• Saloma Link สะพานที่มากกว่าไฟสวย

    มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีแหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ (Recreational Attraction) จำนวนมาก ซึ่งมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการพักผ่อนและเสริมสร้างสุขภาพ ให้ความสนุกสนาน บันเทิง และการศึกษาหาความรู้ แม้ไม่มีความสำคัญในแง่ประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม แต่มีลักษณะเป็นแหล่งท่องเที่ยวร่วมสมัย ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ River of Life บริเวณสถานีรถไฟฟ้า LRT Masjid Jamek และสะพาน Saloma Link บริเวณสถานีรถไฟฟ้า LRT Kampung Baru

    กล่าวถึงสะพาน Saloma Link (ซาโลมาลิงก์) เป็นสะพานขนาดไม่ใหญ่ ยาว 69 เมตร กว้าง 3 เมตร สูง 7 เมตร ข้ามทางด่วนสาย E12 อัมปัง-กัวลาลัมเปอร์ (AKLEH) และแม่น้ำแคลงที่อยู่เกาะกลาง มีทางลาดลงไปยังด้านข้างสุสานอิสลามจาลันอัมปัง แล้วออกทางแยกหน้าอาคารปิโตรนาส ทวิน ทาวเวอร์ ย่าน KLCC เปิดให้เข้าชมครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2563 โดยมีบริษัท VERITAS Design Group ออกแบบโครงสร้าง ใช้งบก่อสร้าง 31 ล้านริงกิต (237 ล้านบาท)

    จุดเด่นของสะพานซาโลมาลิงก์ คือการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยได้แรงบันดาลใจจากการจัดช่อดอกไม้มงคลที่เรียกว่า ซิเระ จุนจุง (Sireh Junjung) ในพิธีแต่งงานของชาวมาเลย์ ประดับด้วยกระจกและแผงไฟ LED รูปทรงเพชร ฉายแสงในรูปแบบต่างๆ หลากสีสัน ชื่อสะพานมาจาก ซาโลมา ชื่อเรียกของ ซัลมาห์ อิสมาอิล (Salmah Ismail) นักร้อง นักแสดงชื่อดังชาวสิงคโปร์-มาเลเซีย ฉายามาริลิน มอนโรแห่งเอเชีย ที่เสียชีวิตเมื่อปี 2526 ด้วยวัย 48 ปี และถูกฝังอยู่ในสุสานอิสลามจาลันอัมปัง

    ก่อนจะมาเป็นสะพานที่สวยงามแห่งนี้ แต่เดิมเคยเป็นสะพานข้ามแม่น้ำแคลง จากกัวลาลัมเปอร์ไปยังกำปุงบารู (Kampung Baru) ชุมชนที่อยู่อีกฝั่ง แต่ได้รื้อสะพานเมื่อปี 2539 เพื่อก่อสร้างทางด่วนที่ยกสูงขึ้น เสมือนเป็นเขื่อนกั้นแม่น้ำที่อยู่ตรงกลาง

    ในยามค่ำคืน สะพานแห่งนี้จะเปิดไฟ LED หลากสีสันอย่างสวยงาม ล้อไปกับตึกแฝดปิโตรนาสทาวเวอร์ ที่เปิดไฟส่องไสวไปทั่วตึกเช่นกัน นักท่องเที่ยวนิยมถ่ายรูปสะพานโดยเฉพาะฝั่งกำปุงบารู จะเห็นด้านหลังทั้งสะพานและตึกปิโตรนาส เป็นจุดเช็กอินยอดนิยมของนักท่องเที่ยวที่มาเยือนมาเลเซียต้องไม่พลาด ซึ่งฝั่งกำปุงบารูจะเป็นชุมชนเก่าแก่ขนาดเล็ก มีร้านอาหารแบบสตรีทฟู้ดจำหน่าย ขึ้นลงได้จากบันไดและลิฟต์ และมีทางเดินไปถึงสถานีรถไฟฟ้า LRT Kampung Baru ซึ่งเป็นสถานีใต้ดิน

    สะพานแห่งนี้เปิดให้เข้าชมฟรี ตั้งแต่ 05.00-24.00 น. โปรดปฎิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ใช้ความระมัดระวังในการถ่ายรูป ไม่ปีนป่ายราวสะพาน และระวังสิ่งของที่ติดตัวตกจากสะพาน

    #Newskit
    -----
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Saloma Link สะพานที่มากกว่าไฟสวย มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีแหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ (Recreational Attraction) จำนวนมาก ซึ่งมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการพักผ่อนและเสริมสร้างสุขภาพ ให้ความสนุกสนาน บันเทิง และการศึกษาหาความรู้ แม้ไม่มีความสำคัญในแง่ประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม แต่มีลักษณะเป็นแหล่งท่องเที่ยวร่วมสมัย ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ River of Life บริเวณสถานีรถไฟฟ้า LRT Masjid Jamek และสะพาน Saloma Link บริเวณสถานีรถไฟฟ้า LRT Kampung Baru กล่าวถึงสะพาน Saloma Link (ซาโลมาลิงก์) เป็นสะพานขนาดไม่ใหญ่ ยาว 69 เมตร กว้าง 3 เมตร สูง 7 เมตร ข้ามทางด่วนสาย E12 อัมปัง-กัวลาลัมเปอร์ (AKLEH) และแม่น้ำแคลงที่อยู่เกาะกลาง มีทางลาดลงไปยังด้านข้างสุสานอิสลามจาลันอัมปัง แล้วออกทางแยกหน้าอาคารปิโตรนาส ทวิน ทาวเวอร์ ย่าน KLCC เปิดให้เข้าชมครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2563 โดยมีบริษัท VERITAS Design Group ออกแบบโครงสร้าง ใช้งบก่อสร้าง 31 ล้านริงกิต (237 ล้านบาท) จุดเด่นของสะพานซาโลมาลิงก์ คือการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยได้แรงบันดาลใจจากการจัดช่อดอกไม้มงคลที่เรียกว่า ซิเระ จุนจุง (Sireh Junjung) ในพิธีแต่งงานของชาวมาเลย์ ประดับด้วยกระจกและแผงไฟ LED รูปทรงเพชร ฉายแสงในรูปแบบต่างๆ หลากสีสัน ชื่อสะพานมาจาก ซาโลมา ชื่อเรียกของ ซัลมาห์ อิสมาอิล (Salmah Ismail) นักร้อง นักแสดงชื่อดังชาวสิงคโปร์-มาเลเซีย ฉายามาริลิน มอนโรแห่งเอเชีย ที่เสียชีวิตเมื่อปี 2526 ด้วยวัย 48 ปี และถูกฝังอยู่ในสุสานอิสลามจาลันอัมปัง ก่อนจะมาเป็นสะพานที่สวยงามแห่งนี้ แต่เดิมเคยเป็นสะพานข้ามแม่น้ำแคลง จากกัวลาลัมเปอร์ไปยังกำปุงบารู (Kampung Baru) ชุมชนที่อยู่อีกฝั่ง แต่ได้รื้อสะพานเมื่อปี 2539 เพื่อก่อสร้างทางด่วนที่ยกสูงขึ้น เสมือนเป็นเขื่อนกั้นแม่น้ำที่อยู่ตรงกลาง ในยามค่ำคืน สะพานแห่งนี้จะเปิดไฟ LED หลากสีสันอย่างสวยงาม ล้อไปกับตึกแฝดปิโตรนาสทาวเวอร์ ที่เปิดไฟส่องไสวไปทั่วตึกเช่นกัน นักท่องเที่ยวนิยมถ่ายรูปสะพานโดยเฉพาะฝั่งกำปุงบารู จะเห็นด้านหลังทั้งสะพานและตึกปิโตรนาส เป็นจุดเช็กอินยอดนิยมของนักท่องเที่ยวที่มาเยือนมาเลเซียต้องไม่พลาด ซึ่งฝั่งกำปุงบารูจะเป็นชุมชนเก่าแก่ขนาดเล็ก มีร้านอาหารแบบสตรีทฟู้ดจำหน่าย ขึ้นลงได้จากบันไดและลิฟต์ และมีทางเดินไปถึงสถานีรถไฟฟ้า LRT Kampung Baru ซึ่งเป็นสถานีใต้ดิน สะพานแห่งนี้เปิดให้เข้าชมฟรี ตั้งแต่ 05.00-24.00 น. โปรดปฎิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ใช้ความระมัดระวังในการถ่ายรูป ไม่ปีนป่ายราวสะพาน และระวังสิ่งของที่ติดตัวตกจากสะพาน #Newskit ----- ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 206 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🚌 ขสมก. แจ้งประชาชนวางแผนการเดินทาง และรถโดยสาร 12 เส้นทางที่อาจได้รับผลกระทบ เนื่องจากการ "ปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี" (ถนนเพชรบุรี ฝั่งขาออก) เพื่อดำเนินการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าราชเทวี (OR08) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม 2568 จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2571 เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป

    📌 รถโดยสาร ขสมก. ที่ได้รับผลกระทบ มีจำนวน 12 เส้นทาง ดังนี้
    สาย 23E (3-4E) : สมุทรปราการ - เทเวศร์ (ทางด่วน)
    สาย 23 (3-5) : ปู่เจ้าสมิงพราย - เทเวศร์
    สาย 50 (2-7) : ท่าเรือพระราม 7 - สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี
    สาย 59 (เดิม) : รังสิต - สนามหลวง
    สาย 60 (1-38) : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย
    สาย 79 (4-42) : บรมราชชนนี - ราชประสงค์
    สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่
    สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ (ทางด่วน)
    สาย 1-7E : รังสิต - สนามหลวง (ทางด่วน)
    สาย 1-80E : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย (ทางด่วน)
    สาย 2-2 : ท่าเรือปากเกร็ด - ท่าเรือสี่พระยา
    สาย 4-35 : คลองสาน - เทเวศร์ (วงกลม)
    📍ทั้งนี้จากการปิดช่องจราจรดังกล่าวอาจมีปริมาณรถสะสมเป็นจำนวนมาก จึงขอให้ประชาชนวางแผนการเดินทาง และ สามารถสอบถามข้อมูลเส้นทางเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน Call Center โทร. 1348 ได้ทุกวัน ในเวลา 05.00 – 22.00 น.

    อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : t.ly/XjIIL
    🚌 ขสมก. แจ้งประชาชนวางแผนการเดินทาง และรถโดยสาร 12 เส้นทางที่อาจได้รับผลกระทบ เนื่องจากการ "ปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี" (ถนนเพชรบุรี ฝั่งขาออก) เพื่อดำเนินการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าราชเทวี (OR08) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม 2568 จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2571 เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป 📌 รถโดยสาร ขสมก. ที่ได้รับผลกระทบ มีจำนวน 12 เส้นทาง ดังนี้ สาย 23E (3-4E) : สมุทรปราการ - เทเวศร์ (ทางด่วน) สาย 23 (3-5) : ปู่เจ้าสมิงพราย - เทเวศร์ สาย 50 (2-7) : ท่าเรือพระราม 7 - สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี สาย 59 (เดิม) : รังสิต - สนามหลวง สาย 60 (1-38) : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย สาย 79 (4-42) : บรมราชชนนี - ราชประสงค์ สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ สาย 511 : ปากน้ำ - สถานีขนส่งฯ (ตลิ่งชัน) สายใต้ใหม่ (ทางด่วน) สาย 1-7E : รังสิต - สนามหลวง (ทางด่วน) สาย 1-80E : สวนสยาม - สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย (ทางด่วน) สาย 2-2 : ท่าเรือปากเกร็ด - ท่าเรือสี่พระยา สาย 4-35 : คลองสาน - เทเวศร์ (วงกลม) 📍ทั้งนี้จากการปิดช่องจราจรดังกล่าวอาจมีปริมาณรถสะสมเป็นจำนวนมาก จึงขอให้ประชาชนวางแผนการเดินทาง และ สามารถสอบถามข้อมูลเส้นทางเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน Call Center โทร. 1348 ได้ทุกวัน ในเวลา 05.00 – 22.00 น. อ่านข่าวเพิ่มเติมได้ที่ : t.ly/XjIIL
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 141 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความลับใต้ผืนดิน
    โดย... ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล

    ใต้ผืนดินที่สั่นไหว ในเช้าวันนั้นที่ไม่มีใครคาดฝัน รถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน พุ่งชนกันพลัน เสียงกรีดร้องดังสนั่น ก้องอุโมงค์แห่งความเศร้า

    ประตูฉุกเฉินที่ไม่เปิด ผู้คนจมในฝันร้ายที่คงไม่จาง เลือดและน้ำตาไหลรินกลางทาง ความเจ็บปวดนี้ ใครเล่าจะตอบแทน

    ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ เงามืดของระบบ ที่ซ่อนอยู่ ความผิดพลาดจากใครกัน? หรือระบบที่สั่ง? แต่ทุกอย่างถูกปิดไว้ ใต้ความเงียบงัน

    หลายร้อยชีวิตต้องบาดเจ็บ ยืนมองฟ้าด้วยน้ำตาอาบใบหน้า แรงสั่นสะเทือน ทลายผนังพังลงมา เจ็ดร้อยชีวิต ถูกทิ้งไว้ในอุโมงค์

    แสงไฟดับลงในหัวใจ เสียงปลอบโยนไม่มีใครได้ยิน ความรับผิดชอบถูกกลืนกิน อยู่ในกระแสไฟที่ขาดหาย

    ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ ความจริงที่ถูกซ่อน อยู่ลึกเกินจะดู คำสั่งผิดพลาด หรือชะตาที่วางอยู่ ทุกชีวิตคือเครื่องพิสูจน์ ว่าใครควรชดใช้

    กระแสไฟดับ แต่ความจริงยังคงเดิน ในความมืด เราต่างสะเทือน เงาแห่งการเมืองและผลประโยชน์ ปกคลุมซากปรักหักพังด้วยคำโกหก

    ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ เงามืดของระบบ ที่ซ่อนอยู่ เสียงหัวใจเรียกร้องในอุโมงค์มืด อย่าปล่อยให้ความจริงต้องตาย

    ในวันที่แสงสว่างกลับมา หวังเพียงคำตอบที่เปิดฟ้า เพื่อให้ทุกหยาดหยดน้ำตา ไม่ไหลไปอย่างสูญเปล่า... ใต้ผืนดิน

    170917 ม.ค. 2568
    ความลับใต้ผืนดิน โดย... ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล ใต้ผืนดินที่สั่นไหว ในเช้าวันนั้นที่ไม่มีใครคาดฝัน รถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน พุ่งชนกันพลัน เสียงกรีดร้องดังสนั่น ก้องอุโมงค์แห่งความเศร้า ประตูฉุกเฉินที่ไม่เปิด ผู้คนจมในฝันร้ายที่คงไม่จาง เลือดและน้ำตาไหลรินกลางทาง ความเจ็บปวดนี้ ใครเล่าจะตอบแทน ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ เงามืดของระบบ ที่ซ่อนอยู่ ความผิดพลาดจากใครกัน? หรือระบบที่สั่ง? แต่ทุกอย่างถูกปิดไว้ ใต้ความเงียบงัน หลายร้อยชีวิตต้องบาดเจ็บ ยืนมองฟ้าด้วยน้ำตาอาบใบหน้า แรงสั่นสะเทือน ทลายผนังพังลงมา เจ็ดร้อยชีวิต ถูกทิ้งไว้ในอุโมงค์ แสงไฟดับลงในหัวใจ เสียงปลอบโยนไม่มีใครได้ยิน ความรับผิดชอบถูกกลืนกิน อยู่ในกระแสไฟที่ขาดหาย ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ ความจริงที่ถูกซ่อน อยู่ลึกเกินจะดู คำสั่งผิดพลาด หรือชะตาที่วางอยู่ ทุกชีวิตคือเครื่องพิสูจน์ ว่าใครควรชดใช้ กระแสไฟดับ แต่ความจริงยังคงเดิน ในความมืด เราต่างสะเทือน เงาแห่งการเมืองและผลประโยชน์ ปกคลุมซากปรักหักพังด้วยคำโกหก ความลับใต้ดิน ใครจะรู้ เงามืดของระบบ ที่ซ่อนอยู่ เสียงหัวใจเรียกร้องในอุโมงค์มืด อย่าปล่อยให้ความจริงต้องตาย ในวันที่แสงสว่างกลับมา หวังเพียงคำตอบที่เปิดฟ้า เพื่อให้ทุกหยาดหยดน้ำตา ไม่ไหลไปอย่างสูญเปล่า... ใต้ผืนดิน 170917 ม.ค. 2568
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 338 มุมมอง 20 0 รีวิว
  • 20 ปี รถไฟฟ้าใต้ดินชนกัน ที่ศูนย์วัฒนธรรม โทษคนเพื่อปกป้องระบบ ความสูญเสียที่กลายเป็นบทเรียนราคาแพง

    ย้อนไปเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2548 เกิดเหตุการณ์ที่สั่นสะเทือน วงการคมนาคมไทย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน ชนกันที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จนทำให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน และกลายเป็นกรณีศึกษา เรื่องความปลอดภัย ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย

    เช้าวันที่ 17 มกราคม 2548 เวลา 9.15 น. ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน ขบวนลาดพร้าว-หัวลำโพง หมายเลข 1015 ซึ่งบรรทุกผู้โดยสารกว่า 700 คน ได้จอดรับส่งผู้โดยสา รที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมีนายวิภูติ จันทนภริน เป็นพนักงานขับรถ ระหว่างที่ขบวนกำลังจะเคลื่อนออกจากสถานี กลับเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน รถไฟฟ้าอีกขบวนหนึ่ง หมายเลข 1028 ซึ่งเป็นขบวนเปล่าสำหรับซ่อมบำรุง มีนายนิติพนธ์ นิธิโยสิยานนท์ เป็นพนักงานขับรถ ได้ไหลลงมาจากทางลาดชัน และพุ่งชนกับขบวนที่กำลังให้บริการ

    แรงชนทำให้หน้าขบวนรถ 1028 ยุบเข้าไปกว่า 70 เซนติเมตร อัดก๊อบปี้พนักงานขับรถ ติดคาซา ประตูฉุกเฉินของขบวน 1015 ไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การอพยพผู้โดยสา รต้องรอกุญแจสำรองกว่า 10 นาที

    แรงจากการชน ส่งผลให้ผนังอุโมงค์ใต้ดินิพังถล่มลงมาทับขบวน 1015 ซึ่งสร้างแรงสั่นสะเทือนทั่วสถานี โชคดีที่ไม่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ แต่ผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ถูกนำส่งโรงพยาบาลพระราม 9 จำนวน 124 คน โรงพยาบาลกรุงเทพ 21 คน โรงพยาบาลราชวิถี 15 คน โรงพยาบาลตำรวจ 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดีรามคำแหง 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดี 11 คน โรงพยาบาลพระมงกุฏ 11 คน โรงพยาบาลเปาโลสยาม 11 คน โรงพยาบาลสมิติเวช 8 คน โรงพยาบาลเมโย 4 คน โรงพยาบาลปิยะเวท 3 คน โดยมีผู้บาดเจ็บสาหัสถึง 10 คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บ จากกระดูกแตก และแรงกระแทก

    สาเหตุที่แท้จริง เมื่อระบบและคน ทำงานผิดพลาดร่วมกัน
    หลังจากเหตุการณ์เกิดขึ้น มีการสืบสวนอย่างละเอียด ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลักฐานจากกล่องดำของรถไฟฟ้า เผยว่า การชนครั้งนี้ เกิดจากการผสมผสาน ความผิดพลาดของมนุษย์ และปัญหาของระบบควบคุมอัตโนมัติ

    1. ความผิดพลาดในการควบคุมการเดินรถ
    รถไฟขบวน 1028 ซึ่งจอดอยู่ในศูนย์ซ่อมบำรุง ถูกสั่งปลดเบรกมือ ในขณะที่รถยังอยู่บนทางลาด
    เจ้าหน้าที่ควบคุมการเดินรถได้สั่งการให้ "ดัน" ขบวน 1028 เพื่อกลับเข้าสู่รางที่ 3 ซึ่งเป็นรางจ่ายไฟ
    การสั่งการดังกล่าวเกิดขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความเสี่ยง ที่รถอาจไหลลงมาด้วยความเร็วสูง

    2. ปัญหาจากระบบควบคุมอัตโนมัติ
    ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น พึ่งพาระบบอัตโนมัติเป็นหลัก แต่กลับพบว่า เกิดการขัดข้องในระบบ ที่ทำให้การควบคุมทั้งสองขบวนรถ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้ขบวนรถไฟฟ้า หลุดจากการควบคุม และไหลไปชน

    3. การจัดการเบรก และการตัดสินใจที่ผิดพลาด
    รถไฟฟ้าขบวน 1028 ถูกสั่งปลดเบรกมือ โดยไม่ควบคุมความเร็ว ส่งผลให้รถพุ่งชนขบวน 1015 ที่กำลังจอดรับผู้โดยสาร

    รถไฟฟ้าใต้ดิน สายเฉลิมรัชมงคล หรือสายสีน้ำเงิน เปิดใช้เร็วกว่ากำหนดถึง 4 เดือน แต่วิ่งได้เพียง 2 วัน ก็เกิดอุบัติเหตุครั้งแรกขึ้น เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2547 ที่สถานีคลองเตย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกจากสถานีหัวลำโพง มุ่งหน้าสถานีบางซื่อ เมื่อระบบเบรกล็อกเองอัตโนมัติ ทำให้ล้อยางเสียดสีกับยาง จนเกิดกลุ่มควันพวยพุ่ง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้โดยสาร ต้องอพยพกันชุลมุน

    ต่อมาวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ก็เกิดเหตุการณ์​การจ่ายกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ที่สถานีหัวลำโพงถึง 3 จุด ทำให้ไม่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังจุดสับเปลี่ยนรางได้ ทำให้ผู้โดยสารกว่าพันคน ต้องตกค้างที่สถานีสามย่าน และสถานีหัวลำโพง

    เหตุครั้งล่าสุดเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา 17 มกราคม 2548 รถไฟฟ้าใต้ดินขบวน 1028 พุ่งชนประสานงานขบวน 1015 ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ส่วนพนักงานขับรถขบวน 1028 บาดเจ็บสาหัส เรียกได้ว่าเปิดใช้งานมายังไม่ถึง 1 ปี ก็มาเกิดอุบัติเหตุเสียก่อน

    เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงแต่ส่งผล ต่อภาพลักษณ์ของระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน แต่ยังทำให้เกิดการตั้งคำถาม ถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย

    1. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่ลดลง
    หลังจากเหตุการณ์นี้ ผู้โดยสารจำนวนมาก เริ่มมีความกังวล เกี่ยวกับความปลอดภัย ของการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน ส่งผลให้จำนวนผู้ใช้บริการ ลดลงในช่วงเวลานั้น

    2. การปรับปรุงมาตรการความปลอดภัย
    ตรวจสอบระบบควบคุมการเดินรถ หลังเหตุการณ์นี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามาเร่งตรวจสอบ ระบบความปลอดภัย ของรถไฟฟ้าใต้ดิน พนักงานควบคุมการเดินรถ และคนขับ รับการอบรมอย่างเข้มข้นมากขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดข้อผิดพลาด ในอนาคต

    ผลการสอบสวนชี้ว่า เป็นความผิดพลาดของพนักงานควบคุมการเดินรถ ที่อนุญาตให้ปลดเบรกขบวนรถ 1028 ได้ แต่ก็เชื่อได้ว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เป็นเพราะระบบ ไม่ใช่คน เพราะระบบจะควบคุมทั้งหมด สามารถสั่งให้รถวิ่ง หรือหยุดก็ได้คนขับมีหน้าที่เดียว หรือกดเปิดปิดเครื่องเท่านั้น

    แต่จำเป็นต้องมีความพยายามเบี่ยงประเด็น ให้คนเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะหากผลการสอบสอวนระบุว่า เกิดจากระบบ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายทางแพ่ง จำนวนหลายพันล้านบาท

    ทั้งนี้ผ่านมา เคยเกิดเหตุ ขบวนรถที่กลับเข้าศูนย์ซ่อม หยุดที่บริเวณดังกล่าว 2-3 ครั้ง และก็มีการลากจูงเพื่อแก้ปัญหา โชคดีที่ไม่มีการปลดเบรก แต่ครั้งนี้พนักงานปลดเบรกมือ จึงทำให้รถไหลเข้าไปในอุโมงค์ จนชนกันขึ้น

    เหตุการณ์ชนกันของรถไฟใต้ดิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความผิดพลาด แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่ทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญ ของมาตรฐานความปลอดภัย ในการขนส่งมวลชน

    1. ความสำคัญของระบบสำรองฉุกเฉิน
    การที่ประตูฉุกเฉิน ไม่สามารถเปิดใช้งานได้ในทันที เป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน เหตุการณ์นี้ จึงนำไปสู่การปรับปรุง ระบบฉุกเฉินในรถไฟฟ้าทุกขบวน

    2. การฝึกอบรม และการปฏิบัติตามมาตรฐาน
    พนักงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีความรู้ และการฝึกอบรมอย่างละเอียด ในทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น

    3. การพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติ
    การพึ่งพาระบบอัตโนมัติอย่างเดียว ไม่เพียงพอ ต้องมีการตรวจสอบระบบ และอัปเดตเทคโนโลยี อย่างสม่ำเสมอ

    การรับมือในอนาคต
    ตรวจสอบระบบอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบระบบรถไฟฟ้า และศูนย์ซ่อมบำรุงเป็นประจำ
    เพิ่มอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น การติดตั้งระบบเบรกฉุกเฉิน ที่สามารถหยุดรถไฟได้ทันที ในกรณีฉุกเฉิน
    สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน การสื่อสารและรายงานความคืบหน้า เกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัย จะช่วยสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ใช้บริการ

    เหตุการณ์รถไฟใต้ดินชนกัน เมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ในประวัติศาสตร์ของระบบขนส่งมวลชนไทย แม้จะไม่มีผู้เสียชีวิต แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้น ก็เพียงพอที่จะทำให้เราตระหนักถึง ความสำคัญของมาตรการความปลอดภัย ที่เข้มงวดมากขึ้น

    การพัฒนา และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน ให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ จะเป็นสิ่งที่ช่วยลดโอกาส ในการเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ในอนาคต ได้อย่างแน่นอน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 170912 ม.ค. 2568

    #รถไฟใต้ดิน #เหตุการณ์สำคัญ #ความปลอดภัยในระบบขนส่ง #บทเรียนราคาแพง #ระบบควบคุมอัตโนมัติ #20ปีแห่งบทเรียน #เหตุรถไฟชนกัน #การพัฒนาระบบขนส่ง #มาตรการความปลอดภัย
    20 ปี รถไฟฟ้าใต้ดินชนกัน ที่ศูนย์วัฒนธรรม โทษคนเพื่อปกป้องระบบ ความสูญเสียที่กลายเป็นบทเรียนราคาแพง ย้อนไปเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2548 เกิดเหตุการณ์ที่สั่นสะเทือน วงการคมนาคมไทย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินสองขบวน ชนกันที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จนทำให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน และกลายเป็นกรณีศึกษา เรื่องความปลอดภัย ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย เช้าวันที่ 17 มกราคม 2548 เวลา 9.15 น. ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน ขบวนลาดพร้าว-หัวลำโพง หมายเลข 1015 ซึ่งบรรทุกผู้โดยสารกว่า 700 คน ได้จอดรับส่งผู้โดยสา รที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยมีนายวิภูติ จันทนภริน เป็นพนักงานขับรถ ระหว่างที่ขบวนกำลังจะเคลื่อนออกจากสถานี กลับเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน รถไฟฟ้าอีกขบวนหนึ่ง หมายเลข 1028 ซึ่งเป็นขบวนเปล่าสำหรับซ่อมบำรุง มีนายนิติพนธ์ นิธิโยสิยานนท์ เป็นพนักงานขับรถ ได้ไหลลงมาจากทางลาดชัน และพุ่งชนกับขบวนที่กำลังให้บริการ แรงชนทำให้หน้าขบวนรถ 1028 ยุบเข้าไปกว่า 70 เซนติเมตร อัดก๊อบปี้พนักงานขับรถ ติดคาซา ประตูฉุกเฉินของขบวน 1015 ไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การอพยพผู้โดยสา รต้องรอกุญแจสำรองกว่า 10 นาที แรงจากการชน ส่งผลให้ผนังอุโมงค์ใต้ดินิพังถล่มลงมาทับขบวน 1015 ซึ่งสร้างแรงสั่นสะเทือนทั่วสถานี โชคดีที่ไม่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ แต่ผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ถูกนำส่งโรงพยาบาลพระราม 9 จำนวน 124 คน โรงพยาบาลกรุงเทพ 21 คน โรงพยาบาลราชวิถี 15 คน โรงพยาบาลตำรวจ 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดีรามคำแหง 12 คน โรงพยาบาลวิภาวดี 11 คน โรงพยาบาลพระมงกุฏ 11 คน โรงพยาบาลเปาโลสยาม 11 คน โรงพยาบาลสมิติเวช 8 คน โรงพยาบาลเมโย 4 คน โรงพยาบาลปิยะเวท 3 คน โดยมีผู้บาดเจ็บสาหัสถึง 10 คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บ จากกระดูกแตก และแรงกระแทก สาเหตุที่แท้จริง เมื่อระบบและคน ทำงานผิดพลาดร่วมกัน หลังจากเหตุการณ์เกิดขึ้น มีการสืบสวนอย่างละเอียด ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน หลักฐานจากกล่องดำของรถไฟฟ้า เผยว่า การชนครั้งนี้ เกิดจากการผสมผสาน ความผิดพลาดของมนุษย์ และปัญหาของระบบควบคุมอัตโนมัติ 1. ความผิดพลาดในการควบคุมการเดินรถ รถไฟขบวน 1028 ซึ่งจอดอยู่ในศูนย์ซ่อมบำรุง ถูกสั่งปลดเบรกมือ ในขณะที่รถยังอยู่บนทางลาด เจ้าหน้าที่ควบคุมการเดินรถได้สั่งการให้ "ดัน" ขบวน 1028 เพื่อกลับเข้าสู่รางที่ 3 ซึ่งเป็นรางจ่ายไฟ การสั่งการดังกล่าวเกิดขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความเสี่ยง ที่รถอาจไหลลงมาด้วยความเร็วสูง 2. ปัญหาจากระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น พึ่งพาระบบอัตโนมัติเป็นหลัก แต่กลับพบว่า เกิดการขัดข้องในระบบ ที่ทำให้การควบคุมทั้งสองขบวนรถ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้ขบวนรถไฟฟ้า หลุดจากการควบคุม และไหลไปชน 3. การจัดการเบรก และการตัดสินใจที่ผิดพลาด รถไฟฟ้าขบวน 1028 ถูกสั่งปลดเบรกมือ โดยไม่ควบคุมความเร็ว ส่งผลให้รถพุ่งชนขบวน 1015 ที่กำลังจอดรับผู้โดยสาร รถไฟฟ้าใต้ดิน สายเฉลิมรัชมงคล หรือสายสีน้ำเงิน เปิดใช้เร็วกว่ากำหนดถึง 4 เดือน แต่วิ่งได้เพียง 2 วัน ก็เกิดอุบัติเหตุครั้งแรกขึ้น เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2547 ที่สถานีคลองเตย เมื่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกจากสถานีหัวลำโพง มุ่งหน้าสถานีบางซื่อ เมื่อระบบเบรกล็อกเองอัตโนมัติ ทำให้ล้อยางเสียดสีกับยาง จนเกิดกลุ่มควันพวยพุ่ง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้โดยสาร ต้องอพยพกันชุลมุน ต่อมาวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ก็เกิดเหตุการณ์​การจ่ายกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ที่สถานีหัวลำโพงถึง 3 จุด ทำให้ไม่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังจุดสับเปลี่ยนรางได้ ทำให้ผู้โดยสารกว่าพันคน ต้องตกค้างที่สถานีสามย่าน และสถานีหัวลำโพง เหตุครั้งล่าสุดเมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา 17 มกราคม 2548 รถไฟฟ้าใต้ดินขบวน 1028 พุ่งชนประสานงานขบวน 1015 ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 200 คน ส่วนพนักงานขับรถขบวน 1028 บาดเจ็บสาหัส เรียกได้ว่าเปิดใช้งานมายังไม่ถึง 1 ปี ก็มาเกิดอุบัติเหตุเสียก่อน เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงแต่ส่งผล ต่อภาพลักษณ์ของระบบรถไฟฟ้าใต้ดิน แต่ยังทำให้เกิดการตั้งคำถาม ถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ของระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย 1. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่ลดลง หลังจากเหตุการณ์นี้ ผู้โดยสารจำนวนมาก เริ่มมีความกังวล เกี่ยวกับความปลอดภัย ของการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน ส่งผลให้จำนวนผู้ใช้บริการ ลดลงในช่วงเวลานั้น 2. การปรับปรุงมาตรการความปลอดภัย ตรวจสอบระบบควบคุมการเดินรถ หลังเหตุการณ์นี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามาเร่งตรวจสอบ ระบบความปลอดภัย ของรถไฟฟ้าใต้ดิน พนักงานควบคุมการเดินรถ และคนขับ รับการอบรมอย่างเข้มข้นมากขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดข้อผิดพลาด ในอนาคต ผลการสอบสวนชี้ว่า เป็นความผิดพลาดของพนักงานควบคุมการเดินรถ ที่อนุญาตให้ปลดเบรกขบวนรถ 1028 ได้ แต่ก็เชื่อได้ว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เป็นเพราะระบบ ไม่ใช่คน เพราะระบบจะควบคุมทั้งหมด สามารถสั่งให้รถวิ่ง หรือหยุดก็ได้คนขับมีหน้าที่เดียว หรือกดเปิดปิดเครื่องเท่านั้น แต่จำเป็นต้องมีความพยายามเบี่ยงประเด็น ให้คนเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะหากผลการสอบสอวนระบุว่า เกิดจากระบบ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายทางแพ่ง จำนวนหลายพันล้านบาท ทั้งนี้ผ่านมา เคยเกิดเหตุ ขบวนรถที่กลับเข้าศูนย์ซ่อม หยุดที่บริเวณดังกล่าว 2-3 ครั้ง และก็มีการลากจูงเพื่อแก้ปัญหา โชคดีที่ไม่มีการปลดเบรก แต่ครั้งนี้พนักงานปลดเบรกมือ จึงทำให้รถไหลเข้าไปในอุโมงค์ จนชนกันขึ้น เหตุการณ์ชนกันของรถไฟใต้ดิน ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความผิดพลาด แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่ทำให้เราตระหนักถึงความสำคัญ ของมาตรฐานความปลอดภัย ในการขนส่งมวลชน 1. ความสำคัญของระบบสำรองฉุกเฉิน การที่ประตูฉุกเฉิน ไม่สามารถเปิดใช้งานได้ในทันที เป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน เหตุการณ์นี้ จึงนำไปสู่การปรับปรุง ระบบฉุกเฉินในรถไฟฟ้าทุกขบวน 2. การฝึกอบรม และการปฏิบัติตามมาตรฐาน พนักงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีความรู้ และการฝึกอบรมอย่างละเอียด ในทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น 3. การพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติ การพึ่งพาระบบอัตโนมัติอย่างเดียว ไม่เพียงพอ ต้องมีการตรวจสอบระบบ และอัปเดตเทคโนโลยี อย่างสม่ำเสมอ การรับมือในอนาคต ตรวจสอบระบบอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบระบบรถไฟฟ้า และศูนย์ซ่อมบำรุงเป็นประจำ เพิ่มอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น การติดตั้งระบบเบรกฉุกเฉิน ที่สามารถหยุดรถไฟได้ทันที ในกรณีฉุกเฉิน สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน การสื่อสารและรายงานความคืบหน้า เกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัย จะช่วยสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ใช้บริการ เหตุการณ์รถไฟใต้ดินชนกัน เมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญ ในประวัติศาสตร์ของระบบขนส่งมวลชนไทย แม้จะไม่มีผู้เสียชีวิต แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้น ก็เพียงพอที่จะทำให้เราตระหนักถึง ความสำคัญของมาตรการความปลอดภัย ที่เข้มงวดมากขึ้น การพัฒนา และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน ให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ จะเป็นสิ่งที่ช่วยลดโอกาส ในการเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ในอนาคต ได้อย่างแน่นอน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 170912 ม.ค. 2568 #รถไฟใต้ดิน #เหตุการณ์สำคัญ #ความปลอดภัยในระบบขนส่ง #บทเรียนราคาแพง #ระบบควบคุมอัตโนมัติ #20ปีแห่งบทเรียน #เหตุรถไฟชนกัน #การพัฒนาระบบขนส่ง #มาตรการความปลอดภัย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • 17/1/68

    รฟม. ขอประชาสัมพันธ์การปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 17 มกราคม 2568 ตั้งแต่เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป ตลอด 24 ชั่วโมง จนถึง 30 เมษายน 2571 เพื่อก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    🟠 เตรียมพร้อมรับมือปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/15rUtGxURi/

    🟠 แนะนำเส้นทางเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/v/1BA1XvXuvi/

    🟠 แนะนำเส้นทางเดินเรือคลองแสนแสบเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/18j6e9tq12/

    โดยสามารถติดตามข่าวสารโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ได้ที่
    👉 Facebook Fan Page : โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    17/1/68 รฟม. ขอประชาสัมพันธ์การปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี ในวันที่ 17 มกราคม 2568 ตั้งแต่เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป ตลอด 24 ชั่วโมง จนถึง 30 เมษายน 2571 เพื่อก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 🟠 เตรียมพร้อมรับมือปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/15rUtGxURi/ 🟠 แนะนำเส้นทางเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/v/1BA1XvXuvi/ 🟠 แนะนำเส้นทางเดินเรือคลองแสนแสบเลี่ยงปิดสะพานข้ามแยกราชเทวี https://www.facebook.com/share/p/18j6e9tq12/ โดยสามารถติดตามข่าวสารโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ได้ที่ 👉 Facebook Fan Page : โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • Gombak ศูนย์กลางคมนาคมใหม่ใกล้กัวลาลัมเปอร์

    ในอนาคตอันใกล้ มาเลเซียกำลังจะมีรถไฟความเร็วปานกลางสายใหม่ อีสต์โคสต์ เรล ลิงก์ (East Coast Rail Link) หรือ ECRL ระยะทาง 665 กิโลเมตร พาดผ่าน 4 รัฐ ได้แก่ รัฐกลันตัน ตรังกานู ปะหัง และสลังงอร์ มีสถานีรถไฟทั้งหมด 20 เฉพาะ รับ-ส่งผู้โดยสาร 10 สถานี และรับ-ส่งผู้โดยสารคู่กับขนส่งสินค้า 10 สถานี ตั้งเป้าที่จะแล้วเสร็จภายในเดือน ธ.ค.2569 และเปิดให้บริการในเดือน ม.ค.2570

    ปลายทางของรถไฟสายนี้อยู่ที่อำเภอกอมบัค (Gombak) รัฐสลังงอร์ ทางทิศเหนือของกรุงกัวลาลัมเปอร์ ซึ่งมีสถานีรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) สายเกอลานา จายา (Kelana Jaya) หรือ KJL ให้บริการ ระยะทาง 46.4 กิโลเมตร มี 37 สถานี ผ่านสถานีกลางเคแอล เซ็นทรัล (KL Sentral) ไปยังสถานีปูตราไฮท์ส (Putra Heights) ปัจจุบันมีผู้โดยสารมากถึง 84 ล้านคน-เที่ยวต่อปี โดยสถานีกอมบัคเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 มิ.ย.2542

    สถานีกอมบัคห่างจากสถานีเคแอลเซ็นทรัล 15 สถานี ใช้เวลาเดินทางประมาณ 37 นาที เป็นอาคาร 2 ชั้น โดยชั้นล่างเป็นร้านสะดวกซื้อ ห้องบริการบัตรโดยสาร เครื่องจำหน่ายเหรียญโดยสารอัตโนมัติ เครื่องคีออสบัตร Touch 'n Go มีอาคารจอดแล้วจรอยู่อีกฝั่ง รองรับรถยนต์ได้ 1,441 คัน มีรถโดยสารฟีดเดอร์ (Feeder Bus) สาย T200 ไปมหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมาเลเซีย (UIAM) และ T201 ไปยัง Hab Wira Damai ให้บริการ

    ทิศเหนือของอาคารจอดแล้วจร เป็นสถานที่ก่อสร้างสถานีกอมบัค ของโครงการ ECRL บนพื้นที่ 8.73 เฮคเตอร์ ริมแนวสันเขากอมบัค มีชานชาลายกระดับและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ที่จอดรถ จุดจอดรถรับส่ง ทางเดินที่มีหลังคาคลุม ที่พักพนักงาน และพื้นที่ภูมิทัศน์ วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 19 มิ.ย.2567 ที่ผ่านมา โครงการนี้เป็นความร่วมมือระหว่างบริษัทมาเลเซีย เรล ลิงก์ (MRL) และบริษัทไชน่า คอมมูนิเคชัน คอนสตรัคชัน (CCCC) ด้วยงบลงทุนกว่า 5 หมื่นล้านริงกิต

    หากโครงการแล้วเสร็จ การเดินทางจากสถานีโกตาบารู (Kota Bharu) รัฐกลันตัน ไปยังสถานีกอมบัค จะใช้เวลาเพียง 4 ชั่วโมง 45 นาที ใช้รถไฟ EMU รุ่น CR200J ทำความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    ส่วนด้านข้างสถานีกอมบัค เป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารเบอร์เซอปาดูกอมบัค (Terminal Bersepadu Gombak หรือ TBG) สร้างขึ้นเพื่อรองรับรถทัวร์ที่จะไปรัฐชายฝั่งตะวันออก (East Coast) ได้แก่ รัฐปาหัง ตรังกานู และกลันตัน ลดความหนาแน่นของสถานีขนส่งผู้โดยสารเบอร์เซอปาดูเซอลาตัน (Terminal Bersepadu Selatan หรือ TBS) พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกทั้งร้านค้า ร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ และที่พักภายในสถานีขนส่ง

    #Newskit
    -----
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Gombak ศูนย์กลางคมนาคมใหม่ใกล้กัวลาลัมเปอร์ ในอนาคตอันใกล้ มาเลเซียกำลังจะมีรถไฟความเร็วปานกลางสายใหม่ อีสต์โคสต์ เรล ลิงก์ (East Coast Rail Link) หรือ ECRL ระยะทาง 665 กิโลเมตร พาดผ่าน 4 รัฐ ได้แก่ รัฐกลันตัน ตรังกานู ปะหัง และสลังงอร์ มีสถานีรถไฟทั้งหมด 20 เฉพาะ รับ-ส่งผู้โดยสาร 10 สถานี และรับ-ส่งผู้โดยสารคู่กับขนส่งสินค้า 10 สถานี ตั้งเป้าที่จะแล้วเสร็จภายในเดือน ธ.ค.2569 และเปิดให้บริการในเดือน ม.ค.2570 ปลายทางของรถไฟสายนี้อยู่ที่อำเภอกอมบัค (Gombak) รัฐสลังงอร์ ทางทิศเหนือของกรุงกัวลาลัมเปอร์ ซึ่งมีสถานีรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) สายเกอลานา จายา (Kelana Jaya) หรือ KJL ให้บริการ ระยะทาง 46.4 กิโลเมตร มี 37 สถานี ผ่านสถานีกลางเคแอล เซ็นทรัล (KL Sentral) ไปยังสถานีปูตราไฮท์ส (Putra Heights) ปัจจุบันมีผู้โดยสารมากถึง 84 ล้านคน-เที่ยวต่อปี โดยสถานีกอมบัคเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 มิ.ย.2542 สถานีกอมบัคห่างจากสถานีเคแอลเซ็นทรัล 15 สถานี ใช้เวลาเดินทางประมาณ 37 นาที เป็นอาคาร 2 ชั้น โดยชั้นล่างเป็นร้านสะดวกซื้อ ห้องบริการบัตรโดยสาร เครื่องจำหน่ายเหรียญโดยสารอัตโนมัติ เครื่องคีออสบัตร Touch 'n Go มีอาคารจอดแล้วจรอยู่อีกฝั่ง รองรับรถยนต์ได้ 1,441 คัน มีรถโดยสารฟีดเดอร์ (Feeder Bus) สาย T200 ไปมหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมาเลเซีย (UIAM) และ T201 ไปยัง Hab Wira Damai ให้บริการ ทิศเหนือของอาคารจอดแล้วจร เป็นสถานที่ก่อสร้างสถานีกอมบัค ของโครงการ ECRL บนพื้นที่ 8.73 เฮคเตอร์ ริมแนวสันเขากอมบัค มีชานชาลายกระดับและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ที่จอดรถ จุดจอดรถรับส่ง ทางเดินที่มีหลังคาคลุม ที่พักพนักงาน และพื้นที่ภูมิทัศน์ วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 19 มิ.ย.2567 ที่ผ่านมา โครงการนี้เป็นความร่วมมือระหว่างบริษัทมาเลเซีย เรล ลิงก์ (MRL) และบริษัทไชน่า คอมมูนิเคชัน คอนสตรัคชัน (CCCC) ด้วยงบลงทุนกว่า 5 หมื่นล้านริงกิต หากโครงการแล้วเสร็จ การเดินทางจากสถานีโกตาบารู (Kota Bharu) รัฐกลันตัน ไปยังสถานีกอมบัค จะใช้เวลาเพียง 4 ชั่วโมง 45 นาที ใช้รถไฟ EMU รุ่น CR200J ทำความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่วนด้านข้างสถานีกอมบัค เป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารเบอร์เซอปาดูกอมบัค (Terminal Bersepadu Gombak หรือ TBG) สร้างขึ้นเพื่อรองรับรถทัวร์ที่จะไปรัฐชายฝั่งตะวันออก (East Coast) ได้แก่ รัฐปาหัง ตรังกานู และกลันตัน ลดความหนาแน่นของสถานีขนส่งผู้โดยสารเบอร์เซอปาดูเซอลาตัน (Terminal Bersepadu Selatan หรือ TBS) พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกทั้งร้านค้า ร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ และที่พักภายในสถานีขนส่ง #Newskit ----- ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 247 มุมมอง 0 รีวิว
  • รวบรวม 61ความระยำของ ทักษิณ บันทึกไว้ให้ลูกหลานมันจำ" 🧐เครดิต:ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิทย์ แชร์ให้โลกรู้
    9 ธค.นี้ 10.00 น.หน้าทำเนียบรัฐบาลไทยทุกคน

    1. แก้ พรบ.สรรพสามิตโทรคมนาคม ให้เสียภาษีน้อยลง ได้ผลประโยชน์ 8,000 ล้าน
    2. ลดสัมปทาน itv ได้ผลประโยชน์ 20,000 ล้าน แถมได้สถานีโทรทัศน์ที่เคยมีอุดมการณ์เปลี่ยนมาทำลายวัฒนธรรม โดยการเอาหนังเกาหลีมาฉาย และปิดสื่อความไม่ดีสร้างภาพดีๆให้ตัวเอง (กลุ่มชินคอร์ป ถือหุ้น itv 53%)
    3. ตั้ง ชัยสิทธิ์ ชินวัตร เป็น ผบ.ทบ. ก็ได้พี่ชายตนเองคุมทหาร
    4. ตั้ง เพรียวพันธ์ ดามาพงษ์ เป็น รอง ผบ.ตร. ก็ได้พี่เขยตนเองคุมตำรวจ
    5. ตั้ง วาสนา เพิ่มลาภ เป็น ประธาน กกต ก็ได้ตำรวจพวกพ้องตัวเองคุม กกต.
    6. ตั้ง สุรสิทธิ์ สังขพงศ์ เป็น ผอ.กองสลาก ก็ได้ตำรวจพวกพ้องตัวเองคุม กองสลาก
    7. ตั้ง คงศักดิ์ วันทนา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สามีลูกน้ำเพื่อนรักที่ช่วยแลกเช็คให้สมัยยังจนอยู่ก็ได้เพื่อนคุณหญิงอ้อ…มาคุมทุกเหล่า
    8. กล่าวคําพูดท้าทายพวกก่อการร้ายในภาคใต้ว่าเป็นแค่โจรกระจอก อย่าไปใส่ใจ ทําให้เกิดความรุนแรงคนตายมากมายและหลุดปากด่าทหารว่า “สมควรตาย”
    9. ปล่อยเงินกู้ให้พม่า 4,000ล้าน เพื่อนำมาเช่าช่องสัญญาณ IP Star ของตัวเอง ถึงกำหนดแล้วพม่ายังไม่ใช้หนี้เลย
    10. เจรจาเซ็น FTA กับจีน ให้จีนนำเข้า หอม กระเทียม เข้ามาไม่เสียภาษี เกษตรกรที่ปลูกหอมปลูกกระเทียมทางเหนือก็ตายหมด ส่วนไทยได้ขายธุรกิจช่อง สัญญาณดาวเทียม IP Star
    11. เจรจาเซ็น FTA กับออสเตรเลีย ให้นำเข้า นม ไวน์ เข้ามาไม่เสียภาษี ทำลายเหล้าไวน์พื้นบ้าน OTOP ทำลายนมพระราชดำริ ส่วนไทยได้ขายธุรกิจช่องสัญญาณ IP Star
    12. ในเดือนพฤศจิกายน 2546 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) มีมติส่งเสริมการลงทุนโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ของ ชินแซทเทิลไลท์ โดยให้การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเฉพาะรายได้ที่ได้รับจากต่างประเทศ ทั้ง ๆที่เป็นกิจการที่ลงทุนเดิมอยู่แล้วไม่รู้ไปยกเว้นภาษีทำไม บริษัทจึงได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้อีก 16,459 ล้านบาทต่อปี
    13. แปรรูปขายหุ้น ปตท วันแรกเปิดขายหุ้นหมดภายใน 1 นาที 17 วินาที ตระกูลใครละที่ได้ซื้อหุ้นไปหลังจากแปรรูป น้ำมันก็แพงขึ้นทุกวัน ให้กองทุนน้ำมันของคนไทยขาดทุนกว่า 70,000 ล้านบาท แต่ ปตท ได้กำไรปี 2548 จำนวน 160,000 ล้านบาท แล้วกำไรแทนที่จะเป็นของรัฐก็กลายเป็นกำไรของตระกูลพวกถือหุ้น
    14. ซุกหุ้นภาคแรกให้เมียตัวเองขึ้นศาลรับผิด ซุกหุ้นภาค 2 ให้ลูกชายตัวเองขึ้นศาลรับผิดไหนบอกว่ารักครอบครัวไง
    15. บริษัทของลูกท่านได้เงินกู้ 5,000 ล้าน จาก ICT ดอกเบี้ย0% ไม่กำหนดเวลาชำระคืนแถมได้รับการเว้นภาษีจาก บีโอไอ อีกทำสวนสนุกได้รับการเว้นภาษี
    16. ได้รับสัมปทานสื่อโฆษณาที่รถไฟใต้ดิน โดยที่ไม่ได้รับการเปิดประมูลเพื่อแข่งขันกับบริษัทอื่น
    17. ทักษิณ สั่ง รมต. กลางวง ครม. ลดค่าเช่าพื้นที่ย่านสยามสแควร์ เปิดทางลูก-หลานเปิด สตูดิโอ – ร้านกาแฟ อ้างค่าเช่าแพงเกินจริง
    18. ลดเงินค่ารถไฟฟ้า-ใต้ดิน พอดีกับงานสวนสนุกธุรกิจของลูกๆ สอดคล้องสนับสนุนกันพอดี บังเอิญจริงๆ
    19. ทักษิณพูดว่า”จังหวัดไหนเลือกไทยรักไทย จะให้ความดูแลก่อน” น้ำท่วมภาคใต้ 5 วันแล้ว แต่ทักษิณไปช่วยหาเสียงเลือกตั้งซ่อม ไปกินก๋วยเตี๋ยวสร้างภาพ ไปเดินตลาดหาเสียง ทั้งๆที่มี สส อยู่เต็มสภาแล้วแต่ที่ต้องลงใต้ไปดูน้ำท่วมวันศุกร์เช้า เนื่องจากกลัวสนธิพูดตอนเย็นในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์
    20. การที่มีพวกพ้องตัวเองเป็น กกต. จึงเปลี่ยนรูปแบบการเลือกตั้งให้สามารถโกงการเลือกตั้งเพิ่มขึ้นได้อีก 2 วิธี
    20.1 ปั๊มตรายางอีกชุดรอเวลาเปลี่ยนกล่องบัตรได้ทุกเวลา
    20.2 หมึกมีแบบล่องหน และ แบบโผล่ขึ้นมาได้ (ในทางเคมีสามารถทำได้)
    21. ปิดข่าวเรื่องไข้หวัดนกทําให้ชาวบ้านที่ไม่ทราบต้องตายแล้วยังไปแสดงการกินไก่ไปหัวเราะไป เพื่อ ซีพี.นายทุนพรรคเท่านั้น
    22. ทําให้เกิดการฆ่าตัดตอนประชาชนผู้บริสุทธิ์กว่า 2000 คน จากการปราบยาบ้าสั่งฆ่าคนได้หน้าตาเฉย โหดร้ายทารุณ
    23. ซุกหุ้นปั่นหุ้น ซุกซ่อนทรัพย์สินไว้กับญาติพี่น้องเอาเงินไปฟอกต่างประเทศเอาเปรียบใน การทําธุรกิจผูกขาด
    ทั้งรับทั้งจ่ายใต้โต๊ะจนคนในวงการธุรกิจ เขารู้กันหมด ค้ากำไรเกินควร จนรํ่ารวยมหาศาล
    24. โกงที่ดินวัดของสนามกอล์ฟอัลไพน์มีคนโกงที่ดินธรณีสงฆ์เอามาทำสนามกอล์ฟ แล้วทักษิณไปซื้อต่อทั้ง ๆ รู้ว่าที่ดินนั้นได้มา ไม่ถูกต้องเพราะไม่กลัวบาปกรรม
    25. ประชาชนเสียรู้ทักษิณ เรียนฟรี 12 ปี นโยบายรัฐที่เปิดช่องให้โรงเรียนนำค่าใช้จ่ายอย่างอื่นมาเพิ่มแทนค่าเทอม นั่นแหละ สุดท้ายก็ไม่ได้เรียนฟรีอยู่ดี เป็นความล้มเหลวที่เห็นได้ชัดเจนของการปฎิรูปการศึกษาไทย ประชาชนจะถูกหลอกอีก 4 ปี เอาเข้าไป เป็นความจริงที่สุดเลย นี่คือการโกหกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยเห็นมาในโลกนี้ซึ่งหาดูไม่ได้ที่ไหนนอกจากประเทศไทยที่กฎหมายบอกว่าเรียนฟรี แต่ความจริงมีใครบ้างที่เรียนฟรีถามผู้ปกครองทุกคนดูได้เลย
    26. ชั่วเวลาแค่ปีเศษ ๆ รัฐบาลชุดนี้ก็ทำให้สถานการณ์ภาคใต้ที่ร่มเย็นเป็นสุขมานานหลายสิบปี กลับร้อนระอุกลายเป็นแดนมิคสัญญี
    27. เช่าน่านฟ้า เช่าผืนแผ่นดินไทย ราคาเช่าช่างถูกจัง มีอะไรแอบแฝงหรือเปล่า ตนเองน่าจะรู้ดี ไหนบอกว่าแผ่นดินไทยจะไม่ให้หายแม้แต่ตารางนิ้วเดียวไงใช้อำนาจจนเลยเถิดไม่เห็นด้วย คิดไงท่านนายก ที่ให้เช่า 15 ปี แถมมีเปลียนสัญญาได้ทุกๆ 5 ปี เหมือนทำธรุกิจเลยขอเชิญชาวไทยเรียกร้องอธิปไตยชาติไทยกลับมาด้วยขอให้มี สส สว ที่ยังพอมีความเป็นไทยที่มิใช่มีความเป็น ทรท. ช่วยกันคัดค้าน ล่ารายชื่อด้วยครับผมว่ามันเกี่ยวกันหมดแหละครับ ตั้งแต่ AIS (มือถือ) ไทยคม1 ไทยคม 2 IPstar ชินคอร์ป ธนาคาร ธุรกิจ การเมือง อยู่ในมือสิงคโปร์ทั้งหมดแล้วครับ ชัดเจน มีผลประโยชน์ทับซ้อนแหง๋ ไม่งั้นไม่งุบงิบกันทำหรอก อย่านึกว่าประชาชนโง่นะคุณ ยุคทักษิณคือ ยุคของเงินเหนือรัฐ ยุคตำรวจรังแกประชาชน ยุคทหารฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ยุคความรุนแรงอยู่เหนือเหตุผล
    28. ฉลาด อย่างตัวจับยาก เอาเงินหลวงไปหว่านให้รากหญ้าแล้ว ผ่านกระเป๋ารากหญ้าแบบเคาะกะลาให้หมาดีใจ ผ่านธุรกิจมือถือเข้ากระเป๋ามันเอง
    29. ยุบสภาหนีความผิด เนื่องจากนายกองค์การนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร์ ล่า 50,000 รายชื่อ เพื่อถอดถอนนายกรัฐมนตรีออกจากตำแหน่ง
    30. ยุบสภาได้ยังไงไม่ได้มีปัญหาภายในสภาสักหน่อย อภิปรายไม่ไว้วางใจก็ไม่ได้ ฝ่ายค้านมีไม่พอ
    31. วันที่ประกาศยุบสภาประกาศพร้อมกันว่าให้ไปเลือกตั้งวันที่ 2 เมษา ได้ยังไง รู้ได้ยังไง ไหนว่า กกต. เป็นกลางไง
    32. คุณหญิงพจมาน อยากมีสมเด็จพระสังฆราชประจำตระกูลตัวเอง จึงให้นายวิษณุ เครืองา ลงนามแต่งตั้ง สมเด็จพระพุฒาจารย์ เกี่ยว อุปเสโณ วัดสระเกศ ขึ้นปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2547 เสมอกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนา อ้างว่า สมเด็จญาณฯ ทรงประชวร ไม่สามารถประกอบศาสนกิจได้ ทั้งๆที่มี VDO วันที่ 13 มีนาคม 2547 สมเด็จพระสังฆราชพระราชทานรางวัลให้กับเด็กนักเรียนที่ได้รับทุนของมหามกุฏราชวิทยาลัยในการประกวดเรียงความเรื่อง สมเด็จพระสังฆราช 90 พรรษา
    33. คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ผู้ว่า สตง. ตรวจเจอการทุจริตของรัฐบาลหลายเรื่อง ล่าสุดตรวจสอบเจอการทุจริต CTX ทางรัฐบาลจึงอ้างว่ากระบวนการสรรหา คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (ผู้ว่าการ สตง.) มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ (ทั้งๆที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) คุณหญิงปิดห้องทำงานแล้ว ยังไปงัดห้องคุณหญิง คิดจะหาหลักฐานทุจริตที่ห้องคุณหญิง ต่อมาคนดีอย่างคุณหญิงก็ได้กลับมาทำงานเหมือนเดิม
    34. จัดซื้อเครื่องบินรบ ซู30 ตั้งงบประมาณไว้ 35,000 ล้าน ทั้งที่รัสเซียบอกว่าขายแค่ 20,000 ล้าน กะจะกินตั้ง 15,000 ล้าน เครื่องบินเป็นแบบบินระยะไกล เสียค่าซ่อมเยอะ (ไทยนี้รักสงบ) เราเป็นพวกบุกรุก หรือ ตั้งรับถ้าเราเป็นฝ่ายตั้งรับ แล้วจะซื้อเครื่องบินระยะไกลทำไม ให้ช่างทหารอากาศเลือกซื้อทำไมไม่ให้นักบินเป็นคนเลือก เพราะฝ่ายช่างอยู่ในความดูแลของ คงศักดิ์ วัณทนา สามีของเพื่อน คุณหญิงพจมาน…
    35. ก่อนขายหุ้นบอกว่าจะไปพักผ่อนที่สิงคโปร์ 4 วัน เดินเล่นที่สิงคโปร์ไปเดินครึ่งวัน อย่างมากก็วันเดียวก็ไม่รู้จะไปเดิน ที่ไหนแล้วนี่ไปถึง 4 วันเจรจาขายหุ้น แต่โกหกประชาชนคนไทยว่าจะไปพักผ่อน บอกตรงๆก็ได้
    36. จัดซื้อ CTX ราคา ระหว่าง บทม.และใบแจ้งราคาสินค้าของบริษัท อินวิชั่นฯ เป็นเงินประมาณ 283,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 11.30 ล้านบาทต่อเครื่อง หากคิดรวม 26 เครื่อง เป็นเงิน 7.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 294.4 ล้านบาทซึ่ง “ส่วนต่าง”ราคานี้ถูกนำไปใช้บันทึกซ้ำซ้อน โดยอ้างว่าเป็นอุปกรณ์ที่ต้องการซื้อเพิ่มเติม ทั้งที่รวมอยู่ในราคา 35.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯหรือประมาณ1,432 ล้านบาทกะจะกิน1,432 ล้าน – 294.4 ล้าน = ?
    37. ร่วมทุนชินคอร์ปกับมาเลเซีย เปิดธุรกิจสายการบิน Low Cost แล้วสั่งยกเลิกเที่ยวบินการบินไทยที่ได้กำไร แล้วเอาสายการบินของตัวเองไปบินทับที่แทน ทำให้การบินไทยซึ่ง เป็นสายการบินของคนไทยขาดทุน แล้วทำหนังสือถึงหน่วยงานราชการว่านอกจากการบินไทยแล้ว สามารถใช้งบหลวงเบิกค่านั่งเครื่องบิน Low Cost ได้ด้วย แล้วยังขายหุ้น Low Cost ให้สิงคโปร์อีก ทำให้ Low Cost ที่มีเที่ยวบินที่กำไรดีที่สุด (แย่ง จากการบินไทย) เป็นเที่ยวบินของ มาเลเซีย+สิงคโปร์ (ขายชาติ)
    38. โทรศัพท์เครื่องที่ระบบ 1900 “ไทยโมบาย” ของ ทีโอที มันให้ ทีโอทีตั้งเสาเฉพาะใน กทม. ส่วนในต่างจังหวัด มันไม่ยอมให้ตั้งเสาทั้งๆที่ ทีโอทีมีที่ดินอยู่มากมายในต่างจังหวัด มันสั่งให้ ระบบ 1900 ของทีโอที ในต่างจังหวัดใช้เสาสัญญาณของAISโดยโทร 3 บาท ทีโอที ต้องจ่ายให้ AIS 2 บาท ทีโอที ได้ 1 บาท ..สุดยอดไหมละ
    39. ปี 2535 – วิ่งเต้นจนได้รับสัมปทานดาวเทียมไทยคมโดยการสนับสนุนอย่างดีจากรัฐบาลเผด็จ การ รสช. โดยอิงความสัมพันธ์ที่สนิทแนบแน่นกับ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ซึ่งก็ชดใช้บุญคุณมาจนถึงสนับสนุน 2 คนสนิทของท่านให้ได้ดีในยุคนี้คือ พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันท์ ได้เป็นรมว.กลาโหม และพล.อ.เรืองโรจน์ มหาสรานนท์ ได้เป็นผบ.สูงสุด
    40. การพูดจาบจ้วงดูหมิ่นพระบรมฯ
    40.1. สำนัก ราชเลขาฯ ขอให้รัฐบาลพิจารณาเครื่องบินราชพาหนะลำใหม่.. แทนลำเก่าที่ ชำรุดมากแล้ว …..ทักษิณ อ้างว่า ไม่มีงบประมาณ แต่สุดท้าย ซื้อเครื่องบินไทยคู่ฟ้าให้ตนเองและครอบครัวนั่งก่อน..จาก ข่าวที่น้องสาว ทักษิณใช้เครื่องบินไปฉลองวันเกิดที่เชียงใหม่……………
    40.2. ทักษิณ ชินวัตร ใช้อุโบสถวัดพระแก้วในการทำบุญประเทศ (แต่แต่งกายในชุดสบายๆ ไม่เป็นทางการ) ทั้งๆที่ประธานในการทำบุญระดับประเทศควรเป็นพระองค์ท่านมากกว่า…ที่ สำคัญอุโบสถวัดพระแก้วเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับประกอบ ศาสนพิธีของพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน.. ไม่มีการขอพระบรมราชานุญาต… .พอ มีคนรู้ทัน.. รีบขอพระบรมราชานุญาตย้อนหลัง… จนพระองค์ท่านออกมาตรัสใน วันที่ 4 ธันวาคมว่า นายกฯจะให้ท่านทำอะไรก็ทำให้หมด แต่ควรพิจารณาด้วยว่าสมควรหรือไม่
    40.3. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ถ้านายกฯไม่จงรักภักดี ”ผีที่ไหนจะจงรักภักดี….”
    คนระดับทักษิณ มีการศึกษาสูงพอ ผ่านงานพระราชพิธีมามากมาย..ย่อมควรรู้ดีว่าสมควรพูดเช่นนี้ หรือไม่….ถ้ามีปัญญาก็ควรพูดว่า ถ้านายกฯไม่จงรักภักดี ใครเล่าที่จะจงรักภักดี มากกว่า
    40.4. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ถ้าในหลวงมากระซิบข้างหู…(พูดว่าข้างหู) ว่าออกเถอะจะกราบบังคมลาทันที…คำหลังยังใช้ราชาศัพท์เป็น แต่คำหน้าไหงใช้คำว่ามากระซิบข้างหู… ทักษิณ ไม่ควรทำตัวเสมอพระองค์ท่าน
    40.5. แม่ยายของทักษิณ กล่าวจาบจ้วงว่า บางทีตนอาจขอม็อบพระราชทานบ้าง คำว่า สิ่งพระราชทาน ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่มงคล เป็นสิ่งที่ดีแต่คำว่า “ม็อบ” หมายถึง กลุ่มผู้ชุมนุมที่เรียกร้องบางอย่าง พระองค์ท่านจะพระราชทานได้อย่าง ไร…ไม่สมควรพูด
    40.6. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ตนเป็นนายกฯพระราชทานอยู่แล้ว ถ้าได้กลับมาอีกครั้งพระองค์ท่านต้อง …ใช้คำว่า “ต้อง” เซ็นให้ตนเป็นนายกฯอยู่วันยังค่ำ
    40.7. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า โผทหารที่นายกฯเซ็นแล้ว ใครจะกล้าเปลี่…
    รวบรวม 61ความระยำของ ทักษิณ บันทึกไว้ให้ลูกหลานมันจำ" 🧐เครดิต:ผศ.ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิทย์ แชร์ให้โลกรู้ 9 ธค.นี้ 10.00 น.หน้าทำเนียบรัฐบาลไทยทุกคน 1. แก้ พรบ.สรรพสามิตโทรคมนาคม ให้เสียภาษีน้อยลง ได้ผลประโยชน์ 8,000 ล้าน 2. ลดสัมปทาน itv ได้ผลประโยชน์ 20,000 ล้าน แถมได้สถานีโทรทัศน์ที่เคยมีอุดมการณ์เปลี่ยนมาทำลายวัฒนธรรม โดยการเอาหนังเกาหลีมาฉาย และปิดสื่อความไม่ดีสร้างภาพดีๆให้ตัวเอง (กลุ่มชินคอร์ป ถือหุ้น itv 53%) 3. ตั้ง ชัยสิทธิ์ ชินวัตร เป็น ผบ.ทบ. ก็ได้พี่ชายตนเองคุมทหาร 4. ตั้ง เพรียวพันธ์ ดามาพงษ์ เป็น รอง ผบ.ตร. ก็ได้พี่เขยตนเองคุมตำรวจ 5. ตั้ง วาสนา เพิ่มลาภ เป็น ประธาน กกต ก็ได้ตำรวจพวกพ้องตัวเองคุม กกต. 6. ตั้ง สุรสิทธิ์ สังขพงศ์ เป็น ผอ.กองสลาก ก็ได้ตำรวจพวกพ้องตัวเองคุม กองสลาก 7. ตั้ง คงศักดิ์ วันทนา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สามีลูกน้ำเพื่อนรักที่ช่วยแลกเช็คให้สมัยยังจนอยู่ก็ได้เพื่อนคุณหญิงอ้อ…มาคุมทุกเหล่า 8. กล่าวคําพูดท้าทายพวกก่อการร้ายในภาคใต้ว่าเป็นแค่โจรกระจอก อย่าไปใส่ใจ ทําให้เกิดความรุนแรงคนตายมากมายและหลุดปากด่าทหารว่า “สมควรตาย” 9. ปล่อยเงินกู้ให้พม่า 4,000ล้าน เพื่อนำมาเช่าช่องสัญญาณ IP Star ของตัวเอง ถึงกำหนดแล้วพม่ายังไม่ใช้หนี้เลย 10. เจรจาเซ็น FTA กับจีน ให้จีนนำเข้า หอม กระเทียม เข้ามาไม่เสียภาษี เกษตรกรที่ปลูกหอมปลูกกระเทียมทางเหนือก็ตายหมด ส่วนไทยได้ขายธุรกิจช่อง สัญญาณดาวเทียม IP Star 11. เจรจาเซ็น FTA กับออสเตรเลีย ให้นำเข้า นม ไวน์ เข้ามาไม่เสียภาษี ทำลายเหล้าไวน์พื้นบ้าน OTOP ทำลายนมพระราชดำริ ส่วนไทยได้ขายธุรกิจช่องสัญญาณ IP Star 12. ในเดือนพฤศจิกายน 2546 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) มีมติส่งเสริมการลงทุนโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ของ ชินแซทเทิลไลท์ โดยให้การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเฉพาะรายได้ที่ได้รับจากต่างประเทศ ทั้ง ๆที่เป็นกิจการที่ลงทุนเดิมอยู่แล้วไม่รู้ไปยกเว้นภาษีทำไม บริษัทจึงได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้อีก 16,459 ล้านบาทต่อปี 13. แปรรูปขายหุ้น ปตท วันแรกเปิดขายหุ้นหมดภายใน 1 นาที 17 วินาที ตระกูลใครละที่ได้ซื้อหุ้นไปหลังจากแปรรูป น้ำมันก็แพงขึ้นทุกวัน ให้กองทุนน้ำมันของคนไทยขาดทุนกว่า 70,000 ล้านบาท แต่ ปตท ได้กำไรปี 2548 จำนวน 160,000 ล้านบาท แล้วกำไรแทนที่จะเป็นของรัฐก็กลายเป็นกำไรของตระกูลพวกถือหุ้น 14. ซุกหุ้นภาคแรกให้เมียตัวเองขึ้นศาลรับผิด ซุกหุ้นภาค 2 ให้ลูกชายตัวเองขึ้นศาลรับผิดไหนบอกว่ารักครอบครัวไง 15. บริษัทของลูกท่านได้เงินกู้ 5,000 ล้าน จาก ICT ดอกเบี้ย0% ไม่กำหนดเวลาชำระคืนแถมได้รับการเว้นภาษีจาก บีโอไอ อีกทำสวนสนุกได้รับการเว้นภาษี 16. ได้รับสัมปทานสื่อโฆษณาที่รถไฟใต้ดิน โดยที่ไม่ได้รับการเปิดประมูลเพื่อแข่งขันกับบริษัทอื่น 17. ทักษิณ สั่ง รมต. กลางวง ครม. ลดค่าเช่าพื้นที่ย่านสยามสแควร์ เปิดทางลูก-หลานเปิด สตูดิโอ – ร้านกาแฟ อ้างค่าเช่าแพงเกินจริง 18. ลดเงินค่ารถไฟฟ้า-ใต้ดิน พอดีกับงานสวนสนุกธุรกิจของลูกๆ สอดคล้องสนับสนุนกันพอดี บังเอิญจริงๆ 19. ทักษิณพูดว่า”จังหวัดไหนเลือกไทยรักไทย จะให้ความดูแลก่อน” น้ำท่วมภาคใต้ 5 วันแล้ว แต่ทักษิณไปช่วยหาเสียงเลือกตั้งซ่อม ไปกินก๋วยเตี๋ยวสร้างภาพ ไปเดินตลาดหาเสียง ทั้งๆที่มี สส อยู่เต็มสภาแล้วแต่ที่ต้องลงใต้ไปดูน้ำท่วมวันศุกร์เช้า เนื่องจากกลัวสนธิพูดตอนเย็นในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ 20. การที่มีพวกพ้องตัวเองเป็น กกต. จึงเปลี่ยนรูปแบบการเลือกตั้งให้สามารถโกงการเลือกตั้งเพิ่มขึ้นได้อีก 2 วิธี 20.1 ปั๊มตรายางอีกชุดรอเวลาเปลี่ยนกล่องบัตรได้ทุกเวลา 20.2 หมึกมีแบบล่องหน และ แบบโผล่ขึ้นมาได้ (ในทางเคมีสามารถทำได้) 21. ปิดข่าวเรื่องไข้หวัดนกทําให้ชาวบ้านที่ไม่ทราบต้องตายแล้วยังไปแสดงการกินไก่ไปหัวเราะไป เพื่อ ซีพี.นายทุนพรรคเท่านั้น 22. ทําให้เกิดการฆ่าตัดตอนประชาชนผู้บริสุทธิ์กว่า 2000 คน จากการปราบยาบ้าสั่งฆ่าคนได้หน้าตาเฉย โหดร้ายทารุณ 23. ซุกหุ้นปั่นหุ้น ซุกซ่อนทรัพย์สินไว้กับญาติพี่น้องเอาเงินไปฟอกต่างประเทศเอาเปรียบใน การทําธุรกิจผูกขาด ทั้งรับทั้งจ่ายใต้โต๊ะจนคนในวงการธุรกิจ เขารู้กันหมด ค้ากำไรเกินควร จนรํ่ารวยมหาศาล 24. โกงที่ดินวัดของสนามกอล์ฟอัลไพน์มีคนโกงที่ดินธรณีสงฆ์เอามาทำสนามกอล์ฟ แล้วทักษิณไปซื้อต่อทั้ง ๆ รู้ว่าที่ดินนั้นได้มา ไม่ถูกต้องเพราะไม่กลัวบาปกรรม 25. ประชาชนเสียรู้ทักษิณ เรียนฟรี 12 ปี นโยบายรัฐที่เปิดช่องให้โรงเรียนนำค่าใช้จ่ายอย่างอื่นมาเพิ่มแทนค่าเทอม นั่นแหละ สุดท้ายก็ไม่ได้เรียนฟรีอยู่ดี เป็นความล้มเหลวที่เห็นได้ชัดเจนของการปฎิรูปการศึกษาไทย ประชาชนจะถูกหลอกอีก 4 ปี เอาเข้าไป เป็นความจริงที่สุดเลย นี่คือการโกหกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยเห็นมาในโลกนี้ซึ่งหาดูไม่ได้ที่ไหนนอกจากประเทศไทยที่กฎหมายบอกว่าเรียนฟรี แต่ความจริงมีใครบ้างที่เรียนฟรีถามผู้ปกครองทุกคนดูได้เลย 26. ชั่วเวลาแค่ปีเศษ ๆ รัฐบาลชุดนี้ก็ทำให้สถานการณ์ภาคใต้ที่ร่มเย็นเป็นสุขมานานหลายสิบปี กลับร้อนระอุกลายเป็นแดนมิคสัญญี 27. เช่าน่านฟ้า เช่าผืนแผ่นดินไทย ราคาเช่าช่างถูกจัง มีอะไรแอบแฝงหรือเปล่า ตนเองน่าจะรู้ดี ไหนบอกว่าแผ่นดินไทยจะไม่ให้หายแม้แต่ตารางนิ้วเดียวไงใช้อำนาจจนเลยเถิดไม่เห็นด้วย คิดไงท่านนายก ที่ให้เช่า 15 ปี แถมมีเปลียนสัญญาได้ทุกๆ 5 ปี เหมือนทำธรุกิจเลยขอเชิญชาวไทยเรียกร้องอธิปไตยชาติไทยกลับมาด้วยขอให้มี สส สว ที่ยังพอมีความเป็นไทยที่มิใช่มีความเป็น ทรท. ช่วยกันคัดค้าน ล่ารายชื่อด้วยครับผมว่ามันเกี่ยวกันหมดแหละครับ ตั้งแต่ AIS (มือถือ) ไทยคม1 ไทยคม 2 IPstar ชินคอร์ป ธนาคาร ธุรกิจ การเมือง อยู่ในมือสิงคโปร์ทั้งหมดแล้วครับ ชัดเจน มีผลประโยชน์ทับซ้อนแหง๋ ไม่งั้นไม่งุบงิบกันทำหรอก อย่านึกว่าประชาชนโง่นะคุณ ยุคทักษิณคือ ยุคของเงินเหนือรัฐ ยุคตำรวจรังแกประชาชน ยุคทหารฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ยุคความรุนแรงอยู่เหนือเหตุผล 28. ฉลาด อย่างตัวจับยาก เอาเงินหลวงไปหว่านให้รากหญ้าแล้ว ผ่านกระเป๋ารากหญ้าแบบเคาะกะลาให้หมาดีใจ ผ่านธุรกิจมือถือเข้ากระเป๋ามันเอง 29. ยุบสภาหนีความผิด เนื่องจากนายกองค์การนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร์ ล่า 50,000 รายชื่อ เพื่อถอดถอนนายกรัฐมนตรีออกจากตำแหน่ง 30. ยุบสภาได้ยังไงไม่ได้มีปัญหาภายในสภาสักหน่อย อภิปรายไม่ไว้วางใจก็ไม่ได้ ฝ่ายค้านมีไม่พอ 31. วันที่ประกาศยุบสภาประกาศพร้อมกันว่าให้ไปเลือกตั้งวันที่ 2 เมษา ได้ยังไง รู้ได้ยังไง ไหนว่า กกต. เป็นกลางไง 32. คุณหญิงพจมาน อยากมีสมเด็จพระสังฆราชประจำตระกูลตัวเอง จึงให้นายวิษณุ เครืองา ลงนามแต่งตั้ง สมเด็จพระพุฒาจารย์ เกี่ยว อุปเสโณ วัดสระเกศ ขึ้นปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2547 เสมอกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนา อ้างว่า สมเด็จญาณฯ ทรงประชวร ไม่สามารถประกอบศาสนกิจได้ ทั้งๆที่มี VDO วันที่ 13 มีนาคม 2547 สมเด็จพระสังฆราชพระราชทานรางวัลให้กับเด็กนักเรียนที่ได้รับทุนของมหามกุฏราชวิทยาลัยในการประกวดเรียงความเรื่อง สมเด็จพระสังฆราช 90 พรรษา 33. คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ผู้ว่า สตง. ตรวจเจอการทุจริตของรัฐบาลหลายเรื่อง ล่าสุดตรวจสอบเจอการทุจริต CTX ทางรัฐบาลจึงอ้างว่ากระบวนการสรรหา คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (ผู้ว่าการ สตง.) มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ (ทั้งๆที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) คุณหญิงปิดห้องทำงานแล้ว ยังไปงัดห้องคุณหญิง คิดจะหาหลักฐานทุจริตที่ห้องคุณหญิง ต่อมาคนดีอย่างคุณหญิงก็ได้กลับมาทำงานเหมือนเดิม 34. จัดซื้อเครื่องบินรบ ซู30 ตั้งงบประมาณไว้ 35,000 ล้าน ทั้งที่รัสเซียบอกว่าขายแค่ 20,000 ล้าน กะจะกินตั้ง 15,000 ล้าน เครื่องบินเป็นแบบบินระยะไกล เสียค่าซ่อมเยอะ (ไทยนี้รักสงบ) เราเป็นพวกบุกรุก หรือ ตั้งรับถ้าเราเป็นฝ่ายตั้งรับ แล้วจะซื้อเครื่องบินระยะไกลทำไม ให้ช่างทหารอากาศเลือกซื้อทำไมไม่ให้นักบินเป็นคนเลือก เพราะฝ่ายช่างอยู่ในความดูแลของ คงศักดิ์ วัณทนา สามีของเพื่อน คุณหญิงพจมาน… 35. ก่อนขายหุ้นบอกว่าจะไปพักผ่อนที่สิงคโปร์ 4 วัน เดินเล่นที่สิงคโปร์ไปเดินครึ่งวัน อย่างมากก็วันเดียวก็ไม่รู้จะไปเดิน ที่ไหนแล้วนี่ไปถึง 4 วันเจรจาขายหุ้น แต่โกหกประชาชนคนไทยว่าจะไปพักผ่อน บอกตรงๆก็ได้ 36. จัดซื้อ CTX ราคา ระหว่าง บทม.และใบแจ้งราคาสินค้าของบริษัท อินวิชั่นฯ เป็นเงินประมาณ 283,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 11.30 ล้านบาทต่อเครื่อง หากคิดรวม 26 เครื่อง เป็นเงิน 7.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 294.4 ล้านบาทซึ่ง “ส่วนต่าง”ราคานี้ถูกนำไปใช้บันทึกซ้ำซ้อน โดยอ้างว่าเป็นอุปกรณ์ที่ต้องการซื้อเพิ่มเติม ทั้งที่รวมอยู่ในราคา 35.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯหรือประมาณ1,432 ล้านบาทกะจะกิน1,432 ล้าน – 294.4 ล้าน = ? 37. ร่วมทุนชินคอร์ปกับมาเลเซีย เปิดธุรกิจสายการบิน Low Cost แล้วสั่งยกเลิกเที่ยวบินการบินไทยที่ได้กำไร แล้วเอาสายการบินของตัวเองไปบินทับที่แทน ทำให้การบินไทยซึ่ง เป็นสายการบินของคนไทยขาดทุน แล้วทำหนังสือถึงหน่วยงานราชการว่านอกจากการบินไทยแล้ว สามารถใช้งบหลวงเบิกค่านั่งเครื่องบิน Low Cost ได้ด้วย แล้วยังขายหุ้น Low Cost ให้สิงคโปร์อีก ทำให้ Low Cost ที่มีเที่ยวบินที่กำไรดีที่สุด (แย่ง จากการบินไทย) เป็นเที่ยวบินของ มาเลเซีย+สิงคโปร์ (ขายชาติ) 38. โทรศัพท์เครื่องที่ระบบ 1900 “ไทยโมบาย” ของ ทีโอที มันให้ ทีโอทีตั้งเสาเฉพาะใน กทม. ส่วนในต่างจังหวัด มันไม่ยอมให้ตั้งเสาทั้งๆที่ ทีโอทีมีที่ดินอยู่มากมายในต่างจังหวัด มันสั่งให้ ระบบ 1900 ของทีโอที ในต่างจังหวัดใช้เสาสัญญาณของAISโดยโทร 3 บาท ทีโอที ต้องจ่ายให้ AIS 2 บาท ทีโอที ได้ 1 บาท ..สุดยอดไหมละ 39. ปี 2535 – วิ่งเต้นจนได้รับสัมปทานดาวเทียมไทยคมโดยการสนับสนุนอย่างดีจากรัฐบาลเผด็จ การ รสช. โดยอิงความสัมพันธ์ที่สนิทแนบแน่นกับ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ซึ่งก็ชดใช้บุญคุณมาจนถึงสนับสนุน 2 คนสนิทของท่านให้ได้ดีในยุคนี้คือ พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันท์ ได้เป็นรมว.กลาโหม และพล.อ.เรืองโรจน์ มหาสรานนท์ ได้เป็นผบ.สูงสุด 40. การพูดจาบจ้วงดูหมิ่นพระบรมฯ 40.1. สำนัก ราชเลขาฯ ขอให้รัฐบาลพิจารณาเครื่องบินราชพาหนะลำใหม่.. แทนลำเก่าที่ ชำรุดมากแล้ว …..ทักษิณ อ้างว่า ไม่มีงบประมาณ แต่สุดท้าย ซื้อเครื่องบินไทยคู่ฟ้าให้ตนเองและครอบครัวนั่งก่อน..จาก ข่าวที่น้องสาว ทักษิณใช้เครื่องบินไปฉลองวันเกิดที่เชียงใหม่…………… 40.2. ทักษิณ ชินวัตร ใช้อุโบสถวัดพระแก้วในการทำบุญประเทศ (แต่แต่งกายในชุดสบายๆ ไม่เป็นทางการ) ทั้งๆที่ประธานในการทำบุญระดับประเทศควรเป็นพระองค์ท่านมากกว่า…ที่ สำคัญอุโบสถวัดพระแก้วเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับประกอบ ศาสนพิธีของพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน.. ไม่มีการขอพระบรมราชานุญาต… .พอ มีคนรู้ทัน.. รีบขอพระบรมราชานุญาตย้อนหลัง… จนพระองค์ท่านออกมาตรัสใน วันที่ 4 ธันวาคมว่า นายกฯจะให้ท่านทำอะไรก็ทำให้หมด แต่ควรพิจารณาด้วยว่าสมควรหรือไม่ 40.3. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ถ้านายกฯไม่จงรักภักดี ”ผีที่ไหนจะจงรักภักดี….” คนระดับทักษิณ มีการศึกษาสูงพอ ผ่านงานพระราชพิธีมามากมาย..ย่อมควรรู้ดีว่าสมควรพูดเช่นนี้ หรือไม่….ถ้ามีปัญญาก็ควรพูดว่า ถ้านายกฯไม่จงรักภักดี ใครเล่าที่จะจงรักภักดี มากกว่า 40.4. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ถ้าในหลวงมากระซิบข้างหู…(พูดว่าข้างหู) ว่าออกเถอะจะกราบบังคมลาทันที…คำหลังยังใช้ราชาศัพท์เป็น แต่คำหน้าไหงใช้คำว่ามากระซิบข้างหู… ทักษิณ ไม่ควรทำตัวเสมอพระองค์ท่าน 40.5. แม่ยายของทักษิณ กล่าวจาบจ้วงว่า บางทีตนอาจขอม็อบพระราชทานบ้าง คำว่า สิ่งพระราชทาน ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่มงคล เป็นสิ่งที่ดีแต่คำว่า “ม็อบ” หมายถึง กลุ่มผู้ชุมนุมที่เรียกร้องบางอย่าง พระองค์ท่านจะพระราชทานได้อย่าง ไร…ไม่สมควรพูด 40.6. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า ตนเป็นนายกฯพระราชทานอยู่แล้ว ถ้าได้กลับมาอีกครั้งพระองค์ท่านต้อง …ใช้คำว่า “ต้อง” เซ็นให้ตนเป็นนายกฯอยู่วันยังค่ำ 40.7. ทักษิณ ชินวัตร กล่าวว่า โผทหารที่นายกฯเซ็นแล้ว ใครจะกล้าเปลี่…
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • นับหนึ่งถึงอนาคต รถไฟฟ้าสายแรกปีนัง

    รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย กำลังจะมีรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) สายแรกเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ หลังจากเมื่อเดือน มี.ค.2567 รัฐบาลกลางมาเลเซีย รับช่วงต่อจากรัฐบาลท้องถิ่นรัฐปีนัง พัฒนาโครงการรถไฟรางเบาสายมูเทียร่า ไลน์ (Mutiara Line) โดยแต่งตั้งบริษัท เอ็มอาร์ที คอร์ป (MRT Corp) ที่มีกระทรวงการคลังถือหุ้นทั้งหมด เป็นผู้พัฒนาโครงการ

    พิธีวางศิลาฤกษ์ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2568 บริเวณสถานที่ก่อสร้างสถานีบันดาร์ ศรี ปีนัง (Bandar Sri Pinang) โดยมีนายอันวาร์ อิบราฮิม นายกรัฐมนตรีมาเลเซียเป็นประธาน

    จากการลงพื้นที่ของ Newskit พบว่า สถานที่ก่อสร้างสถานีบันดาร์ ศรี ปีนัง (Bandar Sri Pinang) ติดกับทางด่วนลิม ชอง ยู (Lim Chong Eu) ใกล้กับมัสยิดอัล บัคฮารี่ (Al Bukhary) และทางจักรยานเลียบชายทะเล บริเวณฝั่งตะวันออกของเกาะปีนัง เมื่อข้ามแม่น้ำปีนังไปแล้วจะเป็นสถานีแมคคัลลัม ก่อนแยกเป็นสองสาย แยกซ้ายไปสถานีคอมตาร์ แยกขวาข้ามทะเลไปสถานีปีนังเซ็นทรัล

    ก่อนที่เมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2568 จะมีการลงนามสัญญาก่อสร้างช่วงคอมตาร์-เกาะซิลิคอน (Komtar-Silicon Island) ระยะทาง 24 กิโลเมตร รวม 19 สถานี มูลค่าประมาณ 8,310 ล้านริงกิต (64,000 ล้านบาท) โดยมีกลุ่มกิจการร่วมค้าเอสอาร์เอส ที่บริษัทก่อสร้างกามูดา (Gamuda) ถือหุ้น 60% เป็นผู้รับเหมาในการก่อสร้าง โดยมีระยะเวลาก่อสร้าง 6 ปี คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2574

    ส่วนช่วงคอมตาร์-ปีนังเซ็นทรัล (Komtar-Penang Sentral) จากสถานีแมคคัลลัม (Macallum) ในเมืองจอร์จทาวน์ ผ่านช่องแคบปีนัง ระยะทาง 5.8 กิโลเมตร คาดว่าจะเปิดประมูลในเดือน ก.ค. 2568 และประกาศผลการประมูลในต้นปี 2569 ส่วนการประมูลระบบรถไฟฟ้าและการบำรุงรักษา กำลังดำเนินการ โดยมีกำหนดส่งข้อเสนอขั้นสุดท้ายในวันที่ 14 เม.ย. 2568

    นายแอนโทนี ลก รมว.คมนาคมมาเลเซีย กล่าวว่า โครงการนี้ได้รับการวางแผนอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้สามารถเข้าถึงศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สำคัญได้อย่างราบรื่น สนับสนุนโครงการ Penang Silicon Design @5km+ การยกระดับท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง และเขตอุตสาหกรรมเสรีบายัน เลอปาส (Bayan Lepas)

    อย่างไรก็ตาม โครงการนี้ยังมีปัญหาเรื่องที่ดินก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุง บริเวณสถานีสุไหงนิบง (Sungai Nibong) ซึ่งเป็นสถานที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม มีการจัดงานเทศกาลประจำปี เพสต้า ปูเลา ปีนัง (Pesta Pulau Pinang) มาอย่างยาวนานตั้งแต่ปี 2509 แต่ทาง MRT Corp ยืนยันว่าจะใช้พื้นที่ไม่มาก ก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุงรองและพื้นที่พัฒนารอบสถานี (TOD) เท่านั้น

    #Newskit

    -----
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    นับหนึ่งถึงอนาคต รถไฟฟ้าสายแรกปีนัง รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย กำลังจะมีรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) สายแรกเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ หลังจากเมื่อเดือน มี.ค.2567 รัฐบาลกลางมาเลเซีย รับช่วงต่อจากรัฐบาลท้องถิ่นรัฐปีนัง พัฒนาโครงการรถไฟรางเบาสายมูเทียร่า ไลน์ (Mutiara Line) โดยแต่งตั้งบริษัท เอ็มอาร์ที คอร์ป (MRT Corp) ที่มีกระทรวงการคลังถือหุ้นทั้งหมด เป็นผู้พัฒนาโครงการ พิธีวางศิลาฤกษ์ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2568 บริเวณสถานที่ก่อสร้างสถานีบันดาร์ ศรี ปีนัง (Bandar Sri Pinang) โดยมีนายอันวาร์ อิบราฮิม นายกรัฐมนตรีมาเลเซียเป็นประธาน จากการลงพื้นที่ของ Newskit พบว่า สถานที่ก่อสร้างสถานีบันดาร์ ศรี ปีนัง (Bandar Sri Pinang) ติดกับทางด่วนลิม ชอง ยู (Lim Chong Eu) ใกล้กับมัสยิดอัล บัคฮารี่ (Al Bukhary) และทางจักรยานเลียบชายทะเล บริเวณฝั่งตะวันออกของเกาะปีนัง เมื่อข้ามแม่น้ำปีนังไปแล้วจะเป็นสถานีแมคคัลลัม ก่อนแยกเป็นสองสาย แยกซ้ายไปสถานีคอมตาร์ แยกขวาข้ามทะเลไปสถานีปีนังเซ็นทรัล ก่อนที่เมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2568 จะมีการลงนามสัญญาก่อสร้างช่วงคอมตาร์-เกาะซิลิคอน (Komtar-Silicon Island) ระยะทาง 24 กิโลเมตร รวม 19 สถานี มูลค่าประมาณ 8,310 ล้านริงกิต (64,000 ล้านบาท) โดยมีกลุ่มกิจการร่วมค้าเอสอาร์เอส ที่บริษัทก่อสร้างกามูดา (Gamuda) ถือหุ้น 60% เป็นผู้รับเหมาในการก่อสร้าง โดยมีระยะเวลาก่อสร้าง 6 ปี คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2574 ส่วนช่วงคอมตาร์-ปีนังเซ็นทรัล (Komtar-Penang Sentral) จากสถานีแมคคัลลัม (Macallum) ในเมืองจอร์จทาวน์ ผ่านช่องแคบปีนัง ระยะทาง 5.8 กิโลเมตร คาดว่าจะเปิดประมูลในเดือน ก.ค. 2568 และประกาศผลการประมูลในต้นปี 2569 ส่วนการประมูลระบบรถไฟฟ้าและการบำรุงรักษา กำลังดำเนินการ โดยมีกำหนดส่งข้อเสนอขั้นสุดท้ายในวันที่ 14 เม.ย. 2568 นายแอนโทนี ลก รมว.คมนาคมมาเลเซีย กล่าวว่า โครงการนี้ได้รับการวางแผนอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้สามารถเข้าถึงศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สำคัญได้อย่างราบรื่น สนับสนุนโครงการ Penang Silicon Design @5km+ การยกระดับท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง และเขตอุตสาหกรรมเสรีบายัน เลอปาส (Bayan Lepas) อย่างไรก็ตาม โครงการนี้ยังมีปัญหาเรื่องที่ดินก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุง บริเวณสถานีสุไหงนิบง (Sungai Nibong) ซึ่งเป็นสถานที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม มีการจัดงานเทศกาลประจำปี เพสต้า ปูเลา ปีนัง (Pesta Pulau Pinang) มาอย่างยาวนานตั้งแต่ปี 2509 แต่ทาง MRT Corp ยืนยันว่าจะใช้พื้นที่ไม่มาก ก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุงรองและพื้นที่พัฒนารอบสถานี (TOD) เท่านั้น #Newskit ----- ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 292 มุมมอง 0 รีวิว
  • ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes

    มูลค่า 10 ริงกิต (77.09 บาท) เป็นบัตรเปล่า ไม่มียอดเงินในบัตร

    สามารถเติมเงินลงในบัตรได้ที่สถานีรถไฟฟ้า MRT Corp หรือ Rapid KL หรือเครื่อง Kiosk ของ Touch 'n Go และร้านค้า อาทิ 7-Eleven (มาเลเซีย), ECONSAVE, Watsons (มาเลเซีย), KK Mart, 99 Speedmart, Lotus's (มาเลเซีย) หรือจุดบริการตามที่ Touch 'n Go กำหนด แต่ถ้ามีซิมการ์ดค่ายมือถือประเทศมาเลเซีย สามารถใช้ร่วมกับแอปพลิเคชัน Touch 'n Go e-Wallet ได้

    เพียงกรอกแบบฟอร์มนี้ >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9

    เฉพาะชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์มือถือ เพื่อใช้สำหรับจัดส่งของรางวัลหากเป็นผู้โชคดีเท่านั้น

    (แบบฟอร์มนี้ไม่มีการกรอกข้อมูลทางการเงิน อาทิ ข้อมูลบัญชีธนาคาร ข้อมูลบัตรเครดิต บัตรเดบิต หรือข้อมูลบัตรอิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ทั้งสิ้น)

    ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568 ประกาศรายชื่อผู้โชคดี 3 กุมภาพันธ์ 2568 ที่เพจ Newskit ใน Thaitimes

    เงื่อนไขเป็นไปตามที่เพจ Newskit กำหนด กิจกรรมนี้ทาง Thaitimes ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes มูลค่า 10 ริงกิต (77.09 บาท) เป็นบัตรเปล่า ไม่มียอดเงินในบัตร สามารถเติมเงินลงในบัตรได้ที่สถานีรถไฟฟ้า MRT Corp หรือ Rapid KL หรือเครื่อง Kiosk ของ Touch 'n Go และร้านค้า อาทิ 7-Eleven (มาเลเซีย), ECONSAVE, Watsons (มาเลเซีย), KK Mart, 99 Speedmart, Lotus's (มาเลเซีย) หรือจุดบริการตามที่ Touch 'n Go กำหนด แต่ถ้ามีซิมการ์ดค่ายมือถือประเทศมาเลเซีย สามารถใช้ร่วมกับแอปพลิเคชัน Touch 'n Go e-Wallet ได้ เพียงกรอกแบบฟอร์มนี้ >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9 เฉพาะชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์มือถือ เพื่อใช้สำหรับจัดส่งของรางวัลหากเป็นผู้โชคดีเท่านั้น (แบบฟอร์มนี้ไม่มีการกรอกข้อมูลทางการเงิน อาทิ ข้อมูลบัญชีธนาคาร ข้อมูลบัตรเครดิต บัตรเดบิต หรือข้อมูลบัตรอิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ทั้งสิ้น) ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568 ประกาศรายชื่อผู้โชคดี 3 กุมภาพันธ์ 2568 ที่เพจ Newskit ใน Thaitimes เงื่อนไขเป็นไปตามที่เพจ Newskit กำหนด กิจกรรมนี้ทาง Thaitimes ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 251 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ม.เชียงใหม่ 14-16 มกราคม 2568
    แผนผัง..เส้นทางรถไฟฟ้า
    พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ม.เชียงใหม่ 14-16 มกราคม 2568 แผนผัง..เส้นทางรถไฟฟ้า
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 56 มุมมอง 0 รีวิว
  • ญี่ปุ่น 4 : รถจิ๋ว Kei car

    ใครที่มาเที่ยวญี่ปุ่น คงจะสะดุดตาและชอบใจกับรถคันจิ๋วๆทรงกล่องที่วิ่งขวักไขว่ไปมาอยู่ตามท้องถนนนะครับ

    รถจิ๋วเหล่านี้มีชื่อว่า Kei car ครับเป็นรถขนาดประหยัดที่คนญี่ปุ่นเขาเอาไปพลิกแพลงใช้งานหลากหลาย ทั้งใช้เป็นรถส่วนตัว รถขนของ รถบรรทุกจิ๋ว หรือบางคนเอาไปทำเป็นรถแคมปิ้งก็มี

    จุดสังเกตง่ายๆคือ ป้ายทะเบียนรถ Kei car จะเป็นสีเหลืองครับ

    Kei นั้นเป็นคำย่อมาจากภาษาญี่ปุ่นว่า Kei-jidosha แปลว่า ”รถยนต์ขนาดเล็ก“ ตรงๆตัวเลยครับ

    รถ Kei car นี้มีจุดเริ่มต้นในปี 1949 อันเป็นช่วงที่ญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 มาหมาดๆ รัฐบาลญี่ปุ่นในตอนนั้นได้ดำริว่า “เราจะต้องรื้อฟื้นอุตสาหกรรมยานยนต์กลับมาให้ได้โดยเร็ว“

    ว่าแล้วก็ออกประกาศว่า ถ้าผู้ผลิตรถยนต์เจ้าไหนสร้างรถยนต์ที่ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 150 ซีซีขึ้นมา รัฐบาลจะช่วยอุดหนุน แถมยังว่าหากประชาชนคนไหนซื้อไปใช้ จะลดภาษี ลดค่าประกันภัยให้ด้วย

    ทำไปทำมาปรากฏว่าขายดิบขายดี คนญี่ปุ่นชอบมาก เพราะถูกจริตกับการใช้งานในธุรกิจย่อมๆในเมืองและราคาสบายกระเป๋า

    ต่อมารัฐบาลญี่ปุ่นเขาก็ได้เพิ่มขนาดเครื่องยนต์สำหรับรถ Kei ขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบันคือสูงสุดที่ 660 ซีซี

    รถ Kei car นี้มียอดขายแซงหน้ารถประเภทอื่นๆมายาวนานหลายปี ว่ากันว่า Kei car นั้นมีส่วนแบ่งตลาดรถยนต์ในญี่ปุ่นถึง 30-40% เลยเชียว

    แม้ตอนนี้รัฐบาลจะไม่ได้อุดหนุน Kei car เหมือนแต่ก่อนแล้ว Kei car ก็ยังคงขายดีเช่นเดิม

    Kei car รุ่นยอดนิยมตลอดกาลก็คือ ฮอนด้า N-box ครับ สำหรับของยี่ห้ออื่นก็มีไดฮัทสุ Tanto, ซูซูกิ Spacia และอีกมากมายหลายรุ่น
    .
    .
    .
    การพัฒนาล่าสุดของรถ Kei car ก็คือ เขาพัฒนาขึ้นมาเป็นรถไฟฟ้าด้วย ซึ่งก็ยังคงคอนเซ็ปต์ความจิ๋วไว้เช่นเดิมทุกประการ

    รถไฟฟ้าจิ๋วที่โด่งดังก็คือ นิสสันรุ่นซากุระ (Sakura) ครับ ใช้แบตเตอรี่ขนาด 20 กิโลวัตต์ ชาร์จเต็มหนึ่งครั้งวิ่งได้ไกลสุด 160 กม.

    และที่ผมเพิ่งเห็นเมื่อวานนี้ก็คือ รถไฟฟ้าจิ๋วยี่ห้อมิตซูบิชิที่เขาผลิตขึ้นมาสำหรับไปรษณีย์ญี่ปุ่น (Japan Post) ครับ

    ทำออกมาเป็นสีแดงสวยงาม เอาไว้วิ่งส่งพัสดุและจดหมายได้คล่องตัวดี

    ทีนี้ผู้อ่านบางท่านคงเกิดคำถามว่า “แล้วทำไมญี่ปุ่นไม่ส่ง Kei car ออกไปทำตลาดต่างประเทศบ้าง?”

    คำตอบมีสองประการครับคือ

    หนึ่ง… รถ Kei car นี้ทำกำไรไม่มาก ไม่คุ้มกับการทำการตลาด

    สอง… ในบางประเทศเช่น อเมริกาและออสเตรเลีย เขาบอกว่ารถ Kei car นั้นไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยของประเทศเขา ก็เลยไม่อนุญาตให้ญี่ปุ่นเอาเข้าไปขาย

    สำหรับผมแล้ว ชอบ Kei car มากๆเลยครับ ถ้าคนไทยคนไหนอยากริเริ่มผลิตรถจิ๋วๆขึ้นมา ผมว่าคงมีคนซื้อไม่น้อยเลย


    นัทแนะ
    ญี่ปุ่น 4 : รถจิ๋ว Kei car ใครที่มาเที่ยวญี่ปุ่น คงจะสะดุดตาและชอบใจกับรถคันจิ๋วๆทรงกล่องที่วิ่งขวักไขว่ไปมาอยู่ตามท้องถนนนะครับ รถจิ๋วเหล่านี้มีชื่อว่า Kei car ครับเป็นรถขนาดประหยัดที่คนญี่ปุ่นเขาเอาไปพลิกแพลงใช้งานหลากหลาย ทั้งใช้เป็นรถส่วนตัว รถขนของ รถบรรทุกจิ๋ว หรือบางคนเอาไปทำเป็นรถแคมปิ้งก็มี จุดสังเกตง่ายๆคือ ป้ายทะเบียนรถ Kei car จะเป็นสีเหลืองครับ Kei นั้นเป็นคำย่อมาจากภาษาญี่ปุ่นว่า Kei-jidosha แปลว่า ”รถยนต์ขนาดเล็ก“ ตรงๆตัวเลยครับ รถ Kei car นี้มีจุดเริ่มต้นในปี 1949 อันเป็นช่วงที่ญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 มาหมาดๆ รัฐบาลญี่ปุ่นในตอนนั้นได้ดำริว่า “เราจะต้องรื้อฟื้นอุตสาหกรรมยานยนต์กลับมาให้ได้โดยเร็ว“ ว่าแล้วก็ออกประกาศว่า ถ้าผู้ผลิตรถยนต์เจ้าไหนสร้างรถยนต์ที่ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 150 ซีซีขึ้นมา รัฐบาลจะช่วยอุดหนุน แถมยังว่าหากประชาชนคนไหนซื้อไปใช้ จะลดภาษี ลดค่าประกันภัยให้ด้วย ทำไปทำมาปรากฏว่าขายดิบขายดี คนญี่ปุ่นชอบมาก เพราะถูกจริตกับการใช้งานในธุรกิจย่อมๆในเมืองและราคาสบายกระเป๋า ต่อมารัฐบาลญี่ปุ่นเขาก็ได้เพิ่มขนาดเครื่องยนต์สำหรับรถ Kei ขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบันคือสูงสุดที่ 660 ซีซี รถ Kei car นี้มียอดขายแซงหน้ารถประเภทอื่นๆมายาวนานหลายปี ว่ากันว่า Kei car นั้นมีส่วนแบ่งตลาดรถยนต์ในญี่ปุ่นถึง 30-40% เลยเชียว แม้ตอนนี้รัฐบาลจะไม่ได้อุดหนุน Kei car เหมือนแต่ก่อนแล้ว Kei car ก็ยังคงขายดีเช่นเดิม Kei car รุ่นยอดนิยมตลอดกาลก็คือ ฮอนด้า N-box ครับ สำหรับของยี่ห้ออื่นก็มีไดฮัทสุ Tanto, ซูซูกิ Spacia และอีกมากมายหลายรุ่น . . . การพัฒนาล่าสุดของรถ Kei car ก็คือ เขาพัฒนาขึ้นมาเป็นรถไฟฟ้าด้วย ซึ่งก็ยังคงคอนเซ็ปต์ความจิ๋วไว้เช่นเดิมทุกประการ รถไฟฟ้าจิ๋วที่โด่งดังก็คือ นิสสันรุ่นซากุระ (Sakura) ครับ ใช้แบตเตอรี่ขนาด 20 กิโลวัตต์ ชาร์จเต็มหนึ่งครั้งวิ่งได้ไกลสุด 160 กม. และที่ผมเพิ่งเห็นเมื่อวานนี้ก็คือ รถไฟฟ้าจิ๋วยี่ห้อมิตซูบิชิที่เขาผลิตขึ้นมาสำหรับไปรษณีย์ญี่ปุ่น (Japan Post) ครับ ทำออกมาเป็นสีแดงสวยงาม เอาไว้วิ่งส่งพัสดุและจดหมายได้คล่องตัวดี ทีนี้ผู้อ่านบางท่านคงเกิดคำถามว่า “แล้วทำไมญี่ปุ่นไม่ส่ง Kei car ออกไปทำตลาดต่างประเทศบ้าง?” คำตอบมีสองประการครับคือ หนึ่ง… รถ Kei car นี้ทำกำไรไม่มาก ไม่คุ้มกับการทำการตลาด สอง… ในบางประเทศเช่น อเมริกาและออสเตรเลีย เขาบอกว่ารถ Kei car นั้นไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยของประเทศเขา ก็เลยไม่อนุญาตให้ญี่ปุ่นเอาเข้าไปขาย สำหรับผมแล้ว ชอบ Kei car มากๆเลยครับ ถ้าคนไทยคนไหนอยากริเริ่มผลิตรถจิ๋วๆขึ้นมา ผมว่าคงมีคนซื้อไม่น้อยเลย นัทแนะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝันเป็นจริง คนกับสัตว์เลี้ยง นั่งรถไฟฟ้าด้วยกัน : ถอนหมุดข่าว 08/01/68
    ฝันเป็นจริง คนกับสัตว์เลี้ยง นั่งรถไฟฟ้าด้วยกัน : ถอนหมุดข่าว 08/01/68
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 331 มุมมอง 12 0 รีวิว
  • ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี

    นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4

    เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ

    โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง

    อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง

    อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี

    สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569

    #Newskit
    ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4 เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569 #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 378 มุมมอง 0 รีวิว
  • มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1 ราย และบาดเจ็บ 7 คน หลังรถกระบะไฟฟ้า "ไซเบอร์ทรัค" ของเทสลา จู่ๆ เกิดระเบิดบริเวณด้านนอกของโรงแรมแห่งหนึ่งที่เป็นของ โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในลาสเวกัส รัฐเนวาดา จากการเปิดเผยของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
    .
    เควิด แม็คมาฮิล หัวหน้าเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายของลาสเวกัส เปิดเผยกับพวกผู้สื่อข่าวว่า รถไฟฟ้าขับมาจอดบริเวณด้านหน้าประตูทางเท้าที่เป็นบานกระจกของโรงแรมทรัมป์ อินเตอร์เนชันแนล โฮเต็ล ก่อนเกิด "ระเบิดตูมสนั่น"
    .
    ในวิดีโอพบเห็นรถกระบะเหล็กกล้าจอดอยู่บริเวณทางเข้าโรงแรม ก่อนจู่ๆ เกิดระเบิดไฟลุกท่วม ตามมาด้วยการระเบิดขนาดเล็กๆ อีกหลายรอบ
    .
    แม็คมาฮิล บอกว่า "มีผู้เสียชีวิต 1 รายภายในรถไซเบอร์ทรัค" และมีอีก 7 คน ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย
    .
    ด้าน อีลอน มัสก์ ซีอีโอของเทสลา โพสต์ข้อความลงบนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ ระบุว่า "คณะทำงานระดับสูงของเทสลาทั้งหมด เวลานี้กำลังสืบสวนประเด็นดังกล่าว" พร้อมบอกว่า "เราไม่เคยพบเห็นอะไรแบบนี้มาก่อน"
    .
    มัสก์ ซึ่งสนับสนุน ทรัมป์ ในศึกเลือกตั้งเดือนพฤศจิกายน และได้รับการเสนอชื่อจากตัวแทนรีพับลิกันให้เป็นหัวหน้าคณะกรรมการชุดหนึ่งที่จะทำหน้าที่ตัดลดการใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล ระบุว่าเขาจะโพสต์ข้อมูลเพิ่มเติม "ทันทีที่เราทราบเรื่องใดๆ"
    .
    ทำเนียบขาวเปิดเผยว่าประธานาธิบดีโจ ไบเดน ได้รับฟังรายงานสรุปเกี่ยวกับเหตุระเบิดแล้ว และสั่งการให้คณะทำงานของเขามอบความช่วยเหลือในระดับรัฐบาลกลางใดๆ ที่จำเป็น
    .
    ก่อนหน้านี้ในวันเดียวกัน ประธานาธิบดีไบเดน เพิ่งได้รับฟังรายงานสรุปเกี่ยวกับเหตุคนร้ายขับรถพุ่งชนผู้คนที่กำลังฉลองปีใหม่ในนิวออร์ลีนส์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 10 ราย
    .
    แม็คมาฮิล พูดถึงเหตุโจมตีดังกล่าวด้วย แต่ไม่ได้โยงทั้ง 2 เหตุการณ์อย่างชัดเจน และบอกว่าพวกเจ้าหน้าที่ในลาสเวกัส "กำลังใช้ทุกมาตรการป้องกันไว้ก่อนที่จำเป็น สำหรับคงความปลอดภัยแก่ชุมชนของเรา"
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000000233
    ..............
    Sondhi X
    มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1 ราย และบาดเจ็บ 7 คน หลังรถกระบะไฟฟ้า "ไซเบอร์ทรัค" ของเทสลา จู่ๆ เกิดระเบิดบริเวณด้านนอกของโรงแรมแห่งหนึ่งที่เป็นของ โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในลาสเวกัส รัฐเนวาดา จากการเปิดเผยของเจ้าหน้าที่ตำรวจ . เควิด แม็คมาฮิล หัวหน้าเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายของลาสเวกัส เปิดเผยกับพวกผู้สื่อข่าวว่า รถไฟฟ้าขับมาจอดบริเวณด้านหน้าประตูทางเท้าที่เป็นบานกระจกของโรงแรมทรัมป์ อินเตอร์เนชันแนล โฮเต็ล ก่อนเกิด "ระเบิดตูมสนั่น" . ในวิดีโอพบเห็นรถกระบะเหล็กกล้าจอดอยู่บริเวณทางเข้าโรงแรม ก่อนจู่ๆ เกิดระเบิดไฟลุกท่วม ตามมาด้วยการระเบิดขนาดเล็กๆ อีกหลายรอบ . แม็คมาฮิล บอกว่า "มีผู้เสียชีวิต 1 รายภายในรถไซเบอร์ทรัค" และมีอีก 7 คน ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย . ด้าน อีลอน มัสก์ ซีอีโอของเทสลา โพสต์ข้อความลงบนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ ระบุว่า "คณะทำงานระดับสูงของเทสลาทั้งหมด เวลานี้กำลังสืบสวนประเด็นดังกล่าว" พร้อมบอกว่า "เราไม่เคยพบเห็นอะไรแบบนี้มาก่อน" . มัสก์ ซึ่งสนับสนุน ทรัมป์ ในศึกเลือกตั้งเดือนพฤศจิกายน และได้รับการเสนอชื่อจากตัวแทนรีพับลิกันให้เป็นหัวหน้าคณะกรรมการชุดหนึ่งที่จะทำหน้าที่ตัดลดการใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล ระบุว่าเขาจะโพสต์ข้อมูลเพิ่มเติม "ทันทีที่เราทราบเรื่องใดๆ" . ทำเนียบขาวเปิดเผยว่าประธานาธิบดีโจ ไบเดน ได้รับฟังรายงานสรุปเกี่ยวกับเหตุระเบิดแล้ว และสั่งการให้คณะทำงานของเขามอบความช่วยเหลือในระดับรัฐบาลกลางใดๆ ที่จำเป็น . ก่อนหน้านี้ในวันเดียวกัน ประธานาธิบดีไบเดน เพิ่งได้รับฟังรายงานสรุปเกี่ยวกับเหตุคนร้ายขับรถพุ่งชนผู้คนที่กำลังฉลองปีใหม่ในนิวออร์ลีนส์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 10 ราย . แม็คมาฮิล พูดถึงเหตุโจมตีดังกล่าวด้วย แต่ไม่ได้โยงทั้ง 2 เหตุการณ์อย่างชัดเจน และบอกว่าพวกเจ้าหน้าที่ในลาสเวกัส "กำลังใช้ทุกมาตรการป้องกันไว้ก่อนที่จำเป็น สำหรับคงความปลอดภัยแก่ชุมชนของเรา" . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000000233 .............. Sondhi X
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1284 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10 กรณี คอร์รัปชันแห่งปี 2567
    .
    1. กรณีลดโทษ พักโทษ มอบอภิสิทธิ์ให้นักโทษคดีโกงชาติ
    นักโทษชั้น 14 ที่ไม่เคยนอนเรือนจำ และนักโทษคดีจำนำข้าว เช่น นายบุญทรง เสี่ยเปี๋ยง ได้เป็นอิสระเร็วเกินคาด ขณะที่อดีตข้าราชการในคดีเดียวกันยังติดคุกอยู่ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการทุจริตที่เป็นตัวเงิน แต่การลดโทษ พักโทษ มอบอภิสิทธิ์ให้นักโทษคดีโกงชาติ คือ “โกงซ้อนโกง”
    ถึงวันนี้นักการเมืองและข้าราชการบางคนยังจับมือกันปกปิดความจริง ปฏิเสธกระบวนการตรวจสอบ โดยไม่สนใจว่าจะค้านสายตาประชาชนและสังคมโลก

    2. กรณีไฟไหม้รถนำเที่ยวเด็กนักเรียน สูญเสีย 22 ชีวิต
    โศกนาฏกรรมนี้ผ่านไปเพียงไม่กี่เดือนเรื่องก็เงียบ ไม่มีเจ้าหน้าที่กรมการขนส่งทางบกคนใดต้องรับผิดชอบเลย! ไม่มีท่าทีของรัฐมนตรี และรัฐบาลที่จะหยุด “ส่วย-สินบน” ในหน่วยงานรัฐเพื่อแก้ปัญหาระยะยาว ทั้งที่เราต่างรู้แก่ใจว่าทุกวันนี้มีรถเถื่อน รถผิดกฎหมายวิ่งอยู่เต็มท้องถนน พร้อมจะนำความตายมาสู่ใครอีกก็ได้

    3. คดีนายอิทธิพล คุณปลื้ม
    ศาลคอร์รัปชันชี้ว่า “ผิดจริง” แต่ยกฟ้องเพราะคดีขาดอายุความ แถมตำหนิ “ป.ป.ช.” ว่า ไม่ใส่ใจทำคดี คำพิพากษานี้ยังทำให้เกิดประเด็นต้องติดตามอีกว่า เป็นการเปลี่ยนหลักกฎหมายเดิมที่กำหนดให้การหนีคดีของจำเลยทำให้อายุความสะดุดหยุดลง ใช่หรือไม่?

    4. กรณีฮุบที่รถไฟ เขากระโดง
    หลักนิติธรรมของประเทศถูกทำลาย เมื่ออิทธิพลนักการเมืองใหญ่เหนือคำพิพากษาศาลฎีกา และศาลปกครองสูงสุด กรมที่ดินและการรถไฟฯ โยนเรื่องกันไปมา เลือกหยิบยกข้อกฎหมายไปตีความจนบิดเบี้ยว มาดูกันว่า สุดท้ายแล้วสมบัติของชาติจะได้รับการปกป้องหรือรัฐต้องจ่ายค่าโง่อะไร ก่อนที่ ผู้มีอิทธิพลทางการเมืองเหล่านั้นจะได้สิทธิ์เช่าระยะยาวบนที่ดินหลวงในราคาแสนถูก

    5. กรณีสัมปทานรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน
    โครงการมูลค่ากว่า 2 แสนล้านบาทนี้ พ่วงด้วยสิทธิ์บริหารรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรลลิ้งค์ และที่ดินย่านมักกะสัน แม้การประมูลจบไปแล้ว 5 ปี แต่รัฐยังเปิดให้เอกชนเจรจาแก้สัญญาไม่รู้จบ เฉือนประโยชน์รัฐเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขัดต่อหลักพื้นฐานการประมูลงานภาครัฐอย่างเป็นธรรม ถ่วงการพัฒนาโครงการ อีอีซี จนนักลงทุนต่างชาติเยาะหยันว่ามาทำธุรกิจเมืองไทย หากไม่มีพวกพ้องก็อยู่ไม่ได้ ความโปร่งใสเป็นแค่เรื่องเพ้อฝัน

    6. กรณีฮุบป่า รุกที่ ส.ป.ก. หลายแสนไร่ทั่วประเทศ
    เป็นดั่งยุคทองของพวกทำลายป่า เมื่อรัฐบาลมีนโยบาย ส.ป.ก. ทองคำ แก้กฎหมายให้ ส.ป.ก. เป็นโฉนดใช้ทำมาหากินได้แทบทุกอย่าง ซื้อขายสิทธิ์ง่าย จำนองธนาคารได้ วันนี้ ส.ป.ก. กว่าร้อยละ 30 อยู่ในมือนายทุน และยังคงถูกบุกรุกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความสูญเสียเช่นนี้จะไม่เกิดขึ้น หากข้าราชการและนักการเมืองไม่มีเอี่ยว ความหวังยังพอมีเมื่อ ผอ.ชัยวัฒน์ ลิ้มลิขิตอักษร และข้าราชการจำนวนหนึ่งกล้าปะทะกับอดีต รมว. เกษตรฯ เพื่อให้พวกท่านเหล่านั้นมีพลังปกป้องผืนป่ามากขึ้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนต้องแรงสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

    7. กรณีขุด/ขนย้ายกากแร่แคดเมียม
    สังคมตื่นตระหนกเพราะกากแร่อันตรายที่เคยถูกกลบฝังกลับขุดมาขายได้ ขนย้ายผ่านไปหลายจังหวัด โดยประชาชนไม่รู้อะไรเลยเพราะทุกอย่างถูกปิดบัง กฎหมายและนโยบายของรัฐเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมแอบถูกแก้ไขและบิดเบือน ถึงวันนี้ทุกอย่างเงียบหาย ไม่ปรากฏข่าวว่าเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานใดถูกลงโทษจริงจัง

    8. กรณีหมูแช่แข็งเถื่อน
    มีผู้สมรู้ร่วมคิด 3 ฝ่าย หนึ่ง-เจ้าหน้าที่รัฐบางคนในกรมศุลกากร กรมปศุสัตว์ กรมประมง อาหารและยา สอง-กลุ่มนักการเมืองใหญ่ สาม-กลุ่มนายทุนนำเข้า บริษัทชิปปิ้ง ทั้งนายทุนรับซื้อสินค้าไปจำหน่ายหรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เนื้อหมูแช่แข็งเถื่อนทำลายความมั่นคงทางอาหารของชาติ ผู้เลี้ยงหมูเดือดร้อนทั่วประเทศ ขณะที่คนไทยต้องเสี่ยงภัยกับเนื้อหมูที่มีสารเร่งเนื้อแดง และเชื้อโรคที่อาจปนเปื้อนมา

    9. กรณีปลาหมอคางดำ
    วิกฤตสัตว์น้ำขั้นรุนแรงกินวงกว้าง เกิดจากเอกชนรายใหญ่เห็นแก่ได้ ไร้ความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่รัฐปล่อยปละมองข้ามความปลอดภัยของสังคม เกรงใจพ่อค้า โกงความคาดหวังของประชาชน

    10. กรณีดิ ไอคอน
    คดีดังที่แฉให้เห็นพฤติกรรมรุมกันเรียกรับสินบนของคนจากหลายหน่วยงานรัฐ นักการเมือง และบุคคลที่สังคมเคยไว้วางใจ คดีนี้ฉุดกระชากเหล่าซาตานในคราบเทวดาให้ตกสวรรค์ เผยให้สังคมเห็นคอร์รัปชันที่ทำให้ประชาชนผู้ตกเป็นเหยื่อถูกรัฐทอดทิ้งยามเดือดร้อน

    ดร.มานะ นิมิตรมงคล ประธานองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย)
    23 ธันวาคม 2567
    10 กรณี คอร์รัปชันแห่งปี 2567 . 1. กรณีลดโทษ พักโทษ มอบอภิสิทธิ์ให้นักโทษคดีโกงชาติ นักโทษชั้น 14 ที่ไม่เคยนอนเรือนจำ และนักโทษคดีจำนำข้าว เช่น นายบุญทรง เสี่ยเปี๋ยง ได้เป็นอิสระเร็วเกินคาด ขณะที่อดีตข้าราชการในคดีเดียวกันยังติดคุกอยู่ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการทุจริตที่เป็นตัวเงิน แต่การลดโทษ พักโทษ มอบอภิสิทธิ์ให้นักโทษคดีโกงชาติ คือ “โกงซ้อนโกง” ถึงวันนี้นักการเมืองและข้าราชการบางคนยังจับมือกันปกปิดความจริง ปฏิเสธกระบวนการตรวจสอบ โดยไม่สนใจว่าจะค้านสายตาประชาชนและสังคมโลก 2. กรณีไฟไหม้รถนำเที่ยวเด็กนักเรียน สูญเสีย 22 ชีวิต โศกนาฏกรรมนี้ผ่านไปเพียงไม่กี่เดือนเรื่องก็เงียบ ไม่มีเจ้าหน้าที่กรมการขนส่งทางบกคนใดต้องรับผิดชอบเลย! ไม่มีท่าทีของรัฐมนตรี และรัฐบาลที่จะหยุด “ส่วย-สินบน” ในหน่วยงานรัฐเพื่อแก้ปัญหาระยะยาว ทั้งที่เราต่างรู้แก่ใจว่าทุกวันนี้มีรถเถื่อน รถผิดกฎหมายวิ่งอยู่เต็มท้องถนน พร้อมจะนำความตายมาสู่ใครอีกก็ได้ 3. คดีนายอิทธิพล คุณปลื้ม ศาลคอร์รัปชันชี้ว่า “ผิดจริง” แต่ยกฟ้องเพราะคดีขาดอายุความ แถมตำหนิ “ป.ป.ช.” ว่า ไม่ใส่ใจทำคดี คำพิพากษานี้ยังทำให้เกิดประเด็นต้องติดตามอีกว่า เป็นการเปลี่ยนหลักกฎหมายเดิมที่กำหนดให้การหนีคดีของจำเลยทำให้อายุความสะดุดหยุดลง ใช่หรือไม่? 4. กรณีฮุบที่รถไฟ เขากระโดง หลักนิติธรรมของประเทศถูกทำลาย เมื่ออิทธิพลนักการเมืองใหญ่เหนือคำพิพากษาศาลฎีกา และศาลปกครองสูงสุด กรมที่ดินและการรถไฟฯ โยนเรื่องกันไปมา เลือกหยิบยกข้อกฎหมายไปตีความจนบิดเบี้ยว มาดูกันว่า สุดท้ายแล้วสมบัติของชาติจะได้รับการปกป้องหรือรัฐต้องจ่ายค่าโง่อะไร ก่อนที่ ผู้มีอิทธิพลทางการเมืองเหล่านั้นจะได้สิทธิ์เช่าระยะยาวบนที่ดินหลวงในราคาแสนถูก 5. กรณีสัมปทานรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน โครงการมูลค่ากว่า 2 แสนล้านบาทนี้ พ่วงด้วยสิทธิ์บริหารรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรลลิ้งค์ และที่ดินย่านมักกะสัน แม้การประมูลจบไปแล้ว 5 ปี แต่รัฐยังเปิดให้เอกชนเจรจาแก้สัญญาไม่รู้จบ เฉือนประโยชน์รัฐเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขัดต่อหลักพื้นฐานการประมูลงานภาครัฐอย่างเป็นธรรม ถ่วงการพัฒนาโครงการ อีอีซี จนนักลงทุนต่างชาติเยาะหยันว่ามาทำธุรกิจเมืองไทย หากไม่มีพวกพ้องก็อยู่ไม่ได้ ความโปร่งใสเป็นแค่เรื่องเพ้อฝัน 6. กรณีฮุบป่า รุกที่ ส.ป.ก. หลายแสนไร่ทั่วประเทศ เป็นดั่งยุคทองของพวกทำลายป่า เมื่อรัฐบาลมีนโยบาย ส.ป.ก. ทองคำ แก้กฎหมายให้ ส.ป.ก. เป็นโฉนดใช้ทำมาหากินได้แทบทุกอย่าง ซื้อขายสิทธิ์ง่าย จำนองธนาคารได้ วันนี้ ส.ป.ก. กว่าร้อยละ 30 อยู่ในมือนายทุน และยังคงถูกบุกรุกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความสูญเสียเช่นนี้จะไม่เกิดขึ้น หากข้าราชการและนักการเมืองไม่มีเอี่ยว ความหวังยังพอมีเมื่อ ผอ.ชัยวัฒน์ ลิ้มลิขิตอักษร และข้าราชการจำนวนหนึ่งกล้าปะทะกับอดีต รมว. เกษตรฯ เพื่อให้พวกท่านเหล่านั้นมีพลังปกป้องผืนป่ามากขึ้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนต้องแรงสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง 7. กรณีขุด/ขนย้ายกากแร่แคดเมียม สังคมตื่นตระหนกเพราะกากแร่อันตรายที่เคยถูกกลบฝังกลับขุดมาขายได้ ขนย้ายผ่านไปหลายจังหวัด โดยประชาชนไม่รู้อะไรเลยเพราะทุกอย่างถูกปิดบัง กฎหมายและนโยบายของรัฐเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมแอบถูกแก้ไขและบิดเบือน ถึงวันนี้ทุกอย่างเงียบหาย ไม่ปรากฏข่าวว่าเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานใดถูกลงโทษจริงจัง 8. กรณีหมูแช่แข็งเถื่อน มีผู้สมรู้ร่วมคิด 3 ฝ่าย หนึ่ง-เจ้าหน้าที่รัฐบางคนในกรมศุลกากร กรมปศุสัตว์ กรมประมง อาหารและยา สอง-กลุ่มนักการเมืองใหญ่ สาม-กลุ่มนายทุนนำเข้า บริษัทชิปปิ้ง ทั้งนายทุนรับซื้อสินค้าไปจำหน่ายหรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เนื้อหมูแช่แข็งเถื่อนทำลายความมั่นคงทางอาหารของชาติ ผู้เลี้ยงหมูเดือดร้อนทั่วประเทศ ขณะที่คนไทยต้องเสี่ยงภัยกับเนื้อหมูที่มีสารเร่งเนื้อแดง และเชื้อโรคที่อาจปนเปื้อนมา 9. กรณีปลาหมอคางดำ วิกฤตสัตว์น้ำขั้นรุนแรงกินวงกว้าง เกิดจากเอกชนรายใหญ่เห็นแก่ได้ ไร้ความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่รัฐปล่อยปละมองข้ามความปลอดภัยของสังคม เกรงใจพ่อค้า โกงความคาดหวังของประชาชน 10. กรณีดิ ไอคอน คดีดังที่แฉให้เห็นพฤติกรรมรุมกันเรียกรับสินบนของคนจากหลายหน่วยงานรัฐ นักการเมือง และบุคคลที่สังคมเคยไว้วางใจ คดีนี้ฉุดกระชากเหล่าซาตานในคราบเทวดาให้ตกสวรรค์ เผยให้สังคมเห็นคอร์รัปชันที่ทำให้ประชาชนผู้ตกเป็นเหยื่อถูกรัฐทอดทิ้งยามเดือดร้อน ดร.มานะ นิมิตรมงคล ประธานองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) 23 ธันวาคม 2567
    Like
    Love
    6
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 473 มุมมอง 1 รีวิว
  • 2/
    ภาพเหตุการณ์ ชายรายหนึ่งลงมือจุดไฟเผาผู้หญิงขณะที่เธอกำลังงีบหลับบนรถไฟใต้ดินขบวนหนึ่งในนิวยอร์ก ซิตี ส่งผลให้ผู้หญิงรายนี้เสียชีวิตทันที

    ผู้หญิงรายนี้ซึ่งไม่เปิดเผยชื่อ นั่งนิ่งเหมือนกำลังงีบหลับอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนหนึ่ง ซึ่งจอดเทียบชานชาลาสถานี Coney Island-Stillwell Avenue ในย่านบรูคลิน ตอนเวลาประมาณ 7.30 น.(ตรงกับเมืองไทย 19.30 น.) ระหว่างนั้นมีชายคนหนึ่งเดินเข้ามาหาเธอ และใช้ไฟแช็กจุดไฟบริเวณเสื้อโค้ทของเธอ

    ตำรวจเผยต่อว่าเหยื่อและคนร้ายไม่ได้มีการพูดคุยหรือโต้เถียงกันใดๆ ก่อนการโจมตี และไม่เชื่อว่าทั้ง 2 คนจะรู้จักกันมาก่อน
    2/ ภาพเหตุการณ์ ชายรายหนึ่งลงมือจุดไฟเผาผู้หญิงขณะที่เธอกำลังงีบหลับบนรถไฟใต้ดินขบวนหนึ่งในนิวยอร์ก ซิตี ส่งผลให้ผู้หญิงรายนี้เสียชีวิตทันที ผู้หญิงรายนี้ซึ่งไม่เปิดเผยชื่อ นั่งนิ่งเหมือนกำลังงีบหลับอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนหนึ่ง ซึ่งจอดเทียบชานชาลาสถานี Coney Island-Stillwell Avenue ในย่านบรูคลิน ตอนเวลาประมาณ 7.30 น.(ตรงกับเมืองไทย 19.30 น.) ระหว่างนั้นมีชายคนหนึ่งเดินเข้ามาหาเธอ และใช้ไฟแช็กจุดไฟบริเวณเสื้อโค้ทของเธอ ตำรวจเผยต่อว่าเหยื่อและคนร้ายไม่ได้มีการพูดคุยหรือโต้เถียงกันใดๆ ก่อนการโจมตี และไม่เชื่อว่าทั้ง 2 คนจะรู้จักกันมาก่อน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 301 มุมมอง 8 0 รีวิว
  • 1/
    ภาพเหตุการณ์ ชายรายหนึ่งลงมือจุดไฟเผาผู้หญิงขณะที่เธอกำลังงีบหลับบนรถไฟใต้ดินขบวนหนึ่งในนิวยอร์ก ซิตี ส่งผลให้ผู้หญิงรายนี้เสียชีวิตทันที

    ผู้หญิงรายนี้ซึ่งไม่เปิดเผยชื่อ นั่งนิ่งเหมือนกำลังงีบหลับอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนหนึ่ง ซึ่งจอดเทียบชานชาลาสถานี Coney Island-Stillwell Avenue ในย่านบรูคลิน ตอนเวลาประมาณ 7.30 น.(ตรงกับเมืองไทย 19.30 น.) ระหว่างนั้นมีชายคนหนึ่งเดินเข้ามาหาเธอ และใช้ไฟแช็กจุดไฟบริเวณเสื้อโค้ทของเธอ

    ตำรวจเผยต่อว่าเหยื่อและคนร้ายไม่ได้มีการพูดคุยหรือโต้เถียงกันใดๆ ก่อนการโจมตี และไม่เชื่อว่าทั้ง 2 คนจะรู้จักกันมาก่อน
    1/ ภาพเหตุการณ์ ชายรายหนึ่งลงมือจุดไฟเผาผู้หญิงขณะที่เธอกำลังงีบหลับบนรถไฟใต้ดินขบวนหนึ่งในนิวยอร์ก ซิตี ส่งผลให้ผู้หญิงรายนี้เสียชีวิตทันที ผู้หญิงรายนี้ซึ่งไม่เปิดเผยชื่อ นั่งนิ่งเหมือนกำลังงีบหลับอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนหนึ่ง ซึ่งจอดเทียบชานชาลาสถานี Coney Island-Stillwell Avenue ในย่านบรูคลิน ตอนเวลาประมาณ 7.30 น.(ตรงกับเมืองไทย 19.30 น.) ระหว่างนั้นมีชายคนหนึ่งเดินเข้ามาหาเธอ และใช้ไฟแช็กจุดไฟบริเวณเสื้อโค้ทของเธอ ตำรวจเผยต่อว่าเหยื่อและคนร้ายไม่ได้มีการพูดคุยหรือโต้เถียงกันใดๆ ก่อนการโจมตี และไม่เชื่อว่าทั้ง 2 คนจะรู้จักกันมาก่อน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 217 มุมมอง 0 รีวิว
  • ล้างตำนานสาย 8 คว้าผู้โดยสาร-รายได้สูงสุด

    หลังให้บริการรถโดยสารปรับอากาศพลังงานไฟฟ้ามานานกว่า 2 ปี ในที่สุดรถเมล์เส้นทางปฎิรูปสาย 2-38 หรือสาย 8 แฮปปี้แลนด์-ท่าเรือสะพานพุทธ ของบริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด กลายเป็นเส้นทางที่มีจำนวนผู้โดยสารและรายได้สูงสุดจากทั้งหมด 124 เส้นทาง โดยมีผู้โดยสารสูงสุด 20,500 คนต่อวัน รายได้สูงสุด 358,328 บาทต่อวัน ล้างอาถรรพ์ตำนานรถเมล์นรก ที่ขึ้นชื่อว่าซิ่งปาดซ้ายปาดขวา มารยาทแย่ อุบัติเหตุบ่อยครั้ง แม้ผู้โดยสารจะต้องเสียค่าโดยสารเพิ่มขึ้นก็ตาม

    รถเมล์สาย 8 เริ่มต้นจากแฮปปี้แลนด์ เลี้ยวขวาไปตามถนนลาดพร้าว ถึงห้าแยกลาดพร้าว เลี้ยวซ้ายไปตามถนนพหลโยธิน ถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ จอดที่เกาะราชวิถี (เที่ยวกลับจอดที่เกาะพหลโยธิน) ไปตามถนนราชวิถี เลี้ยวซ้ายไปตามถนนพระรามที่ 6 เลี้ยวขวาแยกศรีอยุธยา ข้ามทางรถไฟ เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสวรรคโลก ถึงแยกยมราชตรงไปตามถนนหลานหลวง เลี้ยวซ้ายไปตามถนนจักรพรรดิพงษ์ เลี้ยวขวาที่วัดบพิตรพิมุข แล้วชิดซ้ายลอดใต้สะพาน สิ้นสุดที่ท่าน้ำสะพานพุทธ

    ให้บริการกับคนกรุงเทพฯ กว่า 90 ปี โดยมีบริษัท นายเลิศ จำกัด เป็นผู้ประกอบการรายแรก ก่อนที่องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) จะให้สัมปทาน 3 บริษัท ได้แก่ บริษัทไทยบัสขนส่ง บริษัทกลุ่ม 39 และบริษัททรัพย์ 888 เมื่อกรมการขนส่งทางบกเข้ามากำกับดูแลและปฎิรูปเส้นทางรถเมล์ บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด จึงชนะการประมูลไป แม้ผู้ประกอบการเดิมยังแอบให้บริการเป็นรถเถื่อน แต่กรมขนส่งฯ ก็สั่งหยุดเดินรถตั้งแต่วันที่ 8 พ.ย. 2567 จึงทำให้ไทยสมายล์บัสเดินรถแต่เพียงผู้เดียว

    ส่วนอันดับ 2 ได้แก่ สาย 4-25L (สาย 147L) วงกลม การเคหะธนบุรี-บางแค ผู้โดยสาร 14,000 คน รายได้ 250,421 บาท อันดับ 3 สาย 4-46 (สาย 84) วัดไร่ขิง-สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี ผู้โดยสาร 13,000 คน รายได้ 240,000 บาท อันดับ 4 สาย 4-23E (สาย 140) ทางด่วน แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผู้โดยสาร 12,000 คน รายได้ 237,191 บาท อันดับ 5 สาย 1-18E (สาย 504) ทางด่วน รังสิต-บางรัก ผู้โดยสาร 9,000 คน รายได้ 177,159 บาท

    น.ส.กุลพรภัสร์ วงศ์มาจารภิญญา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไทยสมายล์บัส เปิดเผยว่า ในปี 2568 จะเพิ่มรถโดยสารอีก 350 คัน จากทั้งหมด 1,650 คัน และติดตั้งระบบติดตามการปล่อยรถคล้ายหอบังคับการบิน ส่วนนายวรวิทย์ ชาญชญานนท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายปฏิบัติการและกลยุทธ์ กล่าวว่า ในปี 2568 เตรียมรับชำระค่าโดยสารด้วยบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ นำร่องแอปพลิเคชันถุงเงิน วางแผนรับบัตรเครดิต บัตรเดบิต VISA และ Mastercard รวมทั้ง China T-Union ของจีน

    #Newskit
    ล้างตำนานสาย 8 คว้าผู้โดยสาร-รายได้สูงสุด หลังให้บริการรถโดยสารปรับอากาศพลังงานไฟฟ้ามานานกว่า 2 ปี ในที่สุดรถเมล์เส้นทางปฎิรูปสาย 2-38 หรือสาย 8 แฮปปี้แลนด์-ท่าเรือสะพานพุทธ ของบริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด กลายเป็นเส้นทางที่มีจำนวนผู้โดยสารและรายได้สูงสุดจากทั้งหมด 124 เส้นทาง โดยมีผู้โดยสารสูงสุด 20,500 คนต่อวัน รายได้สูงสุด 358,328 บาทต่อวัน ล้างอาถรรพ์ตำนานรถเมล์นรก ที่ขึ้นชื่อว่าซิ่งปาดซ้ายปาดขวา มารยาทแย่ อุบัติเหตุบ่อยครั้ง แม้ผู้โดยสารจะต้องเสียค่าโดยสารเพิ่มขึ้นก็ตาม รถเมล์สาย 8 เริ่มต้นจากแฮปปี้แลนด์ เลี้ยวขวาไปตามถนนลาดพร้าว ถึงห้าแยกลาดพร้าว เลี้ยวซ้ายไปตามถนนพหลโยธิน ถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ จอดที่เกาะราชวิถี (เที่ยวกลับจอดที่เกาะพหลโยธิน) ไปตามถนนราชวิถี เลี้ยวซ้ายไปตามถนนพระรามที่ 6 เลี้ยวขวาแยกศรีอยุธยา ข้ามทางรถไฟ เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสวรรคโลก ถึงแยกยมราชตรงไปตามถนนหลานหลวง เลี้ยวซ้ายไปตามถนนจักรพรรดิพงษ์ เลี้ยวขวาที่วัดบพิตรพิมุข แล้วชิดซ้ายลอดใต้สะพาน สิ้นสุดที่ท่าน้ำสะพานพุทธ ให้บริการกับคนกรุงเทพฯ กว่า 90 ปี โดยมีบริษัท นายเลิศ จำกัด เป็นผู้ประกอบการรายแรก ก่อนที่องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) จะให้สัมปทาน 3 บริษัท ได้แก่ บริษัทไทยบัสขนส่ง บริษัทกลุ่ม 39 และบริษัททรัพย์ 888 เมื่อกรมการขนส่งทางบกเข้ามากำกับดูแลและปฎิรูปเส้นทางรถเมล์ บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด จึงชนะการประมูลไป แม้ผู้ประกอบการเดิมยังแอบให้บริการเป็นรถเถื่อน แต่กรมขนส่งฯ ก็สั่งหยุดเดินรถตั้งแต่วันที่ 8 พ.ย. 2567 จึงทำให้ไทยสมายล์บัสเดินรถแต่เพียงผู้เดียว ส่วนอันดับ 2 ได้แก่ สาย 4-25L (สาย 147L) วงกลม การเคหะธนบุรี-บางแค ผู้โดยสาร 14,000 คน รายได้ 250,421 บาท อันดับ 3 สาย 4-46 (สาย 84) วัดไร่ขิง-สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี ผู้โดยสาร 13,000 คน รายได้ 240,000 บาท อันดับ 4 สาย 4-23E (สาย 140) ทางด่วน แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผู้โดยสาร 12,000 คน รายได้ 237,191 บาท อันดับ 5 สาย 1-18E (สาย 504) ทางด่วน รังสิต-บางรัก ผู้โดยสาร 9,000 คน รายได้ 177,159 บาท น.ส.กุลพรภัสร์ วงศ์มาจารภิญญา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไทยสมายล์บัส เปิดเผยว่า ในปี 2568 จะเพิ่มรถโดยสารอีก 350 คัน จากทั้งหมด 1,650 คัน และติดตั้งระบบติดตามการปล่อยรถคล้ายหอบังคับการบิน ส่วนนายวรวิทย์ ชาญชญานนท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายปฏิบัติการและกลยุทธ์ กล่าวว่า ในปี 2568 เตรียมรับชำระค่าโดยสารด้วยบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ นำร่องแอปพลิเคชันถุงเงิน วางแผนรับบัตรเครดิต บัตรเดบิต VISA และ Mastercard รวมทั้ง China T-Union ของจีน #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 451 มุมมอง 0 รีวิว
  • สายแรกที่รอคอย รถไฟฟ้าโฮจิมินห์

    22 ธ.ค.2567 รถไฟฟ้าสายแรกของนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม สาย 1 เบนถั่น-เซื่อยเตียน (Ben Thanh-Suoi Tien) ขององค์การบริหารรถไฟเขตเมืองนครโฮจิมินห์ (HCMC METRO) จะเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการตั้งแต่เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป นับเป็นรถไฟฟ้าสายแรกในนครโฮจิมินห์ และเป็นเมืองที่สองต่อจากเมืองหลวง กรุงฮานอยที่มี 2 เส้นทาง ได้แก่ สาย 2A ก๊าตลีง-ห่าโดง (Cat Linh-Ha Dong) และสาย 3 เญิน-ฮานอย (Nhon-Ha Noi)

    รถไฟฟ้าสายนี้มีระยะทาง 19.7 กิโลเมตร 14 สถานี เชื่อมระหว่างตลาดเบนถั่น ย่านการค้าที่มีชื่อเสียง ถึงปลายทางฝั่งตะวันออกของเมือง ผ่านสถานที่สำคัญ ได้แก่ โรงอุปรากรไซ่ง่อน (Saigon Opera House), ศูนย์การค้าวินคอม เมกา มอลล์, นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค, สถานีขนส่งเมียนดง (ตะวันออก), สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ โดยให้บริการผู้โดยสารฟรี 30 วัน ถึงวันที่ 20 ม.ค.2568 ในช่วง 6 เดือนแรกเปิดตั้งแต่เวลา 05.00-22.00 น. ความถี่ 8-12 นาทีต่อเที่ยว หลังจากนั้นจะเปิดเวลา 05.00-23.30 น. ความถี่ 5-10-15 นาที

    ค่าโดยสารคิดตามระยะทาง ตั๋วเที่ยวเดียวเริ่มต้นที่ 7,000-20,000 ดอง (9.41-26.89 บาท) ตั๋ว 1 วันราคา 40,000 ดอง (53.77 บาท) ตั๋ว 3 วันราคา 90,000 ดอง (120.99 บาท) ตั๋วรายเดือนบุคคลทั่วไปราคา 300,000 ดอง (403.30 บาท) และนักเรียน นักศึกษาราคา 150,000 ดอง (201.65 บาท) รับชำระด้วยเงินสดหรือบัตร EMV (Mastercard หรือ VISA) ทั้งบัตรในเวียดนามและบัตรต่างประเทศ รวมทั้งซื้อตั๋วและออกรหัส QR Code ผ่านแอปพลิเคชัน HCMC Metro

    โครงการก่อสร้างอนุมัติครั้งแรกในปี 2550 หรือเมื่อ 17 ปีก่อน เริ่มก่อสร้างทางรถไฟยกระดับช่วงสถานีบาเซิน (Ba Son) ถึงสถานีวานถั่น (Van Thanh) เมื่อวันที่ 28 ส.ค.2555 แต่ประสบปัญหาเวนคืนที่ดิน ต่อมาในเดือน ก.ค. 2557 ก่อสร้างสถานีใต้ดินโอเปร่าเฮาส์ (Opera House) เดือน พ.ค.2560 เริ่มขุดเจาะอุโมงค์ใต้ดิน ส่วนทางรถไฟยกระดับ 11 สถานี เริ่มติดตั้งคานในปี 2558 ใช้เวลาประมาณ 2 ปี

    ที่ผ่านมาประสบปัญหาทั้งขาดแคลนเงินทุน สถานการณ์โควิด-19 และแผ่นยางรองคอสะพานหลุดออกมา กระทั่ง 8 ต.ค.2563 รถไฟฟ้าขบวนแรกจากประเทศญี่ปุ่นมาถึงท่าเรือคั้ญฮอย (Khanh Hoi) ทยอยนำเข้าครบ 17 ขบวนเมื่อวันที่ 6 พ.ค.2565 การก่อสร้างงานโยธาแล้วเสร็จช่วงปลายปี ทดลองเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2565 มีการฝึกอบรมให้กับทีมปฏิบัติการและซ้อมรับมือเหตุการณ์ต่างๆ สุดท้าย HCMC METRO ประกาศเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2567 ว่าแล้วเสร็จ 100% ก่อนแจ้งเปิดให้บริการในที่สุด

    #Newskit
    สายแรกที่รอคอย รถไฟฟ้าโฮจิมินห์ 22 ธ.ค.2567 รถไฟฟ้าสายแรกของนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม สาย 1 เบนถั่น-เซื่อยเตียน (Ben Thanh-Suoi Tien) ขององค์การบริหารรถไฟเขตเมืองนครโฮจิมินห์ (HCMC METRO) จะเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการตั้งแต่เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป นับเป็นรถไฟฟ้าสายแรกในนครโฮจิมินห์ และเป็นเมืองที่สองต่อจากเมืองหลวง กรุงฮานอยที่มี 2 เส้นทาง ได้แก่ สาย 2A ก๊าตลีง-ห่าโดง (Cat Linh-Ha Dong) และสาย 3 เญิน-ฮานอย (Nhon-Ha Noi) รถไฟฟ้าสายนี้มีระยะทาง 19.7 กิโลเมตร 14 สถานี เชื่อมระหว่างตลาดเบนถั่น ย่านการค้าที่มีชื่อเสียง ถึงปลายทางฝั่งตะวันออกของเมือง ผ่านสถานที่สำคัญ ได้แก่ โรงอุปรากรไซ่ง่อน (Saigon Opera House), ศูนย์การค้าวินคอม เมกา มอลล์, นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค, สถานีขนส่งเมียนดง (ตะวันออก), สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ โดยให้บริการผู้โดยสารฟรี 30 วัน ถึงวันที่ 20 ม.ค.2568 ในช่วง 6 เดือนแรกเปิดตั้งแต่เวลา 05.00-22.00 น. ความถี่ 8-12 นาทีต่อเที่ยว หลังจากนั้นจะเปิดเวลา 05.00-23.30 น. ความถี่ 5-10-15 นาที ค่าโดยสารคิดตามระยะทาง ตั๋วเที่ยวเดียวเริ่มต้นที่ 7,000-20,000 ดอง (9.41-26.89 บาท) ตั๋ว 1 วันราคา 40,000 ดอง (53.77 บาท) ตั๋ว 3 วันราคา 90,000 ดอง (120.99 บาท) ตั๋วรายเดือนบุคคลทั่วไปราคา 300,000 ดอง (403.30 บาท) และนักเรียน นักศึกษาราคา 150,000 ดอง (201.65 บาท) รับชำระด้วยเงินสดหรือบัตร EMV (Mastercard หรือ VISA) ทั้งบัตรในเวียดนามและบัตรต่างประเทศ รวมทั้งซื้อตั๋วและออกรหัส QR Code ผ่านแอปพลิเคชัน HCMC Metro โครงการก่อสร้างอนุมัติครั้งแรกในปี 2550 หรือเมื่อ 17 ปีก่อน เริ่มก่อสร้างทางรถไฟยกระดับช่วงสถานีบาเซิน (Ba Son) ถึงสถานีวานถั่น (Van Thanh) เมื่อวันที่ 28 ส.ค.2555 แต่ประสบปัญหาเวนคืนที่ดิน ต่อมาในเดือน ก.ค. 2557 ก่อสร้างสถานีใต้ดินโอเปร่าเฮาส์ (Opera House) เดือน พ.ค.2560 เริ่มขุดเจาะอุโมงค์ใต้ดิน ส่วนทางรถไฟยกระดับ 11 สถานี เริ่มติดตั้งคานในปี 2558 ใช้เวลาประมาณ 2 ปี ที่ผ่านมาประสบปัญหาทั้งขาดแคลนเงินทุน สถานการณ์โควิด-19 และแผ่นยางรองคอสะพานหลุดออกมา กระทั่ง 8 ต.ค.2563 รถไฟฟ้าขบวนแรกจากประเทศญี่ปุ่นมาถึงท่าเรือคั้ญฮอย (Khanh Hoi) ทยอยนำเข้าครบ 17 ขบวนเมื่อวันที่ 6 พ.ค.2565 การก่อสร้างงานโยธาแล้วเสร็จช่วงปลายปี ทดลองเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2565 มีการฝึกอบรมให้กับทีมปฏิบัติการและซ้อมรับมือเหตุการณ์ต่างๆ สุดท้าย HCMC METRO ประกาศเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2567 ว่าแล้วเสร็จ 100% ก่อนแจ้งเปิดให้บริการในที่สุด #Newskit
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 509 มุมมอง 0 รีวิว
  • BEM x SIEMENS เรารู้กันอยู่ 3 ตู้...3 ตู้เท่านั้น

    เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ ประเทศเยอรมนี ได้รับการว่าจ้างจาก บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK และบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BEM ให้ดำเนินโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) ของระบบเครื่องกลและไฟฟ้าในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร (MRT) สายสีส้ม บางขุนนนท์-มีนบุรี ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ 32 ขบวน รวมถึงการบูรณาการระบบเครื่องกลและไฟฟ้า พร้อมสัญญาซ่อมบำรุง

    และโครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน หลักสอง-ท่าพระ ระยะทาง 48 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้เพิ่มเติม 21 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบเครื่องกลและไฟฟ้าเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถี่การเดินรถพร้อมสัญญาซ่อมบำรุง อีกทั้งยังได้เซ็นสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรสำหรับขบวนรถไฟใหม่ที่เพิ่มเติมมา รวมถึงการขยายสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรที่มีอยู่เดิม สิ้นสุดสัญญาในปี 2582

    มีคนสงสัยว่าทำไม BEM ยังคงใช้ขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ กับสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม ทั้งๆ ที่คู่แข่งอย่างรถไฟฟ้าบีทีเอสได้เพิ่มตู้รถไฟฟ้าของซีเมนส์จากแบบ 3 ตู้ เป็น 4 ตู้ทั้ง 35 ขบวน ส่วนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงก็มีทั้ง 4 ตู้ต่อขบวน และ 6 ตู้ต่อขบวน คำตอบอย่างไม่เป็นทางการก็คือ ต้องไปแก้ไขระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling) และประตูกั้นชานชาลา (PSD) ถ้าเพิ่มขบวนรถไม่ต้องแก้ไข และช่วยเพิ่มความถี่ให้ผู้โดยสารไม่ต้องรอนาน

    ในตอนหนึ่งการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BEM ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2567 ชี้แจงว่าเนื่องจากสายทางของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออก (ศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี) มีจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถานีร่วม ดังนั้นเมื่อรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออกเปิดให้บริการในปี 2571 จะส่งต่อผู้โดยสารจำนวนมากเข้าสู่รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ

    บริษัทฯ จึงจำเป็นต้องจัดหาขบวนรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มเติมอีก 21 ขบวน และปรับปรุงระบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับการให้บริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีแนวทางในการจัดซื้อขบวนรถไฟฟ้าแบบ 3 ตู้ประกอบต่อขบวน ซึ่งจะสามารถเพิ่มความถี่ในการให้บริการมากขึ้น มีความยืดหยุ่นได้ตลอดเส้นทาง ไม่เกิดผลกระทบต่อการให้บริการเดินรถในช่วงปรับปรุงระบบรถไฟฟ้า

    อนึ่ง ปัจจุบันรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงินมีทั้งหมด 54 ขบวน แบ่งเป็นรถไฟฟ้ารุ่นแรก 19 ขบวน และรถไฟฟ้ารุ่นใหม่ 35 ขบวน ขบวนละ 3 ตู้ หากมีขบวนรถไฟฟ้าเพิ่มเติม 21 ขบวน จะทำให้มีรถไฟฟ้ารวม 75 ขบวน

    #Newskit
    BEM x SIEMENS เรารู้กันอยู่ 3 ตู้...3 ตู้เท่านั้น เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มบริษัทซีเมนส์ โมบิลิตี้ ประเทศเยอรมนี ได้รับการว่าจ้างจาก บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) หรือ CK และบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BEM ให้ดำเนินโครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) ของระบบเครื่องกลและไฟฟ้าในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร (MRT) สายสีส้ม บางขุนนนท์-มีนบุรี ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ 32 ขบวน รวมถึงการบูรณาการระบบเครื่องกลและไฟฟ้า พร้อมสัญญาซ่อมบำรุง และโครงการปรับปรุงรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน หลักสอง-ท่าพระ ระยะทาง 48 กิโลเมตร ครอบคลุมการส่งมอบรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้เพิ่มเติม 21 ขบวน รวมถึงการปรับปรุงระบบเครื่องกลและไฟฟ้าเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถี่การเดินรถพร้อมสัญญาซ่อมบำรุง อีกทั้งยังได้เซ็นสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรสำหรับขบวนรถไฟใหม่ที่เพิ่มเติมมา รวมถึงการขยายสัญญาการบำรุงรักษาครบวงจรที่มีอยู่เดิม สิ้นสุดสัญญาในปี 2582 มีคนสงสัยว่าทำไม BEM ยังคงใช้ขบวนรถไฟฟ้าขนาด 3 ตู้ กับสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม ทั้งๆ ที่คู่แข่งอย่างรถไฟฟ้าบีทีเอสได้เพิ่มตู้รถไฟฟ้าของซีเมนส์จากแบบ 3 ตู้ เป็น 4 ตู้ทั้ง 35 ขบวน ส่วนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงก็มีทั้ง 4 ตู้ต่อขบวน และ 6 ตู้ต่อขบวน คำตอบอย่างไม่เป็นทางการก็คือ ต้องไปแก้ไขระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling) และประตูกั้นชานชาลา (PSD) ถ้าเพิ่มขบวนรถไม่ต้องแก้ไข และช่วยเพิ่มความถี่ให้ผู้โดยสารไม่ต้องรอนาน ในตอนหนึ่งการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BEM ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2567 ชี้แจงว่าเนื่องจากสายทางของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออก (ศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี) มีจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถานีร่วม ดังนั้นเมื่อรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออกเปิดให้บริการในปี 2571 จะส่งต่อผู้โดยสารจำนวนมากเข้าสู่รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ บริษัทฯ จึงจำเป็นต้องจัดหาขบวนรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินเพิ่มเติมอีก 21 ขบวน และปรับปรุงระบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับการให้บริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีแนวทางในการจัดซื้อขบวนรถไฟฟ้าแบบ 3 ตู้ประกอบต่อขบวน ซึ่งจะสามารถเพิ่มความถี่ในการให้บริการมากขึ้น มีความยืดหยุ่นได้ตลอดเส้นทาง ไม่เกิดผลกระทบต่อการให้บริการเดินรถในช่วงปรับปรุงระบบรถไฟฟ้า อนึ่ง ปัจจุบันรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงินมีทั้งหมด 54 ขบวน แบ่งเป็นรถไฟฟ้ารุ่นแรก 19 ขบวน และรถไฟฟ้ารุ่นใหม่ 35 ขบวน ขบวนละ 3 ตู้ หากมีขบวนรถไฟฟ้าเพิ่มเติม 21 ขบวน จะทำให้มีรถไฟฟ้ารวม 75 ขบวน #Newskit
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 506 มุมมอง 0 รีวิว
  • รถไฟ ECRL มาเลย์ฯ-จีนแบกคนละครึ่ง

    โครงการทางรถไฟเชื่อมชายฝั่งตะวันออกมาเลเซีย หรือ ECRL (East Coast Rail Link) ระยะทาง 665 กิโลเมตร มูลค่าโครงการ 50,270 ล้านริงกิต อาจเรียกว่ากำลังจะเป็นรถไฟมาเลย์ฯ-จีนก็เป็นได้ เมื่อวันที่ 18 ธ.ค. บริษัท มาเลเซีย เรล ลิงก์ (MRL) และบริษัท ไชน่า คอมมูนิเคชันส์ คอนสตรัคชัน อีซีอาร์แอล (CCCECRL) ประเทศจีน ได้ทำพิธีลงนามการออกแบบภายนอกขบวนรถรถไฟฟ้าอีเอ็มยู (EMU) ตามข้อตกลงร่วมทุนด้านการดำเนินงานและการบำรุงรักษาของโครงการ ECRL พร้อมเปิดตัวโลโก้อย่างเป็นทางการของ ECRL ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากเข็มทิศ ที่มีเข็มชี้ไปทางทิศตะวันออกภายในดอกไม้สีฟ้า 4 กลีบ

    โดยทั้งสองบริษัทได้จัดตั้งบริษัทดำเนินงาน (OpCo) แบกรับความเสี่ยงฝ่ายละ 50:50 เพื่อดำเนินงานและบำรุงรักษาโครงการ ECRL ซึ่งนายแอนโทนี ลก รมว.คมนาคมมาเลเซีย กล่าวว่า ข้อตกลงร่วมทุนดังกล่าวจะช่วยให้ทั้งสองฝ่ายแบ่งเบาภาระต้นทุนการดำเนินงานของโครงการ อำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค โดย MRL จะเป็นเจ้าของทรัพย์สินของโครงการ ECRL ในนามรัฐบาลมาเลเซีย ส่วนบริษัท ไชน่า คอมมูนิเคชันส์ คอนสตรัคชัน (CCCC) จากประเทศจีน จะเป็นผู้รับเหมาทางด้านวิศวกรรม จัดซื้อจัดจ้าง ก่อสร้าง และดำเนินการ (EPCC) ตลอดระยะเวลาชำระคืนเงินกู้

    หากเกิดการขาดทุนระหว่างดำเนินงาน บริษัทจีนและมาเลเซียแบกรับความเสี่ยง 50% เท่ากัน แต่หากมีกำไรถึง 80% บริษัทจีนจะลงทุนใน MRL ส่วนที่เหลือลงทุนใน CCCECRL สำหรับความคืบหน้าโครงการ ECRL ณ เดือน พ.ย. 2567 อยู่ที่ 76.06% ซึ่งตามกำหนดคาดว่าทางรถไฟช่วงสถานีโกตาบารู รัฐกลันตัน ถึงสถานีกอมบัค รัฐสลังงอร์ แล้วเสร็จในเดือน ธ.ค. 2569 และระยะที่สองจากสถานีกอมบัค ถึงท่าเรือแคลง ภายในเดือน ธ.ค. 2570 คาดหวังว่าจะเชื่อมโยงกับโครงข่ายรถไฟทางไกลของประเทศไทย เพราะจากสถานีรถไฟโกตาบารู กับชายแดนมาเลเซีย-ไทย ที่ด่านรันเตาปันจัง เมืองปาร์เซมัส ห่างกัน 20 กิโลเมตร

    โครงการทางรถไฟ ECRL มีทั้งหมด 20 สถานี แบ่งเป็นสถานีเฉพาะผู้โดยสาร 10 สถานี สถานีผู้โดยสารและขนส่งสินค้า 10 สถานี พาดผ่าน 4 รัฐ ได้แก่ กลันตัน ตรังกานู ปาหัง และสลังงอร์ มีอุโมงค์ 59 แห่ง ขบวนรถโดยสารใช้รถไฟ EMU รวม 11 ขบวน ขบวนละ 6 ตู้โดยสาร รองรับผู้โดยสารสูงสุด 430 คน ความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบเท่าขบวนรถล้านช้างของรถไฟลาว-จีน จากสถานีโกตาบารูไปยังสถานีกอมบัคใช้เวลาเดินทางเพียง 4 ชั่วโมง คาดว่าจะส่งมอบขบวนรถชุดแรกภายในสิ้นปี 2568 ส่วนขบวนรถสินค้าใช้ความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    #Newskit
    รถไฟ ECRL มาเลย์ฯ-จีนแบกคนละครึ่ง โครงการทางรถไฟเชื่อมชายฝั่งตะวันออกมาเลเซีย หรือ ECRL (East Coast Rail Link) ระยะทาง 665 กิโลเมตร มูลค่าโครงการ 50,270 ล้านริงกิต อาจเรียกว่ากำลังจะเป็นรถไฟมาเลย์ฯ-จีนก็เป็นได้ เมื่อวันที่ 18 ธ.ค. บริษัท มาเลเซีย เรล ลิงก์ (MRL) และบริษัท ไชน่า คอมมูนิเคชันส์ คอนสตรัคชัน อีซีอาร์แอล (CCCECRL) ประเทศจีน ได้ทำพิธีลงนามการออกแบบภายนอกขบวนรถรถไฟฟ้าอีเอ็มยู (EMU) ตามข้อตกลงร่วมทุนด้านการดำเนินงานและการบำรุงรักษาของโครงการ ECRL พร้อมเปิดตัวโลโก้อย่างเป็นทางการของ ECRL ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากเข็มทิศ ที่มีเข็มชี้ไปทางทิศตะวันออกภายในดอกไม้สีฟ้า 4 กลีบ โดยทั้งสองบริษัทได้จัดตั้งบริษัทดำเนินงาน (OpCo) แบกรับความเสี่ยงฝ่ายละ 50:50 เพื่อดำเนินงานและบำรุงรักษาโครงการ ECRL ซึ่งนายแอนโทนี ลก รมว.คมนาคมมาเลเซีย กล่าวว่า ข้อตกลงร่วมทุนดังกล่าวจะช่วยให้ทั้งสองฝ่ายแบ่งเบาภาระต้นทุนการดำเนินงานของโครงการ อำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค โดย MRL จะเป็นเจ้าของทรัพย์สินของโครงการ ECRL ในนามรัฐบาลมาเลเซีย ส่วนบริษัท ไชน่า คอมมูนิเคชันส์ คอนสตรัคชัน (CCCC) จากประเทศจีน จะเป็นผู้รับเหมาทางด้านวิศวกรรม จัดซื้อจัดจ้าง ก่อสร้าง และดำเนินการ (EPCC) ตลอดระยะเวลาชำระคืนเงินกู้ หากเกิดการขาดทุนระหว่างดำเนินงาน บริษัทจีนและมาเลเซียแบกรับความเสี่ยง 50% เท่ากัน แต่หากมีกำไรถึง 80% บริษัทจีนจะลงทุนใน MRL ส่วนที่เหลือลงทุนใน CCCECRL สำหรับความคืบหน้าโครงการ ECRL ณ เดือน พ.ย. 2567 อยู่ที่ 76.06% ซึ่งตามกำหนดคาดว่าทางรถไฟช่วงสถานีโกตาบารู รัฐกลันตัน ถึงสถานีกอมบัค รัฐสลังงอร์ แล้วเสร็จในเดือน ธ.ค. 2569 และระยะที่สองจากสถานีกอมบัค ถึงท่าเรือแคลง ภายในเดือน ธ.ค. 2570 คาดหวังว่าจะเชื่อมโยงกับโครงข่ายรถไฟทางไกลของประเทศไทย เพราะจากสถานีรถไฟโกตาบารู กับชายแดนมาเลเซีย-ไทย ที่ด่านรันเตาปันจัง เมืองปาร์เซมัส ห่างกัน 20 กิโลเมตร โครงการทางรถไฟ ECRL มีทั้งหมด 20 สถานี แบ่งเป็นสถานีเฉพาะผู้โดยสาร 10 สถานี สถานีผู้โดยสารและขนส่งสินค้า 10 สถานี พาดผ่าน 4 รัฐ ได้แก่ กลันตัน ตรังกานู ปาหัง และสลังงอร์ มีอุโมงค์ 59 แห่ง ขบวนรถโดยสารใช้รถไฟ EMU รวม 11 ขบวน ขบวนละ 6 ตู้โดยสาร รองรับผู้โดยสารสูงสุด 430 คน ความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบเท่าขบวนรถล้านช้างของรถไฟลาว-จีน จากสถานีโกตาบารูไปยังสถานีกอมบัคใช้เวลาเดินทางเพียง 4 ชั่วโมง คาดว่าจะส่งมอบขบวนรถชุดแรกภายในสิ้นปี 2568 ส่วนขบวนรถสินค้าใช้ความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง #Newskit
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 464 มุมมอง 0 รีวิว
  • พรรคเพื่อไทยยืนยัน ไม่ตั้ง "พานทองแท้" ประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ
    .
    รองโฆษกพรรคเพื่อไทย ยืนยันไม่แต่งตั้ง "พานทองแท้ ชินวัตร" ลูกชายทักษิญ เป็นประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ตามที่ไพศาล พืชมงคลโพสต์เอาไว้ ระบุเจ้าตัวไม่ได้เข้ามาร่วมรับตำแหน่งใดๆ โวยมีขบวนการปั้นข่าวเพื่อให้เกิดความสับสน
    .
    วันนี้ (17 ธ.ค.) จากกรณีที่นายไพศาล พืชมงคล อดีตกรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ) โพสต์ข้อความว่า นายพานทองแท้ ชินวัตร ลูกชายนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ากลยุทธ์และแผนงานเศรษฐกิจแห่งชาติ โดยระบุว่า เพื่อกุมบังเหียนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองโชติช่วงชัชวาลเข้าสู่ยุคศิวิไลซ์ ได้อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี และอยู่ดีกินดีถ้วนหน้ากัน และเปรียบว่าขนาด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นน้องสาวยังเป็นถึงนายกรัฐมนตรีได้ ทำไมพี่ชายถึงจะเป็นประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจไม่ได้ ตามที่ปรากฎในโซเชียลมีเดียนั้น
    .
    ล่าสุด น.ส.ชญาภา สินธุไพร สส.ร้อยเอ็ด และรองโฆษกพรรคเพื่อไทย กล่าวในแพลตฟอร์ม X ว่า ไม่เป็นความจริงอย่างสิ้นเชิง เพราะในการประชุมสัมมนาพรรคเพื่อไทยที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พรรคไม่มีมติแต่งตั้งใครหรือหรือตำแหน่งใดๆ เหล่านี้ ซึ่งข้อเท็จจริงนายพานทองแท้ ก็ไม่ได้เข้ามาร่วมรับตำแหน่งใดๆ ทั้งในพรรคเเละในรัฐบาลเลย ช่วงนี้กระบวนการแบบนี้มีให้เห็นเยอะขึ้นเรื่อยๆ การปั้นข่าวเพื่อให้เกิดความสับสน และพยายามทำลายความเชื่อมั่นของรัฐบาล โชคดีว่าประเทศไทยไม่ใช่เมืองหนาว เลยไม่เหมาะกับการปั้นน้ำเป็นตัว
    .
    สำหรับนายพานทองแท้ ชินวัตร หรือโอ๊ค เกิดเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2522 เป็นลูกชายคนโตของนายทักษิณ ชินวัตร กับคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร เกิดที่เมืองฮันต์สวิลล์ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา จบการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร เคยทำธุรกิจสตูดิโอถ่ายภาพ ชีแอทมู้ด และคาเฟ่ชื่อ Cafeinn ที่สยามสแควร์ ซอย 2 นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์มือถือที่มีราคาแพงที่สุดในโลก ยี่ห้อ เวอร์ทู รวมทั้งสัมปทานพื้นที่โฆษณาอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน และทำธุรกิจสวนสนุก Amazing Fun Park บริเวณถนนรัชดาภิเษก ในนาม บริษัท ฮาวคัม เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด เมื่อปี 2548 กระทั่งปี 2552 นายพานทองแท้ ก่อตั้งสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี แต่ได้ปิดกิจการไปเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2567 และอาคารสถานีย่านถนนวิภาวดีรังสิต ใกล้สี่แยกสุทธิสาร กำลังรีโนเวตเป็นที่ทำการแห่งใหม่ของพรรคเพื่อไทย
    .
    ปัจจุบัน นายพานทองแท้เป็นกรรมการบริษัทที่ยังดำเนินกิจการอยู่ 6 บริษัท ได้แก่ บริษัท ม็อกกิ้งเบิร์ด จำกัด ประกอบธุรกิจการจัดพิมพ์จำหน่ายหรือเผยแพร่งานอื่นๆ ผ่านทางออนไลน์, บริษัท วอยซ์ ครีเอชั่น จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมด้านความบันเทิง บริษัท เรนด์ เพลินจิต โฮเต็ล จำกัด ประกอบธุรกิจโรงแรม รีสอร์ทและห้องชุด, บริษัท เวิร์คส์ ครีเอทีฟ จำกัด ประกอบกิจกรรมการผลิตภาพยนตร์และวีดิทัศน์ธุรกิจ, บริษัท ไวฟ์ ดิจิตอล จำกัด ประกอบธุรกิจ กิจกรรมการจัดทำโปรแกรมเว็บเพจและเครือข่ายตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ และบริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมการผลิตรายการโทรทัศน์
    .
    ส่วนบริษัทที่เสร็จการชำระบัญชี มี 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท นิวโอ๊ค จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมการถ่ายภาพ, บริษัท มาสเตอร์ โฟน จำกัด ประกอบธุรกิจร้านขายปลีกอุปกรณ์การสื่อสารโทรคมนาคม, บริษัท ฮาวคัม มีเดีย จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมของบริษัทโฆษณา, และบริษัท ฮาวคัม เอวี จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมด้านความบันเทิง และบริษัทที่มีสถานะเลิก ได้แก่ บริษัท โอคานิท จำกัด ประกอบธุรกิจการบริการด้านเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์เป็นหลักในร้าน
    .
    อนึ่ง เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. นายพานทองแท้ นั่งรถไฟขบวนพิเศษรอยัลบอสซั่มที่ 913 เพื่อเดินทางร่วมกับ สส.พรรคเพื่อไทย ไปยังโรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พร้อมกับ น.ส.แพทองธาร นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นน้องสาว ก่อนที่นายทักษิณจะร่วมขึ้นขบวนรถไฟที่สถานีบางบำหรุ เพราะอยู่ใกล้บ้านจันทร์ส่องหล้า จรัญสนิทวงศ์ 69
    .............
    Sondhi X
    พรรคเพื่อไทยยืนยัน ไม่ตั้ง "พานทองแท้" ประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ . รองโฆษกพรรคเพื่อไทย ยืนยันไม่แต่งตั้ง "พานทองแท้ ชินวัตร" ลูกชายทักษิญ เป็นประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ตามที่ไพศาล พืชมงคลโพสต์เอาไว้ ระบุเจ้าตัวไม่ได้เข้ามาร่วมรับตำแหน่งใดๆ โวยมีขบวนการปั้นข่าวเพื่อให้เกิดความสับสน . วันนี้ (17 ธ.ค.) จากกรณีที่นายไพศาล พืชมงคล อดีตกรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ) โพสต์ข้อความว่า นายพานทองแท้ ชินวัตร ลูกชายนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ากลยุทธ์และแผนงานเศรษฐกิจแห่งชาติ โดยระบุว่า เพื่อกุมบังเหียนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองโชติช่วงชัชวาลเข้าสู่ยุคศิวิไลซ์ ได้อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี และอยู่ดีกินดีถ้วนหน้ากัน และเปรียบว่าขนาด น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นน้องสาวยังเป็นถึงนายกรัฐมนตรีได้ ทำไมพี่ชายถึงจะเป็นประธานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจไม่ได้ ตามที่ปรากฎในโซเชียลมีเดียนั้น . ล่าสุด น.ส.ชญาภา สินธุไพร สส.ร้อยเอ็ด และรองโฆษกพรรคเพื่อไทย กล่าวในแพลตฟอร์ม X ว่า ไม่เป็นความจริงอย่างสิ้นเชิง เพราะในการประชุมสัมมนาพรรคเพื่อไทยที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พรรคไม่มีมติแต่งตั้งใครหรือหรือตำแหน่งใดๆ เหล่านี้ ซึ่งข้อเท็จจริงนายพานทองแท้ ก็ไม่ได้เข้ามาร่วมรับตำแหน่งใดๆ ทั้งในพรรคเเละในรัฐบาลเลย ช่วงนี้กระบวนการแบบนี้มีให้เห็นเยอะขึ้นเรื่อยๆ การปั้นข่าวเพื่อให้เกิดความสับสน และพยายามทำลายความเชื่อมั่นของรัฐบาล โชคดีว่าประเทศไทยไม่ใช่เมืองหนาว เลยไม่เหมาะกับการปั้นน้ำเป็นตัว . สำหรับนายพานทองแท้ ชินวัตร หรือโอ๊ค เกิดเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2522 เป็นลูกชายคนโตของนายทักษิณ ชินวัตร กับคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร เกิดที่เมืองฮันต์สวิลล์ ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา จบการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร เคยทำธุรกิจสตูดิโอถ่ายภาพ ชีแอทมู้ด และคาเฟ่ชื่อ Cafeinn ที่สยามสแควร์ ซอย 2 นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์มือถือที่มีราคาแพงที่สุดในโลก ยี่ห้อ เวอร์ทู รวมทั้งสัมปทานพื้นที่โฆษณาอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน และทำธุรกิจสวนสนุก Amazing Fun Park บริเวณถนนรัชดาภิเษก ในนาม บริษัท ฮาวคัม เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด เมื่อปี 2548 กระทั่งปี 2552 นายพานทองแท้ ก่อตั้งสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี แต่ได้ปิดกิจการไปเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2567 และอาคารสถานีย่านถนนวิภาวดีรังสิต ใกล้สี่แยกสุทธิสาร กำลังรีโนเวตเป็นที่ทำการแห่งใหม่ของพรรคเพื่อไทย . ปัจจุบัน นายพานทองแท้เป็นกรรมการบริษัทที่ยังดำเนินกิจการอยู่ 6 บริษัท ได้แก่ บริษัท ม็อกกิ้งเบิร์ด จำกัด ประกอบธุรกิจการจัดพิมพ์จำหน่ายหรือเผยแพร่งานอื่นๆ ผ่านทางออนไลน์, บริษัท วอยซ์ ครีเอชั่น จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมด้านความบันเทิง บริษัท เรนด์ เพลินจิต โฮเต็ล จำกัด ประกอบธุรกิจโรงแรม รีสอร์ทและห้องชุด, บริษัท เวิร์คส์ ครีเอทีฟ จำกัด ประกอบกิจกรรมการผลิตภาพยนตร์และวีดิทัศน์ธุรกิจ, บริษัท ไวฟ์ ดิจิตอล จำกัด ประกอบธุรกิจ กิจกรรมการจัดทำโปรแกรมเว็บเพจและเครือข่ายตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ และบริษัท วอยซ์ ทีวี จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมการผลิตรายการโทรทัศน์ . ส่วนบริษัทที่เสร็จการชำระบัญชี มี 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท นิวโอ๊ค จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมการถ่ายภาพ, บริษัท มาสเตอร์ โฟน จำกัด ประกอบธุรกิจร้านขายปลีกอุปกรณ์การสื่อสารโทรคมนาคม, บริษัท ฮาวคัม มีเดีย จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมของบริษัทโฆษณา, และบริษัท ฮาวคัม เอวี จำกัด ประกอบธุรกิจกิจกรรมด้านความบันเทิง และบริษัทที่มีสถานะเลิก ได้แก่ บริษัท โอคานิท จำกัด ประกอบธุรกิจการบริการด้านเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์เป็นหลักในร้าน . อนึ่ง เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. นายพานทองแท้ นั่งรถไฟขบวนพิเศษรอยัลบอสซั่มที่ 913 เพื่อเดินทางร่วมกับ สส.พรรคเพื่อไทย ไปยังโรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พร้อมกับ น.ส.แพทองธาร นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นน้องสาว ก่อนที่นายทักษิณจะร่วมขึ้นขบวนรถไฟที่สถานีบางบำหรุ เพราะอยู่ใกล้บ้านจันทร์ส่องหล้า จรัญสนิทวงศ์ 69 ............. Sondhi X
    Haha
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 932 มุมมอง 0 รีวิว
  • นิด้าโพลเผยผลสำรวจคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการเก็บค่าธรรมเนียมรถติดสำหรับรถเก๋งที่เข้าพื้นที่ใจกลางย่านธุรกิจ แก้ปัญหาการจราจรและอุดหนุนกองทุนซื้อคืนรถไฟฟ้า เชื่อว่าไม่ประสบความสำเร็จ

    อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000120207

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    นิด้าโพลเผยผลสำรวจคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการเก็บค่าธรรมเนียมรถติดสำหรับรถเก๋งที่เข้าพื้นที่ใจกลางย่านธุรกิจ แก้ปัญหาการจราจรและอุดหนุนกองทุนซื้อคืนรถไฟฟ้า เชื่อว่าไม่ประสบความสำเร็จ อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000120207 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Sad
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 821 มุมมอง 0 รีวิว
  • ‘บ้านเพื่อคนไทย’บนที่ดินรถไฟ อสังหาฯจากพ่อสู่ลูก

    1 ใน 5 นโยบายที่รัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ประกาศว่าจะเกิดขึ้นในปี 2568 คือ โครงการบ้านเพื่อคนไทย (Public Housing) คอนโดมิเนียมและเฟอร์นิเจอร์พร้อมเข้าอยู่ ใกล้รถไฟฟ้า ให้สิทธิคนไทยที่ไม่เคยมีบ้านมาก่อน ผ่อนเริ่มต้นที่ 4,000 บาทต่อเดือน ระยะเวลา 30 ปี มีห้องน้ำ ไฟฟ้า สาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัย ถ้าจ่ายครบยอดได้สิทธิ์ถือครอง 99 ปี

    นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ปัจจุบันการซื้อบ้านราคา 2 ล้านบาทไม่มีแล้ว อยากให้นักศึกษาจบใหม่ (First Jobber) มีบ้านเป็นของตนเอง โดยจะใช้พื้นที่ของรัฐบาลที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ใกล้ตัวเมือง ใกล้รถไฟฟ้า ปีหน้าจะมีห้องตัวอย่างให้ดู มอบหมายให้นายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกฯ และ รมว.คลัง และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกฯ และ รมว.คมนาคม ทำงานร่วมกัน

    ด้านนายสุริยะ กล่าวว่า จะใช้ที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ในการก่อสร้าง โดยจะเปิดตัวบ้านตัวอย่างในวันที่ 20 ม.ค. 2568 ที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ จากนั้นจะเปิดให้ประชาชนลงทะเบียน เริ่มต้น 4 แห่ง ได้แก่ ย่านบางนา ธนบุรี เชียงราก และ จ.เชียงใหม่ ประมาณ 1,000 ยูนิต แต่หากจะโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้อื่นอาศัยต่อ ผู้จับจองต้องอาศัยแล้วอย่างน้อย 5 ปี

    ปัจจุบันการรถไฟฯ มีที่ดินเชิงพาณิชย์ (Non Core) ทั้งหมด 38,469 ไร่ ทำสัญญาแล้ว 12,233 สัญญา

    อย่างไรก็ตาม บ้านเพื่อคนไทย แตกต่างจากโครงการบ้านเอื้ออาทร สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร ผู้เป็นบิดา เมื่อปี 2547 ซึ่งรับผิดชอบโดยการเคหะแห่งชาติ เพราะเป็นการจัดซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาคอนโดมิเนียม บ้านเดี่ยว บ้านแถว และบ้านแฝดสำหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย ผ่อนชำระกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) โดยมีเป้าหมายสร้างบ้านทั่วประเทศ 1 ล้านหลัง

    แม้ระยะแรกมีผู้สนใจจองบ้านล้นหลามต้องจับสลาก แต่ต่อมาขายไม่ออก หลายทำเลไกลปืนเที่ยง การคมนาคมลำบาก ต้องใช้รถยนต์หรือจักรยานยนต์ส่วนตัว บางโครงการผู้รับเหมาหยุดก่อสร้างไปดื้อๆ เช่น บ้านเอื้ออาทรสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ถูกปล่อยทิ้งร้างกว่า 10 ปี ไม่นับรวมเปิดช่องให้ทุจริต หนึ่งในนั้นคือนายวัฒนา เมืองสุข รมว.พัฒนาสังคมฯ ถูกศาลสั่งจำคุก 99 ปี

    ถึงกระนั้น ลักษณะบ้านเพื่อคนไทยเป็นการเช่าระยะยาว สูงสุด 99 ปี บนที่ดินของรัฐซึ้งซื้อขายไม่ได้ ไม่มีโฉนดที่ดินหรือกรรมสิทธิ์ในห้องชุด เมื่อเทียบกับบ้านเอื้ออาทร ที่หากผ่อนกับ ธอส. มาแล้ว 5 ปี สามารถทำเรื่องโอนให้เป็นของผู้ซื้อได้ แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ คุณภาพชีวิตที่ต้องวัดดวงในระยะยาว เหมือนกับโครงการบ้านเอื้ออาทร ที่ประสบปัญหาที่จอดรถไม่เพียงพอ

    #Newskit
    ‘บ้านเพื่อคนไทย’บนที่ดินรถไฟ อสังหาฯจากพ่อสู่ลูก 1 ใน 5 นโยบายที่รัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ประกาศว่าจะเกิดขึ้นในปี 2568 คือ โครงการบ้านเพื่อคนไทย (Public Housing) คอนโดมิเนียมและเฟอร์นิเจอร์พร้อมเข้าอยู่ ใกล้รถไฟฟ้า ให้สิทธิคนไทยที่ไม่เคยมีบ้านมาก่อน ผ่อนเริ่มต้นที่ 4,000 บาทต่อเดือน ระยะเวลา 30 ปี มีห้องน้ำ ไฟฟ้า สาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัย ถ้าจ่ายครบยอดได้สิทธิ์ถือครอง 99 ปี นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ปัจจุบันการซื้อบ้านราคา 2 ล้านบาทไม่มีแล้ว อยากให้นักศึกษาจบใหม่ (First Jobber) มีบ้านเป็นของตนเอง โดยจะใช้พื้นที่ของรัฐบาลที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ใกล้ตัวเมือง ใกล้รถไฟฟ้า ปีหน้าจะมีห้องตัวอย่างให้ดู มอบหมายให้นายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกฯ และ รมว.คลัง และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกฯ และ รมว.คมนาคม ทำงานร่วมกัน ด้านนายสุริยะ กล่าวว่า จะใช้ที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ในการก่อสร้าง โดยจะเปิดตัวบ้านตัวอย่างในวันที่ 20 ม.ค. 2568 ที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ จากนั้นจะเปิดให้ประชาชนลงทะเบียน เริ่มต้น 4 แห่ง ได้แก่ ย่านบางนา ธนบุรี เชียงราก และ จ.เชียงใหม่ ประมาณ 1,000 ยูนิต แต่หากจะโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้อื่นอาศัยต่อ ผู้จับจองต้องอาศัยแล้วอย่างน้อย 5 ปี ปัจจุบันการรถไฟฯ มีที่ดินเชิงพาณิชย์ (Non Core) ทั้งหมด 38,469 ไร่ ทำสัญญาแล้ว 12,233 สัญญา อย่างไรก็ตาม บ้านเพื่อคนไทย แตกต่างจากโครงการบ้านเอื้ออาทร สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร ผู้เป็นบิดา เมื่อปี 2547 ซึ่งรับผิดชอบโดยการเคหะแห่งชาติ เพราะเป็นการจัดซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาคอนโดมิเนียม บ้านเดี่ยว บ้านแถว และบ้านแฝดสำหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย ผ่อนชำระกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) โดยมีเป้าหมายสร้างบ้านทั่วประเทศ 1 ล้านหลัง แม้ระยะแรกมีผู้สนใจจองบ้านล้นหลามต้องจับสลาก แต่ต่อมาขายไม่ออก หลายทำเลไกลปืนเที่ยง การคมนาคมลำบาก ต้องใช้รถยนต์หรือจักรยานยนต์ส่วนตัว บางโครงการผู้รับเหมาหยุดก่อสร้างไปดื้อๆ เช่น บ้านเอื้ออาทรสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ถูกปล่อยทิ้งร้างกว่า 10 ปี ไม่นับรวมเปิดช่องให้ทุจริต หนึ่งในนั้นคือนายวัฒนา เมืองสุข รมว.พัฒนาสังคมฯ ถูกศาลสั่งจำคุก 99 ปี ถึงกระนั้น ลักษณะบ้านเพื่อคนไทยเป็นการเช่าระยะยาว สูงสุด 99 ปี บนที่ดินของรัฐซึ้งซื้อขายไม่ได้ ไม่มีโฉนดที่ดินหรือกรรมสิทธิ์ในห้องชุด เมื่อเทียบกับบ้านเอื้ออาทร ที่หากผ่อนกับ ธอส. มาแล้ว 5 ปี สามารถทำเรื่องโอนให้เป็นของผู้ซื้อได้ แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ คุณภาพชีวิตที่ต้องวัดดวงในระยะยาว เหมือนกับโครงการบ้านเอื้ออาทร ที่ประสบปัญหาที่จอดรถไม่เพียงพอ #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 599 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣️ ร่างทรงนายกฯ ขายฝัน ปีแห่งโอกาสของคนไทย แต่แท้จริงจะเป็นปีแห่งโอกาสของคนคดโกง ที่หวังผลักดันนโยบายขายชาติ ทั้ง MOU44 บ่อนกาสิโน ต่างชาติถือครองอสังหาฯ ต่างด้าวยึดครองบ้านเมือง เอาเงินภาษีทั้งประเทศมาแบกรับค่ารถไฟฟ้า 20 บาท เพื่อเอื้อกลุ่มทุนอสังหาฯ ขายคอนโดฯ ง่ายขึ้น และช่วยพวกพ้องครอบครองที่ดินผิดกฎหมาย ทั้งเขากระโดง และที่ธรณีสงฆ์
    #7ดอกจิก
    ♣️ ร่างทรงนายกฯ ขายฝัน ปีแห่งโอกาสของคนไทย แต่แท้จริงจะเป็นปีแห่งโอกาสของคนคดโกง ที่หวังผลักดันนโยบายขายชาติ ทั้ง MOU44 บ่อนกาสิโน ต่างชาติถือครองอสังหาฯ ต่างด้าวยึดครองบ้านเมือง เอาเงินภาษีทั้งประเทศมาแบกรับค่ารถไฟฟ้า 20 บาท เพื่อเอื้อกลุ่มทุนอสังหาฯ ขายคอนโดฯ ง่ายขึ้น และช่วยพวกพ้องครอบครองที่ดินผิดกฎหมาย ทั้งเขากระโดง และที่ธรณีสงฆ์ #7ดอกจิก
    Like
    Angry
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 429 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts