• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 313
    ชื่อบทธรรม :- ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=313
    เนื้อความทั้งหมด :-
    #ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อุปธิ เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อวิชชา เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @สังขาร เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @วิญญาณ เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @ผัสสะ เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @เวทนา เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @ตัณหา เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อุปาทาน เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อาหาร เป็นปัจจัย....--
    .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น
    ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) เป็นปัจจัย....--
    นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    ---
    (อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ
    อันเป็นฝ่ายนิโรธ
    ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขนิโรธอริยสัจ
    โดยหัวข้อว่า
    “เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย”.
    ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไป
    กระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้
    ).-
    ---

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=313
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=313
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 313 ชื่อบทธรรม :- ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=313 เนื้อความทั้งหมด :- #ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อุปธิ เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อวิชชา เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @สังขาร เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @วิญญาณ เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @ผัสสะ เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @เวทนา เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @ตัณหา เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อุปาทาน เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อาหาร เป็นปัจจัย....-- .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี @อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) เป็นปัจจัย....-- นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ. --- (อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายนิโรธ ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขนิโรธอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย”. ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไป กระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้ ).- --- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=313 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=313 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย
    -ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อุปธิ เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อวิชชา เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี สังขาร เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี วิญญาณ เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี ผัสสะ เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี เวทนา เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี ตัณหา เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อุปาทาน เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อาหาร เป็นปัจจัย.... .... ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นมี อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) เป็นปัจจัย.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ. (อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายนิโรธซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขนิโรธอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย”. ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไป กระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1048
    ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา
    ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?”
    ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า
    วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น
    อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า?
    สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า
    “นี้คือทุกข์
    นี้คือทุกขสมุทัย”
    ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ;
    และ
    “นี้คือทุกขนิโรธ
    นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม
    อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่;
    ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง
    คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก สัทธรรมลำดับที่ : 1048 ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”) http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.- http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390. http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    -เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสา๑) ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออก ๑. อุปนิสา คำนี้ ในที่บางแห่ง (ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕๔๙ บรรทัดที่ ๗) ได้แปลว่า “ประโยชน์” นั้นไม่ถูก, ที่ถูกต้องแปลว่า “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์” ; ขอให้เข้าใจตามนี้ด้วย. จากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ นี้เป็นอนุปัสสนาหมวด ที่สอง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 66 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1047
    ชื่อบทธรรม :- บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่.
    สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ
    ๑.บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อนริย+ปริส
    ๒.บริษัทประเสริฐ (อริย).
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อริย+ปริส
    --ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย,
    นี้ ทุกขนิโรธ,
    นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ;
    บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทไม่ประเสริฐ.

    --ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย,
    นี้ ทุกขนิโรธ,
    นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้;
    บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทประเสริฐ.
    --ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล.
    บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือ บริษัทประเสริฐ (อริย ปริส).-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/67/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/67/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๙๐/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1047
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1047 ชื่อบทธรรม :- บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047 เนื้อความทั้งหมด :- --บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่. สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ ๑.บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย) http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อนริย+ปริส ๒.บริษัทประเสริฐ (อริย). http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อริย+ปริส --ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทไม่ประเสริฐ. --ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทประเสริฐ. --ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล. บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือ บริษัทประเสริฐ (อริย ปริส).- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/67/290. http://etipitaka.com/read/thai/20/67/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๙๐/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1047 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    -(ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่าทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่. สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย) บริษัทประเสริฐ (อริย). ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า บริษัทไม่ประเสริฐ. ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า บริษัทประเสริฐ. ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล. บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือบริษัทประเสริฐ (อริยปริส).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1045
    ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี
    ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร
    ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย;
    ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ
    คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล
    ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย”
    --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร
    : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน
    คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย
    กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า
    คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง”
    --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า,
    คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ
    “นี้ทุกข์
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้
    เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1045 ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 เนื้อความทั้งหมด :- --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738. http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การแทงตลอดอริยสัจ--เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    -(อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าอัตตาธิปไตย; และปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าโลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์). การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา คนที่แทงตลอด ซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1042
    ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา
    ๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก
    ๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม
    ๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก
    ๔.ทั้งคำรามทั้งตก
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย;
    และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้ด้วย
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.-
    (
    ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้
    ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา
    หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ;
    หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ;
    หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
    หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

