• ✨วันนี้ในอดีต ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨เสด็จพระราชดำเนินบริเวณพื้นที่หนองหมาคาบปลา บ้านจำปา ต.หนองลาด และ อ่างเก็บน้ำหนองแบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านวาริชภูม ต.วาริชภูม อ.วาริชภูม จ.สกลนคร Cr. Pinterest #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #22พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨เสด็จพระราชดำเนินบริเวณพื้นที่หนองหมาคาบปลา บ้านจำปา ต.หนองลาด และ อ่างเก็บน้ำหนองแบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านวาริชภูม ต.วาริชภูม อ.วาริชภูม จ.สกลนคร Cr. Pinterest #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #22พฤศจิกายน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 248 มุมมอง 0 รีวิว
  • Fit & Flow เรามีสตูดิโอให้เช่า
    สามารถนำสัตว์เลี้ยงมาเป็นเพื่อนได้ด้วยน้า

    🧡 PILATES STUDIO FOR RENT
    600.- / HOUR
    รักสุขภาพไปด้วยกัน ทั้งคนและสัตว์เลี้ยง
    .
    more info please contact :
    🧘‍♀️ Group & Private Pilates
    🐱 Pet-friendly
    📲 @fitandflow.bkk
    ☎ 083-941-5537
    📍 Regent House 2 Floor 6, (BTS Rajadamri Exit 2)
    #พิลาทิส #พิลาทีสราชดำริ #พิลาทิสเพื่อการบำบัด #pilates #pilatesismagic #pilatesthailand #pilatesbangkok #ราชดำริ #heartofbangkok #thaitimes
    Fit & Flow เรามีสตูดิโอให้เช่า สามารถนำสัตว์เลี้ยงมาเป็นเพื่อนได้ด้วยน้า 🧡 PILATES STUDIO FOR RENT 600.- / HOUR รักสุขภาพไปด้วยกัน ทั้งคนและสัตว์เลี้ยง . more info please contact : 🧘‍♀️ Group & Private Pilates 🐱 Pet-friendly 📲 @fitandflow.bkk ☎ 083-941-5537 📍 Regent House 2 Floor 6, (BTS Rajadamri Exit 2) #พิลาทิส #พิลาทีสราชดำริ #พิลาทิสเพื่อการบำบัด #pilates #pilatesismagic #pilatesthailand #pilatesbangkok #ราชดำริ #heartofbangkok #thaitimes
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • แผนกแพทย์แผนจีนที่ RegeneLife Vital Center เรามุ่งเน้นการดูแลปรับสมดุลร่างกาย อย่างครอบคลุมในเชิงป้องกันและบำบัดรักษา
    --
    การฝังเข็ม : สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเรื้อรัง เช่น โรคข้ออักเสบ อาการบาดเจ็บ ปวดหัวไมเกรน ปวดประจําเดือน และอาการปวดคอ หลัง หรือหัวเข่า นอกจากนี้ยังช่วยให้ภาวะและระบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ดีขึ้นได้ ผลข้างเคียงของโรคมะเร็งและการรักษามะเร็ง ระบบภูมิคุ้มกัน
    นอกจากทางศูนย์จะผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ยังตั้งอยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก ทั้งโดย BTSราชดำริ และ MRT สีลม หมดความกังวลใจเรื่องที่จอดรถ เพราะทางเรามีบริการลานจอดรถที่รองรับผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวาง
    จองคิวล่วงหน้าหรือสอบถามเพิ่มเติม
    💙 RVC Clinic Rajadamri
    ✅Line : @rvc.official https://lin.ee/9azUqvQ
    📞 phone : 083-9485178
    💙 Facebook : https://www.facebook.com/Regenelife?mibextid=uzlsIk
    💖Instagram: https://www.instagram.com/rvc_rajadamri...
    🌟TikTok : rvc.official
    📍5th Fl. Regent House 2 building
    https://maps.app.goo.gl/UgibdJL3NQibkYae9?g_st=ic
    ฝังเข็ม #ออฟฟิศซินโดรม #ครอบแก้ว #แพทย์แผนจีน #chinesemedicine #acupuncture #cupping #ราชดำริ #สวนลุมพินี #นอนไม่หลับ #หลับยาก #หน้าใส #ฝังเข็มหน้าใส #RegeneLife #regenelifevitalcenter #thaitimes
    แผนกแพทย์แผนจีนที่ RegeneLife Vital Center เรามุ่งเน้นการดูแลปรับสมดุลร่างกาย อย่างครอบคลุมในเชิงป้องกันและบำบัดรักษา -- การฝังเข็ม : สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเรื้อรัง เช่น โรคข้ออักเสบ อาการบาดเจ็บ ปวดหัวไมเกรน ปวดประจําเดือน และอาการปวดคอ หลัง หรือหัวเข่า นอกจากนี้ยังช่วยให้ภาวะและระบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ดีขึ้นได้ ผลข้างเคียงของโรคมะเร็งและการรักษามะเร็ง ระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากทางศูนย์จะผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ยังตั้งอยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก ทั้งโดย BTSราชดำริ และ MRT สีลม หมดความกังวลใจเรื่องที่จอดรถ เพราะทางเรามีบริการลานจอดรถที่รองรับผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวาง จองคิวล่วงหน้าหรือสอบถามเพิ่มเติม 💙 RVC Clinic Rajadamri ✅Line : @rvc.official https://lin.ee/9azUqvQ 📞 phone : 083-9485178 💙 Facebook : https://www.facebook.com/Regenelife?mibextid=uzlsIk 💖Instagram: https://www.instagram.com/rvc_rajadamri... 🌟TikTok : rvc.official 📍5th Fl. Regent House 2 building https://maps.app.goo.gl/UgibdJL3NQibkYae9?g_st=ic ฝังเข็ม #ออฟฟิศซินโดรม #ครอบแก้ว #แพทย์แผนจีน #chinesemedicine #acupuncture #cupping #ราชดำริ #สวนลุมพินี #นอนไม่หลับ #หลับยาก #หน้าใส #ฝังเข็มหน้าใส #RegeneLife #regenelifevitalcenter #thaitimes
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • 14 พฤศจิกายน วันพระบิดาแห่งฝนหลวง////////////////////วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี 65 ปีแห่งการกำเนิดฝนหลวงพระราชทาน นับจากวันที่ 14 พฤศจิกายน 2498 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำริที่จะคิดค้น วิจัย หาวิธีการทำฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ประสบภัยแล้ง ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2545 เฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน ในฐานะทรงเป็น "พระบิดาแห่งฝนหลวง" และกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีเป็น "วันพระบิดาแห่งฝนหลวง" เพื่อร่วมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ และจารึกไว้เป็นวันสำคัญของประวัติศาสตร์ชาติไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริโครงการฝนหลวงขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทรงศึกษาค้นคว้าและวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้องประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จากพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง นับแต่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทำให้ทรงพบเห็นว่า ภาวะแห้งแล้งได้มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพราะการตัดไม้ทำลายป่า เป็นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ส่งผลถึงความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติ คิดเป็นมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี ทั้งนี้ ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชดำเนิน ทั้งภาคพื้นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสังเกตเห็นว่า มีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้ง ๆ ที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคำนึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ในภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ในอิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูกประจำปีของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตกได้ ดังนั้น ตั้งแต่พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จนทรงมั่นพระราชหฤทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางด้านเกษตรวิศวกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะนั้น และในปีถัดมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทำให้เกิดการทดลองปฏิบัติการบนท้องฟ้า กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืชกรมการข้าว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดยในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำการทดลองปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำนวยการโครงการและหัวหน้าคณะปฏิบัติการทดลองคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็นพื้นที่ทดลองแห่งแรก ต่อมา ได้มีปฏิบัติการโดยทดลองหยอดก้อนน้ำแข็งแห้ง ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วแล้ว และจากการติดตามผลโดยการสำรวจทางภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่บริเวณวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่บ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และความสำเร็จดังกล่าวยังส่งผลให้มีการพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดโครงการฝนหลวงมาจนถึงปัจจุบัน
    14 พฤศจิกายน วันพระบิดาแห่งฝนหลวง////////////////////วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี 65 ปีแห่งการกำเนิดฝนหลวงพระราชทาน นับจากวันที่ 14 พฤศจิกายน 2498 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำริที่จะคิดค้น วิจัย หาวิธีการทำฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ประสบภัยแล้ง ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2545 เฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน ในฐานะทรงเป็น "พระบิดาแห่งฝนหลวง" และกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีเป็น "วันพระบิดาแห่งฝนหลวง" เพื่อร่วมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ และจารึกไว้เป็นวันสำคัญของประวัติศาสตร์ชาติไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริโครงการฝนหลวงขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทรงศึกษาค้นคว้าและวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้องประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จากพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง นับแต่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทำให้ทรงพบเห็นว่า ภาวะแห้งแล้งได้มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพราะการตัดไม้ทำลายป่า เป็นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ส่งผลถึงความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติ คิดเป็นมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี ทั้งนี้ ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชดำเนิน ทั้งภาคพื้นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสังเกตเห็นว่า มีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้ง ๆ ที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคำนึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ในภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ในอิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูกประจำปีของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตกได้ ดังนั้น ตั้งแต่พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จนทรงมั่นพระราชหฤทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางด้านเกษตรวิศวกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะนั้น และในปีถัดมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทำให้เกิดการทดลองปฏิบัติการบนท้องฟ้า กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืชกรมการข้าว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดยในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำการทดลองปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำนวยการโครงการและหัวหน้าคณะปฏิบัติการทดลองคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็นพื้นที่ทดลองแห่งแรก ต่อมา ได้มีปฏิบัติการโดยทดลองหยอดก้อนน้ำแข็งแห้ง ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วแล้ว และจากการติดตามผลโดยการสำรวจทางภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่บริเวณวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่บ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และความสำเร็จดังกล่าวยังส่งผลให้มีการพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดโครงการฝนหลวงมาจนถึงปัจจุบัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 368 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๘✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่ ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร

    Cr. เฟซบุ๊ก Pattarapong Arm

    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #12พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๘✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่ ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร Cr. เฟซบุ๊ก Pattarapong Arm #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #12พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 207 มุมมอง 0 รีวิว
  • พรุโต๊ะแดง” มหัศจรรย์ป่าพรุใต้ร่มพระบารมี/ปิ่น บุตรี ผู้เขียน

    “พรุเราต้องเก็บไว้ เพราะมีความสำคัญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ต้องห้ามไม่ให้บุกรุกเข้าไป คราวนี้เราทำโครงการที่โคกใน เขาจะบุกรุกเข้าไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะจำกัดบริเวณเขา ในพรุเราก็ส่งเสริมเอาไม้พรุเพิ่มประสิทธิภาพ อย่างตามข้างทางนี้สวยมากเห็นไม้ต่างๆ ไม้หลาวชะโอนก็มี”

    “การกำหนดขอบเขตป่าพรุ ควรกำหนดขอบเขตป่าพรุให้แน่นอน เพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ อันจะทำให้สภาพแวดล้อมเสียหมด”

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริไว้เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2535

    “ป่าพรุ” เป็นป่าลักษณะพิเศษ เป็นป่าไม้ทึบไม่ผลัดใบประเภทหนึ่ง มีต้นไม้ใหญ่น้อยขึ้นปะปนกัน ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ที่ไม่ได้ขึ้นบน“ดินพรุ”ที่เกิดจากสะสมตัวของซากอินทรียวัตถุ

    ป่าพรุมีลักษณะเด่นที่สำคัญยิ่ง คือ เป็นป่าดงดิบที่มีน้ำท่วมขังอยู่ตลอด

    สำหรับหนึ่งในป่าพรุผืนสำคัญยิ่งของเมืองไทยก็คือ “ป่าพรุโต๊ะแดง” ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ปัจจุบันมีเนื้อที่กว่า 120,000 ไร่ (มีส่วนที่สมบูรณ์จริงๆประมาณ 50,000 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเมือง

    “มาเณศ บุณยานันต์” หัวหน้าศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร เล่าให้ผมฟังเมื่อครั้งไปเยือนศูนย์ฯแห่งนี้หนล่าสุดว่า ป่าพรุโต๊ะแดงเป็นป่าผืนสำคัญของชาวนราธิวาสมาช้านาน มีทั้งตำนานเรื่องเล่าความเชื่อ เกี่ยวกับที่มาของผืนป่าแห่งนี้ ปัจจุบันแม้ชื่อจริงๆของป่าพรุแห่งนี้จะเรียกขานกันว่า “ป่าพรุโต๊ะแดง” แต่เนื่องจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯมายังป่าพรุแห่งนี้หลายครั้ง หลายๆคนจึงยกให้เป็นดังป่าพรุของสมเด็จพระเทพฯ แล้วพากันนิยมเรียกขานป่าพรุแห่งนี้ว่า “ป่าพรุสิรินธร”

    ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปัจจุบันเป็นป่าพรุขนาดใหญ่ผืนสุดท้ายที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และมีคุณประโยชน์อันหลากหลายทั้งทางตรงทางอ้อมต่อสภาพแวดล้อมและมนุษย์เรา
    อย่างไรก็ดีในอดีตป่าพรุโต๊ะแดงและบริเวณใกล้เคียงได้ถูกทำลายลงจากน้ำมือมนุษย์ ทั้งจากการบุกรุกแผ้วถางป่าพรุ การทำการเกษตรที่ผิดวิธี การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าพรุอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมถึงการเกิดไฟป่า(ที่มีทั้งเกิดจากธรรมชาติและฝีมือมนุษย์) ส่งผลให้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสถูกทำลายกลายเป็นป่าเสื่อมโทรม ใช้ประโยชน์ได้เพียงส่วนน้อย
    กระทั่งในปี พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินแปพระราชฐานไปยัง พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ จ.นราธิวาส ความทราบสู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทถึงความเดือดร้อนของราษฎรในพื้นที่บริเวณป่าพรุ พระองค์ท่านจึงมีพระราชดำริเป็นแนวทางในการฟื้นฟูป่าพรุ

    หลังจากนั้นป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสก็ได้รับการฟื้นฟูเรื่อยมา โดยในแนวทางการฟื้นฟูป่าพรุนั้น ได้มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของพื้นที่ป่าพรุและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พัฒนาพื้นที่ป่าพรุ เช่น การป้องกันไฟไหม้ป่าพรุ การบริหารจัดการน้ำในป่าพรุ การทำการเกษตรในพื้นที่ป่าพรุอย่างถูกวิธี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
    อ่านต่อ >>> https://mgronline.com/travel/detail/9590000110516 <<<<<

    #ป่าพุโต๊ะแดง

    พรุโต๊ะแดง” มหัศจรรย์ป่าพรุใต้ร่มพระบารมี/ปิ่น บุตรี ผู้เขียน “พรุเราต้องเก็บไว้ เพราะมีความสำคัญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ต้องห้ามไม่ให้บุกรุกเข้าไป คราวนี้เราทำโครงการที่โคกใน เขาจะบุกรุกเข้าไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะจำกัดบริเวณเขา ในพรุเราก็ส่งเสริมเอาไม้พรุเพิ่มประสิทธิภาพ อย่างตามข้างทางนี้สวยมากเห็นไม้ต่างๆ ไม้หลาวชะโอนก็มี” “การกำหนดขอบเขตป่าพรุ ควรกำหนดขอบเขตป่าพรุให้แน่นอน เพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ อันจะทำให้สภาพแวดล้อมเสียหมด” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริไว้เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “ป่าพรุ” เป็นป่าลักษณะพิเศษ เป็นป่าไม้ทึบไม่ผลัดใบประเภทหนึ่ง มีต้นไม้ใหญ่น้อยขึ้นปะปนกัน ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ที่ไม่ได้ขึ้นบน“ดินพรุ”ที่เกิดจากสะสมตัวของซากอินทรียวัตถุ ป่าพรุมีลักษณะเด่นที่สำคัญยิ่ง คือ เป็นป่าดงดิบที่มีน้ำท่วมขังอยู่ตลอด สำหรับหนึ่งในป่าพรุผืนสำคัญยิ่งของเมืองไทยก็คือ “ป่าพรุโต๊ะแดง” ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ปัจจุบันมีเนื้อที่กว่า 120,000 ไร่ (มีส่วนที่สมบูรณ์จริงๆประมาณ 50,000 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเมือง “มาเณศ บุณยานันต์” หัวหน้าศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร เล่าให้ผมฟังเมื่อครั้งไปเยือนศูนย์ฯแห่งนี้หนล่าสุดว่า ป่าพรุโต๊ะแดงเป็นป่าผืนสำคัญของชาวนราธิวาสมาช้านาน มีทั้งตำนานเรื่องเล่าความเชื่อ เกี่ยวกับที่มาของผืนป่าแห่งนี้ ปัจจุบันแม้ชื่อจริงๆของป่าพรุแห่งนี้จะเรียกขานกันว่า “ป่าพรุโต๊ะแดง” แต่เนื่องจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯมายังป่าพรุแห่งนี้หลายครั้ง หลายๆคนจึงยกให้เป็นดังป่าพรุของสมเด็จพระเทพฯ แล้วพากันนิยมเรียกขานป่าพรุแห่งนี้ว่า “ป่าพรุสิรินธร” ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปัจจุบันเป็นป่าพรุขนาดใหญ่ผืนสุดท้ายที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และมีคุณประโยชน์อันหลากหลายทั้งทางตรงทางอ้อมต่อสภาพแวดล้อมและมนุษย์เรา อย่างไรก็ดีในอดีตป่าพรุโต๊ะแดงและบริเวณใกล้เคียงได้ถูกทำลายลงจากน้ำมือมนุษย์ ทั้งจากการบุกรุกแผ้วถางป่าพรุ การทำการเกษตรที่ผิดวิธี การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าพรุอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมถึงการเกิดไฟป่า(ที่มีทั้งเกิดจากธรรมชาติและฝีมือมนุษย์) ส่งผลให้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสถูกทำลายกลายเป็นป่าเสื่อมโทรม ใช้ประโยชน์ได้เพียงส่วนน้อย กระทั่งในปี พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินแปพระราชฐานไปยัง พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ จ.นราธิวาส ความทราบสู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทถึงความเดือดร้อนของราษฎรในพื้นที่บริเวณป่าพรุ พระองค์ท่านจึงมีพระราชดำริเป็นแนวทางในการฟื้นฟูป่าพรุ หลังจากนั้นป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสก็ได้รับการฟื้นฟูเรื่อยมา โดยในแนวทางการฟื้นฟูป่าพรุนั้น ได้มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของพื้นที่ป่าพรุและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พัฒนาพื้นที่ป่าพรุ เช่น การป้องกันไฟไหม้ป่าพรุ การบริหารจัดการน้ำในป่าพรุ การทำการเกษตรในพื้นที่ป่าพรุอย่างถูกวิธี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น อ่านต่อ >>> https://mgronline.com/travel/detail/9590000110516 <<<<< #ป่าพุโต๊ะแดง
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 222 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุทยานอ่าวมะนาว -เขาตันหยง จ.นราธิวาส

    ตั้งอยู่หมู่ ๑ ตำบลกะลุวอเหนือ เป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องจากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจังหวัดปัตตานี เป็นโค้งอ่าวเชื่อมต่อกันยาว ๔ กิโลเมตร มีโขดหินคั่นสลับโค้งหาดเป็นระยะ ๆ ด้านหนึ่งติดพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์
    หนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติน่าเที่ยวแห่งจังหวัดนราธิวาส เพลิดเพลินกับการเที่ยวชมระบบนิเวศที่หลากหลาย ทั้งชายทะเล เนินเขาสูง พื้นที่ป่าสงวน ป่าพรุ และมีอาณาเขตพื้นที่ติดต่อกับพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ทำให้สภาพธรรมชาติมีความสมบูรณ์หลากหลาย มีการพบต้นมะนาวผี ที่มีขนาดใหญ่และสวยงามมาก รวมถึงสัตว์ป่าหายากหลากชนิด เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักท่องเที่ยวสายธรรมชาติ และรักธรรมชาติโดยแท้จริง

    อุทยานแห่งชาติแห่งนี้มาจากการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาทรงเยี่ยมราษฎรในบริเวณพื้นที่บ้านบางมะนาว หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อหลายปีก่อน ทรงมีพระราชดำริให้มีการปรับปรุงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมและการส่งเสริมการท่องเที่ยว ซึ่งในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้น สำนักงานป่าไม้ปัตตานีจึงได้สนองพระราชดำริดังกล่าว โดยทำการสำรวจพื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติพิเศษ ป่าเขาตันหยง ในพื้นที่บริเวณนอกเขตพระราชฐานพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เพื่อจัดตั้งเป็นวนอุทยานก่อนในเริ่มแรก มีเนื้อที่ประมาณ 23,278.25 ไร่ แล้วตั้งชื่อว่า วนอุทยานอ่าวมะนาว โดยกรมป่าไม้ได้ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2536

    การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘๔ นราธิวาส-ตากใบ ๓ กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก ๓ กิโลเมตร
    พอข้ามสะพานข้ามแม่น้ำบางนราจะมีทางเลี้ยวซ้าย เข้าไปเพียง 2.5 ม. ก็จะไปถึงแนวป่าสนร่มรื่นและชายทะเลยาวเหยียด พร้อมทั้งป้ายใหญ่โตชื่อ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง
    ท่านจะพบบริเวณริมหาดที่มีสวนรุกขชาติ และทิวสนร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด (beach forest) ระยะทาง ๑ กิโลเมตร พันธุ์ไม้ที่พบจะเป็นไม้ที่ชอบความแห้งแล้ง เช่น จักทะเล มะนาวผี เตยทะเล (คล้ายสับปะรด) เป็นต้น และในบริเวณใกล้เคียงยังมีบ้านพักของเอกชนให้บริการ

    เขาตันหยงนั้นเป็นภูเขาเตี้ยๆ มียอดหลายยอดมีพื้นที่พอประมาณไม่สูงนัก ด้านตะวันออกของภูเขาติดชายทะเลอ่าวไทยติดชายหาด ส่วนด้านตะวันตกติดแนวถนนหมายเลข 4064 ด้านทิศใต้เป็นพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์และด้านทิศเหนือจึงเป็นที่ทำการของอุทยานแห่งชาติ อ่าวมะนาว-เขาตันหยงนี่เอง
    ช่วงหน้าน้ำช่วงที่ฝนตกมาหลายวันต่อเนื่องกัน จะมีลำธารน้ำเล็กๆ ตกลงมาจากเขาตันหยงลงสู่ทะเลสองสาย กลายเป็นน้ำตกชั้นเล็กๆ คือน้ำตกธาราสวรรค์ที่ไหลลงชายหาดอ่าวมะนาวแล้วลงสูทะเล กัยน้ำตกริมผา ที่ไหลตกลงจากหน้าผาเล็กๆ ก่อนไหลเข้าหมู่บ้านแล้วออกสู่ชายทะเลด้านทศเหนือ ห่างที่ทำการอุทยานฯไปไม่ไกล

    อุทยานแหงชาติอ่าวมะนาว-ขาตันหยง ยังคงสถานภาพเป็นอุทยานเตรียมการประกาศ แต่ก็ได้รักษาดูแลสถานที่ไว้จนสวยงาม สมกับเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใกล้กับตัวเมืองนราธิวาสที่สุด

    มานราคราววหน้า ลองมาเที่ยวเขาตันหยง-อ่าวมะนาว แล้วจะประทับใจเมืองนี้ไปอีกนาน....







    อุทยานอ่าวมะนาว -เขาตันหยง จ.นราธิวาส ตั้งอยู่หมู่ ๑ ตำบลกะลุวอเหนือ เป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องจากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจังหวัดปัตตานี เป็นโค้งอ่าวเชื่อมต่อกันยาว ๔ กิโลเมตร มีโขดหินคั่นสลับโค้งหาดเป็นระยะ ๆ ด้านหนึ่งติดพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ หนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติน่าเที่ยวแห่งจังหวัดนราธิวาส เพลิดเพลินกับการเที่ยวชมระบบนิเวศที่หลากหลาย ทั้งชายทะเล เนินเขาสูง พื้นที่ป่าสงวน ป่าพรุ และมีอาณาเขตพื้นที่ติดต่อกับพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ทำให้สภาพธรรมชาติมีความสมบูรณ์หลากหลาย มีการพบต้นมะนาวผี ที่มีขนาดใหญ่และสวยงามมาก รวมถึงสัตว์ป่าหายากหลากชนิด เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักท่องเที่ยวสายธรรมชาติ และรักธรรมชาติโดยแท้จริง อุทยานแห่งชาติแห่งนี้มาจากการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาทรงเยี่ยมราษฎรในบริเวณพื้นที่บ้านบางมะนาว หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อหลายปีก่อน ทรงมีพระราชดำริให้มีการปรับปรุงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมและการส่งเสริมการท่องเที่ยว ซึ่งในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้น สำนักงานป่าไม้ปัตตานีจึงได้สนองพระราชดำริดังกล่าว โดยทำการสำรวจพื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติพิเศษ ป่าเขาตันหยง ในพื้นที่บริเวณนอกเขตพระราชฐานพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เพื่อจัดตั้งเป็นวนอุทยานก่อนในเริ่มแรก มีเนื้อที่ประมาณ 23,278.25 ไร่ แล้วตั้งชื่อว่า วนอุทยานอ่าวมะนาว โดยกรมป่าไม้ได้ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2536 การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘๔ นราธิวาส-ตากใบ ๓ กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก ๓ กิโลเมตร พอข้ามสะพานข้ามแม่น้ำบางนราจะมีทางเลี้ยวซ้าย เข้าไปเพียง 2.5 ม. ก็จะไปถึงแนวป่าสนร่มรื่นและชายทะเลยาวเหยียด พร้อมทั้งป้ายใหญ่โตชื่อ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง ท่านจะพบบริเวณริมหาดที่มีสวนรุกขชาติ และทิวสนร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด (beach forest) ระยะทาง ๑ กิโลเมตร พันธุ์ไม้ที่พบจะเป็นไม้ที่ชอบความแห้งแล้ง เช่น จักทะเล มะนาวผี เตยทะเล (คล้ายสับปะรด) เป็นต้น และในบริเวณใกล้เคียงยังมีบ้านพักของเอกชนให้บริการ เขาตันหยงนั้นเป็นภูเขาเตี้ยๆ มียอดหลายยอดมีพื้นที่พอประมาณไม่สูงนัก ด้านตะวันออกของภูเขาติดชายทะเลอ่าวไทยติดชายหาด ส่วนด้านตะวันตกติดแนวถนนหมายเลข 4064 ด้านทิศใต้เป็นพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์และด้านทิศเหนือจึงเป็นที่ทำการของอุทยานแห่งชาติ อ่าวมะนาว-เขาตันหยงนี่เอง ช่วงหน้าน้ำช่วงที่ฝนตกมาหลายวันต่อเนื่องกัน จะมีลำธารน้ำเล็กๆ ตกลงมาจากเขาตันหยงลงสู่ทะเลสองสาย กลายเป็นน้ำตกชั้นเล็กๆ คือน้ำตกธาราสวรรค์ที่ไหลลงชายหาดอ่าวมะนาวแล้วลงสูทะเล กัยน้ำตกริมผา ที่ไหลตกลงจากหน้าผาเล็กๆ ก่อนไหลเข้าหมู่บ้านแล้วออกสู่ชายทะเลด้านทศเหนือ ห่างที่ทำการอุทยานฯไปไม่ไกล อุทยานแหงชาติอ่าวมะนาว-ขาตันหยง ยังคงสถานภาพเป็นอุทยานเตรียมการประกาศ แต่ก็ได้รักษาดูแลสถานที่ไว้จนสวยงาม สมกับเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใกล้กับตัวเมืองนราธิวาสที่สุด มานราคราววหน้า ลองมาเที่ยวเขาตันหยง-อ่าวมะนาว แล้วจะประทับใจเมืองนี้ไปอีกนาน....
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 0 รีวิว
  • เขื่อนบางลาง จ.ยะลา
    ตั้งอยู่ที่บ้านบางลาง ตำบลเขื่อนบางลาง เป็นโครงการไฟฟ้าพลังน้ำอเนกประสงค์แห่งแรกในภาคใต้ที่สร้างปิดกั้นแม่น้ำปัตตานี เป็นเขื่อนแบบหินทิ้งแกนดินเหนียว สูง 85 เมตร สันเขื่อนยาว 422 เมตร สามารถเก็บกักน้ำได้ 1,420 ล้านลูกบาศก์เมตร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนบางลาง เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2524 บริเวณเหนือเขื่อนมีจุดชมทิวทัศน์ ซึ่งมองเห็นทัศนียภาพของเขื่อน อ่างเก็บน้ำ และทิวเขาโดยรอบได้สวยงาม

    ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการก่อสร้างเขื่อนบางลางเมื่อปี 2521 ได้ทรงมีพระราชดำริให้ กฟผ. พิจารณานำน้ำที่ล้นจากฝายลงสู่อ่างเก็บน้ำเขื่อนบางลางมาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก เพื่อเป็นการพัฒนาแหล่งน้ำในท้องถิ่นที่เกิดประโยชน์เต็มที่

    กฟผ. ได้สนองพระราชดำริโดยก่อสร้างโรงไฟฟ้าใต้ภูเขาแห่งแรกของประเทศไทยที่หมู่ บ้านสันติ 1 ตำบลเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เมื่อปี 2524 ติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 1.275 เมกะวัตต์ จำนวน 1 เครื่อง และท่อส่งน้ำ ยาว 1800 เมตร สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ในเดือนตุลาคม 2525 ให้พลังงานไฟฟ้าปีละประมาณ 6 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง

    โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านสันติ มีการควบคุมการเดินเครื่องเป็นแบบระบบอัตโนมัติสามารถสั่งการและควบคุมการ เดินเครื่องได้โดยตรงจากโรงไฟฟ้าเขื่อนบางลาง จึงเป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กที่ต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูงเข้ามาช่วย ซึ่งดำเนินการโดยวิศวกรและช่างชาวไทยทั้งสิ้น
    นอกจากการผลิตไฟฟ้าแล้ว อ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนบางลาง ยังมีประโยชน์ไว้สำหรับในพื้นที่เพาะปลูกของ จังหวัดยะลา และปัตตานีด้วย รวมถึงช่วยบรรเทาน้ำท่วมในบริเวณตอนล่างของลุ่มน้ำปัตตานีได้เป็นอย่างดี อีกทั้งเป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญในภาคใต้อีกด้วย

    ที่นี่มีวิวสวยงามอย่างมาก เพราะอุดมสมบูรณ์ไปด้วยธรรมชาติ โดยเราสามารถล่องแพ หรือ นั่งเรือชมวิวของป่าฮาลาที่อยู่ใกล้เขื่อน และชมเกาะแก่งเหนือ เขื่อนบางลาง ได้แบบชิลๆ ได้สัมผัสธรรมชาติของป่าฮาลา ที่อุดมไปด้วยพันธุ์ไม้แปลกๆน่าศึกษาอีกด้วย
    #เที่ยวยะลา
    #คิดถึงธรรมชาติ

    เขื่อนบางลาง จ.ยะลา ตั้งอยู่ที่บ้านบางลาง ตำบลเขื่อนบางลาง เป็นโครงการไฟฟ้าพลังน้ำอเนกประสงค์แห่งแรกในภาคใต้ที่สร้างปิดกั้นแม่น้ำปัตตานี เป็นเขื่อนแบบหินทิ้งแกนดินเหนียว สูง 85 เมตร สันเขื่อนยาว 422 เมตร สามารถเก็บกักน้ำได้ 1,420 ล้านลูกบาศก์เมตร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนบางลาง เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2524 บริเวณเหนือเขื่อนมีจุดชมทิวทัศน์ ซึ่งมองเห็นทัศนียภาพของเขื่อน อ่างเก็บน้ำ และทิวเขาโดยรอบได้สวยงาม ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการก่อสร้างเขื่อนบางลางเมื่อปี 2521 ได้ทรงมีพระราชดำริให้ กฟผ. พิจารณานำน้ำที่ล้นจากฝายลงสู่อ่างเก็บน้ำเขื่อนบางลางมาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก เพื่อเป็นการพัฒนาแหล่งน้ำในท้องถิ่นที่เกิดประโยชน์เต็มที่ กฟผ. ได้สนองพระราชดำริโดยก่อสร้างโรงไฟฟ้าใต้ภูเขาแห่งแรกของประเทศไทยที่หมู่ บ้านสันติ 1 ตำบลเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เมื่อปี 2524 ติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 1.275 เมกะวัตต์ จำนวน 1 เครื่อง และท่อส่งน้ำ ยาว 1800 เมตร สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ในเดือนตุลาคม 2525 ให้พลังงานไฟฟ้าปีละประมาณ 6 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านสันติ มีการควบคุมการเดินเครื่องเป็นแบบระบบอัตโนมัติสามารถสั่งการและควบคุมการ เดินเครื่องได้โดยตรงจากโรงไฟฟ้าเขื่อนบางลาง จึงเป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กที่ต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูงเข้ามาช่วย ซึ่งดำเนินการโดยวิศวกรและช่างชาวไทยทั้งสิ้น นอกจากการผลิตไฟฟ้าแล้ว อ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนบางลาง ยังมีประโยชน์ไว้สำหรับในพื้นที่เพาะปลูกของ จังหวัดยะลา และปัตตานีด้วย รวมถึงช่วยบรรเทาน้ำท่วมในบริเวณตอนล่างของลุ่มน้ำปัตตานีได้เป็นอย่างดี อีกทั้งเป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญในภาคใต้อีกด้วย ที่นี่มีวิวสวยงามอย่างมาก เพราะอุดมสมบูรณ์ไปด้วยธรรมชาติ โดยเราสามารถล่องแพ หรือ นั่งเรือชมวิวของป่าฮาลาที่อยู่ใกล้เขื่อน และชมเกาะแก่งเหนือ เขื่อนบางลาง ได้แบบชิลๆ ได้สัมผัสธรรมชาติของป่าฮาลา ที่อุดมไปด้วยพันธุ์ไม้แปลกๆน่าศึกษาอีกด้วย #เที่ยวยะลา #คิดถึงธรรมชาติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 102 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 463 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • RegeneLife Vital Center ศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพองค์รวม แผนกแพทย์แผนจีน เรามุ่งเน้นการดูแลปรับสมดุลร่างกาย อย่างครอบคลุมในเชิงป้องกันและบำบัดรักษา จากการวินิจฉัยอย่างละเอียดโดยการดูลิ้น จับชีพจร(แมะ) และเลือกหัตถการการรักษาที่ตรงจุด อาทิ การฝังเข็ม ครอบแก้ว รมยา กวาซา แปะเมล็ดผักกาด แช่เท้า อบตัวสมุนไพรจีน รวมทั้งจ่ายยาจีน ซึ่งมีทั้งในรูปแบบยาต้ม และยาแคปซูล ปรับเปลี่ยนตามสภาวะร่างกายของผู้รับบริการในแต่ละช่วงได้อย่างใกล้ชิด
    นอกจากทางศูนย์จะผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ยังตั้งอยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก ทั้งโดย BTSราชดำริ และ MRT สีลม หมดความกังวลใจเรื่องที่จอดรถ เพราะทางเรามีบริการลานจอดรถที่รองรับผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวาง
    จองคิวล่วงหน้าหรือสอบถามเพิ่มเติม
    💙 RVC Clinic Rajadamri
    ✅Line : @rvc.official https://lin.ee/9azUqvQ
    📞 phone : 083-9485178
    💙 Facebook : https://www.facebook.com/Regenelife?mibextid=uzlsIk
    💖Instagram: https://www.instagram.com/rvc_rajadamri...
    🌟TikTok : rvc.official
    📍5th Fl. Regent House 2 building
    https://maps.app.goo.gl/UgibdJL3NQibkYae9?g_st=ic
    ฝังเข็ม #ออฟฟิศซินโดรม #ครอบแก้ว #แพทย์แผนจีน #chinesemedicine #acupuncture #cupping #ราชดำริ #สวนลุมพินี #นอนไม่หลับ #หลับยาก #หน้าใส #ฝังเข็มหน้าใส #RegeneLife #regenelifevitalcenter #thaitimes
    RegeneLife Vital Center ศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพองค์รวม แผนกแพทย์แผนจีน เรามุ่งเน้นการดูแลปรับสมดุลร่างกาย อย่างครอบคลุมในเชิงป้องกันและบำบัดรักษา จากการวินิจฉัยอย่างละเอียดโดยการดูลิ้น จับชีพจร(แมะ) และเลือกหัตถการการรักษาที่ตรงจุด อาทิ การฝังเข็ม ครอบแก้ว รมยา กวาซา แปะเมล็ดผักกาด แช่เท้า อบตัวสมุนไพรจีน รวมทั้งจ่ายยาจีน ซึ่งมีทั้งในรูปแบบยาต้ม และยาแคปซูล ปรับเปลี่ยนตามสภาวะร่างกายของผู้รับบริการในแต่ละช่วงได้อย่างใกล้ชิด นอกจากทางศูนย์จะผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ยังตั้งอยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก ทั้งโดย BTSราชดำริ และ MRT สีลม หมดความกังวลใจเรื่องที่จอดรถ เพราะทางเรามีบริการลานจอดรถที่รองรับผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวาง จองคิวล่วงหน้าหรือสอบถามเพิ่มเติม 💙 RVC Clinic Rajadamri ✅Line : @rvc.official https://lin.ee/9azUqvQ 📞 phone : 083-9485178 💙 Facebook : https://www.facebook.com/Regenelife?mibextid=uzlsIk 💖Instagram: https://www.instagram.com/rvc_rajadamri... 🌟TikTok : rvc.official 📍5th Fl. Regent House 2 building https://maps.app.goo.gl/UgibdJL3NQibkYae9?g_st=ic ฝังเข็ม #ออฟฟิศซินโดรม #ครอบแก้ว #แพทย์แผนจีน #chinesemedicine #acupuncture #cupping #ราชดำริ #สวนลุมพินี #นอนไม่หลับ #หลับยาก #หน้าใส #ฝังเข็มหน้าใส #RegeneLife #regenelifevitalcenter #thaitimes
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 789 มุมมอง 0 รีวิว
  • At Fit & Flow Studio, we offer a range of bespoke small group of yoga and private pilates classes.
    .
    The approach ensures that classes are specifically tailored for you, giving personal attention to help you reach your full potential.
    .
    🧘‍♀️ Small Group Yoga 🧡 Private Pilates
    🐱 Pet-friendly
    📍 Regent House 2, Ratchadamri
    📱@fitandflow.bkk
    #พิลาทิส #พิลาทีส #พิลาทีสราชดำริ #พิลาทิสเพื่อการบำบัด #pilates #pilatesbangkok #thaitimes
    At Fit & Flow Studio, we offer a range of bespoke small group of yoga and private pilates classes. . The approach ensures that classes are specifically tailored for you, giving personal attention to help you reach your full potential. . 🧘‍♀️ Small Group Yoga 🧡 Private Pilates 🐱 Pet-friendly 📍 Regent House 2, Ratchadamri 📱@fitandflow.bkk #พิลาทิส #พิลาทีส #พิลาทีสราชดำริ #พิลาทิสเพื่อการบำบัด #pilates #pilatesbangkok #thaitimes
    Like
    Love
    Yay
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 695 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมอาชีพแก่ราษฎรในพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต

    หลักสูตรที่หลากหลาย ตอบโจทย์ทุกความต้องการ

    ศูนย์วงเดือนฯ เปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพที่หลากหลาย ครอบคลุมทั้งด้านเกษตรกรรม การประมง อุตสาหกรรม การบริการ และอื่นๆ เหมาะสำหรับผู้สนใจทุกเพศทุกวัย หลักสูตรได้รับการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เน้นการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่พร้อมนำไปประกอบอาชีพ

    การสนับสนุนที่ครบวงจร

    นอกเหนือจากการฝึกอบรมแล้ว ศูนย์วงเดือนฯ ยังมีบริการสนับสนุนอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การจัดหางาน การสนับสนุนเงินทุน และอื่นๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง

    ความสำเร็จที่ภาคภูมิใจ

    ศูนย์วงเดือนฯ ได้สร้างผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมแก่ราษฎรในพื้นที่ ผู้เรียนจำนวนมากสามารถประกอบอาชีพได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว

    #สยามโสภา#โครงการสร้างชีวิต#ศูนย์วงเดือน#อาคมสุรทัณฑ์#ฝึกอบรมอาชีพ#อุทัยธานี#พัฒนาคุณภาพชีวิต#thaitimes

    https://youtu.be/rybYqYkuerE?si=f81A3i1pVlxpNDal
    ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมอาชีพแก่ราษฎรในพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักสูตรที่หลากหลาย ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ศูนย์วงเดือนฯ เปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพที่หลากหลาย ครอบคลุมทั้งด้านเกษตรกรรม การประมง อุตสาหกรรม การบริการ และอื่นๆ เหมาะสำหรับผู้สนใจทุกเพศทุกวัย หลักสูตรได้รับการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เน้นการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่พร้อมนำไปประกอบอาชีพ การสนับสนุนที่ครบวงจร นอกเหนือจากการฝึกอบรมแล้ว ศูนย์วงเดือนฯ ยังมีบริการสนับสนุนอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การจัดหางาน การสนับสนุนเงินทุน และอื่นๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง ความสำเร็จที่ภาคภูมิใจ ศูนย์วงเดือนฯ ได้สร้างผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมแก่ราษฎรในพื้นที่ ผู้เรียนจำนวนมากสามารถประกอบอาชีพได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว #สยามโสภา​ #โครงการสร้างชีวิต​ #ศูนย์วงเดือน​ #อาคมสุรทัณฑ์​ #ฝึกอบรมอาชีพ​ #อุทัยธานี​ #พัฒนาคุณภาพชีวิต​ #thaitimes https://youtu.be/rybYqYkuerE?si=f81A3i1pVlxpNDal
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 719 มุมมอง 1 รีวิว
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปณิธาน สืบสาน รักษา ต่อยอด ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับ “โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยแล้ง” ๑๕ โครงการ ครอบคลุม ๑๑ จังหวัด ไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤตภัยแล้ง

    จากการที่ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งเป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี ประกอบกับการขยายตัวของชุมชน ทำให้ความต้องการใช้น้ำอุปโภคบริโภคมีมากขึ้น ระบบประปาเดิมไม่สามารถจ่ายน้ำได้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ รวมถึงแหล่งน้ำจาก ผิวดินซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลักมีปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการ และบางพื้นที่ประสบปัญหาคุณภาพน้ำ ส่งผลทำให้ราษฎรประสบปัญหาขาดแคลนน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ซึ่งบางพื้นที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบรรทุกน้ำแจกจ่ายหลายล้านบาทต่อปี
    กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้สนองพระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา ต่อยอด โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในการแก้ไขปัญหาเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤตภัยแล้ง ดำเนินการสำรวจพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้ง ออกแบบ และวางแผนจัดทำโครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหา ภัยแล้ง โดยการก่อสร้างระบบประปาบาดาลในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพน้ำบาดาลที่เหมาะสม เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีน้ำอุปโภคบริโภค ประกอบกับการยินยอมของราษฎรให้ใช้พื้นที่สำหรับดำเนินงานโครงการ และความพร้อมในการรับมอบเป็นผู้ดูแลระบบหลังดำเนินการแล้วเสร็จ โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่าง มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

    .............................................................................................
    เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๑๙
    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงขับรถยนต์พระที่นั่งไปยังอ่างเก็บน้ำแม่ลี้ วัดบ้านนากลาง ตำบลลี้ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน มีพระราชกระแสว่า “ปัญหาเดือดร้อนเรื่องขาดแคลนน้ำสำหรับบริโภคและสำหรับเพาะปลูก ควรรีบทำการสำรวจแหล่งน้ำใต้ดิน ตลอดจนทำแผนที่แสดงแหล่งน้ำให้ละเอียด”

    #น้ำคือชีวิต#โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ#น้ำบาดาล#สยามโสภา#thaitimes

    https://youtu.be/F_etB7slcU0?si=ChL7TfEPf-prd6XH
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปณิธาน สืบสาน รักษา ต่อยอด ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับ “โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยแล้ง” ๑๕ โครงการ ครอบคลุม ๑๑ จังหวัด ไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤตภัยแล้ง จากการที่ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งเป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี ประกอบกับการขยายตัวของชุมชน ทำให้ความต้องการใช้น้ำอุปโภคบริโภคมีมากขึ้น ระบบประปาเดิมไม่สามารถจ่ายน้ำได้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ รวมถึงแหล่งน้ำจาก ผิวดินซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลักมีปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการ และบางพื้นที่ประสบปัญหาคุณภาพน้ำ ส่งผลทำให้ราษฎรประสบปัญหาขาดแคลนน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ซึ่งบางพื้นที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบรรทุกน้ำแจกจ่ายหลายล้านบาทต่อปี กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้สนองพระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา ต่อยอด โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในการแก้ไขปัญหาเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤตภัยแล้ง ดำเนินการสำรวจพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้ง ออกแบบ และวางแผนจัดทำโครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหา ภัยแล้ง โดยการก่อสร้างระบบประปาบาดาลในบริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพน้ำบาดาลที่เหมาะสม เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีน้ำอุปโภคบริโภค ประกอบกับการยินยอมของราษฎรให้ใช้พื้นที่สำหรับดำเนินงานโครงการ และความพร้อมในการรับมอบเป็นผู้ดูแลระบบหลังดำเนินการแล้วเสร็จ โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่าง มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ............................................................................................. เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงขับรถยนต์พระที่นั่งไปยังอ่างเก็บน้ำแม่ลี้ วัดบ้านนากลาง ตำบลลี้ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน มีพระราชกระแสว่า “ปัญหาเดือดร้อนเรื่องขาดแคลนน้ำสำหรับบริโภคและสำหรับเพาะปลูก ควรรีบทำการสำรวจแหล่งน้ำใต้ดิน ตลอดจนทำแผนที่แสดงแหล่งน้ำให้ละเอียด” #น้ำคือชีวิต​ #โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ​ #น้ำบาดาล​ #สยามโสภา​ #thaitimes https://youtu.be/F_etB7slcU0?si=ChL7TfEPf-prd6XH
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 857 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ จังหวัดอุทัยธานี
    ☆เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/WongdueanOnline?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ จัดสร้างขึ้นตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรในจังหวัดอุทัยธานีและพื้นที่ใกล้เคียง ทรงพระราชทานชื่อว่า “ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ผู้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินแปลงดังกล่าว

    ☆ขนมวงเดือนดารา
    เป็นขนมเอกลักษณ์ประจำศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    ■■■■■■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    #ศูนย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ #ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ #จังหวัดอุทัยธานี
    ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ จังหวัดอุทัยธานี ☆เพจ 》》 https://www.facebook.com/WongdueanOnline?mibextid=ZbWKwL 《《 ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ จัดสร้างขึ้นตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรในจังหวัดอุทัยธานีและพื้นที่ใกล้เคียง ทรงพระราชทานชื่อว่า “ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ผู้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินแปลงดังกล่าว ☆ขนมวงเดือนดารา เป็นขนมเอกลักษณ์ประจำศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ■■■■■■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ศูนย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ #ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ #จังหวัดอุทัยธานี
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1344 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.4
    》สุพรรณบุรี《

    ■สมหวังที่วังยาง จ.สุพรรณบุรี
    กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน ชมนาแห้ว
    061-587-1458
    ☆เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/SomwangWangyang?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ■โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำห้วยด้วน
    และอาคารประกอบ
    อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
    ต.กระเสียว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
    ■บ้านควาย บ้านไทยรีสอร์ท
    ต.วังน้ำซับ อ.ศรีประจันต์ สุพรรณบุรี
    ☆เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/buffalovillages?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ■■■■■■■■■■■■
    #สมหวังที่วังยางสุพรรณบุรี #บ้านควายบ้านไทยรีสอร์ท #วังน้ำซับ #ศรีประจันต์ #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #มะนาวก้าวเดิน #เบื้องหลังการถ่ายรายการสยามโสภา
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.4 》สุพรรณบุรี《 ■สมหวังที่วังยาง จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน ชมนาแห้ว 061-587-1458 ☆เพจ 》》 https://www.facebook.com/SomwangWangyang?mibextid=ZbWKwL 《《 ■โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำห้วยด้วน และอาคารประกอบ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ต.กระเสียว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ■บ้านควาย บ้านไทยรีสอร์ท ต.วังน้ำซับ อ.ศรีประจันต์ สุพรรณบุรี ☆เพจ 》》 https://www.facebook.com/buffalovillages?mibextid=ZbWKwL 《《 ■■■■■■■■■■■■ #สมหวังที่วังยางสุพรรณบุรี #บ้านควายบ้านไทยรีสอร์ท #วังน้ำซับ #ศรีประจันต์ #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #มะนาวก้าวเดิน #เบื้องหลังการถ่ายรายการสยามโสภา #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    Love
    9
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1729 มุมมอง 648 0 รีวิว
  • พุทธรักษางามตาท้าแดดฝน
    มิจำนนอดทนฝืนยืนหยัดสู้
    แดดแผดเผาเท่าใดใครย่อมรู้
    รวมเป็นหมู่ผู้ไม่แพ้แลตะลึง

    ภาพแปลงดอกพุทธรักษา ถ่ายไว้ประมาณ 8 ปีที่แล้ว ณ โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดำริ ท่ายาง เพชรบุรี

    #พุทธรักษา
    #ดอกไม้
    #thaitimes
    #บทกวี
    #กลอน
    #ชั่งหัวมัน
    #เพชรบุรี
    #โครงการพระราชดำริ
    พุทธรักษางามตาท้าแดดฝน มิจำนนอดทนฝืนยืนหยัดสู้ แดดแผดเผาเท่าใดใครย่อมรู้ รวมเป็นหมู่ผู้ไม่แพ้แลตะลึง ภาพแปลงดอกพุทธรักษา ถ่ายไว้ประมาณ 8 ปีที่แล้ว ณ โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดำริ ท่ายาง เพชรบุรี #พุทธรักษา #ดอกไม้ #thaitimes #บทกวี #กลอน #ชั่งหัวมัน #เพชรบุรี #โครงการพระราชดำริ
    Like
    Love
    Yay
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1143 มุมมอง 1 รีวิว
  • ภาพนี้ถ่ายไว้น่าจะสัก 8 ปีแล้วครับ ที่โครงการชั่งหัวมันในพระราชดำริ ท่ายาง เพชรบุรี

    จุดที่เป็นทางเดินยาวที่สร้างด้วยไม้ ภายใต้ร่มเงาแวดล้อมของป่าโกงกาง ที่ยื่นยาวออกไปจนสุดที่ชายขอบอันเป็นจุดบรรจบระหว่างพื้นดินเลนกับน้ำทะเล


    #ป่าชายเลน
    #ต้นโกงกาง
    #อุโมงค์ต้นไม้
    #เพชรบุรี
    #โครงการพระราชดำริ
    #ชั่งหัวมัน
    #thaitimes
    ภาพนี้ถ่ายไว้น่าจะสัก 8 ปีแล้วครับ ที่โครงการชั่งหัวมันในพระราชดำริ ท่ายาง เพชรบุรี จุดที่เป็นทางเดินยาวที่สร้างด้วยไม้ ภายใต้ร่มเงาแวดล้อมของป่าโกงกาง ที่ยื่นยาวออกไปจนสุดที่ชายขอบอันเป็นจุดบรรจบระหว่างพื้นดินเลนกับน้ำทะเล #ป่าชายเลน #ต้นโกงกาง #อุโมงค์ต้นไม้ #เพชรบุรี #โครงการพระราชดำริ #ชั่งหัวมัน #thaitimes
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1190 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
    ทรงตระหนักถึงความสำคัญของชาวไร่ชาวนาผู้ผลิตอาหาร ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดของมนุษย์
    จึงทรงพระราชดำริที่จะจัดหาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรเหล่านี้ เพื่อให้เกษตรกรมีกำลังใจที่จะทำนาทำไร่ต่อไป ไม่ต้องขายที่ดิน ไม่ต้องเป็นหนี้สิน และไม่ต้องทิ้งถิ่นไปทำมาหากินตามเมืองใหญ่
    สิ่งที่จะเป็นอาชีพเสริมนั้น จะต้องเป็นอาชีพที่ประกอบอยู่ที่บ้านได้ในเวลาที่ว่างจากการทำไร่ทำนา หรือเมื่อดินฟ้าอากาศไม่อำนวยให้เพาะปลูก หรือแม้แต่ผู้ไม่มีดินจะเพาะปลูก ก็จะสามารถประกอบอาชีพเสริมนี้ได้ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน และด้วยภูมิปัญญาตลอดจนด้วยฝีมือของเขาเอง
    นี่คือที่มาของพระราชดำริในการนำศิลปหัตถกรรมมาเป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวไร่ชาวนาไทย
    ■■■■■■■■■■■■
    #พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง #เทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์ #พระมหากรุณาธิคุณเพื่อปวงชนชาวไทย #ทรงพระเจริญ #ร้อยดวงใจคนไทยภักดี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระพันปีหลวงของปวงไทย #ศิลปาชีพ #thaitimes #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #thaitimesเทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงตระหนักถึงความสำคัญของชาวไร่ชาวนาผู้ผลิตอาหาร ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดของมนุษย์ จึงทรงพระราชดำริที่จะจัดหาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรเหล่านี้ เพื่อให้เกษตรกรมีกำลังใจที่จะทำนาทำไร่ต่อไป ไม่ต้องขายที่ดิน ไม่ต้องเป็นหนี้สิน และไม่ต้องทิ้งถิ่นไปทำมาหากินตามเมืองใหญ่ สิ่งที่จะเป็นอาชีพเสริมนั้น จะต้องเป็นอาชีพที่ประกอบอยู่ที่บ้านได้ในเวลาที่ว่างจากการทำไร่ทำนา หรือเมื่อดินฟ้าอากาศไม่อำนวยให้เพาะปลูก หรือแม้แต่ผู้ไม่มีดินจะเพาะปลูก ก็จะสามารถประกอบอาชีพเสริมนี้ได้ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน และด้วยภูมิปัญญาตลอดจนด้วยฝีมือของเขาเอง นี่คือที่มาของพระราชดำริในการนำศิลปหัตถกรรมมาเป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวไร่ชาวนาไทย ■■■■■■■■■■■■ #พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง #เทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์ #พระมหากรุณาธิคุณเพื่อปวงชนชาวไทย #ทรงพระเจริญ #ร้อยดวงใจคนไทยภักดี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระพันปีหลวงของปวงไทย #ศิลปาชีพ #thaitimes #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #thaitimesเทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์
    Love
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1428 มุมมอง 381 0 รีวิว
  • สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
    ทรงตระหนักถึงความสำคัญของชาวไร่ชาวนาผู้ผลิตอาหาร ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดของมนุษย์
    จึงทรงพระราชดำริที่จะจัดหาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรเหล่านี้ เพื่อให้เกษตรกรมีกำลังใจที่จะทำนาทำไร่ต่อไป ไม่ต้องขายที่ดิน ไม่ต้องเป็นหนี้สิน และไม่ต้องทิ้งถิ่นไปทำมาหากินตามเมืองใหญ่
    สิ่งที่จะเป็นอาชีพเสริมนั้น จะต้องเป็นอาชีพที่ประกอบอยู่ที่บ้านได้ในเวลาที่ว่างจากการทำไร่ทำนา หรือเมื่อดินฟ้าอากาศไม่อำนวยให้เพาะปลูก หรือแม้แต่ผู้ไม่มีดินจะเพาะปลูก ก็จะสามารถประกอบอาชีพเสริมนี้ได้ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน และด้วยภูมิปัญญาตลอดจนด้วยฝีมือของเขาเอง
    นี่คือที่มาของพระราชดำริในการนำศิลปหัตถกรรมมาเป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวไร่ชาวนาไทย
    ■■■■■■■■■■□
    #พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง #เทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์ #พระมหากรุณาธิคุณเพื่อปวงชนชาวไทย #ทรงพระเจริญ #ร้อยดวงใจคนไทยภักดี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระพันปีหลวงของปวงไทย #ศิลปาชีพ #thaitimes #thaitimesmanowjourney #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesเทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงตระหนักถึงความสำคัญของชาวไร่ชาวนาผู้ผลิตอาหาร ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดของมนุษย์ จึงทรงพระราชดำริที่จะจัดหาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรเหล่านี้ เพื่อให้เกษตรกรมีกำลังใจที่จะทำนาทำไร่ต่อไป ไม่ต้องขายที่ดิน ไม่ต้องเป็นหนี้สิน และไม่ต้องทิ้งถิ่นไปทำมาหากินตามเมืองใหญ่ สิ่งที่จะเป็นอาชีพเสริมนั้น จะต้องเป็นอาชีพที่ประกอบอยู่ที่บ้านได้ในเวลาที่ว่างจากการทำไร่ทำนา หรือเมื่อดินฟ้าอากาศไม่อำนวยให้เพาะปลูก หรือแม้แต่ผู้ไม่มีดินจะเพาะปลูก ก็จะสามารถประกอบอาชีพเสริมนี้ได้ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน และด้วยภูมิปัญญาตลอดจนด้วยฝีมือของเขาเอง นี่คือที่มาของพระราชดำริในการนำศิลปหัตถกรรมมาเป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวไร่ชาวนาไทย ■■■■■■■■■■□ #พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง #เทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์ #พระมหากรุณาธิคุณเพื่อปวงชนชาวไทย #ทรงพระเจริญ #ร้อยดวงใจคนไทยภักดี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระพันปีหลวงของปวงไทย #ศิลปาชีพ #thaitimes #thaitimesmanowjourney #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesเทิดทูลสถาบันพระมหากษัติริย์
    Love
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1421 มุมมอง 358 0 รีวิว
  • อุทยานฯภูหินร่องกล้า อดีตพื้นที่ "สีแดง" ปัจุบันมีแต่ความงามสีเขียว

    ในช่วงปี พ.ศ. 2511-2525 “ภูหินร่องกล้า” หรือ “ภูร่องกล้า” นอกจากจะเป็นป่าเขารกชัฏแล้ว ยังถือเป็นหนึ่งในพื้นที่ "สีแดง" ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายแห่งความตายระหว่างการสู้รบของคน 2 กลุ่ม คือ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย(พคท.) กับ ฝ่ายความมั่นคง

    บทสรุปของการสู้รบไม่ปรากฏผลแพ้-ชนะ เพราะสุดท้ายฝ่ายความมั่นคงประกาศนโยบาย 66/2523 และ 65/2525 ที่ใช้การเมืองนำการทหาร เปิดโอกาสให้เหล่านักศึกษาประชาชนที่หนีเข้าป่า กลับคืนสู่เมืองมาช่วยกันพัฒนาชาติไทย
    หลังจากนั้นมาดินแดนภูหินร่องกล้าก็ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็น “อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า” อุทยานแห่งชาติ ลำดับที่ 48 ของประเทศไทย ในวันที่ 26 ก.ค. 2527 มีพื้นที่ประมาณ 191,875 ไร่ ครอบคลุม 3 จังหวัดคือ เลย(อ.ด่านซ้าย) เพชรบูรณ์(อ.หล่มสัก) และ พิษณุโลก(อ.นครไทย)

    นับแต่นั้นมาอีกไม่นานจากดินแดนที่อบอวลไปด้วยกลิ่นอายแห่งการต่อสู้ ก็กลับกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่งดงามไปด้วยธรรมชาติที่หลากหลาย ทั้ง ป่าไม้ น้ำตก ภูผา หินรูปร่างแปลกตา และรอยอดีตแห่งประวัติศาสตร์ในยุคสมรภูมิเดือด ซึ่งในหน้าฝนอย่างนี้ภูหินร่องกล้าได้แสดงศักยภาพแห่งป่าไพรออกมาอย่างเต็มเปี่ยม ถือเป็นอีกหนึ่งเส้นทางโรแมนติกฉ่ำฝนที่นอกจากจะเต็มไปด้วยทิวทัศน์อันงดงามแล้ว บางวันยังมีสายหมอกฝนขาวโพลนให้เราได้ สัมผัสกันอย่างจุใจ

    ในพื้นที่ภูหินร่องกล้ายังมี “โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชดำริภูหินร่องกล้า” เป็นอีกหนึ่งจุดท่องเที่ยวน่าสนใจ ที่นี่มีแปลงปลูกไม้ดอก ไม้เมืองหนาว หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกาแฟ สตรอเบอร์รี่ พันธุ์ 80 รสสุดหวานฉ่ำ มีต้นนางพญาเสือโคร่งที่จะออกดอกชมพูสะพรั่งในช่วงราวเดือน ธ.ค.-ม.ค.ของทุกฤดูกาล ส่วนในช่วงเดือน ต.ค.-ก.พ.จะมีทุ่งดอกกระดาษออกดอกสวยงามไปทั่วบริเวณริมผา(ช่วงเวลาที่สวยงามที่สุดคือ พ.ย.-ม.ค.)
    ส่วนอีกหนึ่งจุดที่เป็นไฮไลท์ของสถานที่แห่งนี้ก็คือบรรดาหน้าผาชมวิวชื่อสุดกิ๊บเก๋ มีทั้ง “ผาไททานิค”, “ผาพบรัก,“ผาบอกรัก”, “ผาคู่รัก”, “ผารักยืนยง” และ“ผาสลัดรัก” ที่เป็นหน้าผาตั้งไล่เรียงไป มีโขดหินให้เดินไปยืนชมทัศนียภาพอันงดงามของขุนเขาผืนป่าใหญ่ ซึ่งเราสามารถมาเที่ยวชมความงามได้ทั้งปีในบรรยากาศที่แตกต่างกันออกไป

    ลานหินปุ่ม-ผาชูธง-ซันแครก

    นอกจากแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แล้ว ภูหินร่องกล้ายังโดดเด่นไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอันสวยงามหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น “ลานหินแตก” กับลักษณะของธรรมชาติอันแปลกตาของลานหินกว้างมีรอยแตกคล้ายแผ่นดินแยก, “น้ำตกหมันแดง” น้ำตกงาม 13 ชั้น ที่ในช่วงกลางฤดูฝนราวเดือนสิงหาคมจะสวยงามไปด้วย “ดอกลิ้นมังกร” ที่ออกดอกบานสีชมพูสะพรั่งขึ้นกระจายอยู่ตามโขดหินบริเวณธารน้ำตก โดยเฉพาะที่บริเวณโขดหินด้านหน้าของน้ำตกชั้นที่ 5 จะเป็นจุดที่พบดอกลิ้นมังกรบานหนาแน่นมากที่สุด

    “ลานหินปุ่ม” จุดไฮไลท์สำคัญที่เป็นดังสัญลักษณ์ของภูหินร่องกล้า กับลานหินขนาดย่อมริมหน้าผาที่มีรูปร่างลักษณะอันแปลกประหลาด เป็นลานกว้างแล้วมีหินเป็นลูกกลมมนผุดขึ้นมาเป็นลูกๆปุ่มๆละลานเต็มไปหมด สันนิษฐานว่าลานหินปุ่มเกิดจากการโก่งตัวของเปลือกโลก แล้วเกิดการสึกกร่อนพร้อมถูกลมฝนกระทำขัดเกลา จนเกิดเป็นลานหินปุ่มขึ้นมา
    นอกจากนี้ลานหินปุ่มยังเป็นจุดชมวิวชั้นดี กับทิวทัศน์เบื้องล่างอันสวยงามกว้างไกล นับเป็นอีกจุดถ่ายรูปอันโดดเด่นกับเอกลักษณะเฉพาะตัวของปุ่มหินประหลาดที่ไมเหมือนใครและไม่มีใครเหมือน

    “ผาชูธง” หน้าผาสูงที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ได้อย่างสวยงามกว้างไกล โดยเฉพาะจุดชมพระอาทิตย์ตกยามเย็นที่สวยงามไม่เป็นรองใคร ผาชูธงในอดีตเคยเป็นจุดที่ พคท. เมื่อรบชนะทหารไทยจะขึ้นไปชูธงแดงเพื่อเป็นสัญลักษณ์ ส่วนปัจจุบันบนผามีธงชาติไทยปักอยู่

    ผู้สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า 0 5535 6607,081-5965977 และสามารถสอบถามข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร และการเดินทางในจังหวัด พิษณุโลก-เพชรบูรณ์ เพิ่มเติมได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) สำนักงานพิษณุโลก(พื้นที่รับผิดชอบ พิษณุโลก,เพชรบูรณ์) โทร.0-5525-2742-3, 0-5525-9907

    #ภูหินร่องกล้า
    #พิษณุโลก
    #ท่องเที่ยว

    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    https://mgronline.com/travel/detail/9600000072287
    อุทยานฯภูหินร่องกล้า อดีตพื้นที่ "สีแดง" ปัจุบันมีแต่ความงามสีเขียว ในช่วงปี พ.ศ. 2511-2525 “ภูหินร่องกล้า” หรือ “ภูร่องกล้า” นอกจากจะเป็นป่าเขารกชัฏแล้ว ยังถือเป็นหนึ่งในพื้นที่ "สีแดง" ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายแห่งความตายระหว่างการสู้รบของคน 2 กลุ่ม คือ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย(พคท.) กับ ฝ่ายความมั่นคง บทสรุปของการสู้รบไม่ปรากฏผลแพ้-ชนะ เพราะสุดท้ายฝ่ายความมั่นคงประกาศนโยบาย 66/2523 และ 65/2525 ที่ใช้การเมืองนำการทหาร เปิดโอกาสให้เหล่านักศึกษาประชาชนที่หนีเข้าป่า กลับคืนสู่เมืองมาช่วยกันพัฒนาชาติไทย หลังจากนั้นมาดินแดนภูหินร่องกล้าก็ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็น “อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า” อุทยานแห่งชาติ ลำดับที่ 48 ของประเทศไทย ในวันที่ 26 ก.ค. 2527 มีพื้นที่ประมาณ 191,875 ไร่ ครอบคลุม 3 จังหวัดคือ เลย(อ.ด่านซ้าย) เพชรบูรณ์(อ.หล่มสัก) และ พิษณุโลก(อ.นครไทย) นับแต่นั้นมาอีกไม่นานจากดินแดนที่อบอวลไปด้วยกลิ่นอายแห่งการต่อสู้ ก็กลับกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่งดงามไปด้วยธรรมชาติที่หลากหลาย ทั้ง ป่าไม้ น้ำตก ภูผา หินรูปร่างแปลกตา และรอยอดีตแห่งประวัติศาสตร์ในยุคสมรภูมิเดือด ซึ่งในหน้าฝนอย่างนี้ภูหินร่องกล้าได้แสดงศักยภาพแห่งป่าไพรออกมาอย่างเต็มเปี่ยม ถือเป็นอีกหนึ่งเส้นทางโรแมนติกฉ่ำฝนที่นอกจากจะเต็มไปด้วยทิวทัศน์อันงดงามแล้ว บางวันยังมีสายหมอกฝนขาวโพลนให้เราได้ สัมผัสกันอย่างจุใจ ในพื้นที่ภูหินร่องกล้ายังมี “โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชดำริภูหินร่องกล้า” เป็นอีกหนึ่งจุดท่องเที่ยวน่าสนใจ ที่นี่มีแปลงปลูกไม้ดอก ไม้เมืองหนาว หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกาแฟ สตรอเบอร์รี่ พันธุ์ 80 รสสุดหวานฉ่ำ มีต้นนางพญาเสือโคร่งที่จะออกดอกชมพูสะพรั่งในช่วงราวเดือน ธ.ค.-ม.ค.ของทุกฤดูกาล ส่วนในช่วงเดือน ต.ค.-ก.พ.จะมีทุ่งดอกกระดาษออกดอกสวยงามไปทั่วบริเวณริมผา(ช่วงเวลาที่สวยงามที่สุดคือ พ.ย.-ม.ค.) ส่วนอีกหนึ่งจุดที่เป็นไฮไลท์ของสถานที่แห่งนี้ก็คือบรรดาหน้าผาชมวิวชื่อสุดกิ๊บเก๋ มีทั้ง “ผาไททานิค”, “ผาพบรัก,“ผาบอกรัก”, “ผาคู่รัก”, “ผารักยืนยง” และ“ผาสลัดรัก” ที่เป็นหน้าผาตั้งไล่เรียงไป มีโขดหินให้เดินไปยืนชมทัศนียภาพอันงดงามของขุนเขาผืนป่าใหญ่ ซึ่งเราสามารถมาเที่ยวชมความงามได้ทั้งปีในบรรยากาศที่แตกต่างกันออกไป ลานหินปุ่ม-ผาชูธง-ซันแครก นอกจากแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แล้ว ภูหินร่องกล้ายังโดดเด่นไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอันสวยงามหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น “ลานหินแตก” กับลักษณะของธรรมชาติอันแปลกตาของลานหินกว้างมีรอยแตกคล้ายแผ่นดินแยก, “น้ำตกหมันแดง” น้ำตกงาม 13 ชั้น ที่ในช่วงกลางฤดูฝนราวเดือนสิงหาคมจะสวยงามไปด้วย “ดอกลิ้นมังกร” ที่ออกดอกบานสีชมพูสะพรั่งขึ้นกระจายอยู่ตามโขดหินบริเวณธารน้ำตก โดยเฉพาะที่บริเวณโขดหินด้านหน้าของน้ำตกชั้นที่ 5 จะเป็นจุดที่พบดอกลิ้นมังกรบานหนาแน่นมากที่สุด “ลานหินปุ่ม” จุดไฮไลท์สำคัญที่เป็นดังสัญลักษณ์ของภูหินร่องกล้า กับลานหินขนาดย่อมริมหน้าผาที่มีรูปร่างลักษณะอันแปลกประหลาด เป็นลานกว้างแล้วมีหินเป็นลูกกลมมนผุดขึ้นมาเป็นลูกๆปุ่มๆละลานเต็มไปหมด สันนิษฐานว่าลานหินปุ่มเกิดจากการโก่งตัวของเปลือกโลก แล้วเกิดการสึกกร่อนพร้อมถูกลมฝนกระทำขัดเกลา จนเกิดเป็นลานหินปุ่มขึ้นมา นอกจากนี้ลานหินปุ่มยังเป็นจุดชมวิวชั้นดี กับทิวทัศน์เบื้องล่างอันสวยงามกว้างไกล นับเป็นอีกจุดถ่ายรูปอันโดดเด่นกับเอกลักษณะเฉพาะตัวของปุ่มหินประหลาดที่ไมเหมือนใครและไม่มีใครเหมือน “ผาชูธง” หน้าผาสูงที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ได้อย่างสวยงามกว้างไกล โดยเฉพาะจุดชมพระอาทิตย์ตกยามเย็นที่สวยงามไม่เป็นรองใคร ผาชูธงในอดีตเคยเป็นจุดที่ พคท. เมื่อรบชนะทหารไทยจะขึ้นไปชูธงแดงเพื่อเป็นสัญลักษณ์ ส่วนปัจจุบันบนผามีธงชาติไทยปักอยู่ ผู้สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า 0 5535 6607,081-5965977 และสามารถสอบถามข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร และการเดินทางในจังหวัด พิษณุโลก-เพชรบูรณ์ เพิ่มเติมได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) สำนักงานพิษณุโลก(พื้นที่รับผิดชอบ พิษณุโลก,เพชรบูรณ์) โทร.0-5525-2742-3, 0-5525-9907 #ภูหินร่องกล้า #พิษณุโลก #ท่องเที่ยว ขอขอบคุณข้อมูลจาก https://mgronline.com/travel/detail/9600000072287
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 522 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้

    กรุงเทพฯ ๒๕๑๕
    นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง

    แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป

    นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 472 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 990 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 912 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราชทานหนังสือ
    ธรรมนาวา 'วัง'
    แก่ประชาชนทั่วไป 📚💛

    ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระราชดำริให้จัดทำหนังสือชุด ธรรมนาวา 'วัง' เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ในรูปแบบ E-Book และหนังสือเล่มเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็นธรรมทาน ใน 1 ชุดประกอบด้วยหนังสือ 4 เล่ม คือ 1.หลักการชาวพุทธ 2.อริยสัจภาวนา 3.หลักปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ และ 4.แนวทางปฏิบัติธรรมนาวา "วัง"

    ในส่วนของหนังสือเล่มสามารถขอรับพระราชทานได้ 1 ชุดต่อคนเท่านั้น และห้ามจำหน่าย สามารถกรอกข้อมูลขอรับพระราชทานหนังสือชุด ธรรมนาวา 'วัง' ได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScMrE90y2Ph19cbGXOOfb4VOzav-ZspeSbtYwnCgJVia-nYjA/viewform
    พระราชทานหนังสือ ธรรมนาวา 'วัง' แก่ประชาชนทั่วไป 📚💛 ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระราชดำริให้จัดทำหนังสือชุด ธรรมนาวา 'วัง' เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ในรูปแบบ E-Book และหนังสือเล่มเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็นธรรมทาน ใน 1 ชุดประกอบด้วยหนังสือ 4 เล่ม คือ 1.หลักการชาวพุทธ 2.อริยสัจภาวนา 3.หลักปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ และ 4.แนวทางปฏิบัติธรรมนาวา "วัง" ในส่วนของหนังสือเล่มสามารถขอรับพระราชทานได้ 1 ชุดต่อคนเท่านั้น และห้ามจำหน่าย สามารถกรอกข้อมูลขอรับพระราชทานหนังสือชุด ธรรมนาวา 'วัง' ได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScMrE90y2Ph19cbGXOOfb4VOzav-ZspeSbtYwnCgJVia-nYjA/viewform
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 205 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔹💛💜วัน​จันทร์​ที่​ ๑๙ สิงหาคม​ ๒๕๖​๗​
    พระ​บาท​สมเด็จ​พระเจ้า​อยู่​หัว​ และ​สมเด็จ​พระนางเจ้า​ ฯ​ พระบรม​ราชินี​ ทรง​พระ​กรุณา​โปรดเกล้า​โปรด​กระหม่อม​ ให้นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ในฐานะประธานกรรมการติดตามและขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปฏิบัติราชการ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ จังหวัดนราธิวาส ในการนี้ได้เดินทางไปยังกรมทหารพราน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และได้รับฟังการรายงานสถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส และเชิญ​สิ่งของพระราชทานให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน ๒๕๑ ชุด ให้แก่ หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินกองทัพเรือที่ ๓๓, กองร้อยป้องกันชายแดนที่ ๓-๔, หน่วยปฏิบัติการพิเศษตำรวจภูธรจังหวัดนราธิวาส ๑๔ และ ๓๓ (ภูธร), ชุดเฝ้าตรวจชายแดนที่ ๔๔๑๑ – ๔๔๑๔( ตชด.) และชุดคุ้มครองตำบล (๙ ชคต.) (อส.) เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่

    จากนั้นองคมนตรีได้เดินทางไปยังกองร้อยทหารพรานที่ ๔๘๑๓ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เชิญ​สิ่งของพระราชทานให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน ๒๖๐ ชุด ประกอบด้วย กองร้อยทหารพราน ๔๘๘๒, ๔๘๐๖ และ ๔๘๑๖, สภ.เจาะไอร้อง, และ อส.เจาะไอร้อง เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่

    จากนั้นองคมนตรี ได้เดินทางไปยังโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ได้มอบสิ่งของพระราชทานให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ จำนวน ๕๐ ชุด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่🔹
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. FB : ลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว
    🔹💛💜วัน​จันทร์​ที่​ ๑๙ สิงหาคม​ ๒๕๖​๗​ พระ​บาท​สมเด็จ​พระเจ้า​อยู่​หัว​ และ​สมเด็จ​พระนางเจ้า​ ฯ​ พระบรม​ราชินี​ ทรง​พระ​กรุณา​โปรดเกล้า​โปรด​กระหม่อม​ ให้นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ในฐานะประธานกรรมการติดตามและขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปฏิบัติราชการ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ จังหวัดนราธิวาส ในการนี้ได้เดินทางไปยังกรมทหารพราน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และได้รับฟังการรายงานสถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส และเชิญ​สิ่งของพระราชทานให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน ๒๕๑ ชุด ให้แก่ หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธินกองทัพเรือที่ ๓๓, กองร้อยป้องกันชายแดนที่ ๓-๔, หน่วยปฏิบัติการพิเศษตำรวจภูธรจังหวัดนราธิวาส ๑๔ และ ๓๓ (ภูธร), ชุดเฝ้าตรวจชายแดนที่ ๔๔๑๑ – ๔๔๑๔( ตชด.) และชุดคุ้มครองตำบล (๙ ชคต.) (อส.) เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ จากนั้นองคมนตรีได้เดินทางไปยังกองร้อยทหารพรานที่ ๔๘๑๓ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เชิญ​สิ่งของพระราชทานให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน ๒๖๐ ชุด ประกอบด้วย กองร้อยทหารพราน ๔๘๘๒, ๔๘๐๖ และ ๔๘๑๖, สภ.เจาะไอร้อง, และ อส.เจาะไอร้อง เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ จากนั้นองคมนตรี ได้เดินทางไปยังโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ได้มอบสิ่งของพระราชทานให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ จำนวน ๕๐ ชุด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่🔹 #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. FB : ลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 539 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts