• หั่นดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% รับมือ Trade War : [Biz Talk]

    ตามคาด คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)ครั้งที่ 2/68 มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% จาก 2.00% เหลือ 1.75 % เพื่อพยุงเศรษฐกิจไทย ที่ชะลอตัวลงมาก จากปัจจัยเสี่ยงรอบด้าน โดยเฉพาะความเสี่ยงจากสงครามการค้า
    หั่นดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% รับมือ Trade War : [Biz Talk] ตามคาด คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)ครั้งที่ 2/68 มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% จาก 2.00% เหลือ 1.75 % เพื่อพยุงเศรษฐกิจไทย ที่ชะลอตัวลงมาก จากปัจจัยเสี่ยงรอบด้าน โดยเฉพาะความเสี่ยงจากสงครามการค้า
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 664 Views 28 0 Reviews
  • คณะกรรมการนโยบายการเงินมีมติมีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 จากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี โดยให้มีผลทันที่ พร้อมปรับลด เพราะความเสี่ยงจากนโยบายการค้าโลกและจำนวนนักท่องเที่ยวลดลง สินเชื่อหดตัว เศรษฐกิจยังมีความไม่แน่นอนสูง จึงจะพิจารณาปรับนโยบายการเงินให้เหมาะสมกับแนวโน้มและความเสี่ยงของเศรษฐกิจและเงินเฟ้อในระยะข้างหน้าหากมีความรุ่นแรงกว่าที่คาด ส่งผลให้จีดีพีไทยปี 2668 หดเหลือ1.3 %จากที่ประเมินไว้ 2 %

    นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ในวันที่ 30 เมษายน 2568

    คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 จากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี โดยให้มีผลทันที ทั้งนี้ 2 เสียง เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000040531

    #MGROnline #คณะกรรมการนโยบายการเงิน #ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
    คณะกรรมการนโยบายการเงินมีมติมีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 จากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี โดยให้มีผลทันที่ พร้อมปรับลด เพราะความเสี่ยงจากนโยบายการค้าโลกและจำนวนนักท่องเที่ยวลดลง สินเชื่อหดตัว เศรษฐกิจยังมีความไม่แน่นอนสูง จึงจะพิจารณาปรับนโยบายการเงินให้เหมาะสมกับแนวโน้มและความเสี่ยงของเศรษฐกิจและเงินเฟ้อในระยะข้างหน้าหากมีความรุ่นแรงกว่าที่คาด ส่งผลให้จีดีพีไทยปี 2668 หดเหลือ1.3 %จากที่ประเมินไว้ 2 % • นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ในวันที่ 30 เมษายน 2568 • คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 จากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 1.75 ต่อปี โดยให้มีผลทันที ทั้งนี้ 2 เสียง เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000040531 • #MGROnline #คณะกรรมการนโยบายการเงิน #ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
  • มูดี้ส์ลดอันดับอนาคตของไทย เกิดจากนโยบายรัฐบาลเมื่อวันที่ 29 เม.ย. มูดี้ส์ลดอันดับอนาคตของไทยจากสถานะ “ทรงตัว” เป็น “โน้มลง” ถึงแม้ระดับเรตติ้งจะคงเดิมก็ตาม (Baa1)นักวิเคราะห์บางคนเข้าใจว่า เกิดจากปัจจัยภาษีทรัมป์ ซึ่งอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของรัฐบาล โดยอาจดูจากคำบรรยาย[The already announced US tariffs are likely to weigh significantly on global trade and global economic growth, and which will affect Thailand's open economy. In addition, there remains significant uncertainty as to whether the US will implement additional tariffs on Thailand and other countries, after the 90-day pause elapse.][ภาษีทรัมป์จะกระทบเศรษฐกิจการค้าโลก และจะกระทบไทยเนื่องจากมีการส่งออกมาก รวมทั้งไม่ชัดเจนว่า เมื่อครบ 90 วัน สหรัฐจะยังเก็บภาษีตอบโต้เท่าใด]**แต่ในข้อเท็จจริง ปัจจัยหลักที่ มูดี้ส์ ใช้พิจารณานั้น อยู่ที่นโยบายรัฐบาล ดังเห็นได้ว่า คำอธิบายเหตุผลเริ่มต้นว่า[The decision to change the outlook to negative from stable captures the risks that Thailand's economic and fiscal strength will weaken further.][เหตุผลที่เราลดอันดับ เนื่องจากไทยมีความเสี่ยงทั้งด้านเศรษฐกิจและฐานะการคลังมีแนวโน้มจะเลวลง][This shock exacerbates Thailand's already sluggish economic recovery post-pandemic, and risk aggravating the trend decline in the country's potential growth. Material downward pressures on Thailand's growth raises risks of further weakening in the government's fiscal position, which has already deteriorated since the pandemic.][เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวหลังวิกฤตโควิดอย่างอืดอาด และศักยภาพการเติบโตมีแนวโน้มต่ำลง ซึ่งจะยิ่งทำให้ฐานะการคลังที่อ่อนแออยู่แล้วตั้งแต่โควิด จะเลวลงไปอีก]**นี่เอง ปัจจัยหลักที่ มูดี้ส์ ลดอันดับอนาคตไทย ก็เนื่องจากความเป็นห่วงในฐานะการคลัง **ซึ่งรัฐบาลมีรายจ่ายเกินรายได้ > ทำให้ขาดดุลงบประมาณทุกปี > ประกอบกับรัฐบาลนี้และรัฐบาลก่อนหน้ากู้เงินมาแจกหมื่น > เพื่อกินใช้รายวัน > โดยไม่กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน > ถึงแม้ จีดีพีเพิ่มบ้างเล็กน้อยก็เป็นแบบไฟไหม้ฟาง วูบเดียวก็หมดไป**อย่างไรก็ดี มูดี้ส์ ให้คะแนน 3 ปัจจัยบวกหนึ่ง แบงค์ชาติและระบบราชการน่าเชื่อถือ[The affirmation of the Baa1 ratings reflects the country's moderately strong institutions and governance which support sound monetary and macroeconomic policies.][เรายังคงอันดับเครดิตไว้ที่ Baa1 เพราะองค์กรด้านนโยบายการเงินและพัฒนาเศรษฐกิจยังพอจะสามารถประคองความน่าเชื่อถือ]**ผมเพิ่มเติมว่า คือสังคมไทยยังช่วยกันคัดค้านการแทรกแซงที่ไม่ถูกต้องสอง มีการพัฒนาตลาดพันธบัตรดี[The Baal ratings also take into account Thailand's moderately strong debt affordability - despite the sharp increase in government debt since the pandemic - supported by its deep domestic markets and the fact that its government debt is almost entirely denominated in local currency.][และถึงแม้รัฐบาลจะกู้เงินมากแล้วตั้งแต่วิกฤตโควิด ตลาดพันธบัตรไทยได้พัฒนาจนมีขนาดใหญ่พอที่จะรองรับการกู้เพิ่มได้ การที่หนี้สาธารณะเกือบทั้งหมดเป็นสกุลบาท (ทำให้รัฐบาลไม่มีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน)]**ผมเพิ่มเติมว่า บุคคลหลักที่สร้างรากฐานตลาดพันธบัตรไทยคือ 2 อดีตผู้ว่าฯ ม.ร.ว.จตุมงคล และ ม.ร.ว.ปรีดียาธร โดยผมรับลูกในตำแหน่งเลขา ก.ล.ต.สาม มีทุนสำรองมั่นคง[Moreover, Thailand has a strong external position, with ample foreign exchange reserves buffer.][และไทยมีทุนสำรองมากพอ ฐานะหนี้สกุลต่างประเทศต่ำ]ผมจึงขอแนะนำให้รัฐบาลนำข้อวิเคราะห์เหล่านี้ไปปรับปรุงนโยบายเป็นการด่วนวันที่ 30 เมษายน 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    มูดี้ส์ลดอันดับอนาคตของไทย เกิดจากนโยบายรัฐบาลเมื่อวันที่ 29 เม.ย. มูดี้ส์ลดอันดับอนาคตของไทยจากสถานะ “ทรงตัว” เป็น “โน้มลง” ถึงแม้ระดับเรตติ้งจะคงเดิมก็ตาม (Baa1)นักวิเคราะห์บางคนเข้าใจว่า เกิดจากปัจจัยภาษีทรัมป์ ซึ่งอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของรัฐบาล โดยอาจดูจากคำบรรยาย[The already announced US tariffs are likely to weigh significantly on global trade and global economic growth, and which will affect Thailand's open economy. In addition, there remains significant uncertainty as to whether the US will implement additional tariffs on Thailand and other countries, after the 90-day pause elapse.][ภาษีทรัมป์จะกระทบเศรษฐกิจการค้าโลก และจะกระทบไทยเนื่องจากมีการส่งออกมาก รวมทั้งไม่ชัดเจนว่า เมื่อครบ 90 วัน สหรัฐจะยังเก็บภาษีตอบโต้เท่าใด]**แต่ในข้อเท็จจริง ปัจจัยหลักที่ มูดี้ส์ ใช้พิจารณานั้น อยู่ที่นโยบายรัฐบาล ดังเห็นได้ว่า คำอธิบายเหตุผลเริ่มต้นว่า[The decision to change the outlook to negative from stable captures the risks that Thailand's economic and fiscal strength will weaken further.][เหตุผลที่เราลดอันดับ เนื่องจากไทยมีความเสี่ยงทั้งด้านเศรษฐกิจและฐานะการคลังมีแนวโน้มจะเลวลง][This shock exacerbates Thailand's already sluggish economic recovery post-pandemic, and risk aggravating the trend decline in the country's potential growth. Material downward pressures on Thailand's growth raises risks of further weakening in the government's fiscal position, which has already deteriorated since the pandemic.][เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวหลังวิกฤตโควิดอย่างอืดอาด และศักยภาพการเติบโตมีแนวโน้มต่ำลง ซึ่งจะยิ่งทำให้ฐานะการคลังที่อ่อนแออยู่แล้วตั้งแต่โควิด จะเลวลงไปอีก]**นี่เอง ปัจจัยหลักที่ มูดี้ส์ ลดอันดับอนาคตไทย ก็เนื่องจากความเป็นห่วงในฐานะการคลัง **ซึ่งรัฐบาลมีรายจ่ายเกินรายได้ > ทำให้ขาดดุลงบประมาณทุกปี > ประกอบกับรัฐบาลนี้และรัฐบาลก่อนหน้ากู้เงินมาแจกหมื่น > เพื่อกินใช้รายวัน > โดยไม่กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน > ถึงแม้ จีดีพีเพิ่มบ้างเล็กน้อยก็เป็นแบบไฟไหม้ฟาง วูบเดียวก็หมดไป**อย่างไรก็ดี มูดี้ส์ ให้คะแนน 3 ปัจจัยบวกหนึ่ง แบงค์ชาติและระบบราชการน่าเชื่อถือ[The affirmation of the Baa1 ratings reflects the country's moderately strong institutions and governance which support sound monetary and macroeconomic policies.][เรายังคงอันดับเครดิตไว้ที่ Baa1 เพราะองค์กรด้านนโยบายการเงินและพัฒนาเศรษฐกิจยังพอจะสามารถประคองความน่าเชื่อถือ]**ผมเพิ่มเติมว่า คือสังคมไทยยังช่วยกันคัดค้านการแทรกแซงที่ไม่ถูกต้องสอง มีการพัฒนาตลาดพันธบัตรดี[The Baal ratings also take into account Thailand's moderately strong debt affordability - despite the sharp increase in government debt since the pandemic - supported by its deep domestic markets and the fact that its government debt is almost entirely denominated in local currency.][และถึงแม้รัฐบาลจะกู้เงินมากแล้วตั้งแต่วิกฤตโควิด ตลาดพันธบัตรไทยได้พัฒนาจนมีขนาดใหญ่พอที่จะรองรับการกู้เพิ่มได้ การที่หนี้สาธารณะเกือบทั้งหมดเป็นสกุลบาท (ทำให้รัฐบาลไม่มีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน)]**ผมเพิ่มเติมว่า บุคคลหลักที่สร้างรากฐานตลาดพันธบัตรไทยคือ 2 อดีตผู้ว่าฯ ม.ร.ว.จตุมงคล และ ม.ร.ว.ปรีดียาธร โดยผมรับลูกในตำแหน่งเลขา ก.ล.ต.สาม มีทุนสำรองมั่นคง[Moreover, Thailand has a strong external position, with ample foreign exchange reserves buffer.][และไทยมีทุนสำรองมากพอ ฐานะหนี้สกุลต่างประเทศต่ำ]ผมจึงขอแนะนำให้รัฐบาลนำข้อวิเคราะห์เหล่านี้ไปปรับปรุงนโยบายเป็นการด่วนวันที่ 30 เมษายน 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    0 Comments 0 Shares 276 Views 0 Reviews
  • เปลี่ยนวิกฤตภาษีทรัมป์เป็นโอกาสกู้ 5 แสนล้าน ดันมรดกหนี้ทะลุ 70% : คนเคาะข่าว 28-04-68
    : ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #วิกฤตภาษีทรัมป์ #หนี้สาธารณะ #กู้เงิน5แสนล้าน #เศรษฐกิจไทย #ธีระชัยภูวนาถนรานุบาล #ข่าวเศรษฐกิจ #นโยบายการเงิน #นงวดีถนิมมาลย์ #วิเคราะห์เศรษฐกิจไทย #หนี้เกินตัว #การเงินการคลัง #thaitimes #นโยบายเศรษฐกิจ #เศรษฐกิจโลก
    เปลี่ยนวิกฤตภาษีทรัมป์เป็นโอกาสกู้ 5 แสนล้าน ดันมรดกหนี้ทะลุ 70% : คนเคาะข่าว 28-04-68 : ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #วิกฤตภาษีทรัมป์ #หนี้สาธารณะ #กู้เงิน5แสนล้าน #เศรษฐกิจไทย #ธีระชัยภูวนาถนรานุบาล #ข่าวเศรษฐกิจ #นโยบายการเงิน #นงวดีถนิมมาลย์ #วิเคราะห์เศรษฐกิจไทย #หนี้เกินตัว #การเงินการคลัง #thaitimes #นโยบายเศรษฐกิจ #เศรษฐกิจโลก
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 243 Views 12 0 Reviews
  • ใครเหนือกว่าใครในระบบการเงินโลกใหม่?
    BEYOND DIGITAL : The new world financial system?
    เหลือเวลาเพียง 5 นาทีใน 24 ชม.ของระบบ ในระบบโลกการเงินแบบเก่าที่เงินดอลลาร์สหรัฐ เป็นสกุลเงินหลักของโลกในวันนี้ กำลังๆๆๆ หมดคุณค่าที่เป็นเงินตราของโลกเข้ามาทุกที อะไรจะมาแทนระหว่าง Bitcoin กับ Digital Yuan?

    ถ้าโลกแบ่งออกเป็นสองขั้วทางการเงินใหญ่ ๆ คือ
    • ฝ่ายอเมริกาและพันธมิตรเลือกใช้ Bitcoin
    • ฝ่ายจีนและกลุ่ม BRICS เลือกใช้ Digital หยวน (e-CNY)
    จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระดับโลกครั้งใหญ่มาก เราอาจจะได้เห็นระบบการเงินโลกใหม่ที่ไม่ได้มีศูนย์กลางเพียงแห่งเดียวอีกต่อไป
    ลักษณะของระบบการเงินทั้งสอง
    1. ฝ่ายอเมริกา + พันธมิตร (Bitcoin)
    • ไร้ศูนย์กลาง (Decentralized) ไม่มีรัฐบาลควบคุม
    • ใช้ระบบ Blockchain แบบเปิด โปร่งใสและตรวจสอบได้
    • มีจำนวนจำกัด (21 ล้าน BTC) ส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อน้อยในระยะยาว
    • อิงหลักการ ตลาดเสรี และความเชื่อมั่นของผู้ใช้งาน
    • ธนาคารกลางจะมีบทบาทลดลงมาก หรือถูกบีบให้ปรับตัว
    2. ฝ่ายจีน + BRICS (Digital Yuan/e-CNY)
    • มีศูนย์กลาง (Centralized) ควบคุมโดยรัฐและธนาคารกลางจีน
    • ใช้ Blockchain แบบปิด หรือเทคโนโลยี ledger เฉพาะภายใน
    • ใช้เป็นเครื่องมือกำหนดนโยบายการเงินของรัฐได้อย่างแม่นยำ
    • ติดตามและควบคุมธุรกรรมของผู้ใช้งานได้
    • สร้างระบบการโอนเงินระหว่างประเทศใหม่ เช่น CIPS แทน SWIFT
    จุดร่วมของทั้งสองระบบ
    • เป็น เงินดิจิทัล ที่ใช้เทคโนโลยี Blockchain หรือ DLT
    • มีความเร็วในการโอนเงินข้ามประเทศสูงกว่าระบบธนาคารเดิม
    • ลดต้นทุนในการทำธุรกรรม
    • เป็นการท้าทายระบบการเงินเดิมที่ผูกกับดอลลาร์สหรัฐ
    จุดแตกต่างหลัก
    ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
    • ระบบการเงินโลกจะแตกออกเป็น 2 มาตรฐาน เหมือนสงครามเย็นทางเศรษฐกิจ
    • ประเทศต่าง ๆ อาจต้องเลือกข้าง หรือพัฒนาเทคโนโลยีของตัวเองให้รองรับทั้งสองระบบ
    • ดอลลาร์สหรัฐอาจสูญเสียสถานะการเป็นเงินสำรองหลักของโลก หาก Bitcoin หรือ e-CNY ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง
    • แรงกดดันต่อ IMF, World Bank และระบบ SWIFT ให้ปรับตัวหรือเสื่อมอิทธิพลลง
    • เกิดโอกาสใหม่สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ที่จะพึ่งพาระบบใหม่โดยไม่ผ่านระบบดั้งเดิมของตะวันตก
    นี้คือสิ่งที่จะเกิดขึ้นในชั่วโมงต่อไปในวันใหม่ เราจะยื่นตรงไหนจะเลือกใช่ระบบการเงินใหม่ในโลกอนาคตกันอย่างไรตัวเราเล็กเกินที่จะกำหนดอะไรได้เองแต่เราเลือกที่จะเข้าใจและเลือกที่จะเดินไปพร้อมกับระบบใหม่นี้กันดีกว่า...

