• สัประยุทธ์ “ธรรมะ-อธรรม” #เปลวสีเงินplewเปลว สีเงิน“กฎหมาย” มีไว้สร้างสมดุลทาง “สังคมเป็นธรรม”แต่ทุกวันนี้คนใน “๓ สถาบันอำนาจ” คือ อำนาจนิติบัญญัติ, อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ “บางคน”ใช้กฎหมายสร้าง “สังคมอยุติธรรม” ทำลายสมดุลความเป็นคนที่เท่าเทียมทางกฎหมาย จนเกิดคำว่า “ป่วยทิพย์-คุกทิพย์”บ่งบอกถึง “เลือกปฎิบัติ-สองมาตรฐาน” ซึ่งชาวบ้านทั่วไป ไม่มีสิทธิได้รับโอกาสนั้น (เว้นแต่มีเงิน)คนใน ๓ สถาบันอำนาจเท่านั้น….ที่จะทำให้ “สังคมเป็นธรรม” กลายเป็น “สังคมระยำ” เช่นนั้นได้!มันก็แปลก คนกินเงินเดือนจากภาษีประชาชนที่เรียกเรียก “เจ้าหน้าที่รัฐ” กลับมีอำนาจ “เหนือชีวิตประชาชน”นายจ้าง คือคนเสียภาษีแท้ๆ กลับถูก “ส้นตีนอำนาจ” ยัดปากตลอดกาลแค่จะคุกเข่า ยกสองมืออ่อนล้า วอนเมตตาและความเป็นธรรม ก็ยังถูกตราหน้า “พวกทำให้บ้านเมืองเสียโอกาส”โอกาสโกงบ้าน-กินเมืองละก็ใช่แต่ไมใช่โอกาสคืนความชอบธรรมให้กับบ้านเมือง!สังคมชาติที่ผู้คน “ตัวใคร-ตัวมัน” เห็นประโยชน์ชาติ ไม่ใช่ประโยชน์กู แล้วต่างทอดธุระและชาวบ้านก็เอาแต่ “ชะแง้รอแจก”ทั้งเจ้าหน้าที่รัฐ สยบยอมโจร ใช้อำนาจตำแหน่งหน้าที่เป็นกุญแจไข เปิดทางให้มัน “ปล้นบ้าน-ชำเราเมือง” จนย่ามใจ กร่างใหญ่คับประเทศผมก็ได้แต่ทอดถอนใจ ทำได้เพียง “รักบ้าน-รักเมือง” ด้วยปากไปวันๆเมื่อสัปดาห์ก่อน เห็นคนที่ไม่เอาแต่นั่งทอดถอนใจอย่างผม เขาเห็นการประทำย่ำยีบ้านเมืองจากไอ้ตัวกาลีเมืองแล้ว พวกเขาร้อนใจนัดกันไปคุยตามประสาคนห่วงบ้าน-ห่วงเมือง ผมอ่านข่าว ก็มีท่านเหล่านี้แก้วสรร อติโพธิ, ดร.เจิม ศักดิ์ ปิ่นทอง, ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ, ขวัญสรวง อติโพธิ, พลเอกสมเจตน์ บุญถนอมจตุพร พรหมพันธุ์, ทนายนกเขา, ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์,สนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม, พิชิต ไชยมงคล,สาวิทย์ แก้วหวาน, ประสาร มฤคพิทักษ์, ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว), แซมดิน เลิศบุศย์สมชาย แสวงการ, นพ.วรงค์ เดชกิจวิกรม, นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์, ชาญชัย อิสระเสนารักษ์, ปรีดา เตียสุวรรณ์ และฯลฯหลายท่าน รู้จักมักคุ้น หลายท่านได้ยินชื่อ แต่ไม่เคยพบสรุป ท่านเหล่านั้น มีที่มาเดียวกันบ้าง ต่างกันบ้าง คิดและทำเหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้างแต่ที่สุดแล้ว หนีหลักธรรมชาติไม่พ้นธรรมะ คือธรรมชาติ สิ่งจัดสรรมนุษย์คือธรรมชาติ รวงข้าว เมื่อแก่ ย่อมค้อมรวงบัว เกิดจากโคลนตม เมื่อพ้นน้ำ ย่อมปลดเปลื้องจากโคลนตม พิสุทธิ์แทนใจ บูชาธรรมคณะบุคคลเหล่านั้น ก็ประมาณนี้ …..ในความต่างที่มา ที่คิด ที่ทำ ในความเป็นบัณฑิตแห่งธาตุคน ที่สุดแล้ว คนธาตุบัณฑิตย่อมไหลรวมในหมู่บัณฑิตด้วยกันจะเรียกเขาเหล่านั้นว่าอะไรดีล่ะ?เพราะมีทั้ง พันธมิตรฯ ทั้ง กปปส. ทั้งกลุ่มหลอมรวม ทั้งเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ทั้งกลุ่มสันติอโศกเรียกคณะ “ปชพช.” ดีมั้ย ….เป็นอักษรรวมความเพื่อให้ “เรียกง่าย-จำง่าย”ปชพช. “คณะปัญญาชนพิทักษ์ชาติ” ดูเหมาะสมกับสิ่งที่พวกเขาทำเมื่อวาน (๑๘ ธค.๖๗)คือ คณะปัญญาชนพากันเดินไปที่ “สำนักงานคณะกรรมการ​ป้องกัน​และ​ปราบปราม​การ​ทุจริต​แห่งชาติ “​(ป.ป.ช.​)ไม่ได้ไปก่อกวน ก้าวร้าว เยี่ยงอันธพาลเมือง แต่ไปเยี่ยงบัณฑิต กระทำเยี่ยงบัณฑิตเพื่อยื่นหนังสือให้ป.ป.ช.ตระหนักคิด กรณี ป.ป.ช.​ รับพิจารณาข้อกล่าวหา….“นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์” อธิบดีกรมราชทัณฑ์ รวมถึงเจ้าหน้าที่เรือนจำ แพทย์รพ.ราชทัณฑ์ และรพ.ตำรวจ รวม ๑๒ คนส่งตัวผู้ต้องขังรายนายทักษิณ ชินวัตร จากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจโดยมิชอบ​ให้ป.ป.ช.เร่งรัดพิจารณาเรื่องนี้และดำเนินคดีขึ้นสู่ศาลโดยเร็ว​ ในหนังสือ มี ๔ ข้อ๑.คดีส่งตัวไปรักษานอกเรือนจำพบว่า มีพยานเป็นบุคคลชัดเจน ได้เข้าไปเยี่ยมและพบว่าไม่มีอาการเจ็บป่วย อีกทั้งยังไม่มีเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ควบคุม หรือประจำอยู่ห้องพิเศษดังกล่าวและยังไม่ปรากฏหลักฐานการตรวจ หรือหลักฐานความเห็นของแพทย์ที่อนุญาตให้ไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจซึ่งพิธีการทั้งหมดนี้ ขัดต่อขั้นตอนกฎกระทรวงทั้งสิ้น และไม่ว่าป.ป.ช.จะขอความร่วมมือไปเท่าไร ก็ไม่ได้รับจึงเป็นหลักฐานที่เพียงพอว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเข้าข่ายทุจริตช่วยเหลือกันโดยมิชอบส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ ของกระบวนการยุติธรรมอย่างร้ายแรง ป.ป.ช.จึงต้องเร่งไต่สวน๒.คดีให้อยู่บ้านพักโทษ โดยมติการให้พักโทษ โดยอ้าง นักโทษมีสภาพร่างกายที่ไม่อาจช่วยเหลือตัวเองได้ ทั้งการนั่ง เดินขึ้นบันได อาบน้ำ แต่งตัวรับประทานอาหาร จึงจำเป็นต้องพักโทษให้แต่ปรากฏว่า หลังการพักโทษ นักโทษกลับแข็งแรงขึ้นมาโดยพลัน เดินทางไปทั่วประเทศ ขึ้นปราศรัย ร่วมงานเลี้ยง ใช้ชีวิตปกติได้ทุกอย่าง จึงไม่อาจเชื่อได้ว่าการพักโทษมาจากการประเมินสภาพร่างกายโดยสุจริตและถูกต้อง​ดังนั้น จึงอยากให้นำเรื่องดังกล่าวเข้าไปเป็นอีกหนึ่งคดีในชั้นการพิจารณาของป.ป.ช.ด้วย๓.เรื่องการบังคับใช้กฎหมาย กฎหมายไทยพยายามปราบปรามคดีทุจริตคอร์รัปชันเป็นพิเศษแต่ปรากฏว่า หลังดำเนินคดีไปแล้วไม่มีกรอบเกณฑ์​การตรวจสอบที่เคร่งครัดปล่อยให้กระบวนการทุจริต ตัดทอนโทษทัณฑ์ตามคำพิพากษา กำเริบเสิบสานเป็นผลให้ความยุติธรรมเสื่อมสลาย จนประชาชนสิ้นศรัทธา๔.เข้าข่ายเป็นกระบวนการทุจริตระดับชาติ ใช้เงินสร้างอำนาจ แล้วใช้อำนาจมา​สร้างเงิน​ สร้างพวก​ สร้างสื่อ สร้างผลงานทุจริตไว้ ๒ ทศวรรษ​ จนเสียหายไปกว่าแสนล้าน และหัวหน้าขบวนการ ก็ยังยอมรับคำขออภัยโทษ ว่าได้ทำผิดไปแล้วจริงๆ แต่มาบัดนี้ แทนที่จะยอมรับโทษกลับหลีกเลี่ยง แสดงตน เข้าครอบงำพรรค​ ผลักดันนโยบายทุจริต สร้างประชานิยมไม่หยุดยั้งและล่าสุดยังประกาศจะพาน้องสาวที่เป็นจำเลยหนีคดีทุจริตรับจำนำข้าวกลับมาด้วยถือเป็นพฤติการณ์ทุจริตฉ้อฉลรัฐธรรมนูญ ไม่ยอมหยุดบทบาทการเมือง และพาประเทศไปในทางต่ำ“นี่คือหายนะที่เห็นได้ชัดเจน และอนาคตที่มืดมิดเช่นนี้ จึงฝาก ป.ป.ช.ตระหนักและทุ่มเท รับผิดชอบ กู้อนาคตบ้านเมืองอย่างเต็มสติกำลัง”ขณะเดียวกัน ​”คณะปชพช.” ยังบอกว่า….จะยื่นให้สอบบุคคลเพิ่มเติม​ทั้ง ​”พ.ต.อ.ทวี​ สอดส่อง” ​รมว.ยุติธรรม และ “​นางพงษ์สวาท นีละโยธิน” ปลัดฯ ยุติธรรม เพราะมองว่าอยู่ในกระบวนการที่ช่วยนายทักษิณ​อาจารย์ “แก้วสรร อติโพธิ” อดีตอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์และรองอธิการบดี ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวต่อหน้าเลขาฯ ป.ป.ช.ว่า“มั่นใจในการทำงาน ป.ป.ช.และคิดว่ากฎหมายกำลังเดินไปตามทางที่ถูก-ที่ควร​ จึงขอให้เดินหน้าเต็มที่​และคิดว่าจะใช้เวลาไม่นานพร้อมขอให้แพทย์ที่รักษานายทักษิณออกมาพูด โดยขอให้เอาตัวการจริงๆ มาลงโทษ​หลายคนถามว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับนายทักษิณ คำตอบในทางกฎหมาย ถ้าหมายศาลให้ขังและหากไม่มีการขังตามหมายต้องออกหมายใหม่ กลับไปเข้าคุกเป็นอำนาจ “ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาทางการเมือง” ที่นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ กำลังจะไปร้อง ซึ่งศาลสามารถเรียกสำนวนจากป.ป.ช.ไปดูและวินิจฉัยได้“จุดสำคัญ ศาลสั่งกลับเข้าคุกได้ ถ้าหลักฐานชัดเจน โดยไม่ต้องรอคำวินิจฉัยของป.ป.ช.เพราะคดีนี้ เป็นคดีเจ้าหน้าที่ ดังนั้น นายทักษิณ​ เตรียมตัวได้​”อาจารย์แก้วสรร ยังสัมโมทนียกถาว่า “หากป.ป.ช.ทำเรื่องนี้ให้กระจ่าง จะยอมกราบเลย”“จตุพร พรหมพันธุ์” อดีตแกนนำนปช.ผู้พ้นขอบเหวคืนสู่ฟากฝั่ง กล่าวว่า“มาให้กำลังใจป.ป.ช.ทั้งมีความไม่สบายใจในอนาคต เพราะคดีของนายทักษิณ ป.ป.ช.เป็นผู้ชี้มูลเองวันนี้มาด้วยความหวังในการทำหน้าที่ของ ป.ป.ช.อย่างตรงไปตรงมา ในจำนวนผู้ที่ถูกตั้งองค์คณะไต่สวน ๑๒ คนนี้ ใครไม่ผิด คือไม่ผิด ไม่ได้ต้องการมาทำให้ “ดำเป็นขาว- ขาวเป็นดำ” แต่ต้องการมาให้ “ถูกเป็นถูก-ผิดเป็นผิด, ดีเป็นดี- ชั่วเป็นชั่ว”ยอมรับว่าเรื่องการไต่สวน วันนี้ “ยังไม่ไว้ใจป.ป.ช.” จนกว่าจะได้พิสูจน์จนสิ้นข้อสงสัยแล้ว และได้ทำหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตถึงวันนั้น ผมและคณะจะมาขอบคุณอีกครั้งขณะนี้ เป็นที่ประจักษ์ นายทักษิณไม่ได้ติดคุกแม้แต่วันเดียว เราต้องการเห็นน้ำยาของ ป.ป.ช.ไม่ต้องการเห็นขนมจีน….”ครับ….ผมก็เกรงว่า คุณจตุพรจะเห็นแต่ “ขนมจีน” เท่านั้นแหละ ตามกฎหมายป.ป.ช.มาตรา ๕๑ ให้กรอบเวลาไว้ว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนเองทั้งคณะ ต้องทำให้เสร็จภายใน ๒ ปี ถ้าไม่เสร็จ ขยายเวลาได้อีก ๑ ปีสรุป “รอไปอีก ๓ ปี” กว่าจะเสร็จขั้นไต่สวน!ตอนนี้ ป.ป.ช.ครบวาระ ๓ ท่าน อยู่ช่วงกรรมการสรรหากำลังพิจารณาคุณสมบัติผู้สมัคร กว่าจะได้ครบ ก็คงกลางปีหน้าโน่นและถ้าถึงขั้นชี้มูลความผิด ต้องเรียก ๑๒ ผู้ถูกกล่าวหามาให้ปากคำ กี่ปีถึงครบ ๑๒ ปากล่ะ ?เอาว่า “๕ ปี” เร็วสุด!ที่อาจารย์แก้วสรรบอก “คิดว่าจะใช้เวลาไม่นาน” นั้นรออีก ๕-๘ ปี นานมั้ย?เห็นที คณะปชพช.คงต้องทำหน้าที่ “ไม้แยงก้น” ป.ป.ช.เป็นรายการ “ทวงถามรายเดือน” แล้วหละไม่งั้น “กราบป.ป.ช.” ของอาจารย์แก้วสรรสู้ “กราบแผ่นดิน” ของ “พระเจ้ามูลเมือง” ผู้กลับชาติมาเกิดไม่ได้หรอก!เปลว สีเงิน๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    สัประยุทธ์ “ธรรมะ-อธรรม” #เปลวสีเงินplewเปลว สีเงิน“กฎหมาย” มีไว้สร้างสมดุลทาง “สังคมเป็นธรรม”แต่ทุกวันนี้คนใน “๓ สถาบันอำนาจ” คือ อำนาจนิติบัญญัติ, อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ “บางคน”ใช้กฎหมายสร้าง “สังคมอยุติธรรม” ทำลายสมดุลความเป็นคนที่เท่าเทียมทางกฎหมาย จนเกิดคำว่า “ป่วยทิพย์-คุกทิพย์”บ่งบอกถึง “เลือกปฎิบัติ-สองมาตรฐาน” ซึ่งชาวบ้านทั่วไป ไม่มีสิทธิได้รับโอกาสนั้น (เว้นแต่มีเงิน)คนใน ๓ สถาบันอำนาจเท่านั้น….ที่จะทำให้ “สังคมเป็นธรรม” กลายเป็น “สังคมระยำ” เช่นนั้นได้!มันก็แปลก คนกินเงินเดือนจากภาษีประชาชนที่เรียกเรียก “เจ้าหน้าที่รัฐ” กลับมีอำนาจ “เหนือชีวิตประชาชน”นายจ้าง คือคนเสียภาษีแท้ๆ กลับถูก “ส้นตีนอำนาจ” ยัดปากตลอดกาลแค่จะคุกเข่า ยกสองมืออ่อนล้า วอนเมตตาและความเป็นธรรม ก็ยังถูกตราหน้า “พวกทำให้บ้านเมืองเสียโอกาส”โอกาสโกงบ้าน-กินเมืองละก็ใช่แต่ไมใช่โอกาสคืนความชอบธรรมให้กับบ้านเมือง!สังคมชาติที่ผู้คน “ตัวใคร-ตัวมัน” เห็นประโยชน์ชาติ ไม่ใช่ประโยชน์กู แล้วต่างทอดธุระและชาวบ้านก็เอาแต่ “ชะแง้รอแจก”ทั้งเจ้าหน้าที่รัฐ สยบยอมโจร ใช้อำนาจตำแหน่งหน้าที่เป็นกุญแจไข เปิดทางให้มัน “ปล้นบ้าน-ชำเราเมือง” จนย่ามใจ กร่างใหญ่คับประเทศผมก็ได้แต่ทอดถอนใจ ทำได้เพียง “รักบ้าน-รักเมือง” ด้วยปากไปวันๆเมื่อสัปดาห์ก่อน เห็นคนที่ไม่เอาแต่นั่งทอดถอนใจอย่างผม เขาเห็นการประทำย่ำยีบ้านเมืองจากไอ้ตัวกาลีเมืองแล้ว พวกเขาร้อนใจนัดกันไปคุยตามประสาคนห่วงบ้าน-ห่วงเมือง ผมอ่านข่าว ก็มีท่านเหล่านี้แก้วสรร อติโพธิ, ดร.เจิม ศักดิ์ ปิ่นทอง, ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ, ขวัญสรวง อติโพธิ, พลเอกสมเจตน์ บุญถนอมจตุพร พรหมพันธุ์, ทนายนกเขา, ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์,สนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม, พิชิต ไชยมงคล,สาวิทย์ แก้วหวาน, ประสาร มฤคพิทักษ์, ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว), แซมดิน เลิศบุศย์สมชาย แสวงการ, นพ.วรงค์ เดชกิจวิกรม, นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์, ชาญชัย อิสระเสนารักษ์, ปรีดา เตียสุวรรณ์ และฯลฯหลายท่าน รู้จักมักคุ้น หลายท่านได้ยินชื่อ แต่ไม่เคยพบสรุป ท่านเหล่านั้น มีที่มาเดียวกันบ้าง ต่างกันบ้าง คิดและทำเหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้างแต่ที่สุดแล้ว หนีหลักธรรมชาติไม่พ้นธรรมะ คือธรรมชาติ สิ่งจัดสรรมนุษย์คือธรรมชาติ รวงข้าว เมื่อแก่ ย่อมค้อมรวงบัว เกิดจากโคลนตม เมื่อพ้นน้ำ ย่อมปลดเปลื้องจากโคลนตม พิสุทธิ์แทนใจ บูชาธรรมคณะบุคคลเหล่านั้น ก็ประมาณนี้ …..ในความต่างที่มา ที่คิด ที่ทำ ในความเป็นบัณฑิตแห่งธาตุคน ที่สุดแล้ว คนธาตุบัณฑิตย่อมไหลรวมในหมู่บัณฑิตด้วยกันจะเรียกเขาเหล่านั้นว่าอะไรดีล่ะ?เพราะมีทั้ง พันธมิตรฯ ทั้ง กปปส. ทั้งกลุ่มหลอมรวม ทั้งเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ทั้งกลุ่มสันติอโศกเรียกคณะ “ปชพช.” ดีมั้ย ….เป็นอักษรรวมความเพื่อให้ “เรียกง่าย-จำง่าย”ปชพช. “คณะปัญญาชนพิทักษ์ชาติ” ดูเหมาะสมกับสิ่งที่พวกเขาทำเมื่อวาน (๑๘ ธค.๖๗)คือ คณะปัญญาชนพากันเดินไปที่ “สำนักงานคณะกรรมการ​ป้องกัน​และ​ปราบปราม​การ​ทุจริต​แห่งชาติ “​(ป.ป.ช.​)ไม่ได้ไปก่อกวน ก้าวร้าว เยี่ยงอันธพาลเมือง แต่ไปเยี่ยงบัณฑิต กระทำเยี่ยงบัณฑิตเพื่อยื่นหนังสือให้ป.ป.ช.ตระหนักคิด กรณี ป.ป.ช.​ รับพิจารณาข้อกล่าวหา….“นายสหการณ์ เพ็ชรนรินทร์” อธิบดีกรมราชทัณฑ์ รวมถึงเจ้าหน้าที่เรือนจำ แพทย์รพ.ราชทัณฑ์ และรพ.ตำรวจ รวม ๑๒ คนส่งตัวผู้ต้องขังรายนายทักษิณ ชินวัตร จากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจโดยมิชอบ​ให้ป.ป.ช.เร่งรัดพิจารณาเรื่องนี้และดำเนินคดีขึ้นสู่ศาลโดยเร็ว​ ในหนังสือ มี ๔ ข้อ๑.คดีส่งตัวไปรักษานอกเรือนจำพบว่า มีพยานเป็นบุคคลชัดเจน ได้เข้าไปเยี่ยมและพบว่าไม่มีอาการเจ็บป่วย อีกทั้งยังไม่มีเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ควบคุม หรือประจำอยู่ห้องพิเศษดังกล่าวและยังไม่ปรากฏหลักฐานการตรวจ หรือหลักฐานความเห็นของแพทย์ที่อนุญาตให้ไปรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจซึ่งพิธีการทั้งหมดนี้ ขัดต่อขั้นตอนกฎกระทรวงทั้งสิ้น และไม่ว่าป.ป.ช.จะขอความร่วมมือไปเท่าไร ก็ไม่ได้รับจึงเป็นหลักฐานที่เพียงพอว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเข้าข่ายทุจริตช่วยเหลือกันโดยมิชอบส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ ของกระบวนการยุติธรรมอย่างร้ายแรง ป.ป.ช.จึงต้องเร่งไต่สวน๒.คดีให้อยู่บ้านพักโทษ โดยมติการให้พักโทษ โดยอ้าง นักโทษมีสภาพร่างกายที่ไม่อาจช่วยเหลือตัวเองได้ ทั้งการนั่ง เดินขึ้นบันได อาบน้ำ แต่งตัวรับประทานอาหาร จึงจำเป็นต้องพักโทษให้แต่ปรากฏว่า หลังการพักโทษ นักโทษกลับแข็งแรงขึ้นมาโดยพลัน เดินทางไปทั่วประเทศ ขึ้นปราศรัย ร่วมงานเลี้ยง ใช้ชีวิตปกติได้ทุกอย่าง จึงไม่อาจเชื่อได้ว่าการพักโทษมาจากการประเมินสภาพร่างกายโดยสุจริตและถูกต้อง​ดังนั้น จึงอยากให้นำเรื่องดังกล่าวเข้าไปเป็นอีกหนึ่งคดีในชั้นการพิจารณาของป.ป.ช.ด้วย๓.เรื่องการบังคับใช้กฎหมาย กฎหมายไทยพยายามปราบปรามคดีทุจริตคอร์รัปชันเป็นพิเศษแต่ปรากฏว่า หลังดำเนินคดีไปแล้วไม่มีกรอบเกณฑ์​การตรวจสอบที่เคร่งครัดปล่อยให้กระบวนการทุจริต ตัดทอนโทษทัณฑ์ตามคำพิพากษา กำเริบเสิบสานเป็นผลให้ความยุติธรรมเสื่อมสลาย จนประชาชนสิ้นศรัทธา๔.เข้าข่ายเป็นกระบวนการทุจริตระดับชาติ ใช้เงินสร้างอำนาจ แล้วใช้อำนาจมา​สร้างเงิน​ สร้างพวก​ สร้างสื่อ สร้างผลงานทุจริตไว้ ๒ ทศวรรษ​ จนเสียหายไปกว่าแสนล้าน และหัวหน้าขบวนการ ก็ยังยอมรับคำขออภัยโทษ ว่าได้ทำผิดไปแล้วจริงๆ แต่มาบัดนี้ แทนที่จะยอมรับโทษกลับหลีกเลี่ยง แสดงตน เข้าครอบงำพรรค​ ผลักดันนโยบายทุจริต สร้างประชานิยมไม่หยุดยั้งและล่าสุดยังประกาศจะพาน้องสาวที่เป็นจำเลยหนีคดีทุจริตรับจำนำข้าวกลับมาด้วยถือเป็นพฤติการณ์ทุจริตฉ้อฉลรัฐธรรมนูญ ไม่ยอมหยุดบทบาทการเมือง และพาประเทศไปในทางต่ำ“นี่คือหายนะที่เห็นได้ชัดเจน และอนาคตที่มืดมิดเช่นนี้ จึงฝาก ป.ป.ช.ตระหนักและทุ่มเท รับผิดชอบ กู้อนาคตบ้านเมืองอย่างเต็มสติกำลัง”ขณะเดียวกัน ​”คณะปชพช.” ยังบอกว่า….จะยื่นให้สอบบุคคลเพิ่มเติม​ทั้ง ​”พ.ต.อ.ทวี​ สอดส่อง” ​รมว.ยุติธรรม และ “​นางพงษ์สวาท นีละโยธิน” ปลัดฯ ยุติธรรม เพราะมองว่าอยู่ในกระบวนการที่ช่วยนายทักษิณ​อาจารย์ “แก้วสรร อติโพธิ” อดีตอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์และรองอธิการบดี ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวต่อหน้าเลขาฯ ป.ป.ช.ว่า“มั่นใจในการทำงาน ป.ป.ช.และคิดว่ากฎหมายกำลังเดินไปตามทางที่ถูก-ที่ควร​ จึงขอให้เดินหน้าเต็มที่​และคิดว่าจะใช้เวลาไม่นานพร้อมขอให้แพทย์ที่รักษานายทักษิณออกมาพูด โดยขอให้เอาตัวการจริงๆ มาลงโทษ​หลายคนถามว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับนายทักษิณ คำตอบในทางกฎหมาย ถ้าหมายศาลให้ขังและหากไม่มีการขังตามหมายต้องออกหมายใหม่ กลับไปเข้าคุกเป็นอำนาจ “ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาทางการเมือง” ที่นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ กำลังจะไปร้อง ซึ่งศาลสามารถเรียกสำนวนจากป.ป.ช.ไปดูและวินิจฉัยได้“จุดสำคัญ ศาลสั่งกลับเข้าคุกได้ ถ้าหลักฐานชัดเจน โดยไม่ต้องรอคำวินิจฉัยของป.ป.ช.เพราะคดีนี้ เป็นคดีเจ้าหน้าที่ ดังนั้น นายทักษิณ​ เตรียมตัวได้​”อาจารย์แก้วสรร ยังสัมโมทนียกถาว่า “หากป.ป.ช.ทำเรื่องนี้ให้กระจ่าง จะยอมกราบเลย”“จตุพร พรหมพันธุ์” อดีตแกนนำนปช.ผู้พ้นขอบเหวคืนสู่ฟากฝั่ง กล่าวว่า“มาให้กำลังใจป.ป.ช.ทั้งมีความไม่สบายใจในอนาคต เพราะคดีของนายทักษิณ ป.ป.ช.เป็นผู้ชี้มูลเองวันนี้มาด้วยความหวังในการทำหน้าที่ของ ป.ป.ช.อย่างตรงไปตรงมา ในจำนวนผู้ที่ถูกตั้งองค์คณะไต่สวน ๑๒ คนนี้ ใครไม่ผิด คือไม่ผิด ไม่ได้ต้องการมาทำให้ “ดำเป็นขาว- ขาวเป็นดำ” แต่ต้องการมาให้ “ถูกเป็นถูก-ผิดเป็นผิด, ดีเป็นดี- ชั่วเป็นชั่ว”ยอมรับว่าเรื่องการไต่สวน วันนี้ “ยังไม่ไว้ใจป.ป.ช.” จนกว่าจะได้พิสูจน์จนสิ้นข้อสงสัยแล้ว และได้ทำหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตถึงวันนั้น ผมและคณะจะมาขอบคุณอีกครั้งขณะนี้ เป็นที่ประจักษ์ นายทักษิณไม่ได้ติดคุกแม้แต่วันเดียว เราต้องการเห็นน้ำยาของ ป.ป.ช.ไม่ต้องการเห็นขนมจีน….”ครับ….ผมก็เกรงว่า คุณจตุพรจะเห็นแต่ “ขนมจีน” เท่านั้นแหละ ตามกฎหมายป.ป.ช.มาตรา ๕๑ ให้กรอบเวลาไว้ว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนเองทั้งคณะ ต้องทำให้เสร็จภายใน ๒ ปี ถ้าไม่เสร็จ ขยายเวลาได้อีก ๑ ปีสรุป “รอไปอีก ๓ ปี” กว่าจะเสร็จขั้นไต่สวน!ตอนนี้ ป.ป.ช.ครบวาระ ๓ ท่าน อยู่ช่วงกรรมการสรรหากำลังพิจารณาคุณสมบัติผู้สมัคร กว่าจะได้ครบ ก็คงกลางปีหน้าโน่นและถ้าถึงขั้นชี้มูลความผิด ต้องเรียก ๑๒ ผู้ถูกกล่าวหามาให้ปากคำ กี่ปีถึงครบ ๑๒ ปากล่ะ ?เอาว่า “๕ ปี” เร็วสุด!ที่อาจารย์แก้วสรรบอก “คิดว่าจะใช้เวลาไม่นาน” นั้นรออีก ๕-๘ ปี นานมั้ย?เห็นที คณะปชพช.คงต้องทำหน้าที่ “ไม้แยงก้น” ป.ป.ช.เป็นรายการ “ทวงถามรายเดือน” แล้วหละไม่งั้น “กราบป.ป.ช.” ของอาจารย์แก้วสรรสู้ “กราบแผ่นดิน” ของ “พระเจ้ามูลเมือง” ผู้กลับชาติมาเกิดไม่ได้หรอก!เปลว สีเงิน๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
    Love
    Like
    Yay
    4
    0 Comments 1 Shares 478 Views 0 Reviews
  • อ้างเจอ 24 ข้อบกพร่อง เหตุถอนร่างกม.ต้านรัฐประหาร 12/12/67 #ประยุทธ์ #รัฐประหาร #เพื่อไทย
    อ้างเจอ 24 ข้อบกพร่อง เหตุถอนร่างกม.ต้านรัฐประหาร 12/12/67 #ประยุทธ์ #รัฐประหาร #เพื่อไทย
    0 Comments 0 Shares 753 Views 22 0 Reviews
  • “พร้อมพงศ์-วรชัย-โด่ง อรรถชัย” แถลงข่าว ท้า “สนธิ” ดีเบตปม MOU 44 โวยบิดเบือนหวังผลการเมืองดิสเครดิตรัฐบาล อ้างตอน “ประยุทธ์” เป้นนายกฯ ทำไมเว้นวรรครักชาติ เย้ยม็อบจุดไม่ติด ประชาชนเบื่อแล้ว

