +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท. --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๑.มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๒.มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๓.มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๔.มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ ๑. (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา) +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนา. http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนา --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท) เป็นอย่างไรเล่า ? #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.- http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนาคามินี+ปฏิปทาติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/296/1223 - 1225. http://etipitaka.com/read/thai/19/296/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖๗/๑๒๒๓ - ๑๒๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=989 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท. อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยฉันทะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิริยะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยจิตตะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิมังสาเป็นปธานกิจ (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการ รักษา) ๑. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาทภาวนา. อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท) เป็นอย่างไรเล่า ? อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นแหละ, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.
    0 Comments 0 Shares 168 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 988
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง
    กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวปุราณานิ
    กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. ....
    --ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=ปุราณกมฺมํ

    --ภิกษุ ท. !
    จักษุ(ตา)​ .... โสตะ(หู)​ .... ฆานะ(จมูก)​ .... ชิวหา(ลิ้น)​ ....กายะ(กายสัมผัส)​ .... มนะ(ใจ)​
    อันเธอ ทั้งหลาย(ท.)​ พึงเห็นว่าเป็น
    ปุราณกัมม (กรรมเก่า)
    อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น)
    อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น)
    เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้).
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า.

    --ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวกมฺมํ
    ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด,
    +--อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่.

    --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ
    เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด,
    +--อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ.
    --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=กมฺมนิโรธคามินี+ปฏิปทา
    เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า)
    กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ทั้งหลาย(ท.)​,
    กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว,
    กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว,
    #กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว.

    --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว
    จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท.
    พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย.
    นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/136/227 - 231.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/136/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=988
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 988 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม) http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวปุราณานิ กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. .... --ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=ปุราณกมฺมํ --ภิกษุ ท. ! จักษุ(ตา)​ .... โสตะ(หู)​ .... ฆานะ(จมูก)​ .... ชิวหา(ลิ้น)​ ....กายะ(กายสัมผัส)​ .... มนะ(ใจ)​ อันเธอ ทั้งหลาย(ท.)​ พึงเห็นว่าเป็น ปุราณกัมม (กรรมเก่า) อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น) อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น) เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้). +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า. --ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวกมฺมํ ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, +--อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่. --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, +--อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ. --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม) http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=กมฺมนิโรธคามินี+ปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า) กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ทั้งหลาย(ท.)​, กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว, #กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว. --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย. นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/136/227 - 231. http://etipitaka.com/read/thai/18/136/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=988 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม) กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. .... ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! จักษุ .... โสตะ .... ฆานะ .... ชิวหา ....กายะ .... มนะ อันเธอ ท. พึงเห็นว่าเป็นปุราณกัมม (กรรมเก่า) อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น) อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น) เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า. ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่. ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ. ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า) กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ท., กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว. ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย. นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
    0 Comments 0 Shares 158 Views 0 Reviews
  • ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 620
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล
    ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย,
    และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ

    ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย
    เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว.
    การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี.
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 620 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148. http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 145 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับทั้งภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    สัทธรรมลำดับที่ : 987
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง.
    สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร.
    ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร.
    ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป.
    เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม.
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้.

    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้
    ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย.
    --ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    สามอย่าง คือ
    สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง,
    สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง,
    สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม;
    เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้
    แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด.

    --ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่าง คือ
    ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ),
    ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ),
    ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ).

    --ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า
    เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า
    เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้.
    มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย
    ดังนี้.
    มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง.

    --ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย
    ซึ่งภัยทั้งที่เป็น #สมาตาปุตติกภัย และ #อมาตาปุตติกภัย อย่างละสามๆ เหล่านั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=อมาตาปุตฺติกานํ

    --ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ
    #อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสียซึ่งภัย
    ทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170-173/502.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=987
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับทั้งภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ สัทธรรมลำดับที่ : 987 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง. สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป. เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้ ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย. --ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง, สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง, สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม; เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้ แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด. --ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง คือ ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ), ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ), ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ). --ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็น #สมาตาปุตติกภัย และ #อมาตาปุตติกภัย อย่างละสามๆ เหล่านั้น. http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=อมาตาปุตฺติกานํ --ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ #อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสียซึ่งภัย ทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170-173/502. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=987 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    -(ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง; และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลส ชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง; รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐ ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา). อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง. สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป. เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้ ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย. ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง, สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง, สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม; เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้ แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด. ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง คือ ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ), ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ), ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ). ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.
    0 Comments 0 Shares 237 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต
    สัทธรรมลำดับที่ : 986
    ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด

    ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ

    ข. เกิดสุคตวินัย
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ?
    แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92

    --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ
    ---
    ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ ....
    ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป ....
    ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง ....
    ๑๐.เพื่อความสลัดคืน ....
    ---
    ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ ....
    ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา ....
    ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ ....
    ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ .

    แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ
    ---
    เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐)
    ---
    ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗)
    แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส

    (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ
    ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง;
    และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง
    เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง;
    รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร
    คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ
    คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ
    ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต สัทธรรมลำดับที่ : 986 ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ ข. เกิดสุคตวินัย --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ --- ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ .... ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป .... ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง .... ๑๐.เพื่อความสลัดคืน .... --- ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ .... ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา .... ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ .... ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ . แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ --- เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐) --- ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗) แล.- http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง; และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง; รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204. http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด :
    -อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด : ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมา วายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ข. เกิดสุคตวินัย ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘ - ๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ เพื่อการรู้ยิ่ง .... เพื่อการรู้รอบ .... เพื่อการสิ้นไปรอบ .... เพื่อการละ .... เพื่อความสิ้นไป ....เพื่อความเสื่อมไป .... เพื่อความจางคลาย .... เพื่อความดับ .... เพื่อความสละทิ้ง .... เพื่อความสลัดคืน .... ซึ่งราคะ .... ซึ่งโทสะ .... ซึ่งโมหะ .... ซึ่งโกธะ .... อุปนาหะ .... มักขะ .... ปลาสะ .... อิสสา ..... มัจฉริยะ .... มายา .... สาเถยยะ .... ถัมภะ ..... สารัมภะ .... มานะ .... อติมานะ .... มทะ .... ปมาทะ .แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญเพื่อการรู้ยิ่ง ฯลฯ ซึ่งราคะ ฯลฯ แล.
    0 Comments 0 Shares 246 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 618
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=618
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    --มหาราช ! ....
    ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว,
    เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ.
    เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “เหล่านี้ อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”
    ดังนี้.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก
    กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”.
    เธอรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว,
    คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น,
    เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง
    อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น,
    เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า
    ”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้
    หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”,
    “ข้อนี้เป็นฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    "นี้ ทุกข์,
    นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “เหล่านี้ อาสวะ,
    นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ",
    ดังนี้.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก
    กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า
    “#จิตหลุดพ้นแล้ว”.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/112/?keywords=จิตฺตํ+วิมุจฺจติ
    เธอรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/77/138.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๑๐/๑๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/110/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=618
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 618 ชื่อบทธรรม :- ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=618 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ --มหาราช ! .... ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ” ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า ”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้ หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”, “ข้อนี้เป็นฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า "นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ", ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “#จิตหลุดพ้นแล้ว”. http://etipitaka.com/read/pali/9/112/?keywords=จิตฺตํ+วิมุจฺจติ เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/77/138. http://etipitaka.com/read/thai/9/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๑๐/๑๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/9/110/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=618 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายสมุทัย ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขสมุทยอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย” ที่หน้า ๓๖๘; ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไปกระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้).
    -(อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายสมุทัย ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขสมุทยอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย” ที่หน้า ๓๖๘; ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไปกระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้). ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจ และการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ มหาราช ! ....ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ” ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้ หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”, “ข้อนี้เป็นฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
More Results