    TABU
    รัชชสิทธิ์ เปี่ยมโรจนภัทร
    ใครเหนือกว่าใครในระบบการเงินโลกใหม่? BEYOND DIGITAL : The new world financial system? เหลือเวลาเพียง 5 นาทีใน 24 ชม.ของระบบ ในระบบโลกการเงินแบบเก่าที่เงินดอลลาร์สหรัฐ เป็นสกุลเงินหลักของโลกในวันนี้ กำลังๆๆๆ หมดคุณค่าที่เป็นเงินตราของโลกเข้ามาทุกที อะไรจะมาแทนระหว่าง Bitcoin กับ Digital Yuan? ถ้าโลกแบ่งออกเป็นสองขั้วทางการเงินใหญ่ ๆ คือ • ฝ่ายอเมริกาและพันธมิตรเลือกใช้ Bitcoin • ฝ่ายจีนและกลุ่ม BRICS เลือกใช้ Digital หยวน (e-CNY) จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระดับโลกครั้งใหญ่มาก เราอาจจะได้เห็นระบบการเงินโลกใหม่ที่ไม่ได้มีศูนย์กลางเพียงแห่งเดียวอีกต่อไป ลักษณะของระบบการเงินทั้งสอง 1. ฝ่ายอเมริกา + พันธมิตร (Bitcoin) • ไร้ศูนย์กลาง (Decentralized) ไม่มีรัฐบาลควบคุม • ใช้ระบบ Blockchain แบบเปิด โปร่งใสและตรวจสอบได้ • มีจำนวนจำกัด (21 ล้าน BTC) ส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อน้อยในระยะยาว • อิงหลักการ ตลาดเสรี และความเชื่อมั่นของผู้ใช้งาน • ธนาคารกลางจะมีบทบาทลดลงมาก หรือถูกบีบให้ปรับตัว 2. ฝ่ายจีน + BRICS (Digital Yuan/e-CNY) • มีศูนย์กลาง (Centralized) ควบคุมโดยรัฐและธนาคารกลางจีน • ใช้ Blockchain แบบปิด หรือเทคโนโลยี ledger เฉพาะภายใน • ใช้เป็นเครื่องมือกำหนดนโยบายการเงินของรัฐได้อย่างแม่นยำ • ติดตามและควบคุมธุรกรรมของผู้ใช้งานได้ • สร้างระบบการโอนเงินระหว่างประเทศใหม่ เช่น CIPS แทน SWIFT จุดร่วมของทั้งสองระบบ • เป็น เงินดิจิทัล ที่ใช้เทคโนโลยี Blockchain หรือ DLT • มีความเร็วในการโอนเงินข้ามประเทศสูงกว่าระบบธนาคารเดิม • ลดต้นทุนในการทำธุรกรรม • เป็นการท้าทายระบบการเงินเดิมที่ผูกกับดอลลาร์สหรัฐ จุดแตกต่างหลัก ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • ระบบการเงินโลกจะแตกออกเป็น 2 มาตรฐาน เหมือนสงครามเย็นทางเศรษฐกิจ • ประเทศต่าง ๆ อาจต้องเลือกข้าง หรือพัฒนาเทคโนโลยีของตัวเองให้รองรับทั้งสองระบบ • ดอลลาร์สหรัฐอาจสูญเสียสถานะการเป็นเงินสำรองหลักของโลก หาก Bitcoin หรือ e-CNY ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง • แรงกดดันต่อ IMF, World Bank และระบบ SWIFT ให้ปรับตัวหรือเสื่อมอิทธิพลลง • เกิดโอกาสใหม่สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ที่จะพึ่งพาระบบใหม่โดยไม่ผ่านระบบดั้งเดิมของตะวันตก นี้คือสิ่งที่จะเกิดขึ้นในชั่วโมงต่อไปในวันใหม่ เราจะยื่นตรงไหนจะเลือกใช่ระบบการเงินใหม่ในโลกอนาคตกันอย่างไรตัวเราเล็กเกินที่จะกำหนดอะไรได้เองแต่เราเลือกที่จะเข้าใจและเลือกที่จะเดินไปพร้อมกับระบบใหม่นี้กันดีกว่า... TABU รัชชสิทธิ์ เปี่ยมโรจนภัทร
    0 Comments 0 Shares 314 Views 0 Reviews
  • เรย์ ดาลิโอ 📌ส่งสัญญาณเตือน! 6 ผลกระทบภาษีศุลกากรต่อเศรษฐกิจโลก เผยระบบการเงิน-การค้าปัจจุบันไม่ยั่งยืน คาดเปลี่ยนแปลงฉับพลัน ชี้ประเด็นดอลลาร์-หยวนเป็นกุญแจสำคัญในการปรับดุลอำนาจใหม่📌ขณะที่การเพิ่มค่าเงินหยวนอาจเป็นประเด็นสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ-จีน โดยอาจเกิดขึ้นเมื่อประธานาธิบดีทรัมป์และประธานาธิบดีสีจิ้นผิงพบกัน👉เรย์ ดาลิโอ ผู้ก่อตั้งกองทุนเฮดจ์ฟันด์ยักษ์ใหญ่ Bridgewater Associates และนักลงทุนระดับตำนาน เผยบทวิเคราะห์เจาะลึกเกี่ยวกับผลกระทบของภาษีศุลกากรในช่วงที่ความตึงเครียดทางการค้าระหว่างประเทศกำลังทวีความรุนแรง โดยระบุผลกระทบลำดับแรก 6 ประการสำคัญ ได้แก่ 1) เพิ่มรายได้ให้ประเทศผู้เรียกเก็บ โดยผู้ผลิตต่างประเทศและผู้บริโภคในประเทศรับภาระร่วมกัน 2) ลดประสิทธิภาพการผลิตในระดับโลก 3) ก่อให้เกิดภาวะเศรษฐกิจชะงักงันพร้อมเงินเฟ้อ (stagflation) ต่อเศรษฐกิจโลก 4) ปกป้องบริษัทในประเทศผู้เรียกเก็บภาษีจากการแข่งขันจากต่างประเทศ 5) จำเป็นในช่วงความขัดแย้งระหว่างมหาอำนาจเพื่อรับประกันศักยภาพการผลิตภายในประเทศ และ 6) ลดความไม่สมดุลทั้งในบัญชีเดินสะพัดและบัญชีทุน นอกจากนี้ยังมีการอธิบายถึงผลกระทบลำดับที่สองซึ่งขึ้นอยู่กับการตอบโต้ของประเทศที่ถูกเรียกเก็บภาษี การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการเงิน อัตราดอกเบี้ย และนโยบายการคลัง โดยเฉพาะหากเกิดการตอบโต้ด้วยการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ซึ่งจะสร้างภาวะเศรษฐกิจชะงักงันพร้อมเงินเฟ้อในวงกว้างมากขึ้น ดาลิโอยังเน้นย้ำความไม่สมดุลในระบบปัจจุบันจะต้องลดลงไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง และการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน พร้อมชี้ว่าดอลลาร์สหรัฐในฐานะสกุลเงินสำรองโลกมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ขณะที่การเพิ่มค่าเงินหยวนอาจเป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงการค้าและเงินทุนระหว่างสหรัฐฯ-จีนในอนาคต #imctnews รายงาน
    เรย์ ดาลิโอ 📌ส่งสัญญาณเตือน! 6 ผลกระทบภาษีศุลกากรต่อเศรษฐกิจโลก เผยระบบการเงิน-การค้าปัจจุบันไม่ยั่งยืน คาดเปลี่ยนแปลงฉับพลัน ชี้ประเด็นดอลลาร์-หยวนเป็นกุญแจสำคัญในการปรับดุลอำนาจใหม่📌ขณะที่การเพิ่มค่าเงินหยวนอาจเป็นประเด็นสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ-จีน โดยอาจเกิดขึ้นเมื่อประธานาธิบดีทรัมป์และประธานาธิบดีสีจิ้นผิงพบกัน👉เรย์ ดาลิโอ ผู้ก่อตั้งกองทุนเฮดจ์ฟันด์ยักษ์ใหญ่ Bridgewater Associates และนักลงทุนระดับตำนาน เผยบทวิเคราะห์เจาะลึกเกี่ยวกับผลกระทบของภาษีศุลกากรในช่วงที่ความตึงเครียดทางการค้าระหว่างประเทศกำลังทวีความรุนแรง โดยระบุผลกระทบลำดับแรก 6 ประการสำคัญ ได้แก่ 1) เพิ่มรายได้ให้ประเทศผู้เรียกเก็บ โดยผู้ผลิตต่างประเทศและผู้บริโภคในประเทศรับภาระร่วมกัน 2) ลดประสิทธิภาพการผลิตในระดับโลก 3) ก่อให้เกิดภาวะเศรษฐกิจชะงักงันพร้อมเงินเฟ้อ (stagflation) ต่อเศรษฐกิจโลก 4) ปกป้องบริษัทในประเทศผู้เรียกเก็บภาษีจากการแข่งขันจากต่างประเทศ 5) จำเป็นในช่วงความขัดแย้งระหว่างมหาอำนาจเพื่อรับประกันศักยภาพการผลิตภายในประเทศ และ 6) ลดความไม่สมดุลทั้งในบัญชีเดินสะพัดและบัญชีทุน นอกจากนี้ยังมีการอธิบายถึงผลกระทบลำดับที่สองซึ่งขึ้นอยู่กับการตอบโต้ของประเทศที่ถูกเรียกเก็บภาษี การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการเงิน อัตราดอกเบี้ย และนโยบายการคลัง โดยเฉพาะหากเกิดการตอบโต้ด้วยการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ซึ่งจะสร้างภาวะเศรษฐกิจชะงักงันพร้อมเงินเฟ้อในวงกว้างมากขึ้น ดาลิโอยังเน้นย้ำความไม่สมดุลในระบบปัจจุบันจะต้องลดลงไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง และการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน พร้อมชี้ว่าดอลลาร์สหรัฐในฐานะสกุลเงินสำรองโลกมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ขณะที่การเพิ่มค่าเงินหยวนอาจเป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงการค้าและเงินทุนระหว่างสหรัฐฯ-จีนในอนาคต #imctnews รายงาน
    0 Comments 0 Shares 419 Views 0 Reviews
  • อีลอน มัสก์ แฉกระทรวงคลังสหรัฐมี "แท่นพิมพ์ดอลล่าร์วิเศษ" 14 เครื่อง : คนเคาะข่าว 18 มีนาคม 2568
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #อีลอนมัสก์ #กระทรวงคลังสหรัฐ #แท่นพิมพ์เงิน #ดอลลาร์สหรัฐ #เศรษฐกิจโลก #เงินเฟ้อ #เงินเฟ้อสหรัฐ #หนี้สาธารณะ #ระบบการเงินโลก #เฟด #นโยบายการเงิน #Geopolitics #ทนงขันทอง #thaiTimes #ข่าวต่างประเทศ
    อีลอน มัสก์ แฉกระทรวงคลังสหรัฐมี "แท่นพิมพ์ดอลล่าร์วิเศษ" 14 เครื่อง : คนเคาะข่าว 18 มีนาคม 2568 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #อีลอนมัสก์ #กระทรวงคลังสหรัฐ #แท่นพิมพ์เงิน #ดอลลาร์สหรัฐ #เศรษฐกิจโลก #เงินเฟ้อ #เงินเฟ้อสหรัฐ #หนี้สาธารณะ #ระบบการเงินโลก #เฟด #นโยบายการเงิน #Geopolitics #ทนงขันทอง #thaiTimes #ข่าวต่างประเทศ
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 913 Views 15 0 Reviews
  • พ.ร.บ.ศูนย์กลางทางการเงิน ยึดอำนาจแบงก์ชาติ ? : คนเคาะข่าว 17-03-68
    : ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรมว.คลัง และประธานคณะกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #ยึดอำนาจแบงก์ชาติ #เศรษฐกิจไทย #การเงิน #แบงก์ชาติ #ธีระชัยภูวนาถนรานุบาล #พลังประชารัฐ #ข่าวเศรษฐกิจ #thaiTimes #การคลัง #ตลาดการเงิน #กฎหมายการเงิน #นโยบายการเงิน #วิเคราะห์เศรษฐกิจ
    พ.ร.บ.ศูนย์กลางทางการเงิน ยึดอำนาจแบงก์ชาติ ? : คนเคาะข่าว 17-03-68 : ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรมว.คลัง และประธานคณะกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #ยึดอำนาจแบงก์ชาติ #เศรษฐกิจไทย #การเงิน #แบงก์ชาติ #ธีระชัยภูวนาถนรานุบาล #พลังประชารัฐ #ข่าวเศรษฐกิจ #thaiTimes #การคลัง #ตลาดการเงิน #กฎหมายการเงิน #นโยบายการเงิน #วิเคราะห์เศรษฐกิจ
    Like
    Love
    2
    0 Comments 0 Shares 1012 Views 7 0 Reviews
  • ไม่เอกฉันท์ คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)ครั้งที่ 1/68 มีมติ 6 ต่อ 1 ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% จาก 2.25% เป็น 2.00 % เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทย ที่มีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ จากปัญหาเชิงโครงสร้าง ,ความเสี่ยงจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก ย้ำประเมินปัจจัยรอบด้าน ไม่ได้เป็นผลจากแรงกดดันทางการเมือง!
    ไม่เอกฉันท์ คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)ครั้งที่ 1/68 มีมติ 6 ต่อ 1 ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% จาก 2.25% เป็น 2.00 % เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทย ที่มีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ จากปัญหาเชิงโครงสร้าง ,ความเสี่ยงจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก ย้ำประเมินปัจจัยรอบด้าน ไม่ได้เป็นผลจากแรงกดดันทางการเมือง!
    Like
    5
    0 Comments 0 Shares 1351 Views 65 0 Reviews
  • กนง.มีมติ 6 ต่อ 1 ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % เหลือ 2 % เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวต่ำกว่าที่ประมาณไว้ 2.9 % และช่วยลดการตึงตัวของภาวะการเงิน โดยไม่กระทบต่อความเสี่ยงด้านเสถียรภาพ พร้อมประเมินเศรษฐกิจลดลงเหลือ 2.5 % จากภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่ถูกกดดันจากปัญหาเชิงโครงสร้างและการแข่งขันจากสินค้าต่างประเทศ รวมทั้งมีความเสี่ยงสูงขึ้นจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก

    นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เปิดเผยว่า ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)มีมติ 6 ต่อ 1 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % จาก 2.25 % เป็น 2.00 % ต่อปี โดยให้มีผลทันที ทั้งนี้ 1 เสียง เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

    เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ 2.9 % จากภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่ถูกกดดันจากปัญหาเชิงโครงสร้างและการแข่งขันจากสินค้าต่างประเทศ รวมทั้งมีความเสี่ยงสูงขึ้นจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก แม้ว่าเศรษฐกิจจะได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศและการท่องเที่ยว กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ เพื่อให้ภาวะการเงินสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ และเสถียรภาพระบบการเงิน รวมทั้งรองรับความเสี่ยงด้านต่ำที่ชัดเจนขึ้น ขณะที่กรรมการ 1 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เนื่องจากให้น้ำหนักมากกว่ากับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินเพื่อรองรับความไม่แน่นอนที่สูงขึ้นในระยะข้างหน้า

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000019048

    #MGROnline #คณะกรรมการนโยบายการเงิน #กนง.
    กนง.มีมติ 6 ต่อ 1 ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % เหลือ 2 % เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวต่ำกว่าที่ประมาณไว้ 2.9 % และช่วยลดการตึงตัวของภาวะการเงิน โดยไม่กระทบต่อความเสี่ยงด้านเสถียรภาพ พร้อมประเมินเศรษฐกิจลดลงเหลือ 2.5 % จากภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่ถูกกดดันจากปัญหาเชิงโครงสร้างและการแข่งขันจากสินค้าต่างประเทศ รวมทั้งมีความเสี่ยงสูงขึ้นจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก • นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เปิดเผยว่า ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)มีมติ 6 ต่อ 1 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % จาก 2.25 % เป็น 2.00 % ต่อปี โดยให้มีผลทันที ทั้งนี้ 1 เสียง เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย • เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ 2.9 % จากภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่ถูกกดดันจากปัญหาเชิงโครงสร้างและการแข่งขันจากสินค้าต่างประเทศ รวมทั้งมีความเสี่ยงสูงขึ้นจากนโยบายการค้าของประเทศเศรษฐกิจหลัก แม้ว่าเศรษฐกิจจะได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศและการท่องเที่ยว กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25 % ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ เพื่อให้ภาวะการเงินสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ และเสถียรภาพระบบการเงิน รวมทั้งรองรับความเสี่ยงด้านต่ำที่ชัดเจนขึ้น ขณะที่กรรมการ 1 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เนื่องจากให้น้ำหนักมากกว่ากับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินเพื่อรองรับความไม่แน่นอนที่สูงขึ้นในระยะข้างหน้า • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000019048 • #MGROnline #คณะกรรมการนโยบายการเงิน #กนง.
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 558 Views 0 Reviews
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 Comments 0 Shares 961 Views 0 Reviews
  • คุณ Gabriel Galipolo ซึ่งเป็นหัวหน้านโยบายการเงินของธนาคารกลางบราซิล ได้รายงานว่า การใช้งานคริปโตในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา โดยประมาณ 90% ของการใช้งานคริปโตนี้เกี่ยวข้องกับ Stablecoins ซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าคงที่โดยอิงกับสินทรัพย์ในโลกจริง เช่น ดอลลาร์สหรัฐ

    นาย Galipolo กล่าวในงานประชุมของธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศที่เม็กซิโก ซิตี้ ว่า การใช้คริปโตเป็นหลักในการชำระเงินกลายเป็นความท้าทายในการควบคุมและการกำกับดูแล เขายังเน้นว่าการใช้งานเหล่านี้มักจะมีปัญหาด้านการเสียภาษีหรือการฟอกเงินด้วย

    สิ่งที่น่าสนใจคือโครงการ Drex ที่ไม่ได้เป็นสกุลเงินดิจิทัลของธนาคารกลาง แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มุ่งเน้นในการปรับปรุงเครดิตด้วยสินทรัพย์ที่มีหลักประกัน Drex ใช้เทคโนโลยีการบันทึกบัญชีแบบกระจายศูนย์เพื่อการชำระเงินระหว่างธนาคารในระดับสถาบัน ขณะที่การเข้าถึงของผู้ใช้งานทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบของการฝากเงินที่ถูกแปลงเป็นโทเค็น

    นอกจากนี้ ระบบการชำระเงินทันทีของบราซิลที่เรียกว่า Pix ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมาก ก็มีศักยภาพในการเชื่อมต่อกับเครือข่ายการชำระเงินทันทีระหว่างประเทศ ทำให้การทำธุรกรรมข้ามพรมแดนสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/07/brazil039s-galipolo-sees-surge-in-crypto-use-says-90-of-flow-tied-to-stablecoins
    คุณ Gabriel Galipolo ซึ่งเป็นหัวหน้านโยบายการเงินของธนาคารกลางบราซิล ได้รายงานว่า การใช้งานคริปโตในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา โดยประมาณ 90% ของการใช้งานคริปโตนี้เกี่ยวข้องกับ Stablecoins ซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าคงที่โดยอิงกับสินทรัพย์ในโลกจริง เช่น ดอลลาร์สหรัฐ นาย Galipolo กล่าวในงานประชุมของธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศที่เม็กซิโก ซิตี้ ว่า การใช้คริปโตเป็นหลักในการชำระเงินกลายเป็นความท้าทายในการควบคุมและการกำกับดูแล เขายังเน้นว่าการใช้งานเหล่านี้มักจะมีปัญหาด้านการเสียภาษีหรือการฟอกเงินด้วย สิ่งที่น่าสนใจคือโครงการ Drex ที่ไม่ได้เป็นสกุลเงินดิจิทัลของธนาคารกลาง แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มุ่งเน้นในการปรับปรุงเครดิตด้วยสินทรัพย์ที่มีหลักประกัน Drex ใช้เทคโนโลยีการบันทึกบัญชีแบบกระจายศูนย์เพื่อการชำระเงินระหว่างธนาคารในระดับสถาบัน ขณะที่การเข้าถึงของผู้ใช้งานทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบของการฝากเงินที่ถูกแปลงเป็นโทเค็น นอกจากนี้ ระบบการชำระเงินทันทีของบราซิลที่เรียกว่า Pix ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมาก ก็มีศักยภาพในการเชื่อมต่อกับเครือข่ายการชำระเงินทันทีระหว่างประเทศ ทำให้การทำธุรกรรมข้ามพรมแดนสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/07/brazil039s-galipolo-sees-surge-in-crypto-use-says-90-of-flow-tied-to-stablecoins
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Brazil's Galipolo sees surge in crypto use, says 90% of flow tied to stablecoins
    (Reuters) - Brazil's central bank chief Gabriel Galipolo said on Thursday that crypto asset usage in the country has surged over the past two to three years, with around 90% of the flow linked to stablecoins.
    0 Comments 0 Shares 429 Views 0 Reviews
  • 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยโดยธนาคารกลาง เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีผลต่อการไหลเวียนของเงินทุนและค่าเงิน
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและนโยบายภาษีสามารถกระตุ้นหรือชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจ
    2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยโดยธนาคารกลาง เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีผลต่อการไหลเวียนของเงินทุนและค่าเงิน - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและนโยบายภาษีสามารถกระตุ้นหรือชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจ
    0 Comments 0 Shares 334 Views 0 Reviews
  • # 1. **เศรษฐกิจมหภาค**
    - **อัตราการเติบโตของ GDP**: การเติบโตของ GDP ในประเทศสำคัญๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกโดยรวม
    - **อัตราเงินเฟ้อ**: อัตราเงินเฟ้อที่สูงหรือต่ำเกินไปอาจส่งผลต่อกำลังซื้อและนโยบายการเงินของประเทศต่างๆ
    - **อัตราการว่างงาน**: อัตราการว่างงานที่สูงอาจบ่งชี้ถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและส่งผลต่อการบริโภค
    # 1. **เศรษฐกิจมหภาค** - **อัตราการเติบโตของ GDP**: การเติบโตของ GDP ในประเทศสำคัญๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกโดยรวม - **อัตราเงินเฟ้อ**: อัตราเงินเฟ้อที่สูงหรือต่ำเกินไปอาจส่งผลต่อกำลังซื้อและนโยบายการเงินของประเทศต่างๆ - **อัตราการว่างงาน**: อัตราการว่างงานที่สูงอาจบ่งชี้ถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและส่งผลต่อการบริโภค
    0 Comments 0 Shares 316 Views 0 Reviews
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 Comments 0 Shares 900 Views 0 Reviews
  • * สัปดาห์นี้ ธนาคารกลาง 4 แห่งการเงินประชุม

    Bank of Japan (BoJ): ประชุม 23-24 มค. คาดว่าจะปรับขึ้นดอกเบี้ย

    Federal Reserve (Fed): ธ.กลางสหรัฐ ประชุม 28-29 คาดคงดอกเบี้ย

    European Central Bank (ECB): ประชุม 30 มค. คาดลดดอกเบี้ย

    Bank of Canada (BoC): ธ.กลางแคนาดา ประชุม 29 มค. คาดลดดอกเบี้ย
    .........................
    วานนี้ทรัมป์เข้าสาบานตนรับตำแหน่ง เบื้องต้นยังไม่การออก executive orders ที่เกี่ยวกับมาตรการภาษี ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลง (กระทบราคาทองคำไม่ดึดตัว เงินไหลเข้าตลาดเงิน ตลาดทุน)

    - งดเพิ่มจำนวนข้าราชการ ยกเว้นด้านความมั่นคง (ทหาร)
    - งด work from home ของข้าราชการ
    - ถอนตัวจาก Paris Climate Treaty
    - ขึ้นภาษีนำเข้าสินค้า เม็กซิโก แคนาดา สูงสุดแตะ 50% ส่วนจีนรอดูดีล tiktok ถ้าล้มอาจจะมีมาตรการภาษีออกมา (คาดเดาจากนวค.ว่า ทรัมป์ที่โทรหาสี จิ้นผิง อาจจะมีบางดีลที่รออยู่)
    * Tiktok ถูกแบนในสหรัฐ แต่ทรัมป์ยืดเวลาให้ใช้ต่อได้ 75 วัน แต่ต่อรองให้ tiktok ขายหุ้น 50% ให้สหรัฐ แต่ยังไม่ระบุว่าให้ขายให้ใคร ระบุเป็น Joint Venture
    - ยกเลิกคำสั่งและเมมโมฯขอไบเดน 78 ฉบับ (ในนั้นรวม LGBTQ)
    - เพิกถอนคำสั่งไบเดนที่ตั้งเป้ายอดขายรถยนต์ EB 50% ภายในปี 2030
    - ประกาศภาวะฉุกเฉินชายแดนตอนใต้ เนรเทศผู้เข้าเมืองไม่ถูกกฏหมาย
    - นิรโทษกรรมผู้ต้องหา 1500 คนที่บุกรัฐสภาเมื่อ 4 ปีก่อน (ตอนทรัมป์แพ้เลือกตั้งให้ไบเดน)
    - ขุดเจาะน้ำมันดิบ กระทบราคาน้ำมันดิบจากคาดการณ์ซัพพลายในตลาดจะเพิ่ม
    - ถอนตัวจาก WHO
    - กดดัน EU ต้องการลดระดับการขาดดุลการค้า ขู่ใช้มาตรการภาษี หรือ EU ต้องนำเข้าน้ำมันและแก๊สจากสหรัฐ
    - สหรัฐจะไปปักธงที่ดาวอังคาร

    DXY ดัชนีดอลลาร์ คาดค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลงในระยะสั้นจาก
    1. จำนวนการเปิดสัญญา "Long" ค่าเงินดอลลาร์สูงสุดนับจากปี 2019
    2. ประเด็นกำแพงภาษีน่าจะไม่แรงเหมือนตอนหาเสียง
    3. การกระตุ้นผ่านมาตรการการคลังไม่น่าจะสูงเหมือนตอนที่หาเสียง

    ............................................
    จีน ราคาบ้านน่าจะเจอจุดต่ำสุดแล้ว ราคาบ้านเริ่มกระตุก จำนวนธุรกรรมเกี่ยวกับอสังหาฯ ในเมืองใหญ่เริ่มเพิ่มขึ้น
    ................................
    ทอง โทนเงินเฟ้อจากนโยบายภาษีทรัมป์ไม่แรงอย่างที่หาเสียง ไม่กดดัน เฟดอาจจะดำเนินนโยบายการเงินได้ตามภาวะตลาดไม่ผันผวน + มุมมองดอลลาร์อ่อนค่า เทคนิคที่เบรคกรอบสามเหลี่ยม
    #เศรษฐกิจ
    * สัปดาห์นี้ ธนาคารกลาง 4 แห่งการเงินประชุม Bank of Japan (BoJ): ประชุม 23-24 มค. คาดว่าจะปรับขึ้นดอกเบี้ย Federal Reserve (Fed): ธ.กลางสหรัฐ ประชุม 28-29 คาดคงดอกเบี้ย European Central Bank (ECB): ประชุม 30 มค. คาดลดดอกเบี้ย Bank of Canada (BoC): ธ.กลางแคนาดา ประชุม 29 มค. คาดลดดอกเบี้ย ......................... วานนี้ทรัมป์เข้าสาบานตนรับตำแหน่ง เบื้องต้นยังไม่การออก executive orders ที่เกี่ยวกับมาตรการภาษี ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลง (กระทบราคาทองคำไม่ดึดตัว เงินไหลเข้าตลาดเงิน ตลาดทุน) - งดเพิ่มจำนวนข้าราชการ ยกเว้นด้านความมั่นคง (ทหาร) - งด work from home ของข้าราชการ - ถอนตัวจาก Paris Climate Treaty - ขึ้นภาษีนำเข้าสินค้า เม็กซิโก แคนาดา สูงสุดแตะ 50% ส่วนจีนรอดูดีล tiktok ถ้าล้มอาจจะมีมาตรการภาษีออกมา (คาดเดาจากนวค.ว่า ทรัมป์ที่โทรหาสี จิ้นผิง อาจจะมีบางดีลที่รออยู่) * Tiktok ถูกแบนในสหรัฐ แต่ทรัมป์ยืดเวลาให้ใช้ต่อได้ 75 วัน แต่ต่อรองให้ tiktok ขายหุ้น 50% ให้สหรัฐ แต่ยังไม่ระบุว่าให้ขายให้ใคร ระบุเป็น Joint Venture - ยกเลิกคำสั่งและเมมโมฯขอไบเดน 78 ฉบับ (ในนั้นรวม LGBTQ) - เพิกถอนคำสั่งไบเดนที่ตั้งเป้ายอดขายรถยนต์ EB 50% ภายในปี 2030 - ประกาศภาวะฉุกเฉินชายแดนตอนใต้ เนรเทศผู้เข้าเมืองไม่ถูกกฏหมาย - นิรโทษกรรมผู้ต้องหา 1500 คนที่บุกรัฐสภาเมื่อ 4 ปีก่อน (ตอนทรัมป์แพ้เลือกตั้งให้ไบเดน) - ขุดเจาะน้ำมันดิบ กระทบราคาน้ำมันดิบจากคาดการณ์ซัพพลายในตลาดจะเพิ่ม - ถอนตัวจาก WHO - กดดัน EU ต้องการลดระดับการขาดดุลการค้า ขู่ใช้มาตรการภาษี หรือ EU ต้องนำเข้าน้ำมันและแก๊สจากสหรัฐ - สหรัฐจะไปปักธงที่ดาวอังคาร DXY ดัชนีดอลลาร์ คาดค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่าลงในระยะสั้นจาก 1. จำนวนการเปิดสัญญา "Long" ค่าเงินดอลลาร์สูงสุดนับจากปี 2019 2. ประเด็นกำแพงภาษีน่าจะไม่แรงเหมือนตอนหาเสียง 3. การกระตุ้นผ่านมาตรการการคลังไม่น่าจะสูงเหมือนตอนที่หาเสียง ............................................ จีน ราคาบ้านน่าจะเจอจุดต่ำสุดแล้ว ราคาบ้านเริ่มกระตุก จำนวนธุรกรรมเกี่ยวกับอสังหาฯ ในเมืองใหญ่เริ่มเพิ่มขึ้น ................................ ทอง โทนเงินเฟ้อจากนโยบายภาษีทรัมป์ไม่แรงอย่างที่หาเสียง ไม่กดดัน เฟดอาจจะดำเนินนโยบายการเงินได้ตามภาวะตลาดไม่ผันผวน + มุมมองดอลลาร์อ่อนค่า เทคนิคที่เบรคกรอบสามเหลี่ยม #เศรษฐกิจ
    0 Comments 0 Shares 794 Views 0 Reviews
  • ศก.จีนปี 2024 โตที่ 5% ท่ามกลางปัญหาอสังหาฯ เงินฝืด ระดับการว่างงานพุ่งสูงในคนหนุ่มสาว
    รัฐบาลได้ออกมาตรการกระตุ้นศก.กชุดใหญ่ในช่วงปลายปีเพื่อดูแลสภาพเศรษฐกิจ สร้างเสถียรภาพ แม้ภายในจะเจอปัญหา แต่ภาคการส่งออกยังคงแข็งแกร่งมีการเติบโตที่ดี
    ทั้งปี 2024 GDP โตแตะ 134,908.4 พันล้านหยวน โต5% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
    รายไตรมาส >> Q1/24 โต 5.3%, Q2/24 โต 4.7%, Q3/24 โต 4.6%, Q4/24 โต 5.4%

    เกินดุลการค้า 7.06 ล้านล้านหยวน (~$990 bn.) แต่เมื่อทรัมป์กำลังจะก้าวขึ้นมาบริหารประเทศ จีนจะเจอกับความท้าทายจากนโยบายกำแพงภาษี

    อุตฯกลุ่มไฮเทคฯ ของจีนสามารถทำกำไรได้ถึง 6.6 พันล้านหยวนในระยะ 11 เดือนแรกของปี 2024 (ลดลง 4.7% เมื่อเทียบรายปี)

    ภาคบริการโต 5% เทียบรายปี บริการด้าน IT โต 10.9%

    ตลาดค้าปลีกฟื้นตัวต่อเนื่อง ยอดขายแตะ 48,789.5 พันล้านหยวน เพิ่ม 3.5% ยอดขายส่วนใหญ่กระจุกตัวในเมืองมากกว่าชนบท ยอดขายปลีกสินค้าออนไลน์โตแกร่งที่ 7.2% นับเป็น 26.8% ของยอดค้าปลีกรวม สะท้อนพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง

    จำนวนประชากร 1,408.28 ล้านคน ลดลง 1.39 ล้านคน จำนวนประชากรวัยทำงาน (อายุ 16-59 ปี) เป็นประชากรที่มีสัดส่วนสูงสุด แต่ประเด็นสังสคมสูงวัยยังคงเป็นประเด็นที่จีนให้ความสำคัญ นอกจากนี้ 67% ของประชากรอาศัยในเขตเมือง เพิ่มขึ้น 0.84% จากปีก่อนหน้า


    เงินเฟ้อและการจ้างงาน
    ดัชนีที่ใช้วัดเงินเฟ้อ --consumer price index (CPI)-- เพิ่ม 0.2% ในปี 2024 << บอกว่า จีนเอาอยู่ ^^
    core CPI, excluding food and energy prices, เพิ่ม 0.5% << ธนาคารกลางทั่วไปมักใช้ core cpi ในการกำหนดนโยบายการเงิน

    การจ้างงาน ภาพรวมทรงตัว อัตราว่างงานอยู่ที่ 5.1% ดีขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนหน้า จำนวนแรงงานที่อพยพจากชนบทเข้าเมืองเพิ่ม 0.7% หรือ 299.73 ล้านคน เพิ่มจากปีก่อนหน้า 2.2 ล้านคน
    .......................................
    เพิ่มเติม
    1. คนจีนมีค่านิยมสร้างความมั่งคั่งจาก อสังหาฯ (บ้าน ที่ดิน) ทองคำ ตลาดหุ้น ดังนั้นเมื่อตลาดไหนมีปัญหา เงินจะย้ายไปหาตลาดที่เหลือ เช่น ปีที่ผ่านมา อสังหาฯ มีปัญหา เงินลงทุนย้ายเข้าตลาดทองคำ ส่วนตลาดหุ้นเป็นการรอมาตรการกระตุ้นจากรัฐบาลกลาง
    2. ผู้พัฒนาอสังหาฯของจีน ในช่วงขาขึ้นของตลาดอสังหาฯ บริษัทเมื่อได้รับเงินจอง เงินดาวน์จากผู้ซื้อ จะยังไม่เข้าก่อสร้างโครงการ (ต่างจากประเทศไทย) แต่จะนำเงินจอง เงินดาวน์ไปไล่ซื้อที่ดินแปลงอื่นต่อ (ที่ดินจะมีราคาดีดตัวขึ้นต่อเนื่อง)
    3. จีนได้มีการย้ายฐานการผลิตไปยัง เวียดนาม เม็กซิโก (ซึ่งเม็กซิโก ก็ติดอันดับประเทศเกินดุลการค้ากับสหรัฐอันดับต้น ๆ และทรัมป์ก็มีนโยบายที่จะจัดการประเด็นนี้เช่นกัน) ส่วนเวียดนามที่มีฐานการผลิตสินค้ากลุ่มอิเล็คฯ อาจจะได้รับผลกระทบน้อยกว่า
    4. จีนเป็นประเทศมีการนำเข้าน้ำมันดิบมากเป็นอันดับ 1 ของโลก และ มีการนำเข้าน้ำมันดิบจากรัสเซีย (ในราคา discount) นำมากลั่น ใช้ ขายต่อ
    5. สี จิ้นผิง ระบุ ยังมุ่งหมายที่จะควบรวมไต้หวันเข้ามาเป็นประเทศเดียวกัน
    6. PBoC (ธนาคารกลางจีน) อาจจะปรับเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยที่ปัจจุบันมีหลายตัวให้เหลือตัวเดียวคือ ดอกเบี้ยนโยบาย แต่ยังไม่ระบุเวลาที่ชัดเจน
    #เศรษฐกิจ


    ศก.จีนปี 2024 โตที่ 5% ท่ามกลางปัญหาอสังหาฯ เงินฝืด ระดับการว่างงานพุ่งสูงในคนหนุ่มสาว รัฐบาลได้ออกมาตรการกระตุ้นศก.กชุดใหญ่ในช่วงปลายปีเพื่อดูแลสภาพเศรษฐกิจ สร้างเสถียรภาพ แม้ภายในจะเจอปัญหา แต่ภาคการส่งออกยังคงแข็งแกร่งมีการเติบโตที่ดี ทั้งปี 2024 GDP โตแตะ 134,908.4 พันล้านหยวน โต5% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า รายไตรมาส >> Q1/24 โต 5.3%, Q2/24 โต 4.7%, Q3/24 โต 4.6%, Q4/24 โต 5.4% เกินดุลการค้า 7.06 ล้านล้านหยวน (~$990 bn.) แต่เมื่อทรัมป์กำลังจะก้าวขึ้นมาบริหารประเทศ จีนจะเจอกับความท้าทายจากนโยบายกำแพงภาษี อุตฯกลุ่มไฮเทคฯ ของจีนสามารถทำกำไรได้ถึง 6.6 พันล้านหยวนในระยะ 11 เดือนแรกของปี 2024 (ลดลง 4.7% เมื่อเทียบรายปี) ภาคบริการโต 5% เทียบรายปี บริการด้าน IT โต 10.9% ตลาดค้าปลีกฟื้นตัวต่อเนื่อง ยอดขายแตะ 48,789.5 พันล้านหยวน เพิ่ม 3.5% ยอดขายส่วนใหญ่กระจุกตัวในเมืองมากกว่าชนบท ยอดขายปลีกสินค้าออนไลน์โตแกร่งที่ 7.2% นับเป็น 26.8% ของยอดค้าปลีกรวม สะท้อนพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง จำนวนประชากร 1,408.28 ล้านคน ลดลง 1.39 ล้านคน จำนวนประชากรวัยทำงาน (อายุ 16-59 ปี) เป็นประชากรที่มีสัดส่วนสูงสุด แต่ประเด็นสังสคมสูงวัยยังคงเป็นประเด็นที่จีนให้ความสำคัญ นอกจากนี้ 67% ของประชากรอาศัยในเขตเมือง เพิ่มขึ้น 0.84% จากปีก่อนหน้า เงินเฟ้อและการจ้างงาน ดัชนีที่ใช้วัดเงินเฟ้อ --consumer price index (CPI)-- เพิ่ม 0.2% ในปี 2024 << บอกว่า จีนเอาอยู่ ^^ core CPI, excluding food and energy prices, เพิ่ม 0.5% << ธนาคารกลางทั่วไปมักใช้ core cpi ในการกำหนดนโยบายการเงิน การจ้างงาน ภาพรวมทรงตัว อัตราว่างงานอยู่ที่ 5.1% ดีขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนหน้า จำนวนแรงงานที่อพยพจากชนบทเข้าเมืองเพิ่ม 0.7% หรือ 299.73 ล้านคน เพิ่มจากปีก่อนหน้า 2.2 ล้านคน ....................................... เพิ่มเติม 1. คนจีนมีค่านิยมสร้างความมั่งคั่งจาก อสังหาฯ (บ้าน ที่ดิน) ทองคำ ตลาดหุ้น ดังนั้นเมื่อตลาดไหนมีปัญหา เงินจะย้ายไปหาตลาดที่เหลือ เช่น ปีที่ผ่านมา อสังหาฯ มีปัญหา เงินลงทุนย้ายเข้าตลาดทองคำ ส่วนตลาดหุ้นเป็นการรอมาตรการกระตุ้นจากรัฐบาลกลาง 2. ผู้พัฒนาอสังหาฯของจีน ในช่วงขาขึ้นของตลาดอสังหาฯ บริษัทเมื่อได้รับเงินจอง เงินดาวน์จากผู้ซื้อ จะยังไม่เข้าก่อสร้างโครงการ (ต่างจากประเทศไทย) แต่จะนำเงินจอง เงินดาวน์ไปไล่ซื้อที่ดินแปลงอื่นต่อ (ที่ดินจะมีราคาดีดตัวขึ้นต่อเนื่อง) 3. จีนได้มีการย้ายฐานการผลิตไปยัง เวียดนาม เม็กซิโก (ซึ่งเม็กซิโก ก็ติดอันดับประเทศเกินดุลการค้ากับสหรัฐอันดับต้น ๆ และทรัมป์ก็มีนโยบายที่จะจัดการประเด็นนี้เช่นกัน) ส่วนเวียดนามที่มีฐานการผลิตสินค้ากลุ่มอิเล็คฯ อาจจะได้รับผลกระทบน้อยกว่า 4. จีนเป็นประเทศมีการนำเข้าน้ำมันดิบมากเป็นอันดับ 1 ของโลก และ มีการนำเข้าน้ำมันดิบจากรัสเซีย (ในราคา discount) นำมากลั่น ใช้ ขายต่อ 5. สี จิ้นผิง ระบุ ยังมุ่งหมายที่จะควบรวมไต้หวันเข้ามาเป็นประเทศเดียวกัน 6. PBoC (ธนาคารกลางจีน) อาจจะปรับเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยที่ปัจจุบันมีหลายตัวให้เหลือตัวเดียวคือ ดอกเบี้ยนโยบาย แต่ยังไม่ระบุเวลาที่ชัดเจน #เศรษฐกิจ
    0 Comments 0 Shares 796 Views 0 Reviews
  • 💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์
    ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้

    1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย)

    SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4%
    จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย
    "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์
    และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย
    ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก

    สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์
    การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5%
    โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท
    เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3
    การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ
    รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว

    นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
    ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม

    1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย
    SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567
    จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1%
    (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567)

    1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย
    SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง.
    จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง.
    สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน
    (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ
    จและการเงินของไทยในอนาคต

    อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย
    นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568
    เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม
    และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย
    Trump 2.0

    ที่มา : SCBEIC

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568
    #SCBEIC #thaitimes
    💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์ ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้ 1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย) SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4% จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์ การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5% โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3 การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม 1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567 จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1% (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567) 1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง. จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง. สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ จและการเงินของไทยในอนาคต อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568 เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย Trump 2.0 ที่มา : SCBEIC #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568 #SCBEIC #thaitimes
    0 Comments 0 Shares 1096 Views 0 Reviews
  • 💥ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเผยแพร่ข้อมูล
    ธนาคารพาณิชย์ไทยเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
    ส่งผลต่อภาวะต้นทุนทางการเงินที่เริ่มผ่อนคลาย
    สู่ตลาดสินเชื่อ

    ประมาณ 1 สัปดาห์หลังจากคณะกรรมการนโยบายการเงิน
    หรือ กนง. มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเมื่อวันที่
    16 ต.ค. 2567 (จากระดับ 2.50% มาที่ 2.25%)
    ธนาคารพาณิชย์หลายแห่งทยอยประกาศปรับลด
    อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลงสูงสุด 0.25% โดยให้มีผล
    ต้นเดือนพ.ย. 2567 พร้อมๆ กับต่ออายุมาตรการ
    ช่วยเหลือลูกหนี้กลุ่มเปราะบางไปจนถึงสิ้นปี 2567

    ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า การทยอยปรับลด
    อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ในครั้งนี้
    เป็นหนึ่งในกลไกการส่งผ่านต้นทุนทางการเงิน
    ที่ปรับผ่อนคลายลงตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
    มาสู่ตลาดสินเชื่อ โดยคาดว่า สัดส่วนสินเชื่อรายย่อย
    และสินเชื่อธุรกิจ ที่น่าจะได้รับอานิสงส์จากการปรับลด
    อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ก่อนสิ้นปี 2567 จะอยู่ที่ประมาณ 40.9%
    ของสินเชื่อรวมทั้งระบบแบงก์ไทย

    ขณะที่ผลจากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขาเดียว
    ของธนาคารพาณิชย์ในรอบนี้จะทำให้ภาระดอกเบี้ย
    ของลูกหนี้รายย่อยและภาคธุรกิจปรับลดลงเกือบ
    1,300 ล้านบาท
    (คำนวณผลของภาระดอกเบี้ยที่จะปรับลดลง
    เฉพาะช่วงเดือนพ.ย.-ธ.ค. 2567 โดยยังไม่ได้นับรวม
    สินเชื่อ ส่วนที่จะเข้าสู่ช่วงการปรับอัตราดอกเบี้ยในปีหน้า)
    ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
    #thaitimes
    💥ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเผยแพร่ข้อมูล ธนาคารพาณิชย์ไทยเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ส่งผลต่อภาวะต้นทุนทางการเงินที่เริ่มผ่อนคลาย สู่ตลาดสินเชื่อ ประมาณ 1 สัปดาห์หลังจากคณะกรรมการนโยบายการเงิน หรือ กนง. มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2567 (จากระดับ 2.50% มาที่ 2.25%) ธนาคารพาณิชย์หลายแห่งทยอยประกาศปรับลด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลงสูงสุด 0.25% โดยให้มีผล ต้นเดือนพ.ย. 2567 พร้อมๆ กับต่ออายุมาตรการ ช่วยเหลือลูกหนี้กลุ่มเปราะบางไปจนถึงสิ้นปี 2567 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า การทยอยปรับลด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ในครั้งนี้ เป็นหนึ่งในกลไกการส่งผ่านต้นทุนทางการเงิน ที่ปรับผ่อนคลายลงตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบาย มาสู่ตลาดสินเชื่อ โดยคาดว่า สัดส่วนสินเชื่อรายย่อย และสินเชื่อธุรกิจ ที่น่าจะได้รับอานิสงส์จากการปรับลด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ก่อนสิ้นปี 2567 จะอยู่ที่ประมาณ 40.9% ของสินเชื่อรวมทั้งระบบแบงก์ไทย ขณะที่ผลจากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขาเดียว ของธนาคารพาณิชย์ในรอบนี้จะทำให้ภาระดอกเบี้ย ของลูกหนี้รายย่อยและภาคธุรกิจปรับลดลงเกือบ 1,300 ล้านบาท (คำนวณผลของภาระดอกเบี้ยที่จะปรับลดลง เฉพาะช่วงเดือนพ.ย.-ธ.ค. 2567 โดยยังไม่ได้นับรวม สินเชื่อ ส่วนที่จะเข้าสู่ช่วงการปรับอัตราดอกเบี้ยในปีหน้า) ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ศูนย์วิจัยกสิกรไทย #thaitimes
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 865 Views 0 Reviews
  • 💥💥16/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ หลังจาก
    คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)
    ได้มีมติให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25%
    จากเดิม 2.50% เป็น 2.25% และมีผลทันที

    🚩ทำให้วันนี้ตลาดหุ้นไทยได้รับข่าวดีนี้
    และ บวกไป ประมาณ 20 จุด โดยดัชนีปิดที่
    1485.01 จุด (เพิ่มขึ้น 1.36%)
    ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 77,184 ล้านบาท

    🟢สำหรับนักลงทุนที่เข้าซื้อหุ้นไทยในวันนี้หลักๆคือ
    1.กองทุน 2.โบรก 3.นักลงทุนต่างประเทศ

    🚩*นักลงทุนต่างประเทศหลังจากขายหุ้นไทย
    มาต่อเนื่อง 12 วันทำการ วันนี้ได้กลับมาซื้อหุ้นไทย
    เป็นวันแรก

    🔴*ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ กลุ่มที่ขายหุุ้นไทยในวันนี้

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥💥16/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ หลังจาก คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) ได้มีมติให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25% จากเดิม 2.50% เป็น 2.25% และมีผลทันที 🚩ทำให้วันนี้ตลาดหุ้นไทยได้รับข่าวดีนี้ และ บวกไป ประมาณ 20 จุด โดยดัชนีปิดที่ 1485.01 จุด (เพิ่มขึ้น 1.36%) ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 77,184 ล้านบาท 🟢สำหรับนักลงทุนที่เข้าซื้อหุ้นไทยในวันนี้หลักๆคือ 1.กองทุน 2.โบรก 3.นักลงทุนต่างประเทศ 🚩*นักลงทุนต่างประเทศหลังจากขายหุ้นไทย มาต่อเนื่อง 12 วันทำการ วันนี้ได้กลับมาซื้อหุ้นไทย เป็นวันแรก 🔴*ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ กลุ่มที่ขายหุุ้นไทยในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    0 Comments 0 Shares 666 Views 0 Reviews
  • 💥💥ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)
    ครั้งที่ 5 ในวันพุธ ที่ 16 ตุลาคม 2567 นี้
    ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติ 5 ต่อ 2 เสียง
    ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25% ต่อปี
    จากเดิม 2.50% เป็น 2.25%
    โดยให้มีผลในทันที

    ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #กนง.
    #อัตราดอกเบี้ยนโยบาย #thaitimes
    💥💥ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ครั้งที่ 5 ในวันพุธ ที่ 16 ตุลาคม 2567 นี้ ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25% ต่อปี จากเดิม 2.50% เป็น 2.25% โดยให้มีผลในทันที ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย #หุ้นติดดอย #การลงทุน #กนง. #อัตราดอกเบี้ยนโยบาย #thaitimes
    2 Comments 0 Shares 663 Views 0 Reviews
  • คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที

    16 ตุลาคม 2567-รายงานผลการประชุม กนง. ระบุว่า เศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่าจุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า

    เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสำคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง

    อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านำเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567

    ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์ สรอ. ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักและปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับด้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุนนโยบายของ ธปท. ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุดและมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

    ภายใต้กรอบการดำเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนำไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว

    ธนาคารแห่งประเทศไทย
    16 ตุลาคม 2567

    #Thaitimes
    คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที 16 ตุลาคม 2567-รายงานผลการประชุม กนง. ระบุว่า เศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่าจุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสำคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านำเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์ สรอ. ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักและปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับด้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุนนโยบายของ ธปท. ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุดและมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายใต้กรอบการดำเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนำไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว ธนาคารแห่งประเทศไทย 16 ตุลาคม 2567 #Thaitimes
    Like
    Love
    3
    1 Comments 0 Shares 1283 Views 0 Reviews
  • มติ กนง. 5 ต่อ 2 ลดดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี มีผลทันที
    .
    วันนี้ (16 ต.ค.) นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ระบุว่า คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที
    .
    โดยเห็นว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป จะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่า จุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี ในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า
    .
    เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสําคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชน ซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง
    .
    อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อ หมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านําเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567
    .
    ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐฯ ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก และปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับน้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุน นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุด และมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
    .
    ภายใต้กรอบการดําเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนําไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว
    .............
    Sondhi X
    มติ กนง. 5 ต่อ 2 ลดดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี มีผลทันที . วันนี้ (16 ต.ค.) นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ระบุว่า คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที . โดยเห็นว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป จะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่า จุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี ในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า . เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสําคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชน ซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง . อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อ หมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านําเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 . ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐฯ ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก และปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับน้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุน นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุด และมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ . ภายใต้กรอบการดําเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนําไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว ............. Sondhi X
    Like
    7
    0 Comments 0 Shares 1841 Views 0 Reviews
  • 💥💥24/09/2567
    ตลาดหุ้นทั่วโลกพุ่งแตะระดับสูงสุด
    เป็นประวัติการณ์ในวันนี้
    หลังจากจีนเปิดเผยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
    เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและตลาดหุ้น
    ส่งผลให้หุ้นในเอเชีย รวมทั้งตลาดหุ้นไทย
    และยุโรปพุ่งสูงขึ้น รวมทั้งราคาสินค้าโภคภัณฑ์
    เช่น น้ำมัน, ทองแดง, เหล็ก, และ ทองคำ ราคาดีดตัวขึ้น

    🚩โดยผู้ว่าการธนาคารประชาชนจีน พาน กงเซิง
    ประกาศแผนลดต้นทุนการกู้ยืม และอัดฉีดเงิน
    เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจจีนมากขึ้น
    รวมถึงลดภาระการผ่อนชำระเงินกู้ของครัวเรือน

    🚩นอกจากนี้ พานยังกล่าวอีกว่า จีนจะออกเครื่องมือ
    นโยบายการเงินเชิงโครงสร้างเป็นครั้งแรก
    เพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพของตลาดทุน

    ที่มา : Reuters

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #เศรษฐกิจจีน #thaitimes
    💥💥24/09/2567 ตลาดหุ้นทั่วโลกพุ่งแตะระดับสูงสุด เป็นประวัติการณ์ในวันนี้ หลังจากจีนเปิดเผยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและตลาดหุ้น ส่งผลให้หุ้นในเอเชีย รวมทั้งตลาดหุ้นไทย และยุโรปพุ่งสูงขึ้น รวมทั้งราคาสินค้าโภคภัณฑ์ เช่น น้ำมัน, ทองแดง, เหล็ก, และ ทองคำ ราคาดีดตัวขึ้น 🚩โดยผู้ว่าการธนาคารประชาชนจีน พาน กงเซิง ประกาศแผนลดต้นทุนการกู้ยืม และอัดฉีดเงิน เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจจีนมากขึ้น รวมถึงลดภาระการผ่อนชำระเงินกู้ของครัวเรือน 🚩นอกจากนี้ พานยังกล่าวอีกว่า จีนจะออกเครื่องมือ นโยบายการเงินเชิงโครงสร้างเป็นครั้งแรก เพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพของตลาดทุน ที่มา : Reuters #หุ้นติดดอย #การลงทุน #เศรษฐกิจจีน #thaitimes
    0 Comments 0 Shares 1007 Views 0 Reviews
  • 20 กันยายน 2567 -Highlight จากงาน BOT Symposium 2024 | หนี้: The Economics of Balancing Today and Tomorrow

    ช่วงหนึ่ง ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติบอกว่า ธปท.ไม่จำเป็นต้องปรับลดดอกเบี้ยตาม Fed โดยย้ำว่า นโยบายการเงินในประเทศ ยังอิงอยู่กับปัจจัยในประเทศเป็นหลัก

    รายงานจากเพจ Today Biznews เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ’ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ตอบกรณีที่ธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ลดดอกเบี้ย ว่า Fed ลดดอกเบี้ย 0.50% หรือ 50 เบสิสพอยท์ (bps) สำหรับ Fed ถือว่าไม่น้อย

    แต่ในแง่ผลกระทบ มองว่า ตลาดรับรู้ไปแล้วระดับหนึ่ง ทำให้ผลกระทบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นดอลลาร์อ่อนค่า ค่าเงินในภูมิภาคและค่าเงินบาทแข็งค่า สะท้อนไปแล้วระดับหนึ่ง

    ส่วนช่องทางที่กระทบเศรษฐกิจไทย หลักๆ คือ กระทบตลาดเงินและค่าเงิน ในแง่ผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล (Bond Yield) ก็มีบ้าง

    แต่โดยรวมผลกระทบต่อเศรษฐกิจไม่ได้มากมายขนาดนั้น เพราะเราเป็นเศรษฐกิจที่พึ่งระบบแบงก์เป็นส่วนใหญ่ ช่องที่เห็นที่กระทบเยอะคือค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นมาจากการอ่อนค่าของดอลลาร์

    อีกอย่างที่ซ้ำเติมคือราคาทองคำที่ทำจุดสูงสุดใหม่ (All Time High) ส่วนหนึ่งก็มาจากดอลลาร์อ่อนค่า ซึ่งค่าเงินไทยมีความสัมพันธ์ (Correlation) กับทองค่อนข้างสูง สูงกว่าเงินสกุลอื่นในภูมิภาค

    ส่วนผลในแง่เศรษฐกิจหลัง Fed ลดดอกเบี้ย สะท้อนว่า Fed ให้ความสำคัญกับ Soft Landing หรือให้ความสำคัญกับการดูแลเรื่องเศรษฐกิจ เทียบกับความเป็นห่วงในด้านเงินเฟ้อ

    ซึ่งในแง่เศรษฐกิจ อาจจะทำให้ไทยสบายใจขึ้นได้หน่อยว่า โอกาส Soft Landing ในสหรัฐจะสูงขึ้น แต่ตัวเลขต่างๆ ก่อนหน้านี้ก็ไม่ได้น่ากลัวขนาดนั้น

    ‘นี่ (การลดดอกเบี้ยของ Fed) ก็เหมือนการซื้อประกัน Make Sure ว่าโอกาสเกิด Hard Landing ให้มันน้อยๆ’

    [ นโยบายอิงกับปัจจัยในประเทศ ]

    ส่วนผลต่อการดำเนินนโยบายการเงินของประเทศเรา ผู้ว่าฯ บอกว่า นโยบายการเงินของไทย เน้นเรื่องภายในประเทศเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย 3 ปัจจัยหลัก (ที่แบงก์ชาติบอกอยู่เสมอ) คือ

    1. เศรษฐกิจ: การเติบโตว่าจะเข้าสู่ศักยภาพหรือไม่
    2. เงินเฟ้อ: เงินเฟ้อของเราจะเข้าสู่กรอบเงินเฟ้อหรือไม่
    3. เสถียรภาพทางด้านการเงิน: ซึ่งช่วงหลังให้ความสำคัญ

    ทั้ง 3 ปัจจัย ไม่ได้เห็นอะไรที่จะทำให้ภาพการประเมินแตกต่างจากที่มองเอาไว้ ทั้งเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ มีแต่เสถียรภาพทางด้านการเงิน เริ่มเห็นความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) เพิ่มสูงขึ้นเยอะ

    แต่ก็ต้องคำนึงถึงภาพรวม ซึ่งหนึ่งในนั้นคือตอนที่ธนาคารกลางยักษ์ใหญ่ของโลกเตรียมปรับเปลี่ยนนโยบาย ซึ่งจะกระทบภาพรวม และมีนัยต่อประเด็นข้างต้น ทำให้ต้องคำนึงถึง

    ‘การที่เราย้ำว่า เรา Outlook Dependent เป็นการตัดสินใจ หรือกรอบความคิดที่เหมาะสมแล้ว และถูกต้อง เพราะเราเห็นแล้วว่าที่อื่นที่เน้น Data Dependent มันสร้าง noise ต่อตลาดเยอะ’

    ส่วนการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ณ ตอนนี้ยังประชุมตามเดิม (รอบหน้า 16 ต.ค. 2567) ถ้าต้องมีการประชุมเพิ่มเติมพิเศษก็มีได้

    [ ดอกเบี้ยลด หนี้ไม่ลด ]

    เมื่อถามถึงความคาดหวังให้แบงก์ชาติลดดอกเบี้ยเพื่อลดหนี้ครัวเรือน ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติ อธิบายว่า สำหรับตัวบน (หนี้) มี 2 ส่วน คือ ผลต่อหนี้เก่า ซึ่งถ้าลดดอกเบี้ย จะทำให้ภาระหนี้ที่ต้องจ่ายบนหนี้เก่าลดลง ส่วนหนี้ใหม่ คำถามคือ ถ้าลดดอกเบี้ยแล้วทำให้สินเชื่อโตเร็วขึ้น ตัวหนี้โดยรวมมันก็จะเพิ่มขึ้น

    ซึ่งการดูตรงนี้ต้องชั่งน้ำหนักทั้ง 2 ส่วน แต่ยังไงแบงก์ชาติก็ไม่ได้อยากเห็นตัวเลขหนี้ต่อจีดีพีโตพุ่งสูงต่อเนื่อง เพราะในแง่ของเสถียรภาพมันคงไม่เหมาะ แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากจะให้มันลงเร็ว ลงแรง จนเกินไป เพราะจะมีผลต่อเศรษฐกิจ

    ต้องบอกว่า ภาระหนี้เป็นอะไรที่แบงก์ชาติเป็นห่วง เพราะมีสัดส่วนครัวเรือนไม่น้อยที่มีปัญหาหนี้ แต่อยากฝากไว้ว่า การลดดอกเบี้ย ผลที่ส่งต่อภาระหนี้มันก็ไม่ได้เต็มที่

    หนี้ของเราสัดส่วนไม่น้อยไม่ได้เป็นหนี้ Floating แต่เป็น Fixed Rate และ Fixed Installment พวกนี้ภาระหนี้ไม่ได้ลด ในแง่ที่ต้องจ่ายรายเดือน เพราะฉะนั้น จะไปคาดหวังให้ดอกเบี้ยลงปุ๊ปและภาระหนี้ทุกคนลด ก็ไม่ใช่

    ‘เรื่องของ Fed มันไม่ใช่ว่า Fed ลดแล้วเราต้องลด แต่การที่ Fed ลด อย่างที่บอก มันก็กระทบปัจจัยหลายอย่าง กระทบเรื่องของภาพรวมอะไรต่างๆ กระทบตัวแปรต่างๆ ที่เราต้องคำนึงถึงในการตัดสินใจเรื่องดอกเบี้ย’

    ผู้ว่าฯ อธิบายอีกว่า เราไม่เหมือนประเทศที่ fix ค่าเงิน เช่น ฮ่องกง หรือตะวันออกกลาง ที่ fix ค่าเงินกับดอลลาร์ เมื่อ Fed ลดดอกเบี้ย เขาก็ต้องลดดอกเบี้ยไปโดยปริยาย แต่ของเราไม่ใช่แบบนั้น

    [ เงินไหลออกน้อยกว่าปีก่อน ]

    ส่วนผลกระทบต่อค่าเงินบาท แน่นอนว่าแบงก์ชาติไม่ได้อยากเห็นค่าเงินที่ผันผวนขนาดนี้ และค่าความผันผวน (Volatility) ของเราก็สูง และการแข็งค่า โดยเฉพาะช่วงหลัง ก็เกิดขึ้นค่อนข้างเร็ว

    ตั้งแต่ต้นปีถึงปัจจุบัน (YTD) บาทแข็งค่าไป 2.4% แต่ก็ยังมีประเทศที่แข็งค่ามากกว่าเรา เช่น มาเลเซีย ที่ช่วงหลังแข็งค่าค่อนข้างเยอะ

    สำหรับการประเมิน แบงก์ชาติจะดูว่าที่มาของการแข็งค่าคืออะไร 1. ถ้ามาจากปัจจัยเชิงโครงสร้างหรือเชิงปัจจัยพื้นฐาน ซึ่งในเคสนี้มาจากเรื่องดอลลาร์อ่อนค่าและ Fed ลดดอกเบี้ย ก็เป็นการปรับตามกลไกตลาด

    แต่สิ่งที่ไม่อยากเห็นคือ 2. การเคลื่อนไหวที่เร็วและไม่ได้มาจากปัจจัยเชิงพื้นฐาน เช่น กระแสเงินที่มาจากการเก็งกำไร (Speculated Flow) หรือเงินร้อน (Hot Money) ซึ่งเข้ามาเก็งกำไรและทำให้ความผันผวนเกิดขึ้น โดยที่ไม่สะท้อนเรื่องของพื้นฐาน อันนี้แบงก์ชาติจะ sensitive กว่า

    ซึ่งภาพรวมของเงินทุนในช่วงหลัง การไหลออกน้อยกว่าปีที่แล้วเยอะ (ตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น) โดยปีก่อน (2566) เงินทุนไหลออก 9,900 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 3.2 แสนล้านบาท)

    ส่วนปีนี้ (2567) YTD อยู่ที่ 2,200 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 7.2 หมื่นล้านบาท) ช่วงหลังเห็นการไหลเข้าค่อนข้างเยอะ จากปัจจัยของโลกและปัจจัยแวดล้อมของเรา เช่น ความชัดเจนด้านการเมือง

    ที่มา https://www.bot.or.th/content/dam/bot/documents/th/news-and-media/speeches/speechgov_20sep2024.pdf
    ชมคลิปได้ที่ https://youtu.be/_z66w8oG260?si=v16T3b9bMjKajLvF

    #Thaitimes
    20 กันยายน 2567 -Highlight จากงาน BOT Symposium 2024 | หนี้: The Economics of Balancing Today and Tomorrow ช่วงหนึ่ง ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติบอกว่า ธปท.ไม่จำเป็นต้องปรับลดดอกเบี้ยตาม Fed โดยย้ำว่า นโยบายการเงินในประเทศ ยังอิงอยู่กับปัจจัยในประเทศเป็นหลัก รายงานจากเพจ Today Biznews เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ’ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ตอบกรณีที่ธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ลดดอกเบี้ย ว่า Fed ลดดอกเบี้ย 0.50% หรือ 50 เบสิสพอยท์ (bps) สำหรับ Fed ถือว่าไม่น้อย แต่ในแง่ผลกระทบ มองว่า ตลาดรับรู้ไปแล้วระดับหนึ่ง ทำให้ผลกระทบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นดอลลาร์อ่อนค่า ค่าเงินในภูมิภาคและค่าเงินบาทแข็งค่า สะท้อนไปแล้วระดับหนึ่ง ส่วนช่องทางที่กระทบเศรษฐกิจไทย หลักๆ คือ กระทบตลาดเงินและค่าเงิน ในแง่ผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล (Bond Yield) ก็มีบ้าง แต่โดยรวมผลกระทบต่อเศรษฐกิจไม่ได้มากมายขนาดนั้น เพราะเราเป็นเศรษฐกิจที่พึ่งระบบแบงก์เป็นส่วนใหญ่ ช่องที่เห็นที่กระทบเยอะคือค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นมาจากการอ่อนค่าของดอลลาร์ อีกอย่างที่ซ้ำเติมคือราคาทองคำที่ทำจุดสูงสุดใหม่ (All Time High) ส่วนหนึ่งก็มาจากดอลลาร์อ่อนค่า ซึ่งค่าเงินไทยมีความสัมพันธ์ (Correlation) กับทองค่อนข้างสูง สูงกว่าเงินสกุลอื่นในภูมิภาค ส่วนผลในแง่เศรษฐกิจหลัง Fed ลดดอกเบี้ย สะท้อนว่า Fed ให้ความสำคัญกับ Soft Landing หรือให้ความสำคัญกับการดูแลเรื่องเศรษฐกิจ เทียบกับความเป็นห่วงในด้านเงินเฟ้อ ซึ่งในแง่เศรษฐกิจ อาจจะทำให้ไทยสบายใจขึ้นได้หน่อยว่า โอกาส Soft Landing ในสหรัฐจะสูงขึ้น แต่ตัวเลขต่างๆ ก่อนหน้านี้ก็ไม่ได้น่ากลัวขนาดนั้น ‘นี่ (การลดดอกเบี้ยของ Fed) ก็เหมือนการซื้อประกัน Make Sure ว่าโอกาสเกิด Hard Landing ให้มันน้อยๆ’ [ นโยบายอิงกับปัจจัยในประเทศ ] ส่วนผลต่อการดำเนินนโยบายการเงินของประเทศเรา ผู้ว่าฯ บอกว่า นโยบายการเงินของไทย เน้นเรื่องภายในประเทศเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วย 3 ปัจจัยหลัก (ที่แบงก์ชาติบอกอยู่เสมอ) คือ 1. เศรษฐกิจ: การเติบโตว่าจะเข้าสู่ศักยภาพหรือไม่ 2. เงินเฟ้อ: เงินเฟ้อของเราจะเข้าสู่กรอบเงินเฟ้อหรือไม่ 3. เสถียรภาพทางด้านการเงิน: ซึ่งช่วงหลังให้ความสำคัญ ทั้ง 3 ปัจจัย ไม่ได้เห็นอะไรที่จะทำให้ภาพการประเมินแตกต่างจากที่มองเอาไว้ ทั้งเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ มีแต่เสถียรภาพทางด้านการเงิน เริ่มเห็นความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) เพิ่มสูงขึ้นเยอะ แต่ก็ต้องคำนึงถึงภาพรวม ซึ่งหนึ่งในนั้นคือตอนที่ธนาคารกลางยักษ์ใหญ่ของโลกเตรียมปรับเปลี่ยนนโยบาย ซึ่งจะกระทบภาพรวม และมีนัยต่อประเด็นข้างต้น ทำให้ต้องคำนึงถึง ‘การที่เราย้ำว่า เรา Outlook Dependent เป็นการตัดสินใจ หรือกรอบความคิดที่เหมาะสมแล้ว และถูกต้อง เพราะเราเห็นแล้วว่าที่อื่นที่เน้น Data Dependent มันสร้าง noise ต่อตลาดเยอะ’ ส่วนการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ณ ตอนนี้ยังประชุมตามเดิม (รอบหน้า 16 ต.ค. 2567) ถ้าต้องมีการประชุมเพิ่มเติมพิเศษก็มีได้ [ ดอกเบี้ยลด หนี้ไม่ลด ] เมื่อถามถึงความคาดหวังให้แบงก์ชาติลดดอกเบี้ยเพื่อลดหนี้ครัวเรือน ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติ อธิบายว่า สำหรับตัวบน (หนี้) มี 2 ส่วน คือ ผลต่อหนี้เก่า ซึ่งถ้าลดดอกเบี้ย จะทำให้ภาระหนี้ที่ต้องจ่ายบนหนี้เก่าลดลง ส่วนหนี้ใหม่ คำถามคือ ถ้าลดดอกเบี้ยแล้วทำให้สินเชื่อโตเร็วขึ้น ตัวหนี้โดยรวมมันก็จะเพิ่มขึ้น ซึ่งการดูตรงนี้ต้องชั่งน้ำหนักทั้ง 2 ส่วน แต่ยังไงแบงก์ชาติก็ไม่ได้อยากเห็นตัวเลขหนี้ต่อจีดีพีโตพุ่งสูงต่อเนื่อง เพราะในแง่ของเสถียรภาพมันคงไม่เหมาะ แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากจะให้มันลงเร็ว ลงแรง จนเกินไป เพราะจะมีผลต่อเศรษฐกิจ ต้องบอกว่า ภาระหนี้เป็นอะไรที่แบงก์ชาติเป็นห่วง เพราะมีสัดส่วนครัวเรือนไม่น้อยที่มีปัญหาหนี้ แต่อยากฝากไว้ว่า การลดดอกเบี้ย ผลที่ส่งต่อภาระหนี้มันก็ไม่ได้เต็มที่ หนี้ของเราสัดส่วนไม่น้อยไม่ได้เป็นหนี้ Floating แต่เป็น Fixed Rate และ Fixed Installment พวกนี้ภาระหนี้ไม่ได้ลด ในแง่ที่ต้องจ่ายรายเดือน เพราะฉะนั้น จะไปคาดหวังให้ดอกเบี้ยลงปุ๊ปและภาระหนี้ทุกคนลด ก็ไม่ใช่ ‘เรื่องของ Fed มันไม่ใช่ว่า Fed ลดแล้วเราต้องลด แต่การที่ Fed ลด อย่างที่บอก มันก็กระทบปัจจัยหลายอย่าง กระทบเรื่องของภาพรวมอะไรต่างๆ กระทบตัวแปรต่างๆ ที่เราต้องคำนึงถึงในการตัดสินใจเรื่องดอกเบี้ย’ ผู้ว่าฯ อธิบายอีกว่า เราไม่เหมือนประเทศที่ fix ค่าเงิน เช่น ฮ่องกง หรือตะวันออกกลาง ที่ fix ค่าเงินกับดอลลาร์ เมื่อ Fed ลดดอกเบี้ย เขาก็ต้องลดดอกเบี้ยไปโดยปริยาย แต่ของเราไม่ใช่แบบนั้น [ เงินไหลออกน้อยกว่าปีก่อน ] ส่วนผลกระทบต่อค่าเงินบาท แน่นอนว่าแบงก์ชาติไม่ได้อยากเห็นค่าเงินที่ผันผวนขนาดนี้ และค่าความผันผวน (Volatility) ของเราก็สูง และการแข็งค่า โดยเฉพาะช่วงหลัง ก็เกิดขึ้นค่อนข้างเร็ว ตั้งแต่ต้นปีถึงปัจจุบัน (YTD) บาทแข็งค่าไป 2.4% แต่ก็ยังมีประเทศที่แข็งค่ามากกว่าเรา เช่น มาเลเซีย ที่ช่วงหลังแข็งค่าค่อนข้างเยอะ สำหรับการประเมิน แบงก์ชาติจะดูว่าที่มาของการแข็งค่าคืออะไร 1. ถ้ามาจากปัจจัยเชิงโครงสร้างหรือเชิงปัจจัยพื้นฐาน ซึ่งในเคสนี้มาจากเรื่องดอลลาร์อ่อนค่าและ Fed ลดดอกเบี้ย ก็เป็นการปรับตามกลไกตลาด แต่สิ่งที่ไม่อยากเห็นคือ 2. การเคลื่อนไหวที่เร็วและไม่ได้มาจากปัจจัยเชิงพื้นฐาน เช่น กระแสเงินที่มาจากการเก็งกำไร (Speculated Flow) หรือเงินร้อน (Hot Money) ซึ่งเข้ามาเก็งกำไรและทำให้ความผันผวนเกิดขึ้น โดยที่ไม่สะท้อนเรื่องของพื้นฐาน อันนี้แบงก์ชาติจะ sensitive กว่า ซึ่งภาพรวมของเงินทุนในช่วงหลัง การไหลออกน้อยกว่าปีที่แล้วเยอะ (ตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น) โดยปีก่อน (2566) เงินทุนไหลออก 9,900 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 3.2 แสนล้านบาท) ส่วนปีนี้ (2567) YTD อยู่ที่ 2,200 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 7.2 หมื่นล้านบาท) ช่วงหลังเห็นการไหลเข้าค่อนข้างเยอะ จากปัจจัยของโลกและปัจจัยแวดล้อมของเรา เช่น ความชัดเจนด้านการเมือง ที่มา https://www.bot.or.th/content/dam/bot/documents/th/news-and-media/speeches/speechgov_20sep2024.pdf ชมคลิปได้ที่ https://youtu.be/_z66w8oG260?si=v16T3b9bMjKajLvF #Thaitimes
    Like
    Yay
    9
    0 Comments 1 Shares 2715 Views 0 Reviews
More Results