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000119373

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “พร้อมพงศ์-วรชัย-โด่ง อรรถชัย” แถลงข่าว ท้า “สนธิ” ดีเบตปม MOU 44 โวยบิดเบือนหวังผลการเมืองดิสเครดิตรัฐบาล อ้างตอน “ประยุทธ์” เป้นนายกฯ ทำไมเว้นวรรครักชาติ เย้ยม็อบจุดไม่ติด ประชาชนเบื่อแล้ว อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000119373 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Haha
    Like
    Love
    8
    3 Comments 0 Shares 769 Views 0 Reviews
  • บิ๊กอ้วนชี้ ประยุทธ์ ถอนร่าง กม.กลาโหม ไม่เกี่ยวยอมภูมิใจไทย (11/12/67) #news1 #ถอนร่างกม.กลาโหม
    บิ๊กอ้วนชี้ ประยุทธ์ ถอนร่าง กม.กลาโหม ไม่เกี่ยวยอมภูมิใจไทย (11/12/67) #news1 #ถอนร่างกม.กลาโหม
    Like
    2
    2 Comments 0 Shares 615 Views 37 0 Reviews
  • นักการเมืองที่ร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่คนนี้เหมือนจะลอกจากระบบอังกฤษแต่เว้นไม่พูดเรื่อง “ตำแหน่งจอมทัพ” เพราะ “พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงเป็น “จอมทัพ” มีอำนาจเยี่ยงจอมทัพจริงๆ แต่ในขนบธรรมเนียมกองทัพอังกฤษในระบอบประชาธิปไตย (ซึ่งมีวิวัฒนาการตั้งแต่ ค.ศ.๑๒๑๕ (พ.ศ.๑๗๕๘) พระมหากษัตริย์ทรงมอบอำนาจการจัดการกองทัพให้รัฐบาลแล้วและระบบอังกฤษ “ไม่มี” การนำเรื่องการบริหารหรือการแต่งตั้งนายทหารเข้าครม.พิจารณาการบริหารราชการกองทัพ “เพราะตามพรบ.กลาโหมอังกฤษ มี “Defence Council”ซึ่งประกอบด้วย “Defence Board” มี นักการเมือง ๕ คน ทหาร ๖ คนและสำนักงานพระราชวัง ๓ คนเพราะพระมหากษัตริย์ทรงเป็นจอมทัพ สำหรับ รมว.กห.เป็นตัวแทนของ ครม.อยู่แล้ว ซึ่ง Defence Board ในระบบอังกฤษกำกับดูแลการบริหารและการปฏิบัติการ Operations ของกองทัพ จึงไม่จำเป็นต้องนำเสนอ ครม.เพราะ Defence Council นั้นทำในในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ครม.อังกฤษกำกับดูแลกองทัพ ในเรื่อง การใช้กำลังทหารทำสงคราม งบประมาณกลาโหม การพิจารณาการพัฒนากองทัพเพื่อการสงคราม การเตรียมกำลังสำรองและกฎหมายให้ภาคเอกชนช่วยทำสงคราม เท่านั้นไม่เกี่ยวกับการแต่งตั้ง “ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารขนาดใหญ่ “หน่วยที่เล็กที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพัน หน่วยที่ใหญ่ที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพล (หมายถึงหน่วยที่รบพุ่งในสมรภูมิ” และสูงกว่านั้น Defence Board เป็นองค์กรพิจารณาแต่งตั้งสำหรับกองทัพสหรัฐฯ นายทหารระดับนายพลนั้น “รัฐสภาเป็นองค์กรแต่งตั้งนายพลตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของกองทัพสหรัฐฯ เพราะ “นักการเมืองสร้างกองทัพ” (นักการเมืองลงขันสร้างกองทัพขึ้นสู้กับกองทัพอังกฤษสมัยทำสงครามปลดแอกจากอังกฤษ)แต่นักการเมืองไทยและพรรคการเมืองนี้มีเจตนาอย่างชัดเจนที่จะควบคุมกองทัพ นั่นเป็นแนวคิดที่ผิดมากๆ เพราะเป็นอคติต่อกองทัพ ซึ่งจะก่อให้เกิดการแตกแยกในกองทัพ ทหารจะเสียขวัญกำลังใจ (อันตรายมากๆ)เพราะเนื้อหาในร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่นี้มีการออกคุณสมบัติของนายทหารชั้นนายพล เสมือนว่า “นายพลระดับผู้บริหารเหล่าทัพ” เคยมีประวัติชั่วร้ายโกงกิน (คุณสมบัติเหล่าที่ร่าง พรบ.กห.ใหม่กำหนดไว้ก็เป็นพฤติกรรมของนักการเมืองบางคนทั้งสิ้น “โดยเฉพาะนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนักการเมืองที่ถูกศาลตัดสินว่าทำผิดกฎหมายจริงจนเป็นที่ประจักษ์ หรือรูปแบบต่างๆ ของนักการเมืองที่ถูกตัดสินติดคุกแต่อยู่ในคุกไม่นานตามที่เป็นข่าวอยู่นี้ เป็นต้นแบบของนักการเมืองไทยหรือ?”การกำหนดคุณสมบัตินายทหารชั้นนายพลนั้นเป็นการดูถูก “นายทหารแห่งกองทัพไทย” เพราะ “กว่าจะเป็นนายพลนั้นก็ผ่านการกลั่นกรองมาตามลำดับชั้นอย่างเข้มงวดอยู่แล้ว”นักการเมืองพรรคเพื่อไทยคนนี้คิดจะทำลายกองทัพ การรัฐประหารเกิดจากนักการเมืองก่อเรื่องทั้งสิ้นรัฐประหาร ๒๒ พฤษภาคม ๕๗ จะไม่เกิด ไม่มี คสช.หากรัฐบาลชั่วคราวระบอบทักษิณ “ลาออก” พล.อ.ประยุทธ์ ไม่มีเงื่อนไขที่จะรัฐประหาร: Vachara Riddhagni
    นักการเมืองที่ร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่คนนี้เหมือนจะลอกจากระบบอังกฤษแต่เว้นไม่พูดเรื่อง “ตำแหน่งจอมทัพ” เพราะ “พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงเป็น “จอมทัพ” มีอำนาจเยี่ยงจอมทัพจริงๆ แต่ในขนบธรรมเนียมกองทัพอังกฤษในระบอบประชาธิปไตย (ซึ่งมีวิวัฒนาการตั้งแต่ ค.ศ.๑๒๑๕ (พ.ศ.๑๗๕๘) พระมหากษัตริย์ทรงมอบอำนาจการจัดการกองทัพให้รัฐบาลแล้วและระบบอังกฤษ “ไม่มี” การนำเรื่องการบริหารหรือการแต่งตั้งนายทหารเข้าครม.พิจารณาการบริหารราชการกองทัพ “เพราะตามพรบ.กลาโหมอังกฤษ มี “Defence Council”ซึ่งประกอบด้วย “Defence Board” มี นักการเมือง ๕ คน ทหาร ๖ คนและสำนักงานพระราชวัง ๓ คนเพราะพระมหากษัตริย์ทรงเป็นจอมทัพ สำหรับ รมว.กห.เป็นตัวแทนของ ครม.อยู่แล้ว ซึ่ง Defence Board ในระบบอังกฤษกำกับดูแลการบริหารและการปฏิบัติการ Operations ของกองทัพ จึงไม่จำเป็นต้องนำเสนอ ครม.เพราะ Defence Council นั้นทำในในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ครม.อังกฤษกำกับดูแลกองทัพ ในเรื่อง การใช้กำลังทหารทำสงคราม งบประมาณกลาโหม การพิจารณาการพัฒนากองทัพเพื่อการสงคราม การเตรียมกำลังสำรองและกฎหมายให้ภาคเอกชนช่วยทำสงคราม เท่านั้นไม่เกี่ยวกับการแต่งตั้ง “ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารขนาดใหญ่ “หน่วยที่เล็กที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพัน หน่วยที่ใหญ่ที่สุดในยุทธบริเวณ คือ กองพล (หมายถึงหน่วยที่รบพุ่งในสมรภูมิ” และสูงกว่านั้น Defence Board เป็นองค์กรพิจารณาแต่งตั้งสำหรับกองทัพสหรัฐฯ นายทหารระดับนายพลนั้น “รัฐสภาเป็นองค์กรแต่งตั้งนายพลตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของกองทัพสหรัฐฯ เพราะ “นักการเมืองสร้างกองทัพ” (นักการเมืองลงขันสร้างกองทัพขึ้นสู้กับกองทัพอังกฤษสมัยทำสงครามปลดแอกจากอังกฤษ)แต่นักการเมืองไทยและพรรคการเมืองนี้มีเจตนาอย่างชัดเจนที่จะควบคุมกองทัพ นั่นเป็นแนวคิดที่ผิดมากๆ เพราะเป็นอคติต่อกองทัพ ซึ่งจะก่อให้เกิดการแตกแยกในกองทัพ ทหารจะเสียขวัญกำลังใจ (อันตรายมากๆ)เพราะเนื้อหาในร่าง พรบ.กห.ฉบับใหม่นี้มีการออกคุณสมบัติของนายทหารชั้นนายพล เสมือนว่า “นายพลระดับผู้บริหารเหล่าทัพ” เคยมีประวัติชั่วร้ายโกงกิน (คุณสมบัติเหล่าที่ร่าง พรบ.กห.ใหม่กำหนดไว้ก็เป็นพฤติกรรมของนักการเมืองบางคนทั้งสิ้น “โดยเฉพาะนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนักการเมืองที่ถูกศาลตัดสินว่าทำผิดกฎหมายจริงจนเป็นที่ประจักษ์ หรือรูปแบบต่างๆ ของนักการเมืองที่ถูกตัดสินติดคุกแต่อยู่ในคุกไม่นานตามที่เป็นข่าวอยู่นี้ เป็นต้นแบบของนักการเมืองไทยหรือ?”การกำหนดคุณสมบัตินายทหารชั้นนายพลนั้นเป็นการดูถูก “นายทหารแห่งกองทัพไทย” เพราะ “กว่าจะเป็นนายพลนั้นก็ผ่านการกลั่นกรองมาตามลำดับชั้นอย่างเข้มงวดอยู่แล้ว”นักการเมืองพรรคเพื่อไทยคนนี้คิดจะทำลายกองทัพ การรัฐประหารเกิดจากนักการเมืองก่อเรื่องทั้งสิ้นรัฐประหาร ๒๒ พฤษภาคม ๕๗ จะไม่เกิด ไม่มี คสช.หากรัฐบาลชั่วคราวระบอบทักษิณ “ลาออก” พล.อ.ประยุทธ์ ไม่มีเงื่อนไขที่จะรัฐประหาร: Vachara Riddhagni
    0 Comments 0 Shares 262 Views 0 Reviews
  • สนธินัด 2 ธ.ค. ยื่นหนังสือถึงนายกฯ จี้ชี้แจงเอ็มโอยู 44
    .
    สนธิ ลิ้มทองกุล เตรียมยื่นหนังสือที่ทำเนียบรัฐบาล ให้นายกรัฐมนตรีชี้แจงกรณีเอ็มโอยูไทย-กัมพูชา ปี 2544 ชี้เรื่องนี้เรื่องใหญ่ จ่อสูญเสียอธิปไตยเช่นเดียวกรณีปราสาทพระวิหาร ชี้มีพระบรมราชโองการ รัชกาลที่ 9 ยึดหลักกฎหมายทะเลสากล
    .
    วันนี้ (25 พ.ย.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ดำเนินรายการ คุยทุกเรื่องกับสนธิ กล่าวในรายการสนธิเล่าเรื่อง ทางยูทูบ Sondhitalk ระบุว่า ในวันจันทร์ที่ 2 ธ.ค. 2567 เวลา 10.30 น. ตนและนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีสถาบันแพทย์แผนบูรณาการและเวชศาสตร์ชะลอวัย มหาวิทยาลัยรังสิต จะไปยื่นหนังสือถึง น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อให้นายกฯ ชี้แจงกรณีเอ็มโอยู ไทย-กัมพูชา 2544 ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ทางทะเล 12 ไมล์ทะเลโดยรอบเกาะกูด จ.ตราด หลังจากที่นายภูมิธรรม เวชยะชัย รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม อ้างว่าเกาะกูดยังเป็นของไทย และเอ็มโอยูไทย-กัมพูชา ปี 2544 ไม่สามารถยกเลิกได้
    .
    โดยนายสนธิเห็นว่าการที่นายภูมิธรรมพูด แสดงว่าไม่เข้าใจว่าเอ็มโอยูเป็นข้อตกลงเบื้องต้น ไม่ใช่สนธิสัญญาใดๆ ทั้งสิ้น เป็นสิทธิของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่หากไม่พอใจข้อตกลงก็สามารถถอนตัวได้ พร้อมกันนี้ ถ้าหากรัฐบาลและพรรคเพื่อไทยมั่นใจในข้อมูล ก็อยากจะเสนอให้นายภูมิธรรมมาออกรายการโทรทัศน์สาธารณะ ซึ่งฝั่งตนจะอธิบายและคัดค้านด้วยหลักฐานและข้อเท็จจริง นอกจากนี้ตนขอถามว่า การที่ผู้บัญชาการทหารเรือสั่งทหารเรือหยุดลาดตระเวนโดยรอบเกาะกูดเป็นคำสั่งของนายภูมิธรรมหรือไม่ ถ้าสั่งจริงก็เหมือนกับจะยกพื้นที่ให้กับกัมพูชาใช่หรือไม่
    .
    สำหรับที่มาที่ไปของเอ็มโอยู 2544 คนที่ลงนามเป็นคนแรกคือ นายสุรเกียรติ เสถียรไทย รมว.ต่างประเทศในขณะนั้น โดยมีนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นผู้รับรอง เคยมีความพยายามยกเลิกในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ แต่ไม่ทันนำเข้าสู่ที่ประชุมรัฐสภา กระทั่งสมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้มีการนำเรื่องเอ็มโอยู 2544 ขึ้นมาพิจารณาอีกครั้ง โดย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม ในขณะนั้น การที่ยอมรับเอ็มโอยู 2544 เท่ากับเป็นการยอมรับกัมพูชาลากเส้นทางทะเลรุกล้ำเขตแดนฝั่งไทย ทั้งที่สมัยรัชกาลที่ 9 เคยมีพระบรมราชโองการและหลักฐานชัดเจนว่าถ้าจะมีการเจรจาให้ยึดกฎหมายทะเลสากลเป็นหลัก แต่ไม่มีใครพูดถึง
    .
    “เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ เป็นเรื่องของการสูญเสียอธิปไตยไป เราสูญเสียเขาพระวิหารให้เขมรแล้ว ยุคนั้นเขมรไปฟ้องศาลโลก เราเตือนรัฐบาลนายอภิสิทธิ์แล้วว่าอย่าไป เพราะเราไม่ยอมรับศาลโลก แต่รัฐบาลอภิสิทธิ์แสดงว่ายอมรับความเป็นสากล ผลปรากฎว่าเราแพ้ วันนี้เราใช้กฎหมายทะเลสากล เขมรก็ไม่ยอมรับตรงนี้ แต่กลับกันสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์กลับยอมรับศาลโลกได้ มันเป็นความขัดแย้งที่เลวร้ายมาก คนๆ หนึ่งจะตัดสินใจคนละแบบได้อย่างไร ถ้าเราจะเจรจากับเขมรด้วยหลักการเอ็มโอยู 2544 เราจะสูญเสียอธิปไตยอย่างแน่นอน ประชาชนรับได้หรือไม่ที่นายทักษิณพูดว่า ช่างมันเถอะ แบ่งผลประโยชน์กัน 50-50 คุณทักษิณพูดแต่เรื่องผลประโยชน์ แต่ไม่พูดเรื่องอธิปไตยของชาติ“ นายสนธิ กล่าว
    .
    นายสนธิ กล่าวว่า เจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ นายภูมิธรรม รวมทั้งนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ไม่พูดถึงพระบรมราชโองการของรัฐบาลที่ 9 ซึ่งประกาศออกมาในปี 2516 ว่ามีหลักการแบบนี้ แต่ไม่มีใครกล้าพูด เพราะพระบรมราชโองการเมื่อประกาศออกมาแล้ว ถือว่าเป็นคำสั่งของจอมทัพ ของประมุขประเทศ คนอื่นจะไปทำเป็นอย่างอื่นย่อมทำไม่ได้อยู่แล้ว เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเล็กแล้ว เป็นเรื่องใหญ่
    ........
    Sondhi X
    สนธินัด 2 ธ.ค. ยื่นหนังสือถึงนายกฯ จี้ชี้แจงเอ็มโอยู 44 . สนธิ ลิ้มทองกุล เตรียมยื่นหนังสือที่ทำเนียบรัฐบาล ให้นายกรัฐมนตรีชี้แจงกรณีเอ็มโอยูไทย-กัมพูชา ปี 2544 ชี้เรื่องนี้เรื่องใหญ่ จ่อสูญเสียอธิปไตยเช่นเดียวกรณีปราสาทพระวิหาร ชี้มีพระบรมราชโองการ รัชกาลที่ 9 ยึดหลักกฎหมายทะเลสากล . วันนี้ (25 พ.ย.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ดำเนินรายการ คุยทุกเรื่องกับสนธิ กล่าวในรายการสนธิเล่าเรื่อง ทางยูทูบ Sondhitalk ระบุว่า ในวันจันทร์ที่ 2 ธ.ค. 2567 เวลา 10.30 น. ตนและนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีสถาบันแพทย์แผนบูรณาการและเวชศาสตร์ชะลอวัย มหาวิทยาลัยรังสิต จะไปยื่นหนังสือถึง น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อให้นายกฯ ชี้แจงกรณีเอ็มโอยู ไทย-กัมพูชา 2544 ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ทางทะเล 12 ไมล์ทะเลโดยรอบเกาะกูด จ.ตราด หลังจากที่นายภูมิธรรม เวชยะชัย รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม อ้างว่าเกาะกูดยังเป็นของไทย และเอ็มโอยูไทย-กัมพูชา ปี 2544 ไม่สามารถยกเลิกได้ . โดยนายสนธิเห็นว่าการที่นายภูมิธรรมพูด แสดงว่าไม่เข้าใจว่าเอ็มโอยูเป็นข้อตกลงเบื้องต้น ไม่ใช่สนธิสัญญาใดๆ ทั้งสิ้น เป็นสิทธิของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่หากไม่พอใจข้อตกลงก็สามารถถอนตัวได้ พร้อมกันนี้ ถ้าหากรัฐบาลและพรรคเพื่อไทยมั่นใจในข้อมูล ก็อยากจะเสนอให้นายภูมิธรรมมาออกรายการโทรทัศน์สาธารณะ ซึ่งฝั่งตนจะอธิบายและคัดค้านด้วยหลักฐานและข้อเท็จจริง นอกจากนี้ตนขอถามว่า การที่ผู้บัญชาการทหารเรือสั่งทหารเรือหยุดลาดตระเวนโดยรอบเกาะกูดเป็นคำสั่งของนายภูมิธรรมหรือไม่ ถ้าสั่งจริงก็เหมือนกับจะยกพื้นที่ให้กับกัมพูชาใช่หรือไม่ . สำหรับที่มาที่ไปของเอ็มโอยู 2544 คนที่ลงนามเป็นคนแรกคือ นายสุรเกียรติ เสถียรไทย รมว.ต่างประเทศในขณะนั้น โดยมีนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นผู้รับรอง เคยมีความพยายามยกเลิกในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ แต่ไม่ทันนำเข้าสู่ที่ประชุมรัฐสภา กระทั่งสมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้มีการนำเรื่องเอ็มโอยู 2544 ขึ้นมาพิจารณาอีกครั้ง โดย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม ในขณะนั้น การที่ยอมรับเอ็มโอยู 2544 เท่ากับเป็นการยอมรับกัมพูชาลากเส้นทางทะเลรุกล้ำเขตแดนฝั่งไทย ทั้งที่สมัยรัชกาลที่ 9 เคยมีพระบรมราชโองการและหลักฐานชัดเจนว่าถ้าจะมีการเจรจาให้ยึดกฎหมายทะเลสากลเป็นหลัก แต่ไม่มีใครพูดถึง . “เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ เป็นเรื่องของการสูญเสียอธิปไตยไป เราสูญเสียเขาพระวิหารให้เขมรแล้ว ยุคนั้นเขมรไปฟ้องศาลโลก เราเตือนรัฐบาลนายอภิสิทธิ์แล้วว่าอย่าไป เพราะเราไม่ยอมรับศาลโลก แต่รัฐบาลอภิสิทธิ์แสดงว่ายอมรับความเป็นสากล ผลปรากฎว่าเราแพ้ วันนี้เราใช้กฎหมายทะเลสากล เขมรก็ไม่ยอมรับตรงนี้ แต่กลับกันสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์กลับยอมรับศาลโลกได้ มันเป็นความขัดแย้งที่เลวร้ายมาก คนๆ หนึ่งจะตัดสินใจคนละแบบได้อย่างไร ถ้าเราจะเจรจากับเขมรด้วยหลักการเอ็มโอยู 2544 เราจะสูญเสียอธิปไตยอย่างแน่นอน ประชาชนรับได้หรือไม่ที่นายทักษิณพูดว่า ช่างมันเถอะ แบ่งผลประโยชน์กัน 50-50 คุณทักษิณพูดแต่เรื่องผลประโยชน์ แต่ไม่พูดเรื่องอธิปไตยของชาติ“ นายสนธิ กล่าว . นายสนธิ กล่าวว่า เจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ นายภูมิธรรม รวมทั้งนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ไม่พูดถึงพระบรมราชโองการของรัฐบาลที่ 9 ซึ่งประกาศออกมาในปี 2516 ว่ามีหลักการแบบนี้ แต่ไม่มีใครกล้าพูด เพราะพระบรมราชโองการเมื่อประกาศออกมาแล้ว ถือว่าเป็นคำสั่งของจอมทัพ ของประมุขประเทศ คนอื่นจะไปทำเป็นอย่างอื่นย่อมทำไม่ได้อยู่แล้ว เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเล็กแล้ว เป็นเรื่องใหญ่ ........ Sondhi X
    Like
    Love
    Wow
    12
    1 Comments 0 Shares 1239 Views 0 Reviews
  • แอ่วเหนือ 400 คนภาคอื่นไม่คุ้ม

    ไม่ปังอย่างที่คิด สำหรับโครงการแอ่วเหนือคนละครึ่ง ที่รัฐบาลโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดแคมเปญเพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยวภาคเหนือหลังสถานการณ์อุทกภัย โดยใช้งบประมาณ 4 ล้านบาท มอบส่วนลด 50% รวมไม่เกิน 400 บาท จำนวน 10,000 สิทธิ์แก่นักท่องเที่ยวที่ลงทะเบียนผ่าน QR Code จากโรงแรมที่พักที่เข้าร่วมโครงการในภาคเหนือ 17 จังหวัด ก่อนใช้สิทธิ์กับสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อาทิ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สปา ภายใน 3 วัน (72 ชั่วโมง) มีเสียงวิจารณ์ว่า นอกจากไปพ้องกับโครงการคนละครึ่ง สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาแล้ว ยังทำได้แย่กว่า

    จากเดิมที่นายอภิชัย ฉัตรเฉลิมกิจ รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ ททท.คาดว่า 10,000 สิทธิ์จะหมดทันทีในวันแรก ปรากฎว่าผ่านไป 2 วัน มีผู้มาใช้สิทธิ์ส่วนลดแค่ 1,814 สิทธิ์ คงเหลือ 8,186 สิทธิ์ แต่ด้วยระยะเวลาใช้จ่ายโครงการถึง 31 ธ.ค. 2567 คาดว่าสิทธิ์จะค่อยลดลงอย่างช้าๆ ในวันธรรมดา และเพิ่มขึ้นในวันหยุดราชการ ถึงกระนั้น ในมุมมองนักท่องเที่ยวถือว่าไม่คุ้ม เพราะให้ส่วนลด 50% เพียงแค่ 400 บาท และยังต้องใช้สิทธิ์เมื่อถึงปลายทาง ลงทะเบียนก่อนได้รับสิทธิ์ก่อน (First Come First Served) ไม่สามารถจองสิทธิ์ล่วงหน้าได้ ไม่จูงใจมากพอที่คนภาคอื่นจะมาเที่ยว

    ยิ่งเดือน พ.ย. เป็นฤดูกาลท่องเที่ยวภาคเหนือช่วงฤดูหนาว ราคาที่พักสูงกว่าช่วงอื่น นักท่องเที่ยวส่วนหนึ่งจองห้องพักล่วงหน้าไปแล้วไม่สามารถใช้สิทธิ์ได้ อีกส่วนหนึ่งใช้สิทธิ์ส่วนลดค่าที่พักหมดแล้ว ก็ไม่ถึงมือร้านอาหาร สปา และผู้ประกอบการอื่น แถมมีโรงแรมบางแห่งจำกัดวันละ 5 สิทธิ์ต่อวัน คนมาที่หลังต้องจ่ายราคาเต็ม ซึ่งมุมมองของผู้ประกอบการ ต้องแบกรับภาระต้นทุนลูกค้าห้องละ 400 บาท หากมีลูกค้าใช้สิทธิ์ 100 ห้อง ต้องแบกภาระสูงถึง 40,000 บาท จนกว่ารัฐบาลจะจ่ายเงินภายในวันที่ 15 ม.ค. 2568 ซึ่งไม่แน่นอนหากพบการทุจริต

    ย้อนกลับมาที่โครงการเราเที่ยวด้วยกัน 5 เฟส ตั้งแต่ปี 2563-2566 มอบส่วนลด 40% สูงสุดไม่เกิน 3,000 บาทต่อห้องหรือต่อคืน ทำให้จองห้องพักหรูได้ในราคาที่ถูกลง ใช้สิทธิ์ได้ 10-15 ห้องหรือคืน และจองล่วงหน้าได้ เมื่อเช็กอินแล้วยังมีคูปอง e-voucher ค่าอาหาร ค่าเข้าสถานที่ท่องเที่ยว 600-900 บาทต่อวัน และสามารถเบิกค่าตั๋วเครื่องบิน 40% ของราคาตั๋วเครื่องบิน แต่ไม่เกิน 3,000 บาทสำหรับจังหวัดท่องเที่ยว และ 2,000 บาทสำหรับจังหวัดอื่นๆ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 24,016 ล้านบาท แต่เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจกว่า 58,621 ล้านบาท

    #Newskit #แอ่วเหนือคนละครึ่ง #เราเที่ยวด้วยกัน
    แอ่วเหนือ 400 คนภาคอื่นไม่คุ้ม ไม่ปังอย่างที่คิด สำหรับโครงการแอ่วเหนือคนละครึ่ง ที่รัฐบาลโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดแคมเปญเพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยวภาคเหนือหลังสถานการณ์อุทกภัย โดยใช้งบประมาณ 4 ล้านบาท มอบส่วนลด 50% รวมไม่เกิน 400 บาท จำนวน 10,000 สิทธิ์แก่นักท่องเที่ยวที่ลงทะเบียนผ่าน QR Code จากโรงแรมที่พักที่เข้าร่วมโครงการในภาคเหนือ 17 จังหวัด ก่อนใช้สิทธิ์กับสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อาทิ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สปา ภายใน 3 วัน (72 ชั่วโมง) มีเสียงวิจารณ์ว่า นอกจากไปพ้องกับโครงการคนละครึ่ง สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาแล้ว ยังทำได้แย่กว่า จากเดิมที่นายอภิชัย ฉัตรเฉลิมกิจ รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ ททท.คาดว่า 10,000 สิทธิ์จะหมดทันทีในวันแรก ปรากฎว่าผ่านไป 2 วัน มีผู้มาใช้สิทธิ์ส่วนลดแค่ 1,814 สิทธิ์ คงเหลือ 8,186 สิทธิ์ แต่ด้วยระยะเวลาใช้จ่ายโครงการถึง 31 ธ.ค. 2567 คาดว่าสิทธิ์จะค่อยลดลงอย่างช้าๆ ในวันธรรมดา และเพิ่มขึ้นในวันหยุดราชการ ถึงกระนั้น ในมุมมองนักท่องเที่ยวถือว่าไม่คุ้ม เพราะให้ส่วนลด 50% เพียงแค่ 400 บาท และยังต้องใช้สิทธิ์เมื่อถึงปลายทาง ลงทะเบียนก่อนได้รับสิทธิ์ก่อน (First Come First Served) ไม่สามารถจองสิทธิ์ล่วงหน้าได้ ไม่จูงใจมากพอที่คนภาคอื่นจะมาเที่ยว ยิ่งเดือน พ.ย. เป็นฤดูกาลท่องเที่ยวภาคเหนือช่วงฤดูหนาว ราคาที่พักสูงกว่าช่วงอื่น นักท่องเที่ยวส่วนหนึ่งจองห้องพักล่วงหน้าไปแล้วไม่สามารถใช้สิทธิ์ได้ อีกส่วนหนึ่งใช้สิทธิ์ส่วนลดค่าที่พักหมดแล้ว ก็ไม่ถึงมือร้านอาหาร สปา และผู้ประกอบการอื่น แถมมีโรงแรมบางแห่งจำกัดวันละ 5 สิทธิ์ต่อวัน คนมาที่หลังต้องจ่ายราคาเต็ม ซึ่งมุมมองของผู้ประกอบการ ต้องแบกรับภาระต้นทุนลูกค้าห้องละ 400 บาท หากมีลูกค้าใช้สิทธิ์ 100 ห้อง ต้องแบกภาระสูงถึง 40,000 บาท จนกว่ารัฐบาลจะจ่ายเงินภายในวันที่ 15 ม.ค. 2568 ซึ่งไม่แน่นอนหากพบการทุจริต ย้อนกลับมาที่โครงการเราเที่ยวด้วยกัน 5 เฟส ตั้งแต่ปี 2563-2566 มอบส่วนลด 40% สูงสุดไม่เกิน 3,000 บาทต่อห้องหรือต่อคืน ทำให้จองห้องพักหรูได้ในราคาที่ถูกลง ใช้สิทธิ์ได้ 10-15 ห้องหรือคืน และจองล่วงหน้าได้ เมื่อเช็กอินแล้วยังมีคูปอง e-voucher ค่าอาหาร ค่าเข้าสถานที่ท่องเที่ยว 600-900 บาทต่อวัน และสามารถเบิกค่าตั๋วเครื่องบิน 40% ของราคาตั๋วเครื่องบิน แต่ไม่เกิน 3,000 บาทสำหรับจังหวัดท่องเที่ยว และ 2,000 บาทสำหรับจังหวัดอื่นๆ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 24,016 ล้านบาท แต่เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจกว่า 58,621 ล้านบาท #Newskit #แอ่วเหนือคนละครึ่ง #เราเที่ยวด้วยกัน
    Like
    Haha
    7
    1 Comments 0 Shares 608 Views 0 Reviews
  • แอ่วเหนือคนละครึ่ง อย่าให้มีนักท่องเที่ยวผี

    โครงการแอ่วเหนือคนละครึ่ง ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดแคมเปญเพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยวภาคเหนือ หลังสถานการณ์อุทกภัย โดยใช้งบประมาณ 4 ล้านบาท มอบส่วนลด 50% รวมไม่เกิน 400 บาท จำนวน 10,000 สิทธิ์แก่นักท่องเที่ยวที่ลงทะเบียนผ่าน QR Code จากโรงแรมที่พักที่เข้าร่วมโครงการในพื้นที่ภาคเหนือ 17 จังหวัด ก่อนใช้สิทธิ์กับสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อาทิ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สปา ภายใน 3 วัน (72 ชั่วโมง)

    สถานประกอบการที่เข้าร่วมแคมเปญมีทั้งหมด 554 แห่ง แบ่งเป็นโรงแรมที่พัก 326 แห่ง ร้านอาหาร คาเฟ่ 160 แห่ง ร้านของฝากของที่ระลึก 38 แห่ง และอื่นๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยวชุมชน สปา 30 แห่ง ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย. 2567 เวลา 17.00 น. เป็นต้นไป จนกว่าจะครบจำนวนสิทธิ์ หรือไม่เกินวันที่ 31 ธ.ค. 2567 ลงทะเบียนก่อนได้รับสิทธิ์ก่อน (First Come First Served) ไม่สามารถจองสิทธิ์ล่วงหน้าได้

    แม้รัฐบาลและ ททท.คาดการณ์ว่าจะสร้างรายได้หมุนเวียนทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 44.34 ล้านบาท แต่พบว่าจำนวนสิทธิมีเพียงแค่ 10,000 สิทธิเท่านั้น ในขณะที่ช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป เป็นฤดูการท่องเที่ยวหรือไฮซีซันของภาคเหนือ ส่วนมากที่พักจะเต็ม คนที่จองห้องพักไปแล้วไม่สามารถใช้สิทธิ์เพื่อเป็นส่วนลดค่าที่พักได้ แต่สามารถลงทะเบียนรับสิทธิ์ในโรงแรมที่ร่วมโครงการก่อน เพื่อให้นำสิทธิ์ไปใช้ในสถานประกอบการอื่นๆ ได้

    นอกจากเสียงวิจารณ์ว่าชื่อโครงการไปพ้องกับ "โครงการคนละครึ่ง" สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาแล้ว สิ่งที่ต้องระมัดระวังก็คือ การทุจริต เพราะมีเพียงให้ผู้ประกอบการถ่ายภาพใบเสร็จหรือบิลเงินสด แล้วอัปโหลดลงในระบบทุกครั้งเพื่อใช้เป็นหลักฐานเท่านั้น ไม่มีการตรวจสอบว่านักท่องเที่ยวมาสแกนใช้สิทธิส่วนลด เป็นนักท่องเที่ยวตัวจริงหรือนักท่องเที่ยวผี อีกทั้งส่วนลดเพียงแค่ 400 บาท หากใช้กับโรงแรมที่พักราคาเกิน 800 บาทขึ้นไป ก็ไม่เหลือใช้กับร้านอาหาร ร้านของฝากแล้ว

    ที่ผ่านมาเคยมีการทุจริตโครงการเราเที่ยวด้วยกัน โดยใช้วิธีชักชวนให้จองห้องพักราคาสูง เพื่อรับเงินส่วนต่างที่รัฐบาลสนับสนุน โดยไม่ได้เข้าพักจริง หรือการนำคูปองสำหรับใช้จ่ายร้านค้า ร้านอาหารไปสแกนใช้จ่าย แต่ไม่มีการซื้อสินค้าและบริการจริง มีการจับกุมผู้ร่วมขบวนการทุจริตไปหลายราย ทำให้ภายหลังต้องออกมาตรการที่เข้มงวด เช่น ให้โรงแรมสแกนใบหน้าผู้เข้าพัก หากไม่สามารถป้องกันปัญหาทุจริตที่จะเกิดขึ้นได้ ก็จะกระทบความเชื่อมั่นกับโครงการอื่นๆ เช่น ดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาทในอนาคต

    #Newskit #แอ่วเหนือคนละครึ่ง #ททท
    แอ่วเหนือคนละครึ่ง อย่าให้มีนักท่องเที่ยวผี โครงการแอ่วเหนือคนละครึ่ง ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดแคมเปญเพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยวภาคเหนือ หลังสถานการณ์อุทกภัย โดยใช้งบประมาณ 4 ล้านบาท มอบส่วนลด 50% รวมไม่เกิน 400 บาท จำนวน 10,000 สิทธิ์แก่นักท่องเที่ยวที่ลงทะเบียนผ่าน QR Code จากโรงแรมที่พักที่เข้าร่วมโครงการในพื้นที่ภาคเหนือ 17 จังหวัด ก่อนใช้สิทธิ์กับสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อาทิ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สปา ภายใน 3 วัน (72 ชั่วโมง) สถานประกอบการที่เข้าร่วมแคมเปญมีทั้งหมด 554 แห่ง แบ่งเป็นโรงแรมที่พัก 326 แห่ง ร้านอาหาร คาเฟ่ 160 แห่ง ร้านของฝากของที่ระลึก 38 แห่ง และอื่นๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยวชุมชน สปา 30 แห่ง ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย. 2567 เวลา 17.00 น. เป็นต้นไป จนกว่าจะครบจำนวนสิทธิ์ หรือไม่เกินวันที่ 31 ธ.ค. 2567 ลงทะเบียนก่อนได้รับสิทธิ์ก่อน (First Come First Served) ไม่สามารถจองสิทธิ์ล่วงหน้าได้ แม้รัฐบาลและ ททท.คาดการณ์ว่าจะสร้างรายได้หมุนเวียนทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 44.34 ล้านบาท แต่พบว่าจำนวนสิทธิมีเพียงแค่ 10,000 สิทธิเท่านั้น ในขณะที่ช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป เป็นฤดูการท่องเที่ยวหรือไฮซีซันของภาคเหนือ ส่วนมากที่พักจะเต็ม คนที่จองห้องพักไปแล้วไม่สามารถใช้สิทธิ์เพื่อเป็นส่วนลดค่าที่พักได้ แต่สามารถลงทะเบียนรับสิทธิ์ในโรงแรมที่ร่วมโครงการก่อน เพื่อให้นำสิทธิ์ไปใช้ในสถานประกอบการอื่นๆ ได้ นอกจากเสียงวิจารณ์ว่าชื่อโครงการไปพ้องกับ "โครงการคนละครึ่ง" สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาแล้ว สิ่งที่ต้องระมัดระวังก็คือ การทุจริต เพราะมีเพียงให้ผู้ประกอบการถ่ายภาพใบเสร็จหรือบิลเงินสด แล้วอัปโหลดลงในระบบทุกครั้งเพื่อใช้เป็นหลักฐานเท่านั้น ไม่มีการตรวจสอบว่านักท่องเที่ยวมาสแกนใช้สิทธิส่วนลด เป็นนักท่องเที่ยวตัวจริงหรือนักท่องเที่ยวผี อีกทั้งส่วนลดเพียงแค่ 400 บาท หากใช้กับโรงแรมที่พักราคาเกิน 800 บาทขึ้นไป ก็ไม่เหลือใช้กับร้านอาหาร ร้านของฝากแล้ว ที่ผ่านมาเคยมีการทุจริตโครงการเราเที่ยวด้วยกัน โดยใช้วิธีชักชวนให้จองห้องพักราคาสูง เพื่อรับเงินส่วนต่างที่รัฐบาลสนับสนุน โดยไม่ได้เข้าพักจริง หรือการนำคูปองสำหรับใช้จ่ายร้านค้า ร้านอาหารไปสแกนใช้จ่าย แต่ไม่มีการซื้อสินค้าและบริการจริง มีการจับกุมผู้ร่วมขบวนการทุจริตไปหลายราย ทำให้ภายหลังต้องออกมาตรการที่เข้มงวด เช่น ให้โรงแรมสแกนใบหน้าผู้เข้าพัก หากไม่สามารถป้องกันปัญหาทุจริตที่จะเกิดขึ้นได้ ก็จะกระทบความเชื่อมั่นกับโครงการอื่นๆ เช่น ดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาทในอนาคต #Newskit #แอ่วเหนือคนละครึ่ง #ททท
    Like
    Haha
    6
    0 Comments 0 Shares 689 Views 0 Reviews
  • ขสมก.เดินรถหมวด 3 เดอะแบกกรมขนส่งฯ

    วันที่ 1 พ.ย. 2567 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) รับหน้าที่เดินรถโดยสาร หมวด 3 สาย 356 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)-บางบัวทอง-บางใหญ่ เป็นการชั่วคราว แทนบริษัท สหายยนต์ จำกัด ผู้ประกอบการรายเดิมที่ยุติการเดินรถ ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2567 ที่ผ่านมา อาจรู้สึกแปลกใจสำหรับกลุ่มบัสแฟน เพราะเป็นการเดินรถข้ามหมวด ไม่ตรงตามภารกิจขององค์กรฯ ที่เดินรถในเส้นทางหมวด 1 และหมวด 4 ในกรุงเทพมหานคร แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกขอความร่วมมือก็ต้องทำ

    นับตั้งแต่การปฎิรูปรถเมล์สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มีนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็น รมว.คมนาคม คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 2559 ให้ขนส่งฯ มีอำนาจควบคุมรถเมล์ในกรุงเทพฯ แทน ขสมก. และลดสถานะ ขสมก.เหลือเพียงแค่ผู้ประกอบการรายหนึ่ง โดยที่ผ่านมา ขสมก. กลายเป็นเดอะแบก รับคำสั่งจากขนส่งฯ เวลาที่ผู้ประกอบการเอกชนเดินรถแล้วเจ๊ง เพราะขนส่งฯ ไม่เคยเหลียวแลผู้ประกอบการยามเดือดร้อน

    รถเมล์สายที่ ขสมก.ช่วยเดินรถชั่วคราว อาทิ สาย R26E (สาย 3-26E) สถาบันจักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2565 กระทั่งขนส่งฯ ได้จัดหาผู้ประกอบการรายใหม่ คือ ไทยสมายล์บัส ให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 ทำให้ ขสมก.เดินรถวันที่ 29 ต.ค.เป็นวันสุดท้าย ต่อด้วยสาย Y70E (สาย 4-70E) ศาลายา-สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต เมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2566 และสาย 3-21 หรือสาย 207 เดิม มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1-รามคำแหง 2 เมื่อวันที่ 5 ธ.ค. 2566

    อย่างไรก็ตาม ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีรถเมล์เส้นทางหมวด 3 ตัวอย่างเช่น สาย 356 ปากน้ำ-บางปะกง และสำโรง-บางพลี เดินรถโดย บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด, สาย 381 ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต-มศว องครักษ์ เดินรถโดย บริษัท ธัญบุรีขนส่ง จำกัด, สาย 388 ปากเกร็ด-ศาลายา เดินรถโดย บริษัท นิธิทัศน์ทัวร์ (2004) จำกัด ปัจจุบันหยุดการเดินรถแล้ว และสาย 402 สมุทรสาคร-กระทุ่มแบน-นครปฐม เดินรถโดย ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจดีย์ทองขนส่ง

    สำหรับการเดินรถสาย 356 แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)-บางบัวทอง-บางใหญ่ ผ่านฟิวเจอร์พาร์ครังสิต สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแยก คปอ. สะพานใหม่ ถนนแจ้งวัฒนะ ราชภัฎพระนคร ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ เมเจอร์ปากเกร็ด สถานีรถไฟฟ้า MRT คลองบางไผ่ สิ้นสุดที่ห้างเซ็นทรัลเวสต์เกต ช่วงที่ 2 วงกลม (ปากเกร็ด-ดอนเมือง) จากท่าน้ำปากเกร็ด ใช้ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนพหลโยธิน ถนนวิภาวดีรังสิต สนามบินดอนเมือง กลับเส้นทางเดิม ให้บริการตั้งแต่เวลา 05.30-22.00 น.

    #Newskit #ขสมก #รถเมล์ไทย
    ขสมก.เดินรถหมวด 3 เดอะแบกกรมขนส่งฯ วันที่ 1 พ.ย. 2567 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) รับหน้าที่เดินรถโดยสาร หมวด 3 สาย 356 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)-บางบัวทอง-บางใหญ่ เป็นการชั่วคราว แทนบริษัท สหายยนต์ จำกัด ผู้ประกอบการรายเดิมที่ยุติการเดินรถ ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2567 ที่ผ่านมา อาจรู้สึกแปลกใจสำหรับกลุ่มบัสแฟน เพราะเป็นการเดินรถข้ามหมวด ไม่ตรงตามภารกิจขององค์กรฯ ที่เดินรถในเส้นทางหมวด 1 และหมวด 4 ในกรุงเทพมหานคร แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกขอความร่วมมือก็ต้องทำ นับตั้งแต่การปฎิรูปรถเมล์สมัยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มีนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็น รมว.คมนาคม คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 2559 ให้ขนส่งฯ มีอำนาจควบคุมรถเมล์ในกรุงเทพฯ แทน ขสมก. และลดสถานะ ขสมก.เหลือเพียงแค่ผู้ประกอบการรายหนึ่ง โดยที่ผ่านมา ขสมก. กลายเป็นเดอะแบก รับคำสั่งจากขนส่งฯ เวลาที่ผู้ประกอบการเอกชนเดินรถแล้วเจ๊ง เพราะขนส่งฯ ไม่เคยเหลียวแลผู้ประกอบการยามเดือดร้อน รถเมล์สายที่ ขสมก.ช่วยเดินรถชั่วคราว อาทิ สาย R26E (สาย 3-26E) สถาบันจักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2565 กระทั่งขนส่งฯ ได้จัดหาผู้ประกอบการรายใหม่ คือ ไทยสมายล์บัส ให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 ทำให้ ขสมก.เดินรถวันที่ 29 ต.ค.เป็นวันสุดท้าย ต่อด้วยสาย Y70E (สาย 4-70E) ศาลายา-สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต เมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2566 และสาย 3-21 หรือสาย 207 เดิม มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1-รามคำแหง 2 เมื่อวันที่ 5 ธ.ค. 2566 อย่างไรก็ตาม ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีรถเมล์เส้นทางหมวด 3 ตัวอย่างเช่น สาย 356 ปากน้ำ-บางปะกง และสำโรง-บางพลี เดินรถโดย บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด, สาย 381 ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต-มศว องครักษ์ เดินรถโดย บริษัท ธัญบุรีขนส่ง จำกัด, สาย 388 ปากเกร็ด-ศาลายา เดินรถโดย บริษัท นิธิทัศน์ทัวร์ (2004) จำกัด ปัจจุบันหยุดการเดินรถแล้ว และสาย 402 สมุทรสาคร-กระทุ่มแบน-นครปฐม เดินรถโดย ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจดีย์ทองขนส่ง สำหรับการเดินรถสาย 356 แบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)-บางบัวทอง-บางใหญ่ ผ่านฟิวเจอร์พาร์ครังสิต สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแยก คปอ. สะพานใหม่ ถนนแจ้งวัฒนะ ราชภัฎพระนคร ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ เมเจอร์ปากเกร็ด สถานีรถไฟฟ้า MRT คลองบางไผ่ สิ้นสุดที่ห้างเซ็นทรัลเวสต์เกต ช่วงที่ 2 วงกลม (ปากเกร็ด-ดอนเมือง) จากท่าน้ำปากเกร็ด ใช้ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนพหลโยธิน ถนนวิภาวดีรังสิต สนามบินดอนเมือง กลับเส้นทางเดิม ให้บริการตั้งแต่เวลา 05.30-22.00 น. #Newskit #ขสมก #รถเมล์ไทย
    Like
    6
    1 Comments 0 Shares 812 Views 0 Reviews
  • เรื่องที่ อากง
    ว่าประยุทธ์ จันทร์โอชา
    เอาเงินจากไหนมาบริหารประเทศ

    ในระยะ 6 ปีแรกก่อนโควิดจะเข้ามา ไม่น่าแปลก
    ที่รัฐบาลประยุทธ ได้ลงทุนสร้างสาธารณูปโภค ไปทั่วประเทศ ทั้งรถไฟความเร็วสูง รถไฟรางคู่ ถนนทั้งหนทางในกรุงเทพฯและปริมณฑล ทั่วไปหมด

    เมื่อมา เจอ โควิด 3 ปีหลัง ก่อนเปลี่ยนรัฐบาล
    รัฐบาลเก็บภาษีไม่ได้ ้ เหตุเพราะทั้งโรงงาน กับร้านค้างานบริการปิดสนิท เครื่องบินหยุดบิน การขนส่งหยุดชะงัก เพราะโรคระบาดโควิด

    แต่แปลก รัฐบาลประยุทธ กลับมีเงินจ่ายเงินเดือนข้าราชการ และโครงการสร้างสาธารณูปโภคทุก ๆโครงการ กลับไม่มีการหยุดชะงักเลยแม้แต่โครงการเดี๋ยว

    แถมหลังเลือกตั้ง รัฐบาลประยุทธ แพ้เลือกตั้ง กับมีเงินคงคลังเหลืออีกตั้ง 2 แสน 4 หมื่นกว่าล้านบาทและมีทองคำในคลังอีกกว่า 240 ตัน มันน่าแปลกจริงๆ

    สงสัยไหมว่าประยุทธ ไปหาเงินมาจากไหน

    ลิ้งค์ ความเชื่อของ อากง
    https://linevoom.line.me/post/1172690200578051732

    แต่ความเชื่อของผม เชื่อว่า
    รายได้ที่รัฐบาลตาตู่ ได้มาจากการที่
    รัชกาลที่ 10 เปลี่ยนชื่อของสำนักงานทรัพย์สิน..ส่วน..พระมหากษัตริย์

    ที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังต้องเข้ามานั่งเป็นกรรมการบริหาร
    โดยตำแหน่ง
    จากทุก ๆรัฐบาลที่ผ่านมา
    สำนักงานทรัพย์สิน..ส่วน..พระมหากษัตริย์ ในยุคนั้น

    #จึงไม่ต้องเสียภาษี

    หลังจากพระองค์ทรงตัดคำว่า
    ..ส่วน..
    ที่เป็น ทรัพย์สินส่วนของประชาชน
    ออกไปแล้ว

    จึงเหลือ ชื่อว่า
    สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์

    #ที่ต้องจ่ายภาษี
    เหมือนธุรกิจของเอกชนทั่ว ๆไป

    แต่จะมีเหลือมากมาย ตามคำของ อากง หรือไม่ ผมไม่อาจรู้ได้

    แต่ที่แน่ ๆ มีทองคำในยุครัฐบาลประยุทธ์ เหลือแน่ ๆ90 ตัน เมื่อรวมทองคำทั้งหมดแล้วเป็น 240 กว่าตัน

    ยังมีเงินคงคลังเหลืออีกกว่า สองแสนล้านบาท

    ตามความเชื่อของผม
    และยิ่งได้เห็นพระองค์ท่านทรงลงพระปรมาภิไธยใน พรบ. สองฉบับ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2562 ก่อนที่โควิดจะเข้ามา
    ฉบับที่ 1. พรบ.
    การจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค
    (พรบ.สร้างอำนาจให้ประชาชน)
    ฉบับที่ 2. พรบ.
    ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
    เมื่อนำบทบัญญัติทั้งสองฉบับมาร่วมกันแล้วทำไปพร้อม ๆกัน ผลออกมาจะคล้าย ๆแนวทางการบริหารของ

    สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

    หรือจะเรียกว่า

    สำนักงานทรัพย์สินส่วนของประชาชน
    ก็ได้

    เป็นการยืนยันว่า พระองค์ท่านทรง ปรารถนาที่จะสืบสวนและต่อยอด

    ระบบสหกรณ์ทฤษฎีใหม่
    ให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมกันบริหาร
    จัดการ ตาม
    พรบ. ทั้งสองฉบับ
    ประชาชนก็จะมีอำนาจตาม มาตรา 3 ของรัฐธรรมนูญปี 2560 อย่างแท้จริง

    แต่อำนาจของประชาชนจะมีได้จริง ต้องรวมตัวกันทำตามคำอธิบายในลิ้งค์นี้ให้สำเร็จเท่านั้น.
    https://www.facebook.com/share/p/369cmL1Yg995hDdv/

    เรื่องที่ อากง ว่าประยุทธ์ จันทร์โอชา เอาเงินจากไหนมาบริหารประเทศ ในระยะ 6 ปีแรกก่อนโควิดจะเข้ามา ไม่น่าแปลก ที่รัฐบาลประยุทธ ได้ลงทุนสร้างสาธารณูปโภค ไปทั่วประเทศ ทั้งรถไฟความเร็วสูง รถไฟรางคู่ ถนนทั้งหนทางในกรุงเทพฯและปริมณฑล ทั่วไปหมด เมื่อมา เจอ โควิด 3 ปีหลัง ก่อนเปลี่ยนรัฐบาล รัฐบาลเก็บภาษีไม่ได้ ้ เหตุเพราะทั้งโรงงาน กับร้านค้างานบริการปิดสนิท เครื่องบินหยุดบิน การขนส่งหยุดชะงัก เพราะโรคระบาดโควิด แต่แปลก รัฐบาลประยุทธ กลับมีเงินจ่ายเงินเดือนข้าราชการ และโครงการสร้างสาธารณูปโภคทุก ๆโครงการ กลับไม่มีการหยุดชะงักเลยแม้แต่โครงการเดี๋ยว แถมหลังเลือกตั้ง รัฐบาลประยุทธ แพ้เลือกตั้ง กับมีเงินคงคลังเหลืออีกตั้ง 2 แสน 4 หมื่นกว่าล้านบาทและมีทองคำในคลังอีกกว่า 240 ตัน มันน่าแปลกจริงๆ สงสัยไหมว่าประยุทธ ไปหาเงินมาจากไหน ลิ้งค์ ความเชื่อของ อากง https://linevoom.line.me/post/1172690200578051732 แต่ความเชื่อของผม เชื่อว่า รายได้ที่รัฐบาลตาตู่ ได้มาจากการที่ รัชกาลที่ 10 เปลี่ยนชื่อของสำนักงานทรัพย์สิน..ส่วน..พระมหากษัตริย์ ที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังต้องเข้ามานั่งเป็นกรรมการบริหาร โดยตำแหน่ง จากทุก ๆรัฐบาลที่ผ่านมา สำนักงานทรัพย์สิน..ส่วน..พระมหากษัตริย์ ในยุคนั้น #จึงไม่ต้องเสียภาษี หลังจากพระองค์ทรงตัดคำว่า ..ส่วน.. ที่เป็น ทรัพย์สินส่วนของประชาชน ออกไปแล้ว จึงเหลือ ชื่อว่า สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ #ที่ต้องจ่ายภาษี เหมือนธุรกิจของเอกชนทั่ว ๆไป แต่จะมีเหลือมากมาย ตามคำของ อากง หรือไม่ ผมไม่อาจรู้ได้ แต่ที่แน่ ๆ มีทองคำในยุครัฐบาลประยุทธ์ เหลือแน่ ๆ90 ตัน เมื่อรวมทองคำทั้งหมดแล้วเป็น 240 กว่าตัน ยังมีเงินคงคลังเหลืออีกกว่า สองแสนล้านบาท ตามความเชื่อของผม และยิ่งได้เห็นพระองค์ท่านทรงลงพระปรมาภิไธยใน พรบ. สองฉบับ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2562 ก่อนที่โควิดจะเข้ามา ฉบับที่ 1. พรบ. การจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค (พรบ.สร้างอำนาจให้ประชาชน) ฉบับที่ 2. พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม เมื่อนำบทบัญญัติทั้งสองฉบับมาร่วมกันแล้วทำไปพร้อม ๆกัน ผลออกมาจะคล้าย ๆแนวทางการบริหารของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ หรือจะเรียกว่า สำนักงานทรัพย์สินส่วนของประชาชน ก็ได้ เป็นการยืนยันว่า พระองค์ท่านทรง ปรารถนาที่จะสืบสวนและต่อยอด ระบบสหกรณ์ทฤษฎีใหม่ ให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมกันบริหาร จัดการ ตาม พรบ. ทั้งสองฉบับ ประชาชนก็จะมีอำนาจตาม มาตรา 3 ของรัฐธรรมนูญปี 2560 อย่างแท้จริง แต่อำนาจของประชาชนจะมีได้จริง ต้องรวมตัวกันทำตามคำอธิบายในลิ้งค์นี้ให้สำเร็จเท่านั้น. https://www.facebook.com/share/p/369cmL1Yg995hDdv/
    0 Comments 0 Shares 198 Views 0 Reviews
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 797 Views 91 0 Reviews
  • อยาก​รู้​ว่า​ทำไม​ พล.อ.ประยุทธ์​ ถึง​ยอมให้ทักษิน​เข้ามา​ โดยไม่ต้องรับโทษอะไรเลย?
    อยาก​รู้​ว่า​ทำไม​ พล.อ.ประยุทธ์​ ถึง​ยอมให้ทักษิน​เข้ามา​ โดยไม่ต้องรับโทษอะไรเลย?
    0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • ไม่แปลกหรอกถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย:

    ๑.ผมสนับสนุนพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ทำรัฐประหาร เพราะช่วงนั้น คุณทักษิณ ชินวัตรโกงชาติโกงแผ่นดินมากมายแล้วกฎหมายบ้านเมืองเอาผิดไม่ได้

    คุณทักษิณคุมทหาร คุมตำรวจ คุมอัยการ คุมกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด เมื่อกฎหมายเอาผิดคุณทักษิณไม่ได้ ประชาชนก็ออกถนน กลายเป็นกลุ่มเสื้อเหลือง พอเห็นเสื้อเหลืองออกถนน คุณทักษิณก็สร้างมวลชนเสื้อแดงมาต่อต้าน ถึงขั้นเผาศาลากลางจังหวัดด้วย

    เมื่อประชาธิปไตยเดินหน้าไม่ได้ ทหารก็จำเป็นต้องทำรัฐประหาร ผมมองว่าการทำรัฐประหารเป็นการผ่าทางตันและนำหลักนิติธรรมนิติรัฐกลับมา

    ถ้าพรรคประชาชนหรือนักการเมืองพรรคนี้ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ก็เป็นเรื่องของท่าน อเมริกาทำรัฐประหารในประเทศอื่นๆ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดตนเองเป็นประจำ เช่น ที่ปากีสถาน บังกลาเทศ ตอนนี้ กำลังหาทางทำที่บราซิลและเวเนซุเอล่า ทำไมคนไทยจะทำไม่ได้บ้างละครับ เพื่อให้ประเทศชาติมีความมั่นคงกลับคืนมา?

    รัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ก็ทำโครงการดีๆ หลายเรื่อง เอาคนเก่งมาทำงาน สร้างถนนหนทางในต่างจังหวัดดีขึ้นจนผิดหูผิดตา เศรษฐกิจไม่ดี ท่านก็มีเป๋าตังค์หรือโครงการคนละครึ่งช่วยเหลือประชาชน

    ข้อสำคัญ ไม่มีใครสงสัยในความภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของท่าน และอีกข้อคือท่านไม่มีประเด็นด่างพร้อยเรื่องทุจริต อย่างน้อยก็ไม่มีใครเอาผิดท่านได้

    จึงไม่แปลกหรอกที่ประชาชนไทยจำนวนมากจะคิดถึงท่านพลเอกประยุทธ์ แม้ท่านจะหมดอำนาจจากรัฐบาลไปแล้ว

    ๒.ปัญหาก็คือพอทำรัฐประหารได้อำนาจมา พลเอกประยุทธ์ไม่ได้ตั้งใจหาทางแก้กฎหมายด้านความมั่นคงหลายๆ ด้านให้รัดกุมยิ่งขึ้น เช่น

    ไม่ออกกฎหมายกวาดล้าง NGOs ที่แทรกแซงการเมืองภายในประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการคนที่ไลฟ์สดคุยกับนักโทษที่หลบหนีไปต่างประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการสื่อโซเชียลมิเดียที่หมิ่นประมาทต่อสถาบันกษัตริย์เหมือนรัฐบาลประเทศอื่นๆ หลายปรเทศ ไม่ออกกฎหมายควบคุมสื่อโซเชียลมิเดียที่โฆษณาบ่อนพนันเป็นอาจิณ ฯลฯ คุณทักษิณจึงไลฟ์สดเข้าประเทศไทย หาเสียงได้อย่างสบายๆ ต่างชาติก็ยังใช้ NGOs ปลุกระดมประชาชนช่วยพรรคฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสบายๆ เหมือนเดิม

    ในขณะที่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์หันไปเน้นสร้างถนนและรถไฟฟ้ามากมายหลายเส้นสายแทน

    ผมเคยวิจารณ์ว่าแค่สร้างรถไฟทางคู่ให้ครอบคลุมทั่วประเทศก็พอแล้ว หันไปเน้นขุดคลองส่งน้ำในชนบทภาคอีสานและภาคอื่นๆ อย่างทั่วถึงจะดีกว่า ประชาชนจะได้อยู่ดีกินดีมากยิ่งขึ้นเพราะรายได้ประชาชนยังมีไม่มาก ถ้าสร้างรถไฟฟ้าหลายเส้นสายแล้วประชาชนไม่มีเงินนั่ง จะเจ๊งเอาได้

    ตอนนี้ก็มีข่าวว่าเริ่มเป็นปัญหาคือรถไฟฟ้าหลายเส้นทางก่อหนี้สิ้นมากขึ้นแล้ว เพราะค่ารถไฟฟ้าแพง คนส่วนใหญ่ไม่มีกำลังจะไปนั่ง

    แถมรัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ยังเปิดทาง ปล่อยคุณยิ่งลักษณ์ให้หลบหนีไปต่างประเทศอย่างสะดวกสบายอีกด้วย

    ๓.ต่อมา พอมีการเลือกตั้งใหม่ พรรคท่านพลเอกประยุทธ์พ่ายแพ้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง ก็มีดีลพาคุณทักษิณ ชินวัตรกลับบ้าน มีการเสนออภัยโทษคุณทักษิณ ชินวัตร โดยพลเอกประยุทธ์ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชการโองการ มีวุฒิสมาชิกสายพลเอกประยุทธ์โหวตให้คุณเศรษฐาเป็นนายก

    แล้วคุณทักษิณ ชินวัตรก็กลับประเทศไทย และทำผิดกติกา ไม่ยอมเข้าคุกแม้แต่วันเดียว เป็นการทำลายระบบนิติธรรมนิติรัฐ คุณทักษิณกลายเป็นผู้กว้างขวางนอกรัฐธรรมนูญหรืออภิสิทธิ์ชนในสังคมไทยขึ้นมา

    ตอนนี้ คุณทักษิณซึ่งเป็นนักโทษหนีคดีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการจัดตั้งรัฐบาล เป็นผู้นัดพบนักการเมืองพรรคต่างๆ ไปพบ แล้วเอาลูกตัวเองเป็นนายิการัฐมนตรี

    จะแปลกอะไรถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย?


    ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
    ไม่แปลกหรอกถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย: ๑.ผมสนับสนุนพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ทำรัฐประหาร เพราะช่วงนั้น คุณทักษิณ ชินวัตรโกงชาติโกงแผ่นดินมากมายแล้วกฎหมายบ้านเมืองเอาผิดไม่ได้ คุณทักษิณคุมทหาร คุมตำรวจ คุมอัยการ คุมกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด เมื่อกฎหมายเอาผิดคุณทักษิณไม่ได้ ประชาชนก็ออกถนน กลายเป็นกลุ่มเสื้อเหลือง พอเห็นเสื้อเหลืองออกถนน คุณทักษิณก็สร้างมวลชนเสื้อแดงมาต่อต้าน ถึงขั้นเผาศาลากลางจังหวัดด้วย เมื่อประชาธิปไตยเดินหน้าไม่ได้ ทหารก็จำเป็นต้องทำรัฐประหาร ผมมองว่าการทำรัฐประหารเป็นการผ่าทางตันและนำหลักนิติธรรมนิติรัฐกลับมา ถ้าพรรคประชาชนหรือนักการเมืองพรรคนี้ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ก็เป็นเรื่องของท่าน อเมริกาทำรัฐประหารในประเทศอื่นๆ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดตนเองเป็นประจำ เช่น ที่ปากีสถาน บังกลาเทศ ตอนนี้ กำลังหาทางทำที่บราซิลและเวเนซุเอล่า ทำไมคนไทยจะทำไม่ได้บ้างละครับ เพื่อให้ประเทศชาติมีความมั่นคงกลับคืนมา? รัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ก็ทำโครงการดีๆ หลายเรื่อง เอาคนเก่งมาทำงาน สร้างถนนหนทางในต่างจังหวัดดีขึ้นจนผิดหูผิดตา เศรษฐกิจไม่ดี ท่านก็มีเป๋าตังค์หรือโครงการคนละครึ่งช่วยเหลือประชาชน ข้อสำคัญ ไม่มีใครสงสัยในความภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของท่าน และอีกข้อคือท่านไม่มีประเด็นด่างพร้อยเรื่องทุจริต อย่างน้อยก็ไม่มีใครเอาผิดท่านได้ จึงไม่แปลกหรอกที่ประชาชนไทยจำนวนมากจะคิดถึงท่านพลเอกประยุทธ์ แม้ท่านจะหมดอำนาจจากรัฐบาลไปแล้ว ๒.ปัญหาก็คือพอทำรัฐประหารได้อำนาจมา พลเอกประยุทธ์ไม่ได้ตั้งใจหาทางแก้กฎหมายด้านความมั่นคงหลายๆ ด้านให้รัดกุมยิ่งขึ้น เช่น ไม่ออกกฎหมายกวาดล้าง NGOs ที่แทรกแซงการเมืองภายในประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการคนที่ไลฟ์สดคุยกับนักโทษที่หลบหนีไปต่างประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการสื่อโซเชียลมิเดียที่หมิ่นประมาทต่อสถาบันกษัตริย์เหมือนรัฐบาลประเทศอื่นๆ หลายปรเทศ ไม่ออกกฎหมายควบคุมสื่อโซเชียลมิเดียที่โฆษณาบ่อนพนันเป็นอาจิณ ฯลฯ คุณทักษิณจึงไลฟ์สดเข้าประเทศไทย หาเสียงได้อย่างสบายๆ ต่างชาติก็ยังใช้ NGOs ปลุกระดมประชาชนช่วยพรรคฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสบายๆ เหมือนเดิม ในขณะที่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์หันไปเน้นสร้างถนนและรถไฟฟ้ามากมายหลายเส้นสายแทน ผมเคยวิจารณ์ว่าแค่สร้างรถไฟทางคู่ให้ครอบคลุมทั่วประเทศก็พอแล้ว หันไปเน้นขุดคลองส่งน้ำในชนบทภาคอีสานและภาคอื่นๆ อย่างทั่วถึงจะดีกว่า ประชาชนจะได้อยู่ดีกินดีมากยิ่งขึ้นเพราะรายได้ประชาชนยังมีไม่มาก ถ้าสร้างรถไฟฟ้าหลายเส้นสายแล้วประชาชนไม่มีเงินนั่ง จะเจ๊งเอาได้ ตอนนี้ก็มีข่าวว่าเริ่มเป็นปัญหาคือรถไฟฟ้าหลายเส้นทางก่อหนี้สิ้นมากขึ้นแล้ว เพราะค่ารถไฟฟ้าแพง คนส่วนใหญ่ไม่มีกำลังจะไปนั่ง แถมรัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ยังเปิดทาง ปล่อยคุณยิ่งลักษณ์ให้หลบหนีไปต่างประเทศอย่างสะดวกสบายอีกด้วย ๓.ต่อมา พอมีการเลือกตั้งใหม่ พรรคท่านพลเอกประยุทธ์พ่ายแพ้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง ก็มีดีลพาคุณทักษิณ ชินวัตรกลับบ้าน มีการเสนออภัยโทษคุณทักษิณ ชินวัตร โดยพลเอกประยุทธ์ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชการโองการ มีวุฒิสมาชิกสายพลเอกประยุทธ์โหวตให้คุณเศรษฐาเป็นนายก แล้วคุณทักษิณ ชินวัตรก็กลับประเทศไทย และทำผิดกติกา ไม่ยอมเข้าคุกแม้แต่วันเดียว เป็นการทำลายระบบนิติธรรมนิติรัฐ คุณทักษิณกลายเป็นผู้กว้างขวางนอกรัฐธรรมนูญหรืออภิสิทธิ์ชนในสังคมไทยขึ้นมา ตอนนี้ คุณทักษิณซึ่งเป็นนักโทษหนีคดีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการจัดตั้งรัฐบาล เป็นผู้นัดพบนักการเมืองพรรคต่างๆ ไปพบ แล้วเอาลูกตัวเองเป็นนายิการัฐมนตรี จะแปลกอะไรถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย? ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
    0 Comments 0 Shares 621 Views 0 Reviews
  • กะปิบูด โยงกรณี พล.อ.ประยุทธ์ พูดถึงรัฐบาล ว่าเป็นฝักใฝ่พรรคการเมือง กระทบความเป็นกลางทางการเมืองขององคมนตรี และกระทบพระราชสถานะความเป็นกลางของพระมหากษัตริย์
    #คิงส์โพธิ์แดง
    กะปิบูด โยงกรณี พล.อ.ประยุทธ์ พูดถึงรัฐบาล ว่าเป็นฝักใฝ่พรรคการเมือง กระทบความเป็นกลางทางการเมืองขององคมนตรี และกระทบพระราชสถานะความเป็นกลางของพระมหากษัตริย์ #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 185 Views 0 Reviews
  • มูลค่าการทุจริตในการระบายข้าว 84,476 ล้านบาท.
    ตั้งแต่ปี 54 เป็นต้นมาโครงการจำนำข้าวขาดทุน 957,000 ล้านบาท
    รัฐบาลประยุทธ์ ตั้งงบประมาณ ชำระหนี้ไปแล้ว 781,000 ล้านบาท
    รัฐบาลเศรษฐา ใต้ตีนทักษิณ ขายข้าวล็อตสุดท้ายได้ 272 ล้านบาท
    --------------
    สรุปความ up-pre ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ใต้ตีนทักษิณ
    ⭕ โครงการรับจำข้าวของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ รับจำนำข้าวทั้งหมด 5 ฤดู
    รอบฤดูกาลผลิตปี 2554/2555 ถึงปี 2556/2557
    ⭕ รับจำนำข้าวเปลือก 54.35 ล้านตัน
    ⭕ ค่าใช้จ่ายรวม 9.85 แสนล้านบาท เป็นเงินซื้อข้าว 8.57 แสนล้านบาท
    ⭕ ขาดทุนทางคลัง 5.39 แสนล้านบาท (เม.ย. 2557) *หากคำนวณผลตรวจสต็อกข้าวของ คสช. (ต.ค. 2557) จะขาดทุน 6.6 แสนล้านบาท
    ⭕ ผลประโยชน์ส่วนเกินจากโครงการจำนำข้าวที่ตกแก่ชาวนา 5.6 แสนล้านบาท แต่ส่วนใหญ่เป็นชาวนารายกลางและรายใหญ่
    ⭕ มูลค่าการทุจริตในการระบายข้าว 84,476 ล้านบาท


    #รัฐบาลuppre
    มูลค่าการทุจริตในการระบายข้าว 84,476 ล้านบาท. ตั้งแต่ปี 54 เป็นต้นมาโครงการจำนำข้าวขาดทุน 957,000 ล้านบาท รัฐบาลประยุทธ์ ตั้งงบประมาณ ชำระหนี้ไปแล้ว 781,000 ล้านบาท รัฐบาลเศรษฐา ใต้ตีนทักษิณ ขายข้าวล็อตสุดท้ายได้ 272 ล้านบาท -------------- สรุปความ up-pre ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ใต้ตีนทักษิณ ⭕ โครงการรับจำข้าวของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ รับจำนำข้าวทั้งหมด 5 ฤดู รอบฤดูกาลผลิตปี 2554/2555 ถึงปี 2556/2557 ⭕ รับจำนำข้าวเปลือก 54.35 ล้านตัน ⭕ ค่าใช้จ่ายรวม 9.85 แสนล้านบาท เป็นเงินซื้อข้าว 8.57 แสนล้านบาท ⭕ ขาดทุนทางคลัง 5.39 แสนล้านบาท (เม.ย. 2557) *หากคำนวณผลตรวจสต็อกข้าวของ คสช. (ต.ค. 2557) จะขาดทุน 6.6 แสนล้านบาท ⭕ ผลประโยชน์ส่วนเกินจากโครงการจำนำข้าวที่ตกแก่ชาวนา 5.6 แสนล้านบาท แต่ส่วนใหญ่เป็นชาวนารายกลางและรายใหญ่ ⭕ มูลค่าการทุจริตในการระบายข้าว 84,476 ล้านบาท #รัฐบาลuppre
    0 Comments 0 Shares 784 Views 0 Reviews