• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 150
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
    เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

    สัทธรรมลำดับที่ : 151
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
    เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

    สัทธรรมลำดับที่ : 152
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
    อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
    อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
    --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
    --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
    +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
    +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
    +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
    สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
    +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
    +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 97 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 582
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
    ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ
    เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ

    บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้.

    (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ).

    --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน)
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน)
    ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล

    --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้
    ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว
    ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว
    ดังนี้แล.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 582 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)” ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.- #สัมมาทิฏฐิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177. http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    -ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”ดังนี้. บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 581
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=581
    ชื่อบทธรรม :- วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    ที่เรียกกันว่า ‘วิชชา-วิชชา’ ดังนี้นั้น เป็นอย่างไร,
    และด้วยเหตุเพียงเท่าไร บุคคลจึงชื่อว่า เป็นผู้ถึงซึ่งวิชชา ? พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ! อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว
    ในธรรมวินัยนี้ มารู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อัน มีความก่อขึ้น เป็นธรรมดาว่า
    ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นเป็นธรรมดา’
    ดังนี้ ;
    รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อัน มีความเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า
    ‘เป็นสิ่งที่มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    ดังนี้;
    รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อัน มี ทั้งความก่อขึ้นและเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า
    ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นและเสื่อมไปเป็นธรรมดา’
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ! อย่างนี้แลเราเรียกว่า วิชชา และบุคคลชื่อว่า เป็น #ผู้ถึงวิชชา
    http://etipitaka.com/read/pali/17/210/?keywords=วิชฺชา
    ย่อมมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล.-

    ​#สัมมาทิฏฐิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/165/321.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/165/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๐/๓๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/210/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=581
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=581
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 581 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=581 ชื่อบทธรรม :- วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา เนื้อความทั้งหมด :- --วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ที่เรียกกันว่า ‘วิชชา-วิชชา’ ดังนี้นั้น เป็นอย่างไร, และด้วยเหตุเพียงเท่าไร บุคคลจึงชื่อว่า เป็นผู้ถึงซึ่งวิชชา ? พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ! อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ในธรรมวินัยนี้ มารู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อัน มีความก่อขึ้น เป็นธรรมดาว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นเป็นธรรมดา’ ดังนี้ ; รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อัน มีความเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ดังนี้; รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อัน มี ทั้งความก่อขึ้นและเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นและเสื่อมไปเป็นธรรมดา’ ดังนี้ ; --ภิกษุ ! อย่างนี้แลเราเรียกว่า วิชชา และบุคคลชื่อว่า เป็น #ผู้ถึงวิชชา http://etipitaka.com/read/pali/17/210/?keywords=วิชฺชา ย่อมมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล.- ​#สัมมาทิฏฐิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/165/321. http://etipitaka.com/read/thai/17/165/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๐/๓๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/210/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=581 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=581 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา
    -วิชชาของผู้ถึงซึ่งวิชชา “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ที่เรียกกันว่า ‘วิชชา-วิชชา’ ดังนี้นั้น เป็นอย่างไร, และด้วยเหตุเพียงเท่าไร บุคคลจึงชื่อว่า เป็นผู้ถึงซึ่งวิชชา ? พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ! อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ในธรรมวินัยนี้ มารู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อัน มีความก่อขึ้น เป็นธรรมดา ว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นเป็นธรรมดา’ ดังนี้ ; รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อัน มีความเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ดังนี้; รู้ชัดแจ้งตามเป็นจริงซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมี ทั้งความก่อขึ้นและเสื่อมไป เป็นธรรมดา ว่า ‘เป็นสิ่งที่มีความก่อขึ้นและเสื่อมไปเป็นธรรมดา’ ดังนี้ ; ภิกษุ ! อย่างนี้แลเราเรียกว่า วิชชา และบุคคลชื่อว่า เป็นผู้ถึงวิชชา ย่อมมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 199 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ยุคมือถือ – ยุคที่สร้างกรรมได้ง่ายที่สุด”

    ---

    1. กรรมในยุคนี้เกิดเร็ว สะสมเร็ว และแรงกว่ายุคใด

    แค่ปลายนิ้วกระดิกสามารถก่อทั้งบุญและบาปจำนวนมากได้ทันที

    โลกออนไลน์ทำให้ผลของ “วจีกรรม” หรือ “มโนกรรม” กระจายเร็วและกว้างมากกว่าชาติไหนๆ

    ---

    2. ความเปลี่ยนแปลงของยุค: จากอำนาจใหญ่ → ถึงมือทุกคน

    ในอดีต คนจะทำบาปให้คนมากๆ เดือดร้อนต้องมีอำนาจ

    วันนี้แค่มือถือ 1 เครื่อง กับโพสต์ 1 โพสต์ ก็สร้างผลกระทบระดับมหาศาลได้

    ---

    3. ยุค IT คือยุคที่เป็นได้ทั้งนักบุญและคนบาป

    ทุกโพสต์ ทุกคอมเมนต์ ทุกแชร์ คือกรรม

    ความเร็วในการก่อกรรมสูงมาก แต่คุณภาพของกรรม (ดี/ร้าย) ขึ้นกับเจตนาและความรู้เท่าทันของจิต

    ---

    4. สัมมาทิฏฐิ คือเข็มทิศสำคัญ

    ต้องปลูก “สัมมาทิฏฐิ” คือ ความเห็นถูก ให้มั่นในตนเองและลูกหลาน

    ยุคนี้ไม่ใช่แค่ยุคหาเงิน แต่คือยุคสร้างกรรมแบบเข้มข้น ต้องตื่นรู้ให้ไว

    ---

    5. หลักพิจารณาก่อนทำกรรมในยุคโซเชียล

    ผลกระทบกว้างขนาดไหน?

    ทำด้วยเจตนาดีหรือร้าย?

    ขณะทำใจมืดหรือสว่าง?

    หลังทำ รู้สึกยินดีหรือเสียใจ?

    ---

    6. ผลของกรรมออนไลน์

    บาป: จิตจะฟุ้งซ่าน สะใจในทางร้าย เห็นผิดเป็นชอบ นำไปสู่ภัยในชาตินี้และชาติหน้า

    บุญ: ถ้ามีสัมมาทิฏฐิ จะใช้เทคโนโลยีสร้างกรรมดี สะสมบุญอย่างมหาศาล

    ---

    Essence สั้นๆ

    “มือถือของคุณ อาจเป็นเครื่องมือสร้างนรก หรือพาคุณไปนิพพาน อยู่ที่ใจคุณใช้มันอย่างไร”

    “ในยุคโพสต์เป็นบุญ – คอมเมนต์เป็นบาป คนมีสัมมาทิฏฐิเท่านั้นจะรอดปลอดภัย”
    “ยุคมือถือ – ยุคที่สร้างกรรมได้ง่ายที่สุด” --- 1. กรรมในยุคนี้เกิดเร็ว สะสมเร็ว และแรงกว่ายุคใด แค่ปลายนิ้วกระดิกสามารถก่อทั้งบุญและบาปจำนวนมากได้ทันที โลกออนไลน์ทำให้ผลของ “วจีกรรม” หรือ “มโนกรรม” กระจายเร็วและกว้างมากกว่าชาติไหนๆ --- 2. ความเปลี่ยนแปลงของยุค: จากอำนาจใหญ่ → ถึงมือทุกคน ในอดีต คนจะทำบาปให้คนมากๆ เดือดร้อนต้องมีอำนาจ วันนี้แค่มือถือ 1 เครื่อง กับโพสต์ 1 โพสต์ ก็สร้างผลกระทบระดับมหาศาลได้ --- 3. ยุค IT คือยุคที่เป็นได้ทั้งนักบุญและคนบาป ทุกโพสต์ ทุกคอมเมนต์ ทุกแชร์ คือกรรม ความเร็วในการก่อกรรมสูงมาก แต่คุณภาพของกรรม (ดี/ร้าย) ขึ้นกับเจตนาและความรู้เท่าทันของจิต --- 4. สัมมาทิฏฐิ คือเข็มทิศสำคัญ ต้องปลูก “สัมมาทิฏฐิ” คือ ความเห็นถูก ให้มั่นในตนเองและลูกหลาน ยุคนี้ไม่ใช่แค่ยุคหาเงิน แต่คือยุคสร้างกรรมแบบเข้มข้น ต้องตื่นรู้ให้ไว --- 5. หลักพิจารณาก่อนทำกรรมในยุคโซเชียล ผลกระทบกว้างขนาดไหน? ทำด้วยเจตนาดีหรือร้าย? ขณะทำใจมืดหรือสว่าง? หลังทำ รู้สึกยินดีหรือเสียใจ? --- 6. ผลของกรรมออนไลน์ บาป: จิตจะฟุ้งซ่าน สะใจในทางร้าย เห็นผิดเป็นชอบ นำไปสู่ภัยในชาตินี้และชาติหน้า บุญ: ถ้ามีสัมมาทิฏฐิ จะใช้เทคโนโลยีสร้างกรรมดี สะสมบุญอย่างมหาศาล --- Essence สั้นๆ “มือถือของคุณ อาจเป็นเครื่องมือสร้างนรก หรือพาคุณไปนิพพาน อยู่ที่ใจคุณใช้มันอย่างไร” “ในยุคโพสต์เป็นบุญ – คอมเมนต์เป็นบาป คนมีสัมมาทิฏฐิเท่านั้นจะรอดปลอดภัย”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935
    ชื่อบทธรรม :- ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน
    ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=อาภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;*--๑
    +--ครั้นไม่ทำ #อาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป )
    ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น
    : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ เสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ ศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน
    ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้ นั้น
    : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;*--๑
    ๑--ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.
    ๒--ครั้นทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;
    ๓--ครั้นทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้;
    ๔--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์แล้ว #จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.-

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า &​อาภิสมาจาริกธรรม
    กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน
    เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง;
    กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา.
    ขอให้ทุกคนทำการ &​ชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/15-16/21.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๕-๑๖/๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935 ชื่อบทธรรม :- ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=อาภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;*--๑ +--ครั้นไม่ทำ #อาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป ) ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ เสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ ศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;*--๑ ๑--ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้. ๒--ครั้นทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ๓--ครั้นทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้; ๔--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์แล้ว #จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.- *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า &​อาภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง; กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการ &​ชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/15-16/21. http://etipitaka.com/read/thai/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๕-๑๖/๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    -ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;๑ ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อาภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง; กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน. ครั้นไม่ทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป ) ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้. ครั้นทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 314 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    สัทธรรมลำดับที่ : 560
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    ...
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก
    เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา
    เป็นผู้รับใช้พระราชา
    ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม.
    ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ
    ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล
    ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ
    ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ
    ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ว่า
    “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น
    ภายในหรือภายนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี
    ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น
    #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ ;

    (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น :
    อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ
    ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สัทธรรมลำดับที่ : 560 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร ... --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.- #สัมมาทิฏฐิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    -ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ เป็นผู้ยิงได้ไกล เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกลเป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่อัตตาของเรา” ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำเป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มีสัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 539 มุมมอง 0 รีวิว
  • คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้:

    ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)**
    - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา
    - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ
    - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา
    - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8

    ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)**
    - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4
    - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์
    - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ
    - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง
    - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง
    - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี
    - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ
    - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ

    ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)**
    - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
    - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้
    - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง

    ### 4. **กรรมและวิบาก**
    - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
    - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว

    ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)**
    - **รูป (ร่างกาย)**
    - **เวทนา (ความรู้สึก)**
    - **สัญญา (ความจำ)**
    - **สังขาร (ความคิด)**
    - **วิญญาณ (จิตสำนึก)**

    ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น**
    - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8
    - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ
    - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต

    ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)**
    - **เมตตา (ความรัก)**
    - **กรุณา (ความสงสาร)**
    - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)**
    - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)**

    ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)**
    - **ไม่ทำบาปทั้งปวง**
    - **ทำความดีให้ถึงพร้อม**
    - **ทำจิตใจให้ผ่องใส**

    พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้: ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)** - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8 ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)** - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4 - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)** - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้ - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง ### 4. **กรรมและวิบาก** - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)** - **รูป (ร่างกาย)** - **เวทนา (ความรู้สึก)** - **สัญญา (ความจำ)** - **สังขาร (ความคิด)** - **วิญญาณ (จิตสำนึก)** ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น** - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8 - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)** - **เมตตา (ความรัก)** - **กรุณา (ความสงสาร)** - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)** - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)** ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)** - **ไม่ทำบาปทั้งปวง** - **ทำความดีให้ถึงพร้อม** - **ทำจิตใจให้ผ่องใส** พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 675 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญหวังผล จัดเป็นทานบารมีไหม?

    การทำบุญหวังผลนั้นสามารถจัดเป็น ทานบารมี ได้ แต่มีความแตกต่างใน ระดับของบารมี และ ความละเอียดของจิต ที่แฝงอยู่ในขณะทำทาน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ดังนี้:


    ---

    1. ทำบุญหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิ

    ใจเลื่อมใสว่าทานมีผล: เชื่อว่าการทำความดี การให้ทานจะนำมาซึ่งผลดีในอนาคต เช่น ความสุข ความเจริญ หรือการเกิดในภพภูมิที่ดี

    จิตประกอบด้วยศรัทธาและเจตนาในทางกุศล: แม้มีความหวังผล แต่ยังคงเป็นความหวังในลักษณะสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)

    นับเป็นทานบารมีระดับต้นถึงกลาง: บุญที่เกิดขึ้นจะช่วยสร้างบารมีในระดับที่นำพาไปสู่ความดี ความสุข และความเจริญทางจิตใจและชีวิต แต่ยังไม่ถึงความละเอียดสูงสุด



    ---

    2. ทำบุญหวังผลแบบเจาะจง (จิตคับแคบ)

    ทำบุญโดยมุ่งเน้นผลตอบแทนเฉพาะเจาะจง เช่น "ฉันทำบุญนี้เพื่อให้ได้ลาภสักการะ หรือเพื่อได้สวรรค์ชั้นนั้น ชั้นนี้"

    จิตประกอบด้วยความละโมบแบบนักลงทุน: ขาดความประณีตและความเปิดกว้างในการให้ อานิสงส์ที่ได้รับจึงถูกจำกัดอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า เช่น สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งยังคงอยู่ในขอบเขตของความเป็นปุถุชน



    ---

    3. ทำบุญโดยไม่หวังผลตอบแทน

    จิตบริสุทธิ์ เบิกบาน ไม่เลือกหน้า: ให้ด้วยความเมตตา ปรารถนาเพียงความสุขของผู้รับ โดยไม่หวังผลตอบแทน

    เกิดปีติสุขจากการทำทันที: ไม่ต้องรอผลในอนาคต เพราะจิตได้สัมผัสถึงความสุขจากการให้ตั้งแต่ขณะนั้น

    นับเป็นทานบารมีระดับสูง: อานิสงส์ของทานเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดความสุข ความผ่องใส ทั้งในชาตินี้และชาติต่อไป และอาจนำไปสู่การเข้าถึงความละเอียดของจิตที่สูงขึ้น เช่น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือสูงกว่านั้น



    ---

    สรุป: ทำบุญหวังผลเป็นทานบารมีหรือไม่?

    หากหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิและไม่ละโมบจนเกินไป การทำบุญหวังผลยังคงเป็น ทานบารมี แต่ผลที่ได้รับจะคับแคบตามความคาดหวังนั้น

    หากไม่หวังผลตอบแทน จิตใจเปิดกว้าง เบิกบาน การทำบุญนั้นจะเป็น ทานบารมีระดับสูงสุด ที่ก่อให้เกิดอานิสงส์ยิ่งใหญ่ทั้งในปัจจุบันและอนาคต.


    ทำบุญหวังผล จัดเป็นทานบารมีไหม? การทำบุญหวังผลนั้นสามารถจัดเป็น ทานบารมี ได้ แต่มีความแตกต่างใน ระดับของบารมี และ ความละเอียดของจิต ที่แฝงอยู่ในขณะทำทาน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ดังนี้: --- 1. ทำบุญหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิ ใจเลื่อมใสว่าทานมีผล: เชื่อว่าการทำความดี การให้ทานจะนำมาซึ่งผลดีในอนาคต เช่น ความสุข ความเจริญ หรือการเกิดในภพภูมิที่ดี จิตประกอบด้วยศรัทธาและเจตนาในทางกุศล: แม้มีความหวังผล แต่ยังคงเป็นความหวังในลักษณะสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) นับเป็นทานบารมีระดับต้นถึงกลาง: บุญที่เกิดขึ้นจะช่วยสร้างบารมีในระดับที่นำพาไปสู่ความดี ความสุข และความเจริญทางจิตใจและชีวิต แต่ยังไม่ถึงความละเอียดสูงสุด --- 2. ทำบุญหวังผลแบบเจาะจง (จิตคับแคบ) ทำบุญโดยมุ่งเน้นผลตอบแทนเฉพาะเจาะจง เช่น "ฉันทำบุญนี้เพื่อให้ได้ลาภสักการะ หรือเพื่อได้สวรรค์ชั้นนั้น ชั้นนี้" จิตประกอบด้วยความละโมบแบบนักลงทุน: ขาดความประณีตและความเปิดกว้างในการให้ อานิสงส์ที่ได้รับจึงถูกจำกัดอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า เช่น สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งยังคงอยู่ในขอบเขตของความเป็นปุถุชน --- 3. ทำบุญโดยไม่หวังผลตอบแทน จิตบริสุทธิ์ เบิกบาน ไม่เลือกหน้า: ให้ด้วยความเมตตา ปรารถนาเพียงความสุขของผู้รับ โดยไม่หวังผลตอบแทน เกิดปีติสุขจากการทำทันที: ไม่ต้องรอผลในอนาคต เพราะจิตได้สัมผัสถึงความสุขจากการให้ตั้งแต่ขณะนั้น นับเป็นทานบารมีระดับสูง: อานิสงส์ของทานเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดความสุข ความผ่องใส ทั้งในชาตินี้และชาติต่อไป และอาจนำไปสู่การเข้าถึงความละเอียดของจิตที่สูงขึ้น เช่น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือสูงกว่านั้น --- สรุป: ทำบุญหวังผลเป็นทานบารมีหรือไม่? หากหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิและไม่ละโมบจนเกินไป การทำบุญหวังผลยังคงเป็น ทานบารมี แต่ผลที่ได้รับจะคับแคบตามความคาดหวังนั้น หากไม่หวังผลตอบแทน จิตใจเปิดกว้าง เบิกบาน การทำบุญนั้นจะเป็น ทานบารมีระดับสูงสุด ที่ก่อให้เกิดอานิสงส์ยิ่งใหญ่ทั้งในปัจจุบันและอนาคต.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 536 มุมมอง 0 รีวิว
  • คำอธิบาย: จิตตั้งมั่นแต่ยังมีความขุ่นมัวคืออะไร?

    การที่จิตตั้งมั่นอยู่แต่อีกส่วนหนึ่งยังมีความขุ่นมัวนั้น เป็น "การปรุงแต่งของจิต" ในปัจจุบันขณะ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าจิตตั้งมั่นจะต้องใสสะอาดหรือปราศจากความคิดหรืออารมณ์เสมอไป จิตยังคงสามารถมีความขุ่นมัวหรือความคิดแทรกเข้ามาได้ในเวลาเดียวกัน

    ---

    หลักการมองจิตตั้งมั่นและความขุ่นมัว

    1. จิตตั้งมั่น (ขณิกสมาธิ)

    มีความนิ่งสงบในระดับหนึ่ง แต่ไม่ใช่สมาธิที่ลึกจนไร้การปรุงแต่ง

    ขณะที่จิตตั้งมั่น อาจมีความคิดหรืออารมณ์ผ่านเข้ามาเป็นสายๆ ซึ่งสามารถแยกออกได้ว่าเป็นสิ่งที่ "อยู่นอกจิต"

    2. ความขุ่นมัว (การปรุงแต่ง)

    เป็นสภาพธรรมชนิดหนึ่งที่เข้ามากระทบจิต เช่น ความฟุ้งซ่าน ความกังวล หรือความหม่นหมอง

    ความขุ่นมัวเป็นสิ่งนอกตัว ไม่ใช่ตัวเรา เพียงแค่รู้ว่ามันมีอยู่ ไม่ต้องตัดสินหรือพยายามขจัด

    3. การจำแนกภายใน-ภายนอก

    จิตที่ตั้งมั่นเป็น "อายตนะภายใน"

    ความคิดหรือความขุ่นมัวเป็น "อายตนะภายนอก"

    การเห็นสิ่งเหล่านี้แยกกันอย่างชัดเจน คือผลของสมาธิและสัมมาทิฏฐิ

    ---

    วิธีปฏิบัติต่อความขุ่นมัว

    1. รู้และยอมรับโดยไม่แทรกแซง

    เมื่อความขุ่นมัวเกิดขึ้น ให้สังเกตอย่างเป็นกลาง รู้ว่ามันมีอยู่ ไม่ต้องตั้งคำถามหรือหาคำตอบ

    “จิตตั้งมั่น แต่มีความขุ่นมัว” แค่รู้เท่านั้น และเฝ้าดูว่ามันเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

    2. เห็นความไม่เที่ยง

    ความขุ่นมัวจะมาและไปตามธรรมชาติ เมื่อความหม่นหมองจางหายไป จิตจะกลับมาผ่องใสอีกครั้ง

    กระบวนการนี้ช่วยให้เราเห็นความไม่เที่ยงของอารมณ์และสภาวธรรม

    3. อย่าตั้งข้อสงสัยหรือพยายามแก้ไข

    หากเราตั้งคำถามว่า "จะทำอย่างไรให้หาย?" ความฟุ้งซ่านจะเข้ามาปกคลุมจิตแทนความขุ่นมัว

    เพียงแค่รู้ ไม่ต้องเข้าไปแทรกแซงใดๆ

    ---

    ผลที่ได้จากการปฏิบัติ

    การสังเกตโดยไม่แทรกแซงช่วยให้ สติและปัญญาเจริญขึ้น

    จิตจะค่อยๆ แข็งแรงขึ้น มีความตั้งมั่นที่มั่นคงและผ่องใสมากขึ้น

    เมื่อเผชิญกับความขุ่นมัวครั้งต่อไป เราจะสามารถรับมือได้ดีขึ้นและไม่ถูกมันครอบงำ

    ---

    สรุป:
    การที่จิตตั้งมั่นแต่อีกส่วนยังมีความขุ่นมัว เป็นธรรมชาติของการปรุงแต่งในปัจจุบันขณะ สิ่งสำคัญคือ ไม่ต้องขจัดหรือแก้ไข แต่ให้สังเกตและรู้ทันอย่างเป็นกลาง สุดท้ายความขุ่นมัวจะจางไปเอง และจิตที่ตั้งมั่นจะผ่องใสมากขึ้น พร้อมให้เราเห็นความไม่เที่ยงอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น!
    คำอธิบาย: จิตตั้งมั่นแต่ยังมีความขุ่นมัวคืออะไร? การที่จิตตั้งมั่นอยู่แต่อีกส่วนหนึ่งยังมีความขุ่นมัวนั้น เป็น "การปรุงแต่งของจิต" ในปัจจุบันขณะ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าจิตตั้งมั่นจะต้องใสสะอาดหรือปราศจากความคิดหรืออารมณ์เสมอไป จิตยังคงสามารถมีความขุ่นมัวหรือความคิดแทรกเข้ามาได้ในเวลาเดียวกัน --- หลักการมองจิตตั้งมั่นและความขุ่นมัว 1. จิตตั้งมั่น (ขณิกสมาธิ) มีความนิ่งสงบในระดับหนึ่ง แต่ไม่ใช่สมาธิที่ลึกจนไร้การปรุงแต่ง ขณะที่จิตตั้งมั่น อาจมีความคิดหรืออารมณ์ผ่านเข้ามาเป็นสายๆ ซึ่งสามารถแยกออกได้ว่าเป็นสิ่งที่ "อยู่นอกจิต" 2. ความขุ่นมัว (การปรุงแต่ง) เป็นสภาพธรรมชนิดหนึ่งที่เข้ามากระทบจิต เช่น ความฟุ้งซ่าน ความกังวล หรือความหม่นหมอง ความขุ่นมัวเป็นสิ่งนอกตัว ไม่ใช่ตัวเรา เพียงแค่รู้ว่ามันมีอยู่ ไม่ต้องตัดสินหรือพยายามขจัด 3. การจำแนกภายใน-ภายนอก จิตที่ตั้งมั่นเป็น "อายตนะภายใน" ความคิดหรือความขุ่นมัวเป็น "อายตนะภายนอก" การเห็นสิ่งเหล่านี้แยกกันอย่างชัดเจน คือผลของสมาธิและสัมมาทิฏฐิ --- วิธีปฏิบัติต่อความขุ่นมัว 1. รู้และยอมรับโดยไม่แทรกแซง เมื่อความขุ่นมัวเกิดขึ้น ให้สังเกตอย่างเป็นกลาง รู้ว่ามันมีอยู่ ไม่ต้องตั้งคำถามหรือหาคำตอบ “จิตตั้งมั่น แต่มีความขุ่นมัว” แค่รู้เท่านั้น และเฝ้าดูว่ามันเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 2. เห็นความไม่เที่ยง ความขุ่นมัวจะมาและไปตามธรรมชาติ เมื่อความหม่นหมองจางหายไป จิตจะกลับมาผ่องใสอีกครั้ง กระบวนการนี้ช่วยให้เราเห็นความไม่เที่ยงของอารมณ์และสภาวธรรม 3. อย่าตั้งข้อสงสัยหรือพยายามแก้ไข หากเราตั้งคำถามว่า "จะทำอย่างไรให้หาย?" ความฟุ้งซ่านจะเข้ามาปกคลุมจิตแทนความขุ่นมัว เพียงแค่รู้ ไม่ต้องเข้าไปแทรกแซงใดๆ --- ผลที่ได้จากการปฏิบัติ การสังเกตโดยไม่แทรกแซงช่วยให้ สติและปัญญาเจริญขึ้น จิตจะค่อยๆ แข็งแรงขึ้น มีความตั้งมั่นที่มั่นคงและผ่องใสมากขึ้น เมื่อเผชิญกับความขุ่นมัวครั้งต่อไป เราจะสามารถรับมือได้ดีขึ้นและไม่ถูกมันครอบงำ --- สรุป: การที่จิตตั้งมั่นแต่อีกส่วนยังมีความขุ่นมัว เป็นธรรมชาติของการปรุงแต่งในปัจจุบันขณะ สิ่งสำคัญคือ ไม่ต้องขจัดหรือแก้ไข แต่ให้สังเกตและรู้ทันอย่างเป็นกลาง สุดท้ายความขุ่นมัวจะจางไปเอง และจิตที่ตั้งมั่นจะผ่องใสมากขึ้น พร้อมให้เราเห็นความไม่เที่ยงอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 354 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ปัญญาอบรมสมาธิ"

    " .. อย่าเข้าใจว่า "สมาธิเดินก่อนปัญญาเดินหลัง ปัญญาเดินก่อนสมาธิเดินหลัง มันสับปนกันไป แล้วแต่ วาระของจิตที่จะพิจารณาอย่างไร" อันนี้ก็เขียนไว้แล้วใน "ปัญญาอบรมสมาธิ"

    เขียนไว้ตามความรู้เจ้าของ "เจ้าของเคยพิจารณามา จะพิจารณาปัญญานี้ จิตมันไม่ลง มันไม่รวม" มันไม่สงบเหรอ "มันเป็นเพราะเหตุไร" ไล่เบี้ยกันไปเลย "นั่นเรียกว่าปัญญา มันยอมจำนนหมด" มันลงของมันเอง ปั๊วะเดียวเลย

    "ถ้าลงด้วยปัญญานี้มันลงอาจหาญผิดกันกับลงธรรมดา" ลงธรรมดามันก็อยู่ของมันสงบ "แต่ถ้าปัญญาพาให้ลงแล้ว โอ้โห .. มันลงอย่างถึงที่ถึงฐาน ถอนออกมาแล้วมันยังอาจหาญด้วย" นั่นผิดกัน

    "ปัญญาจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก" ประมาทไม่ได้เรื่องปัญญา "สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป ขึ้นต้นหัวหน้าเลย" คนโง่เขาไม่เอาเป็นหัวหน้างาน งานอะไร ๆ ก็ต้องหาคนฉลาดสำคัญ "สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป ขึ้นหน้าแล้ว สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต ค่อยไปตามหลัง" เอาเรื่องของปัญญาขึ้นมา .. "

    หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    "ปัญญาอบรมสมาธิ" " .. อย่าเข้าใจว่า "สมาธิเดินก่อนปัญญาเดินหลัง ปัญญาเดินก่อนสมาธิเดินหลัง มันสับปนกันไป แล้วแต่ วาระของจิตที่จะพิจารณาอย่างไร" อันนี้ก็เขียนไว้แล้วใน "ปัญญาอบรมสมาธิ" เขียนไว้ตามความรู้เจ้าของ "เจ้าของเคยพิจารณามา จะพิจารณาปัญญานี้ จิตมันไม่ลง มันไม่รวม" มันไม่สงบเหรอ "มันเป็นเพราะเหตุไร" ไล่เบี้ยกันไปเลย "นั่นเรียกว่าปัญญา มันยอมจำนนหมด" มันลงของมันเอง ปั๊วะเดียวเลย "ถ้าลงด้วยปัญญานี้มันลงอาจหาญผิดกันกับลงธรรมดา" ลงธรรมดามันก็อยู่ของมันสงบ "แต่ถ้าปัญญาพาให้ลงแล้ว โอ้โห .. มันลงอย่างถึงที่ถึงฐาน ถอนออกมาแล้วมันยังอาจหาญด้วย" นั่นผิดกัน "ปัญญาจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก" ประมาทไม่ได้เรื่องปัญญา "สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป ขึ้นต้นหัวหน้าเลย" คนโง่เขาไม่เอาเป็นหัวหน้างาน งานอะไร ๆ ก็ต้องหาคนฉลาดสำคัญ "สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป ขึ้นหน้าแล้ว สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต ค่อยไปตามหลัง" เอาเรื่องของปัญญาขึ้นมา .. " หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 483 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ความคิดเห็น"

    หากคนในหมู่คณะมีความคิดเห็นเสมอกัน ย่อมไม่เกิดความขัดเเย้งขึ้นในสังคมนั้น.

    เมื่อทุกท่านยึดหลักธรรม "สัมมาทิฏฐิ" ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์. ปัญหาต่างๆ ในหมู่คณะ ย่อมลดน้อยลงไป จนเกิดสันติสุขที่แท้จริง.

    ณรงค์ คนขำ
    05/11/2567
    "ความคิดเห็น" หากคนในหมู่คณะมีความคิดเห็นเสมอกัน ย่อมไม่เกิดความขัดเเย้งขึ้นในสังคมนั้น. เมื่อทุกท่านยึดหลักธรรม "สัมมาทิฏฐิ" ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์. ปัญหาต่างๆ ในหมู่คณะ ย่อมลดน้อยลงไป จนเกิดสันติสุขที่แท้จริง. ณรงค์ คนขำ 05/11/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 132 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ความคิดเห็น"

    หากคนในหมู่คณะมีความคิดเห็นเสมอกัน ย่อมไม่เกิดความขัดเเย้งขึ้นในสังคมนั้น.

    เมื่อทุกท่านยึดหลักธรรม "สัมมาทิฏฐิ" ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์. ปัญหาต่างๆ ในหมู่คณะ ย่อมลดน้อยลงไป จนเกิดสันติสุขที่แท้จริง.

    ณรงค์ คนขำ
    05/11/2567
    "ความคิดเห็น" หากคนในหมู่คณะมีความคิดเห็นเสมอกัน ย่อมไม่เกิดความขัดเเย้งขึ้นในสังคมนั้น. เมื่อทุกท่านยึดหลักธรรม "สัมมาทิฏฐิ" ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์. ปัญหาต่างๆ ในหมู่คณะ ย่อมลดน้อยลงไป จนเกิดสันติสุขที่แท้จริง. ณรงค์ คนขำ 05/11/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • @ศูนย์อำนวยการจิตอาสา

    สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค
    “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต และวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช วันที่ ๑ และวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ และเนื่องในวันนวมินทรมหาราช ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๗ ผ่านแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ ระหว่างวันที่ ๑ – ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ ”

    #สัมมาทิฏฐิ
    #สมาธิเสบียงบุญ

    https://www.facebook.com/share/rV43oRMyWEtrdFHG/?mibextid=oFDknk
    @ศูนย์อำนวยการจิตอาสา สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต และวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช วันที่ ๑ และวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ และเนื่องในวันนวมินทรมหาราช ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๗ ผ่านแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ ระหว่างวันที่ ๑ – ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ ” #สัมมาทิฏฐิ #สมาธิเสบียงบุญ https://www.facebook.com/share/rV43oRMyWEtrdFHG/?mibextid=oFDknk
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 257 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช และเนื่องในวันนวมินทรมหาราช ระหว่างวันที่ ๑ – ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ ผ่านแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ”

    27 กันยายน 2467-รายงานข่าวจาก สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย เป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช และเนื่องในวันนวมินทรมหาราชซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคต ในรัชกาลที่๙

    จึงขอเชิญชวนประชาชนร่วมทำสมาธิเจริญอริยมรรค "สัมมาทิฏฐิ"ระลึกถึงพระรัตนตรัย ด้วยบทว่า “พุทโธ เม นาโถ
    (พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า)
    ธัมโม เม นาโถ
    (พระธรรมเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า)
    สังโฆ เม นาโถ
    (พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า)”
    โดยให้ระลึกต่อเนี่องได้ในทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน ถวายเป็นพระราชกุศล ทุกท่านสามารถฝึกสมาธิ ไม่ว่าจะเริ่มต้น หรือ ฝึกปฏิบัติเป็นประจำอยู่แล้ว โดยดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ” เพื่อสะสมบุญบารมีให้กับชีวิต ให้จิตใจผ่องใสในบุญบารมีในการปฏิบัติสมาธิเจริญภาวนา โดยดาวน์โหลดแอปพลิเคชันได้ที่ Google Play ในระบบ Android เวอร์ชั่น 10 และที่ App Storeในไอโฟนที่รองรับ iOS เวอร์ชั่น 11 ขึ้นไป

    ที่มา : https://meditate.royaloffice.th/

    #Thaitimes
    สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช และเนื่องในวันนวมินทรมหาราช ระหว่างวันที่ ๑ – ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ ผ่านแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ” 27 กันยายน 2467-รายงานข่าวจาก สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย เป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช และเนื่องในวันนวมินทรมหาราชซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคต ในรัชกาลที่๙ จึงขอเชิญชวนประชาชนร่วมทำสมาธิเจริญอริยมรรค "สัมมาทิฏฐิ"ระลึกถึงพระรัตนตรัย ด้วยบทว่า “พุทโธ เม นาโถ (พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า) ธัมโม เม นาโถ (พระธรรมเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า) สังโฆ เม นาโถ (พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า)” โดยให้ระลึกต่อเนี่องได้ในทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน ถวายเป็นพระราชกุศล ทุกท่านสามารถฝึกสมาธิ ไม่ว่าจะเริ่มต้น หรือ ฝึกปฏิบัติเป็นประจำอยู่แล้ว โดยดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ” เพื่อสะสมบุญบารมีให้กับชีวิต ให้จิตใจผ่องใสในบุญบารมีในการปฏิบัติสมาธิเจริญภาวนา โดยดาวน์โหลดแอปพลิเคชันได้ที่ Google Play ในระบบ Android เวอร์ชั่น 10 และที่ App Storeในไอโฟนที่รองรับ iOS เวอร์ชั่น 11 ขึ้นไป ที่มา : https://meditate.royaloffice.th/ #Thaitimes
    MEDITATE.ROYALOFFICE.TH
    ขอเชิญชวนประชาชนร่วม นั่งสมาธิเสบียงบุญ
    ขอเชิญชวนท่านที่ฝึกสมาธิ ไม่ว่าจะเริ่มต้น หรือ ฝึกปฏิบัติเป็นประจำอยู่แล้ว ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน “สมาธิเสบียงบุญ” เพื่อสะสมบุญบารมีให้กับชีวิต ให้จิตใจผ่องใสในบุญบารมีในการปฏิบัติสมาธิเจริญภาวนา
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1348 มุมมอง 0 รีวิว
  • มรรคมีองค์ 8 มีดังนี้
    1) สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ
    2) สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ
    3) สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ
    4) สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ
    5) สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ
    6) สัมมาวายามะ คือ ความ พยายามชอบ
    7) สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ 8) สัมมาสมาธิ คือ ความตั้งจิตมั่นชอบ
    มรรคมีองค์ 8 มีดังนี้ 1) สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ 2) สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ 3) สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ 4) สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ 5) สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ 6) สัมมาวายามะ คือ ความ พยายามชอบ 7) สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ 8) สัมมาสมาธิ คือ ความตั้งจิตมั่นชอบ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 266 มุมมอง 0 รีวิว
  • สัมมาทิฏฐิ คือจุดสิ้นสุดทางโลก และจุดเริ่มต้นทางธรรม

    การพัฒนาคนในองค์กรต่างๆ จึงต้องพัฒนาที่ปัญญา โดยการให้ความรู้ เพื่อเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน

    #ใจหยุดใจนิ่ง
    #จิตจึงรู้แจ้ง
    #ศีลสมาธิปัญญา
    #บุญอยู่เบื้องหลังความสำเร็จ
    #นิพพาน
    สัมมาทิฏฐิ คือจุดสิ้นสุดทางโลก และจุดเริ่มต้นทางธรรม การพัฒนาคนในองค์กรต่างๆ จึงต้องพัฒนาที่ปัญญา โดยการให้ความรู้ เพื่อเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน #ใจหยุดใจนิ่ง #จิตจึงรู้แจ้ง #ศีลสมาธิปัญญา #บุญอยู่เบื้องหลังความสำเร็จ #นิพพาน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 581 มุมมอง 0 รีวิว
  • ธาตุรู้

    องค์หลวงพ่อสุชาติเทศน์ไว้อย่างชัดเจนในหลายวาระ "ธาตุรู้คือใจ ไม่มีวันแตกดับหรือเสื่อมสลายและตัวเราที่แท้นี่คือธาตุรู้"

    "ธาตุรู้ ส่งกระแสไปเชื่อมกับธาตุ ๕ คือ ร่างกายของคนและสัตว์ เพื่อจะรับรู้กระแสโลกผ่านทางตาหูจมูกลิ้นและกายสัมผัส”

    "ธาตุรู้” มีอวิชชา จึงกลับเข้าใจผิดว่าตนเองคือร่างกาย จึงเกิดความทุกข์เมื่อร่างกายเกิดความแปรปรวน

    สัจธรรมเกี่ยวกับ "ธาตุรู้" นี้ เป็นสัมมาทิฏฐิ คือความเข้าใจที่ถูกต้องอันสำคัญยิ่งสำหรับผู้ปฏิบัติ จึงนำมาสู่การรวบรวมคำสอนอันเข้มข้นที่เกี่ยวข้องกับ "แก่นแท้" อันสำคัญยิ่งนี้ ตลอดจนข้อถามตอบที่องค์ท่านเมตตาตอบทุกคำถามจนกระจ่างแก่ใจลูกศิษย์ผู้ยังใช้ตรรกะทางวิทยาศาสตร์ว่า

    "ธาตุรู้” ความจริงแห่งธรรมชาติที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบ” นี้ เป็นวิทยาการขั้นสูงสุด ที่แม้แต่ความรู้ระดับควอนตัมในปัจจุบันยังไม่มีทางตามทัน

    ขอกราบนอบน้อมด้วยเศียรเกล้าแด่องค์พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์พระอรหันตสาวกทุกๆ พระองค์ และองค์หลวงพ่อสุชาติ อภิชาโต

    ผู้รู้ แจ้งแห่งธรรมชาติทั้งปวง
    ผู้ตื่น จากมายาแห่งคลื่นความคิด
    ผู้เบิกบาน ด้วยธรรมชาติอันบริสุทธิ์แห่งธาตุรู้

    <<ศิษยานุศิษย์>>

    (ขอขอบคุณศิษยานุศิษย์ หลวงพ่อสุชาติ อภิชาโต)

    อ่าน E-book หนังสือธาตุรู้ https://online.anyflip.com/kybms/qjpn/mobile/
    ธาตุรู้ องค์หลวงพ่อสุชาติเทศน์ไว้อย่างชัดเจนในหลายวาระ "ธาตุรู้คือใจ ไม่มีวันแตกดับหรือเสื่อมสลายและตัวเราที่แท้นี่คือธาตุรู้" "ธาตุรู้ ส่งกระแสไปเชื่อมกับธาตุ ๕ คือ ร่างกายของคนและสัตว์ เพื่อจะรับรู้กระแสโลกผ่านทางตาหูจมูกลิ้นและกายสัมผัส” "ธาตุรู้” มีอวิชชา จึงกลับเข้าใจผิดว่าตนเองคือร่างกาย จึงเกิดความทุกข์เมื่อร่างกายเกิดความแปรปรวน สัจธรรมเกี่ยวกับ "ธาตุรู้" นี้ เป็นสัมมาทิฏฐิ คือความเข้าใจที่ถูกต้องอันสำคัญยิ่งสำหรับผู้ปฏิบัติ จึงนำมาสู่การรวบรวมคำสอนอันเข้มข้นที่เกี่ยวข้องกับ "แก่นแท้" อันสำคัญยิ่งนี้ ตลอดจนข้อถามตอบที่องค์ท่านเมตตาตอบทุกคำถามจนกระจ่างแก่ใจลูกศิษย์ผู้ยังใช้ตรรกะทางวิทยาศาสตร์ว่า "ธาตุรู้” ความจริงแห่งธรรมชาติที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบ” นี้ เป็นวิทยาการขั้นสูงสุด ที่แม้แต่ความรู้ระดับควอนตัมในปัจจุบันยังไม่มีทางตามทัน ขอกราบนอบน้อมด้วยเศียรเกล้าแด่องค์พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์พระอรหันตสาวกทุกๆ พระองค์ และองค์หลวงพ่อสุชาติ อภิชาโต ผู้รู้ แจ้งแห่งธรรมชาติทั้งปวง ผู้ตื่น จากมายาแห่งคลื่นความคิด ผู้เบิกบาน ด้วยธรรมชาติอันบริสุทธิ์แห่งธาตุรู้ <<ศิษยานุศิษย์>> (ขอขอบคุณศิษยานุศิษย์ หลวงพ่อสุชาติ อภิชาโต) อ่าน E-book หนังสือธาตุรู้ https://online.anyflip.com/kybms/qjpn/mobile/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 471 มุมมอง 0 รีวิว