ดังที่กล่าวไปแล้วว่า โคกหนองนา มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว แต่หากจะให้สมบูรณ์จริง ๆ ยังมีอีก 2 องค์ประกอบหลัก คือ คลองไส้ไก่ และ คันนาทองคำ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1. โคกใช้ดินที่ได้จากการขุดหนองน้ำ มาถมดินภายในพื้นที่ให้สูงขึ้นเป็นโคก ในสัดส่วน 40% ของพื้นที่ โดย 30% ของพื้นที่ แบ่งไว้สำหรับปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และ ไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น โดยชนิดของต้นไม้ที่ปลูก ควรมีความสูง 5 ระดับด้วย คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เรี่ยดิน และ พืชหัว อีก 10% แบ่งสำหรับเป็นที่อยู่อาศัย และ เลี้ยงสัตว์ การปลูกไม้สูง 5 ระดับ นอกจากจะช่วยเพิ่มความหลากหลายให้กับระบบนิเวศ และ สามารถอุ้มน้ำในดินได้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยบดบังแสงแดด ทำให้บ้านมีความร่มเย็นขึ้นอีกด้วย2. หนองขุดหนองเป็นจุด ๆ ในสัดส่วน 30% ทั่วทั้งพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน้ำยามหน้าฝน ไว้ใช้ในหน้าแล้ง โดยหนองนั้น จะมีรูปทรงอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปเรขาคณิต แต่ควรมีระดับความตื้น – ความลึก ไม่เท่ากันบ้าง เป็นหลัก และ ไม่ควรกว้างจนเกินไป เพื่อไม่ให้น้ำโดนแสงแดด จนระเหยออกไปหมด3. นาแบ่งพื้นที่ 30% สำหรับทำเป็นไร่นาไว้ปลูกข้าว จะช่วยให้มีผลผลิต เก็บไว้รับประทานในครอบครัว หรือ เก็บผลผลิตขายก็ได้4. คลองไส้ไก่ทำเป็นคลองเล็ก ๆ คดโค้งไปรอบ ๆ พื้นที่ เชื่อมระหว่างหนองที่ขุดไว้ตามจุดต่าง ๆ จะช่วยให้เก็บกักน้ำได้เพิ่มมากขึ้น และ มีแหล่งน้ำรอบ ๆ พื้นที่ สามารถรดน้ำพืชผักได้ง่าย ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่5. คันนาทองคำยกหัวคันนาให้สูง ส่วนฐานคันนา ให้ถมให้กว้าง จะช่วยกักเก็บน้ำในไร่นา ทำให้นาเป็นนาน้ำลึก ช่วยควบคุมหญ้า ทำให้ข้าวออกรวงใหญ่ ให้ผลผลิตดี และ ยังมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักผลไม้บนหัวคันนา สามารถเก็บผลผลิตไว้กินในครัวเรือน หรือ จะเก็บขายสร้างรายได้ ก็ได้ด้วยโคกหนองนา โมเดล ศาสตร์พระราชา กับ การทำการเกษตรอย่างยั่งยืนโคกหนองนา โมเดล คือ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ช่วยให้ทำการเกษตรอย่างยั่งยืน ได้อย่างไร SGE มีคำตอบ พร้อมพาไปดูการออกแบบ โคกหนองนาโมเดล 3 ไร่ แบบคร่าว ๆใครสนใจอยากน้อมนำ ศาสตร์พระราชา มาประยุกต์ใช้ในการทำการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้วละก็ ตามมาดูกันเลยโคกหนองนาโมเดล คือโคกหนองนาโคกหนองนาโมเดล คือ การจัดการพื้นที่ทางการเกษตรอย่างยั่งยืน โดยการออกแบบพื้นที่ให้มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว เพื่อให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตร พร้อมกับ บริหารจัดการน้ำได้อย่างยั่งยืน สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง ตามแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ อันเป็นแนวพระราชดำริ หรือ “ศาสตร์พระราชา” ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9องค์ประกอบของ โคกหนองนาโคกหนองนาโมเดลดังที่กล่าวไปแล้วว่า โคกหนองนา มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว แต่หากจะให้สมบูรณ์จริง ๆ ยังมีอีก 2 องค์ประกอบหลัก คือ คลองไส้ไก่ และ คันนาทองคำ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1. โคกใช้ดินที่ได้จากการขุดหนองน้ำ มาถมดินภายในพื้นที่ให้สูงขึ้นเป็นโคก ในสัดส่วน 40% ของพื้นที่ โดย 30% ของพื้นที่ แบ่งไว้สำหรับปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และ ไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น โดยชนิดของต้นไม้ที่ปลูก ควรมีความสูง 5 ระดับด้วย คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เรี่ยดิน และ พืชหัว อีก 10% แบ่งสำหรับเป็นที่อยู่อาศัย และ เลี้ยงสัตว์ การปลูกไม้สูง 5 ระดับ นอกจากจะช่วยเพิ่มความหลากหลายให้กับระบบนิเวศ และ สามารถอุ้มน้ำในดินได้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยบดบังแสงแดด ทำให้บ้านมีความร่มเย็นขึ้นอีกด้วย2. หนองขุดหนองเป็นจุด ๆ ในสัดส่วน 30% ทั่วทั้งพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน้ำยามหน้าฝน ไว้ใช้ในหน้าแล้ง โดยหนองนั้น จะมีรูปทรงอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปเรขาคณิต แต่ควรมีระดับความตื้น – ความลึก ไม่เท่ากันบ้าง เป็นหลัก และ ไม่ควรกว้างจนเกินไป เพื่อไม่ให้น้ำโดนแสงแดด จนระเหยออกไปหมด3. นาแบ่งพื้นที่ 30% สำหรับทำเป็นไร่นาไว้ปลูกข้าว จะช่วยให้มีผลผลิต เก็บไว้รับประทานในครอบครัว หรือ เก็บผลผลิตขายก็ได้4. คลองไส้ไก่ทำเป็นคลองเล็ก ๆ คดโค้งไปรอบ ๆ พื้นที่ เชื่อมระหว่างหนองที่ขุดไว้ตามจุดต่าง ๆ จะช่วยให้เก็บกักน้ำได้เพิ่มมากขึ้น และ มีแหล่งน้ำรอบ ๆ พื้นที่ สามารถรดน้ำพืชผักได้ง่าย ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่5. คันนาทองคำยกหัวคันนาให้สูง ส่วนฐานคันนา ให้ถมให้กว้าง จะช่วยกักเก็บน้ำในไร่นา ทำให้นาเป็นนาน้ำลึก ช่วยควบคุมหญ้า ทำให้ข้าวออกรวงใหญ่ ให้ผลผลิตดี และ ยังมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักผลไม้บนหัวคันนา สามารถเก็บผลผลิตไว้กินในครัวเรือน หรือ จะเก็บขายสร้างรายได้ ก็ได้ด้วยโคกหนองนา ดีอย่างไร ?โคกหนองนาโมเดล1. ช่วยกักเก็บน้ำให้มีใช้ตลอดทั้งปีโดยปกติ เกษตรกรมักจะอาศัยน้ำจาก เขื่อน หรือ อ่างเก็บน้ำ มาใช้ในการทำการเกษตร เป็นหลัก ทำให้เมื่อประสบภัยแล้ง ระบบชลประทานมีน้ำไม่เพียงพอ ก็มักจะประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ จนทำให้พืชผักล้มตาย ได้รับความเดือดร้อนเสมอ ๆ ซึ่งถ้าหากปรับพื้นที่ทางการเกษตร ให้เป็น โคกหนองนา แล้วละก็ จะช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้ เนื่องจากบนโคก ก็มีพืชหลายชนิด ๆ ที่มีรากหยั่งลึก สามารถอุ้มน้ำไว้ในดิน ในหนอง ขุดหลุมลึก สามารถกักเก็บน้ำได้ในช่วงฝนตก ส่วนนา คลองไส้ไก่ ก็สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้ ก็จะทำให้มีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ไม่ต้องคอยพึ่งพิงน้ำจากที่อื่น ๆ อีก2. ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงบนโคกก็ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ในหนองก็เลี้ยงปลา ไร่นาก็มีข้าว หัวคันนาก็มีพืชผักไว้เก็บกิน ทำให้เกษตรกรสามารถเก็บผลผลิต ไว้บริโภคในครัวเรือนได้อย่างไม่ขัดสน ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง โดยไม่ต้องพึ่งพิงทรัพยากรจากภายนอก หรือ มีความจำเป็นต้องใช้เงิน ในการซื้อข้าวปลาอาหาร แต่อย่างใด ตรงตามหลัก “พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น” อันเป็นขั้นพื้นฐาน จากทฤษฎี 9 ขั้น สู่ความยั่งยืนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง3. สามารถเก็บผลผลิตขาย สร้างรายได้หลังจากพอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็นแล้ว หากมีผลผลิตเหลือ ก็สามารถเก็บผลผลิตขาย เพื่อสร้างรายได้ ช่วยให้เกษตรกรทำการเกษตรได้อย่างยั่งยืน และ มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น4. ป้องกันน้ำท่วมเมื่อที่อยู่อาศัยอยู่บนโคก พืชผักต่าง ๆ ก็ปลูกอยู่บนคันนาที่ยกสูง ทำให้หากฝนตกน้ำหลาก ก็จะช่วยป้องกันน้ำท่วม ลดการเกิดผลกระทบและความเสียหายต่อผลผลิต ทรัพย์สิน และ ชีวิตของคนในครอบครัวได้
ดังที่กล่าวไปแล้วว่า โคกหนองนา มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว แต่หากจะให้สมบูรณ์จริง ๆ ยังมีอีก 2 องค์ประกอบหลัก คือ คลองไส้ไก่ และ คันนาทองคำ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1. โคกใช้ดินที่ได้จากการขุดหนองน้ำ มาถมดินภายในพื้นที่ให้สูงขึ้นเป็นโคก ในสัดส่วน 40% ของพื้นที่ โดย 30% ของพื้นที่ แบ่งไว้สำหรับปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และ ไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น โดยชนิดของต้นไม้ที่ปลูก ควรมีความสูง 5 ระดับด้วย คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เรี่ยดิน และ พืชหัว อีก 10% แบ่งสำหรับเป็นที่อยู่อาศัย และ เลี้ยงสัตว์ การปลูกไม้สูง 5 ระดับ นอกจากจะช่วยเพิ่มความหลากหลายให้กับระบบนิเวศ และ สามารถอุ้มน้ำในดินได้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยบดบังแสงแดด ทำให้บ้านมีความร่มเย็นขึ้นอีกด้วย2. หนองขุดหนองเป็นจุด ๆ ในสัดส่วน 30% ทั่วทั้งพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน้ำยามหน้าฝน ไว้ใช้ในหน้าแล้ง โดยหนองนั้น จะมีรูปทรงอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปเรขาคณิต แต่ควรมีระดับความตื้น – ความลึก ไม่เท่ากันบ้าง เป็นหลัก และ ไม่ควรกว้างจนเกินไป เพื่อไม่ให้น้ำโดนแสงแดด จนระเหยออกไปหมด3. นาแบ่งพื้นที่ 30% สำหรับทำเป็นไร่นาไว้ปลูกข้าว จะช่วยให้มีผลผลิต เก็บไว้รับประทานในครอบครัว หรือ เก็บผลผลิตขายก็ได้4. คลองไส้ไก่ทำเป็นคลองเล็ก ๆ คดโค้งไปรอบ ๆ พื้นที่ เชื่อมระหว่างหนองที่ขุดไว้ตามจุดต่าง ๆ จะช่วยให้เก็บกักน้ำได้เพิ่มมากขึ้น และ มีแหล่งน้ำรอบ ๆ พื้นที่ สามารถรดน้ำพืชผักได้ง่าย ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่5. คันนาทองคำยกหัวคันนาให้สูง ส่วนฐานคันนา ให้ถมให้กว้าง จะช่วยกักเก็บน้ำในไร่นา ทำให้นาเป็นนาน้ำลึก ช่วยควบคุมหญ้า ทำให้ข้าวออกรวงใหญ่ ให้ผลผลิตดี และ ยังมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักผลไม้บนหัวคันนา สามารถเก็บผลผลิตไว้กินในครัวเรือน หรือ จะเก็บขายสร้างรายได้ ก็ได้ด้วยโคกหนองนา โมเดล ศาสตร์พระราชา กับ การทำการเกษตรอย่างยั่งยืนโคกหนองนา โมเดล คือ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ช่วยให้ทำการเกษตรอย่างยั่งยืน ได้อย่างไร SGE มีคำตอบ พร้อมพาไปดูการออกแบบ โคกหนองนาโมเดล 3 ไร่ แบบคร่าว ๆใครสนใจอยากน้อมนำ ศาสตร์พระราชา มาประยุกต์ใช้ในการทำการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้วละก็ ตามมาดูกันเลยโคกหนองนาโมเดล คือโคกหนองนาโคกหนองนาโมเดล คือ การจัดการพื้นที่ทางการเกษตรอย่างยั่งยืน โดยการออกแบบพื้นที่ให้มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว เพื่อให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตร พร้อมกับ บริหารจัดการน้ำได้อย่างยั่งยืน สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง ตามแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ อันเป็นแนวพระราชดำริ หรือ “ศาสตร์พระราชา” ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9องค์ประกอบของ โคกหนองนาโคกหนองนาโมเดลดังที่กล่าวไปแล้วว่า โคกหนองนา มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ “โคก” พื้นที่สูง สำหรับปลูกป่า ปลูกพืชผัก ปลูกที่อยู่อาศัย “หนอง” สำหรับกักเก็บน้ำ ใช้ในการชลประทาน “นา” สำหรับทำนา และ ปลูกข้าว แต่หากจะให้สมบูรณ์จริง ๆ ยังมีอีก 2 องค์ประกอบหลัก คือ คลองไส้ไก่ และ คันนาทองคำ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1. โคกใช้ดินที่ได้จากการขุดหนองน้ำ มาถมดินภายในพื้นที่ให้สูงขึ้นเป็นโคก ในสัดส่วน 40% ของพื้นที่ โดย 30% ของพื้นที่ แบ่งไว้สำหรับปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และ ไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น โดยชนิดของต้นไม้ที่ปลูก ควรมีความสูง 5 ระดับด้วย คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เรี่ยดิน และ พืชหัว อีก 10% แบ่งสำหรับเป็นที่อยู่อาศัย และ เลี้ยงสัตว์ การปลูกไม้สูง 5 ระดับ นอกจากจะช่วยเพิ่มความหลากหลายให้กับระบบนิเวศ และ สามารถอุ้มน้ำในดินได้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยบดบังแสงแดด ทำให้บ้านมีความร่มเย็นขึ้นอีกด้วย2. หนองขุดหนองเป็นจุด ๆ ในสัดส่วน 30% ทั่วทั้งพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน้ำยามหน้าฝน ไว้ใช้ในหน้าแล้ง โดยหนองนั้น จะมีรูปทรงอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปเรขาคณิต แต่ควรมีระดับความตื้น – ความลึก ไม่เท่ากันบ้าง เป็นหลัก และ ไม่ควรกว้างจนเกินไป เพื่อไม่ให้น้ำโดนแสงแดด จนระเหยออกไปหมด3. นาแบ่งพื้นที่ 30% สำหรับทำเป็นไร่นาไว้ปลูกข้าว จะช่วยให้มีผลผลิต เก็บไว้รับประทานในครอบครัว หรือ เก็บผลผลิตขายก็ได้4. คลองไส้ไก่ทำเป็นคลองเล็ก ๆ คดโค้งไปรอบ ๆ พื้นที่ เชื่อมระหว่างหนองที่ขุดไว้ตามจุดต่าง ๆ จะช่วยให้เก็บกักน้ำได้เพิ่มมากขึ้น และ มีแหล่งน้ำรอบ ๆ พื้นที่ สามารถรดน้ำพืชผักได้ง่าย ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่5. คันนาทองคำยกหัวคันนาให้สูง ส่วนฐานคันนา ให้ถมให้กว้าง จะช่วยกักเก็บน้ำในไร่นา ทำให้นาเป็นนาน้ำลึก ช่วยควบคุมหญ้า ทำให้ข้าวออกรวงใหญ่ ให้ผลผลิตดี และ ยังมีพื้นที่สำหรับปลูกพืชผักผลไม้บนหัวคันนา สามารถเก็บผลผลิตไว้กินในครัวเรือน หรือ จะเก็บขายสร้างรายได้ ก็ได้ด้วยโคกหนองนา ดีอย่างไร ?โคกหนองนาโมเดล1. ช่วยกักเก็บน้ำให้มีใช้ตลอดทั้งปีโดยปกติ เกษตรกรมักจะอาศัยน้ำจาก เขื่อน หรือ อ่างเก็บน้ำ มาใช้ในการทำการเกษตร เป็นหลัก ทำให้เมื่อประสบภัยแล้ง ระบบชลประทานมีน้ำไม่เพียงพอ ก็มักจะประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ จนทำให้พืชผักล้มตาย ได้รับความเดือดร้อนเสมอ ๆ ซึ่งถ้าหากปรับพื้นที่ทางการเกษตร ให้เป็น โคกหนองนา แล้วละก็ จะช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้ เนื่องจากบนโคก ก็มีพืชหลายชนิด ๆ ที่มีรากหยั่งลึก สามารถอุ้มน้ำไว้ในดิน ในหนอง ขุดหลุมลึก สามารถกักเก็บน้ำได้ในช่วงฝนตก ส่วนนา คลองไส้ไก่ ก็สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้ ก็จะทำให้มีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ไม่ต้องคอยพึ่งพิงน้ำจากที่อื่น ๆ อีก2. ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงบนโคกก็ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ในหนองก็เลี้ยงปลา ไร่นาก็มีข้าว หัวคันนาก็มีพืชผักไว้เก็บกิน ทำให้เกษตรกรสามารถเก็บผลผลิต ไว้บริโภคในครัวเรือนได้อย่างไม่ขัดสน ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง โดยไม่ต้องพึ่งพิงทรัพยากรจากภายนอก หรือ มีความจำเป็นต้องใช้เงิน ในการซื้อข้าวปลาอาหาร แต่อย่างใด ตรงตามหลัก “พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น” อันเป็นขั้นพื้นฐาน จากทฤษฎี 9 ขั้น สู่ความยั่งยืนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง3. สามารถเก็บผลผลิตขาย สร้างรายได้หลังจากพอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็นแล้ว หากมีผลผลิตเหลือ ก็สามารถเก็บผลผลิตขาย เพื่อสร้างรายได้ ช่วยให้เกษตรกรทำการเกษตรได้อย่างยั่งยืน และ มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น4. ป้องกันน้ำท่วมเมื่อที่อยู่อาศัยอยู่บนโคก พืชผักต่าง ๆ ก็ปลูกอยู่บนคันนาที่ยกสูง ทำให้หากฝนตกน้ำหลาก ก็จะช่วยป้องกันน้ำท่วม ลดการเกิดผลกระทบและความเสียหายต่อผลผลิต ทรัพย์สิน และ ชีวิตของคนในครอบครัวได้
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 396 มุมมอง 0 รีวิว