    --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา
    ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ;
    ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ;
    ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป;
    ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

    --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ
    มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ;
    มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป;
    มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
    มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.
    --ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1042 ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 เนื้อความทั้งหมด :- --การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา ๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก ๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม ๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๔.ทั้งคำรามทั้งตก --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.- ( ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102. http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    -การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก ๑ ที่ตกแต่ไม่คำราม ๑ ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๑ ทั้งคำรามทั้งตก ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 674
    ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ
    ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์
    เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง,
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ;
    ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ;
    อันนี้เราเรียกว่า
    #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 674 ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ; ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501 http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1040
    ชื่อบทธรรม :- ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ
    ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! #ความสิ้นอาสวะย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้
    แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/310/?keywords=ชานโต+ปสฺสโต+อาสวานํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/243/282.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/243/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๐๙/๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/309/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1040
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ สัทธรรมลำดับที่ : 1040 ชื่อบทธรรม :- ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040 เนื้อความทั้งหมด :- --ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่. --ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! #ความสิ้นอาสวะย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/25/310/?keywords=ชานโต+ปสฺสโต+อาสวานํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/243/282. http://etipitaka.com/read/thai/25/243/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๐๙/๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/309/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1040 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาคสรุป ว่าด้วยข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ มีเรื่อง ๒๓ หัวข้อ
    -นิทเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค จบ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค จบ คำชี้ชวนวิงวอน ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ ดว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร. สํ. - สฬา. สํ.) ภาคสรุป ว่าด้วย ข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ ภาคสรุป มีเรื่อง ๒๓ หัวข้อ : ๑. ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ ๒. โอกาสแห่งโยคกรรมในการเห็นอริยสัจ บัดนี้ถึงพร้อมแล้ว ๓. การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ ๔. เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว ๕. ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย ๖. การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงตลอดขนทราย ๗. การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร ๘. บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ ๙. เมื่ออริยสัจสี่ ถูกแยกออกเป็นสองซีก ๑๐. หลักวิธีการศึกษาอริยสัจสี่ ใช้ได้กับหลักทั่วไป ๑๑. อริยสัจสี่ เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ ๑๒. อริยสัจสี่ เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ ๑๓. เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ ๑๔. การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ ๑๕. อริยสัจ ทรงบัญญัติไว้ในกายที่ยังมีสัญญาและใจ ๑๖. อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา ๑๗. เวทนา โดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด ๑๘. ผู้รู้อริยสัจ ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ ๑๙. จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ๒๐. อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา ๒๑. พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ ๒๒. ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง ๒๓. การจบกิจแห่งอริยสัจ กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่งญาณสาม ภาคสรุป ว่าด้วย ข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ (มี ๒๓ หัวข้อ) ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่. ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    สัทธรรมลำดับที่ : 1039
    ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ
    สี่อย่างคือ :-
    ทุกขอริยสัจ
    ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ทุกขนิโรธอริยสัจ
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง.

    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่,
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. !
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้.
    พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง
    ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;”
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี สัทธรรมลำดับที่ : 1039 ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    -(ก่อนแต่จะตรัสเรื่องนี้ ได้ตรัสถึงการที่พระองค์ได้เป็นราชฤาษีในกาลก่อน กล่าวสอนวัตรปฏิบัติที่เป็นไปเพียงเพื่อพรหมโลก ไม่ถึงนิพพาน ก็ยังมีผู้พากันปฏิบัติตาม. ส่วนกัลยาณวัตรนี้เป็นไปเพื่อนิพพาน จึงควรที่คนทั้งหลายจะพึงปฏิบัติตาม. อีกข้อหนึ่ง ที่พวกเราควรจะให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่งนั้น คือข้อที่พวกเราอย่าเป็นพวกสุดท้ายแห่งการประพฤติ กัลยาณวัตรนี้ ตามพระพุทธประสงค์). ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสุจที่ใครๆ ควร รอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เกิดมีนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่านิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง
    สัทธรรมลำดับที่ : 671
    ชื่อบทธรรม : -นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=671
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สี่อย่างคือ:-
    ทุกขอริยสัจ
    ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ทุกขนิโรธอริยสัจ
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้.
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เจริญ มีอยู่
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้แจ้งนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรกระทำให้เจริญ
    ได้แก่ อริยสัจ คือการปฏิบัติเพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์;
    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง
    ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ;
    ว่า ‘เหตุให้เกิดทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ;
    ว่า ‘ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;’ดังนี้
    ว่า ‘การปฏิบัติเพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;’
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=671
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=671
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่านิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง สัทธรรมลำดับที่ : 671 ชื่อบทธรรม : -นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=671 เนื้อความทั้งหมด :- --นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ:- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้. อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่ อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เจริญ มีอยู่ +--ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือทุกข์ ; อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใคร ๆ ควรกระทำให้เจริญ ได้แก่ อริยสัจ คือการปฏิบัติเพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์; --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ; ว่า ‘เหตุให้เกิดทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ; ว่า ‘ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;’ดังนี้ ว่า ‘การปฏิบัติเพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;’ ดังนี้เถิด.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=671 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=671 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง
    -นิโรธอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ:- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้. อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่.... ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือทุกข์ ; อริยสัจที่ใคร ๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ ; .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ; ว่า ‘เหตุให้เกิดทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ,’ ดังนี้ ; ว่า ‘ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;’ .... ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 670
    ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา
    จึงมี ความดับแห่งสังขาร ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ;
    +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ;
    +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ

    #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501.
    https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 670 ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 เนื้อความทั้งหมด :- --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ... --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา จึงมี ความดับแห่งสังขาร ; +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ; +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ; +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ; +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ; +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ; +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ; +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ; +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ; +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ; +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501. https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    -นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชา นั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความ ดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 145 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยบุคคลพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 285
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=285
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    (สายแห่งปฏิจจสมุปบาท)
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท
    http://etipitaka.com/read/pali/16/1/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปา
    (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี สังขาร ;
    +--เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมี วิญญาณ ;
    +--เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมี นามรูป ;
    +--เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อายตนะหก ;
    +--เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ผัสสะ ;
    +--เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมี เวทนา ;
    +--เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ;
    +--เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อุปาทาน ;
    +--เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ภพ ;
    +--เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ชาติ ;
    +--เพราะชาติเป็นปัจจัย,
    ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    การก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้.
    +--ก็เพราะอวิชชานั่นแหละดับด้วยการสำรอกโดยไม่เหลือ สังขาร จึงดับ ;
    +--เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ;
    +--เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ ;
    +--เพราะ นามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ ;
    +--เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ ;
    +--เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ ;
    +--เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ ;
    +--เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ ;
    +--เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ ;
    +--เพราะภพดับ ชาติจึงดับ ;
    +--เพราะชาติดับชราและ มรณะโสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #ปฏิจจสมุปบาท
    http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปา
    (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) ดังนี้ แล.-

    #ทุกข์#ทุกขสมุทัย #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/1/2-3.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/1/?keywords=%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑/๒-๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/1/?keywords=%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=285
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=285
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยบุคคลพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 285 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=285 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ (สายแห่งปฏิจจสมุปบาท) --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท http://etipitaka.com/read/pali/16/1/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปา (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี สังขาร ; +--เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมี วิญญาณ ; +--เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมี นามรูป ; +--เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อายตนะหก ; +--เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ผัสสะ ; +--เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมี เวทนา ; +--เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ; +--เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อุปาทาน ; +--เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ภพ ; +--เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ชาติ ; +--เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. การก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้. +--ก็เพราะอวิชชานั่นแหละดับด้วยการสำรอกโดยไม่เหลือ สังขาร จึงดับ ; +--เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ; +--เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ ; +--เพราะ นามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ ; +--เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ ; +--เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ ; +--เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ ; +--เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ ; +--เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ ; +--เพราะภพดับ ชาติจึงดับ ; +--เพราะชาติดับชราและ มรณะโสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #ปฏิจจสมุปบาท http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปา (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) ดังนี้ แล.- #ทุกข์​ #ทุกขสมุทัย #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/1/2-3. http://etipitaka.com/read/thai/16/1/?keywords=%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑/๒-๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/1/?keywords=%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=285 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=285 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    -อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ (สายแห่งปฏิจจสมุปบาท) ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี สังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมี วิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมี นามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมี เวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี อุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. การก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (ธรรมที่อาศัยกันและกันแล้วทยอยกันเกิดขึ้น) ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 208 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพื่อรู้และแจ้งในลำดับแห่งการดับของสังขารทั้งหลาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 645
    ชื่อบทธรรม : -ลำดับแห่งการดับของสังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=645
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับแห่งการดับของสังขาร-(อนุปุพพสังขารนิโรธ)
    --ภิกษุ ! ความดับแห่งสังขาร โดยลำดับๆ
    http://etipitaka.com/read/pali/18/268/?keywords=อนุปุพฺพสงฺขารา+นิโรโธ
    เราได้กล่าวแล้ว ดังนี้คือ :--
    +--เมื่อเข้าสู่ ปฐมฌาน แล้ว วาจา ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้ว วิตก และ วิจาร ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ ตติยฌาน แล้ว ปีติ ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ จตุตถฌาน แล้ว อัสสาสะ และ ปัสสาสะ ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ อากาสานัญจายตนะ แล้ว รูปสัญญา ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ วิญญาณัญจายตนะแล้วอากาสานัญจายตนสัญญาย่อดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ แล้ว วิญญาณัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้ว อากิญจัญญายตนสัญญา ย่อมดับ ;
    +--เมื่อเข้าสู่ สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ;

    +--เมื่อภิกษุ #สิ้นอาสวะ(ขีณาสวสฺส)​ แล้ว ราคะ ก็ดับ โทสะ ก็ดับ โมหะ ก็ดับ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/269/?keywords=ขีณาสวสฺส

    [ข้อความในสูตรอื่น
    (สฬา.สํ. ๑๘/๒๗๒-๒๗๓/๔๐๑-๔๐๒.)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91
    แทนที่จะทรงเรียกอาการเช่นนี้แห่ง สังขารว่า “ความดับ” (นิโรโธ)
    แต่ไปทรงเรียกเสียว่า “#ความเข้าไปสงบ” (วูปสโม) ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=วูปสโม
    และ
    ทรงเรียกว่า “#ความสงบรำงับเฉพาะ” (ปฏิปฺปสฺสทฺธิ) ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/273/?keywords=ปฏิปฺปสฺสทฺธิ
    ].

    #ทุกขนิโรธ#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/231/392.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๖๘/๓๙๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/268/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=645
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=645
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเพื่อรู้และแจ้งในลำดับแห่งการดับของสังขารทั้งหลาย สัทธรรมลำดับที่ : 645 ชื่อบทธรรม : -ลำดับแห่งการดับของสังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=645 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับแห่งการดับของสังขาร-(อนุปุพพสังขารนิโรธ) --ภิกษุ ! ความดับแห่งสังขาร โดยลำดับๆ http://etipitaka.com/read/pali/18/268/?keywords=อนุปุพฺพสงฺขารา+นิโรโธ เราได้กล่าวแล้ว ดังนี้คือ :-- +--เมื่อเข้าสู่ ปฐมฌาน แล้ว วาจา ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้ว วิตก และ วิจาร ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ ตติยฌาน แล้ว ปีติ ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ จตุตถฌาน แล้ว อัสสาสะ และ ปัสสาสะ ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ อากาสานัญจายตนะ แล้ว รูปสัญญา ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ วิญญาณัญจายตนะแล้วอากาสานัญจายตนสัญญาย่อดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ แล้ว วิญญาณัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้ว อากิญจัญญายตนสัญญา ย่อมดับ ; +--เมื่อเข้าสู่ สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ; +--เมื่อภิกษุ #สิ้นอาสวะ(ขีณาสวสฺส)​ แล้ว ราคะ ก็ดับ โทสะ ก็ดับ โมหะ ก็ดับ.- http://etipitaka.com/read/pali/18/269/?keywords=ขีณาสวสฺส [ข้อความในสูตรอื่น (สฬา.สํ. ๑๘/๒๗๒-๒๗๓/๔๐๑-๔๐๒.) http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91 แทนที่จะทรงเรียกอาการเช่นนี้แห่ง สังขารว่า “ความดับ” (นิโรโธ) แต่ไปทรงเรียกเสียว่า “#ความเข้าไปสงบ” (วูปสโม) ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=วูปสโม และ ทรงเรียกว่า “#ความสงบรำงับเฉพาะ” (ปฏิปฺปสฺสทฺธิ) ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/18/273/?keywords=ปฏิปฺปสฺสทฺธิ ]. #ทุกขนิโรธ​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/231/392. http://etipitaka.com/read/thai/18/231/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๖๘/๓๙๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/268/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=645 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=645 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลำดับแห่งการดับของสังขาร
    -ลำดับแห่งการดับของสังขาร (อนุปุพพสังขารนิโรธ) ภิกษุ ! ความดับแห่งสังขารโดยลำดับๆ เราได้กล่าวแล้ว ดังนี้คือ : เมื่อเข้าสู่ ปฐมฌาน แล้ว วาจา ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้ว วิตก และ วิจาร ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ ตติยฌาน แล้ว ปีติ ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ จตุตถฌาน แล้ว อัสสาสะ และ ปัสสาสะ ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ อากาสานัญจายตนะ แล้ว รูปสัญญา ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ วิญญาณัญจายตนะแล้วอากาสานัญจายตนสัญญาย่อดับ ; เมื่อเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ แล้ว วิญญาณัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้ว อากิญจัญญายตนสัญญา ย่อมดับ ; เมื่อเข้าสู่ สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ; เมื่อภิกษุ สิ้นอาสวะ แล้ว ราคะ ก็ดับ โทสะ ก็ดับ โมหะ ก็ดับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1001
    ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ
    ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :-
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น
    เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า
    ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ
    คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ).
    คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต
    มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา;
    ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ )
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น
    แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ
    อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก
    มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน;
    และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ
    อย่างเดียวกับสูตรข้างบน
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 1001 ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :- +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).- http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา; ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ ) http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน; และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรข้างบน ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90. http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    -(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : อนภิชฌา และอัพยาบาท คือ สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับสัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค). ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูปโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูปหรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขารโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่าการตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์ (ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา)-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 331 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสักกายนิโรธความจางคลายดับไปไม่เหลือซึ่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 625
    ชื่อบทธรรม :- สักกายนิโรธ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สักกายนิโรธ
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย
    ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายนิโรโธ

    (ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้
    ตรัสเรียกว่า #ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธ.
    ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗)
    ตรัสเรียกว่า #สักกายนิโรธันตะ ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนิโรธนฺโต
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/151/289.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘​๗-๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=625
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสักกายนิโรธความจางคลายดับไปไม่เหลือซึ่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 625 ชื่อบทธรรม :- สักกายนิโรธ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายนิโรธ --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธ.- http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายนิโรโธ (ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า #ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า #สักกายนิโรธันตะ ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนิโรธนฺโต http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97 ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/151/289. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘​๗-๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=625 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=625 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี).
    -(เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี). สักกายนิโรธ ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 193 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 624
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ;
    เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ;
    ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย.
    --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ.
    +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ;
    นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาติ,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน
    ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.-

    (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้
    ในสูตรอื่น
    [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘
    http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​
    ได้ตรัสไว้ว่า
    +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า
    สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ
    ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ สัทธรรมลำดับที่ : 624 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน ). --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.- (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘ http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​ ได้ตรัสไว้ว่า +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458. http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    -อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ ภิกษุ ท. ! .... ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 337 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    สัทธรรมลำดับที่ : 235
    ชื่อบทธรรม :- ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :-
    ๑. ทุกขอริยสัจ
    ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ และ
    ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่.
    .. ฯลฯ..
    ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์.
    .. ฯลฯ..
    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย
    พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ
    .. ฯลฯ..
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=235
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ สัทธรรมลำดับที่ : 235 ชื่อบทธรรม :- ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :- ๑. ทุกขอริยสัจ ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ และ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่. .. ฯลฯ.. ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์. .. ฯลฯ.. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ .. ฯลฯ.. ดังนี้เถิด.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=235 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    -ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ และทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่. .... ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์. .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ.....’ ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 623
    ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น
    --อานนท์ !
    รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณ
    ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีอยู่ในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม,
    ขันธ์ทั้งหมดนั้น บุคคลพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/228/?keywords=เอตํ+มม+เอโสหม+เอโส+เม+อตฺตาติ
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่ด้วยอาการอย่างนี้
    ย่อมเกิดเบื่อหน่ายใน รูป
    เบื่อหน่ายแม้ใน เวทนา
    เบื่อหน่ายแม้ใน สัญญา
    เบื่อหน่ายแม้ใน สังขาร
    เบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ.
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมจางคลาย ความกำหนัดรัดรึง,
    เพราะจางคลายไปแห่งความกำหนัด ย่อมหลุดพ้นไปได้,
    #เมื่อหลุดพ้นแล้วก็มีญาณรู้ขึ้นว่าหลุดพ้นแล้ว
    ดังนี้.
    อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดแจ้งว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว
    พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้
    มิได้มีอีก”,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/187-188/364-365.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/187/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๒๘-๒๒๙/๓๖๔-๓๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/228/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=623
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น สัทธรรมลำดับที่ : 623 ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น --อานนท์ ! รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีอยู่ในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม, ขันธ์ทั้งหมดนั้น บุคคลพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/17/228/?keywords=เอตํ+มม+เอโสหม+เอโส+เม+อตฺตาติ ดังนี้. --อานนท์ ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ ย่อมเกิดเบื่อหน่ายใน รูป เบื่อหน่ายแม้ใน เวทนา เบื่อหน่ายแม้ใน สัญญา เบื่อหน่ายแม้ใน สังขาร เบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมจางคลาย ความกำหนัดรัดรึง, เพราะจางคลายไปแห่งความกำหนัด ย่อมหลุดพ้นไปได้, #เมื่อหลุดพ้นแล้วก็มีญาณรู้ขึ้นว่าหลุดพ้นแล้ว ดังนี้. อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดแจ้งว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”, ดังนี้ แล.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/187-188/364-365. http://etipitaka.com/read/thai/17/187/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๒๘-๒๒๙/๓๖๔-๓๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/228/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=623 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น
    -อาการแห่งบุคคลผู้หลุดพ้น อานนท์ ! รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีอยู่ในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม, ขันธ์ทั้งหมดนั้น บุคคลพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้. อานนท์ ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ ย่อมเกิดเบื่อหน่ายในรูป เบื่อหน่ายแม้ในเวทนา เบื่อหน่ายแม้ในสัญญา เบื่อหน่ายแม้ในสังขาร เบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมจางคลาย ความกำหนัดรัดรึง, เพราะจางคลายไปแห่งความกำหนัด ย่อมหลุดพ้นไปได้, เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ขึ้นว่าหลุดพ้นแล้ว ดังนี้. อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดแจ้งว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 246 มุมมอง 0 รีวิว
  • (อีกปริยายหนึ่ง)อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 622
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=622
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า
    บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และ
    ทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (โน จ อนุเสติ) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=อนุเสติ
    ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย.

    เมื่ออารมณ์ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว,
    ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ย่อมไม่มี ;
    เมื่อความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ไม่มี.
    ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. 16/63/146.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=622
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=622
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    (อีกปริยายหนึ่ง)อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 622 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=622 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และ ทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (โน จ อนุเสติ) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=อนุเสติ ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว, ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ย่อมไม่มี ; เมื่อความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ไม่มี. ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. 16/63/146. http://etipitaka.com/read/thai/16/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/16/78/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=622 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=622 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (โน อนุเสติ) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว, ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ย่อมไม่มี ; เมื่อความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป ไม่มี. ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกอง ทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 243 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะของความดับแห่งทุกข์(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 621
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า
    บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย,
    และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อนุเสติ
    ในกาลใด ;
    ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย.
    เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว.
    เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ
    เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี;
    เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ;
    เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี,
    ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/150.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๘๐/๑๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=621
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะของความดับแห่งทุกข์(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 621 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=อนุเสติ ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ; http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=นติ เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี; เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/65/150. http://etipitaka.com/read/thai/16/65/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๘๐/๑๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=621 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=621 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย. เมื่ออารมณ์ ไม่มี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้นไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ (นติ=ตัณหา) ย่อมไม่มี ; เมื่อเครื่องนำไปสู่ภพใหม่ ไม่มี, การมาการไป(อาคติคติ)ย่อมไม่มี; เมื่อการมาการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติ+อุปปาตะ) ย่อมไม่มี ; เมื่อการเคลื่อนและการบังเกิด ไม่มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายต่อไป จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 619
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ
    (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 619 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37. http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการนั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 245 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 617
    ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 617 ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    -เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี. ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 187 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 616
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:-
    )​
    เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ;
    การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;.
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).

    --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่.
    พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว
    ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :-
    --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ?
    --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ;
    เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ;
    เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้.
    --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 616 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:- )​ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ). --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :- --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164. http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า :-) เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น). โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า : ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? .... ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 295 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 614
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกปริยายหนึ่ง)
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ
    ตัณหาย่อมดับ.
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.-

    (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน”
    ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92
    เท่านั้น).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 614 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกปริยายหนึ่ง) --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.- (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92 เท่านั้น). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198. http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร].
    -[ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร]. อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่ง ชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 269 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    สัทธรรมลำดับที่ : 209
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ
    เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑.
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ.

    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น.
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ
    รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    แล.-
    *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง สัทธรรมลำดับที่ : 209 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑. --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี แล.- *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334. http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    -เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง,๑ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง. ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน ๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน. สัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 259 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts