• ✨วันนี้ในอดีต ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙✨

    บนที่ประทับพระตำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังทรงลาผนวชแล้ว

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #5พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙✨ บนที่ประทับพระตำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังทรงลาผนวชแล้ว #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #5พฤศจิกายน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการและทรงเยี่ยมหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ซึ่งอาพาธ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

    Cr. สำนักราชเลขาธิการ

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #save112 #4พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการและทรงเยี่ยมหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ซึ่งอาพาธ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ Cr. สำนักราชเลขาธิการ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #save112 #4พฤศจิกายน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฏราชกุมาร (พระอิสริยยศในเวลานั้น) เฝ้า ฯ กราบถวายบังคมลาทรงผนวช

    Cr. สำนักราชเลขาธิการ

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #save112 #3พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฏราชกุมาร (พระอิสริยยศในเวลานั้น) เฝ้า ฯ กราบถวายบังคมลาทรงผนวช Cr. สำนักราชเลขาธิการ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #save112 #3พฤศจิกายน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • #พระราชกรณียกิจ
    #Thairoyalfamily
    #MyHero
    #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
    #ราชวงศ์จักรี
    #เรารักราชวงศ์จักรี
    #ประชาชนของพระราชา
    #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭
    #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    #Kyobangkoku
    #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด
    #save112
    #พระราชาผู้ทรงธรรม
    #สืบสานรักษาต่อยอด
    #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ
    วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    #พระราชกรณียกิจ #Thairoyalfamily #MyHero #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ #ราชวงศ์จักรี #เรารักราชวงศ์จักรี #ประชาชนของพระราชา #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭 #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ #Kyobangkoku #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด #save112 #พระราชาผู้ทรงธรรม #สืบสานรักษาต่อยอด #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 25 0 รีวิว
  • #คำพ่อสอน
    #พระราชกรณียกิจ
    #Thairoyalfamily
    #MyHero
    #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
    #ราชวงศ์จักรี
    #เรารักราชวงศ์จักรี
    #ประชาชนของพระราชา
    #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭
    #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    #Kyobangkoku
    #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด
    #save112
    #พระราชาผู้ทรงธรรม
    #สืบสานรักษาต่อยอด
    #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ
    #13ตุลาคม 2559
    วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    #คำพ่อสอน #พระราชกรณียกิจ #Thairoyalfamily #MyHero #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ #ราชวงศ์จักรี #เรารักราชวงศ์จักรี #ประชาชนของพระราชา #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭 #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ #Kyobangkoku #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด #save112 #พระราชาผู้ทรงธรรม #สืบสานรักษาต่อยอด #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ #13ตุลาคม 2559 วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13 ตุลาคม
    วันนวมินทรมหาราช

    ตลอดรัชสมัยของพระองค์ ทรงปกครองประเทศด้วยทศพิธราชธรรม และทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจมากมาย เพื่อการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคง ทรงเป็น นักพัฒนา และเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ เพื่อประโยชน์สุขกับคนไทยทั้งประเทศ พระองค์จึงสถิตอยู่ในดวงใจ เป็นมิ่งขวัญ เป็นกำลังใจ และกำลังศรัทธาของชาวไทย ทุกหมู่เหล่า

    ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ข้าพระพุทธเจ้าขอสืบสานพระราชปณิธานด้วยความจงรักภักดี จะยึดมั่นในการปฏิบัติดี เพื่อรักษาชาติ บ้านเมือง และสร้างสรรค์คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนสืบไป
    .
    .
    พัชรี ว่องไววิทย์
    October12, 2024
    San Francisco, CA94108
    13 ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช ตลอดรัชสมัยของพระองค์ ทรงปกครองประเทศด้วยทศพิธราชธรรม และทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจมากมาย เพื่อการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคง ทรงเป็น นักพัฒนา และเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ เพื่อประโยชน์สุขกับคนไทยทั้งประเทศ พระองค์จึงสถิตอยู่ในดวงใจ เป็นมิ่งขวัญ เป็นกำลังใจ และกำลังศรัทธาของชาวไทย ทุกหมู่เหล่า ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ข้าพระพุทธเจ้าขอสืบสานพระราชปณิธานด้วยความจงรักภักดี จะยึดมั่นในการปฏิบัติดี เพื่อรักษาชาติ บ้านเมือง และสร้างสรรค์คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนสืบไป . . พัชรี ว่องไววิทย์ October12, 2024 San Francisco, CA94108
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ “วันนวมินทรมหาราช” ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสด็จศวรรคต ปีที่ ๘ ของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร”

    ขอเชิญชวนเพื่อนสมาชิกร่วมกันน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ซึ่งเป็นต้นแบบในการพัฒนาประเทศชาติให้ยั่งยืนจวบจนปัจจุบัน
    วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ “วันนวมินทรมหาราช” ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสด็จศวรรคต ปีที่ ๘ ของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร” ขอเชิญชวนเพื่อนสมาชิกร่วมกันน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ซึ่งเป็นต้นแบบในการพัฒนาประเทศชาติให้ยั่งยืนจวบจนปัจจุบัน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ “วันนวมินทรมหาราช” ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสด็จศวรรคต ปีที่ ๘ ของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร”

    ขอเชิญชวนเพื่อนสมาชิกร่วมกันน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ซึ่งเป็นต้นแบบในการพัฒนาประเทศชาติให้ยั่งยืนจวบจนปัจจุบัน
    วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ “วันนวมินทรมหาราช” ซึ่งเป็นวันครบรอบการเสด็จศวรรคต ปีที่ ๘ ของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร” ขอเชิญชวนเพื่อนสมาชิกร่วมกันน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ซึ่งเป็นต้นแบบในการพัฒนาประเทศชาติให้ยั่งยืนจวบจนปัจจุบัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง ทอดพระเนตร พระราชินี ทรงร่วมแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย

    วันนี้ (วันอาทิตย์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๗) เวลา ๑๘.๒๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยมีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสรวงศ์ เทือนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย นายก้องศักดิ์ ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย หม่อมหลวงกฤษฎา เกษมสันต์ นายกสมาคมกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งแข็งแห่งประเทศไทยพร้อมคณะกรรมการ และคณะทำงาน ฯ เฝ้า ฯ รับเสด็จ

    ในโอกาสนี้สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ (Women’s Global Ambassador) คนแรก ตามคำกราบบังคมทูลเขิญของสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ทรงนำทีมไอซ์ฮอกกี้ราชอาณาจักรไทยแข่งขันกับทีมสาธารณรัฐประชาชนจีน นัดกระชับมิตรในครั้งนี้ด้วย

    การนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ ร่วมกับ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้บริหารกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พร้อมคณะกรรมการจัดการแข่งขันฯ นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง ตามลำดับ

    จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายหาน จื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยกราบบังคมทูลรายงานและกราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคล และพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้แทนจากสมาคมฮอกกี้น้ำแข็งแห่งประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ นายลุค ทาร์ดิฟ ประธานสหพันธ์ International Ice Hockey Federation (IHF) ทูลเกล้า ฯ ถวายโล่สัญลักษณ์ทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ของสหพันธ์ ฯ พร้อมใบประกาศ (IIHF Women's Global Ambassador) แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    โดยสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี เป็นทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิง(Women’s Global Ambassador) คนแรกของสหพันธ์ ด้วยพระปรีชาสามารถด้านกีฬาไอซ์ฮอกกี้อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาปวงพสกนิกรชาวไทยและทั่วโลก เมื่อครั้งโดยเสด็จพระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจ ทรงเปิด ไทยแลนด์ อินเตอร์เนชันแนล ไอซ์ ฮอกกี้ อารีนา เชียงใหม่ (Thailand International Ice Hockey Arena Chiangmai) อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ทรงร่วมการแข่งขันในนัดเปิดสนามในครั้งนั้นด้วย ทรงสร้างความประทับใจและทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักกีฬาหญิงจำนวนมาก และทรงเป็นแบบอย่างให้กับนักกีฬาในภูมิภาคเอเชียและทั่วโลก

    ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทอดพระเนตรการแสดงโชว์ในการแข่งขันกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย

    จากนั้น สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงเปลี่ยนฉลองพระองค์เป็นฉลองพระองค์นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งทีมราชอาณาจักรไทย เพื่อทรงร่วมแข่งขันกับทีมนักกีฬาฮอกกี้สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๓ Period ซึ่งระหว่างที่ทรงแข่งขันอยู่ในสนามนั้นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงทุ่มเทพระวรกายในการแข่งขันอย่างเต็มพระกำลัง โดยเกมการแข่งขันของทั้งสองทีม ดำเนินไปอย่างสูสีผลัดกันรุกผลัดกันรับอย่างเข้มข้นจนจบการแข่งขัน

    ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๑๘ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงให้ความสำคัญและทรงตั้งพระราชหฤทัยในการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างทั้งสองประเทศที่มีมาอย่างยาวนานให้ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินเยือนและการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างสองประเทศในโอกาสต่างๆ ดังต่อไปนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายไฉ เจ๋อหมิน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยคนแรก เข้าเฝ้าฯถวายสาส์นตราตั้ง ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๙

    เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนจีนอย่างเป็นทางการ (State Visit) ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน

    วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน โดยนายว่าน หลี่ รองนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีต้อนรับณ จัตุรัสด้านตะวันออก ของมหาศาลาประชาชนกรุงปักกิ่ง และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออก ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงรับ นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนพร้อมด้วยคู่สมรส เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมการประชุมกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย– แปซิฟิก หรือ เอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) ครั้งที่ ๒๙ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น

    การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena ในครั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ และในโอกาสครบ ๗๕ ปี แห่งการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นโอกาสอันดียิ่งที่ทั้งสองประเทศได้กระชับสัมพันธไมตรีที่ดี ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนระหว่างกันในทุกระดับ เพื่อประโยชน์สุขของราษฎรทั้งสองประเทศสืบไป

    #ทรงพระเจริญ #สืบสานรักษาต่อยอด
    #การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตร
    #สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยจีน

    ที่มา : @พระลาน
    https://www.facebook.com/share/2aTmWcVP1wpm3egn/
    ในหลวง ทอดพระเนตร พระราชินี ทรงร่วมแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย วันนี้ (วันอาทิตย์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๗) เวลา ๑๘.๒๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยมีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสรวงศ์ เทือนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย นายก้องศักดิ์ ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย หม่อมหลวงกฤษฎา เกษมสันต์ นายกสมาคมกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งแข็งแห่งประเทศไทยพร้อมคณะกรรมการ และคณะทำงาน ฯ เฝ้า ฯ รับเสด็จ ในโอกาสนี้สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ (Women’s Global Ambassador) คนแรก ตามคำกราบบังคมทูลเขิญของสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ทรงนำทีมไอซ์ฮอกกี้ราชอาณาจักรไทยแข่งขันกับทีมสาธารณรัฐประชาชนจีน นัดกระชับมิตรในครั้งนี้ด้วย การนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ ร่วมกับ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้บริหารกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พร้อมคณะกรรมการจัดการแข่งขันฯ นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง ตามลำดับ จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายหาน จื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยกราบบังคมทูลรายงานและกราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคล และพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้แทนจากสมาคมฮอกกี้น้ำแข็งแห่งประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ นายลุค ทาร์ดิฟ ประธานสหพันธ์ International Ice Hockey Federation (IHF) ทูลเกล้า ฯ ถวายโล่สัญลักษณ์ทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิงกิตติมศักดิ์ของสหพันธ์ ฯ พร้อมใบประกาศ (IIHF Women's Global Ambassador) แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี โดยสหพันธ์กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งนานาชาติ (International Ice Hockey Federation) “IIHF” ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี เป็นทูตกีฬาไอซ์ฮอกกี้หญิง(Women’s Global Ambassador) คนแรกของสหพันธ์ ด้วยพระปรีชาสามารถด้านกีฬาไอซ์ฮอกกี้อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาปวงพสกนิกรชาวไทยและทั่วโลก เมื่อครั้งโดยเสด็จพระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปทรงปฎิบัติพระราชกรณียกิจ ทรงเปิด ไทยแลนด์ อินเตอร์เนชันแนล ไอซ์ ฮอกกี้ อารีนา เชียงใหม่ (Thailand International Ice Hockey Arena Chiangmai) อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ทรงร่วมการแข่งขันในนัดเปิดสนามในครั้งนั้นด้วย ทรงสร้างความประทับใจและทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักกีฬาหญิงจำนวนมาก และทรงเป็นแบบอย่างให้กับนักกีฬาในภูมิภาคเอเชียและทั่วโลก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระนางเจ้าพระบรมราชินี ทอดพระเนตรการแสดงโชว์ในการแข่งขันกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย จากนั้น สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงเปลี่ยนฉลองพระองค์เป็นฉลองพระองค์นักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งทีมราชอาณาจักรไทย เพื่อทรงร่วมแข่งขันกับทีมนักกีฬาฮอกกี้สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๓ Period ซึ่งระหว่างที่ทรงแข่งขันอยู่ในสนามนั้นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงทุ่มเทพระวรกายในการแข่งขันอย่างเต็มพระกำลัง โดยเกมการแข่งขันของทั้งสองทีม ดำเนินไปอย่างสูสีผลัดกันรุกผลัดกันรับอย่างเข้มข้นจนจบการแข่งขัน ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๑๘ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงให้ความสำคัญและทรงตั้งพระราชหฤทัยในการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างทั้งสองประเทศที่มีมาอย่างยาวนานให้ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินเยือนและการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างสองประเทศในโอกาสต่างๆ ดังต่อไปนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายไฉ เจ๋อหมิน เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำประเทศไทยคนแรก เข้าเฝ้าฯถวายสาส์นตราตั้ง ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๙ เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนจีนอย่างเป็นทางการ (State Visit) ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจีน โดยนายว่าน หลี่ รองนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีต้อนรับณ จัตุรัสด้านตะวันออก ของมหาศาลาประชาชนกรุงปักกิ่ง และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออก ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงรับ นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนพร้อมด้วยคู่สมรส เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมการประชุมกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย– แปซิฟิก หรือ เอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) ครั้งที่ ๒๙ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตรระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและราชอาณาจักรไทย ณ สนามฮอกกี้น้ำแข็ง Thailand International Ice Hockey Arena ในครั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ และในโอกาสครบ ๗๕ ปี แห่งการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นโอกาสอันดียิ่งที่ทั้งสองประเทศได้กระชับสัมพันธไมตรีที่ดี ใกล้ชิดและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนระหว่างกันในทุกระดับ เพื่อประโยชน์สุขของราษฎรทั้งสองประเทศสืบไป #ทรงพระเจริญ #สืบสานรักษาต่อยอด #การแข่งขันฮอกกี้น้ำแข็งกระชับมิตร #สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยจีน ที่มา : @พระลาน https://www.facebook.com/share/2aTmWcVP1wpm3egn/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 69 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี #ทรงฉลองพระองค์ชุดบานง โทนสีม่วง ในโอกาสตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ณ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา
    --
    สำหรับชุด “บานง” #เป็นเครื่องแต่งกายของสตรีไทยมุสลิมตามประเพณีดั้งเดิม ซึ่งมีความสวยงามและมีเสน่ห์ชวนมอง คำว่า “บานง” มาจาก #ภาษามลายูกลาง ว่า “บันดง” หมายถึง เมืองทางตะวันตกของเกาะชวา
    --
    #ชุดบานง เป็นชุดพื้นเมืองดั้งเดิมที่สตรีไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส นิยมสวมใส่ในงานประเพณีหรือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับศาสนา เช่น พิธีนิก๊ะ งานรอมฏอน วันฮารีรายอ งานวันเมาลิด และการแสดงต่าง ๆ เป็นต้น นิยมสวมใส่กับผ้าถุงปาเต๊ะ กระโปรงป้าย หรือกระโปรง จีบหน้านาง

    #ขอพระองค์ทรงพระเจริญ


    @เรารักราชวงศ์จักรี
    สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี #ทรงฉลองพระองค์ชุดบานง โทนสีม่วง ในโอกาสตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ณ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา -- สำหรับชุด “บานง” #เป็นเครื่องแต่งกายของสตรีไทยมุสลิมตามประเพณีดั้งเดิม ซึ่งมีความสวยงามและมีเสน่ห์ชวนมอง คำว่า “บานง” มาจาก #ภาษามลายูกลาง ว่า “บันดง” หมายถึง เมืองทางตะวันตกของเกาะชวา -- #ชุดบานง เป็นชุดพื้นเมืองดั้งเดิมที่สตรีไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส นิยมสวมใส่ในงานประเพณีหรือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับศาสนา เช่น พิธีนิก๊ะ งานรอมฏอน วันฮารีรายอ งานวันเมาลิด และการแสดงต่าง ๆ เป็นต้น นิยมสวมใส่กับผ้าถุงปาเต๊ะ กระโปรงป้าย หรือกระโปรง จีบหน้านาง #ขอพระองค์ทรงพระเจริญ @เรารักราชวงศ์จักรี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ
    “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : พระลาน
    วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : พระลาน
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 329 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เฉลิมพระเกียรติ “บัลเลต์สวอนเลค” วันที่ 13 -15 ก.ย.2567 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 (Bangkok’s 26th International Festival of Dance & Music) ที่จัดขึ้นต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2542 ในครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอด พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการเปิดโลกทัศน์ให้กับคนไทย ด้วยศิลปะระดับโลกผ่านการแสดงแขนงต่าง ๆ เช่น บัลเลต์ การเต้นร่วมสมัย รวมไปถึงดนตรีคลาสสิก ระหว่างวันที่ 7 กันยายนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    ขอเชิญรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงบัลเลย์ งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เรื่องสวอนเลค ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันศุกร์ที่
    13 กันยายน 2567 สำหรับการแสดงสวอนเลค (Swan Lake by Bolshoi Ballet) ของคณะบัลเลต์ชั้นนำจากมอสโกที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก ได้เปิดการแสดงเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย จัดเต็มกับนักแสดงกว่า 170 ชีวิต พร้อมวงออร์เคสตราบรรเลงสด เพื่อการแสดง Swan Lake บัลเลต์ยอดนิยมสูงสุดตลอดกาล ที่ถือกำเนิด ณ บอลชอยบัลเลต์เมื่อเกือบ 150 ปีมาแล้ว เรื่องราวของ Swan Lake ได้แรงบันดาลใจมาจากนิทานพื้นบ้านทางฝั่งเยอรมันและรัสเซีย เล่าถึงซิคฟรีด เจ้าชายหนุ่มรูปงามที่เพิ่งอายุเต็ม 21 ปี มารดาของพระองค์อยากให้ลูกชายสมรสเป็นฝั่งเป็นฝา ซิคฟรีดไม่อยากมีครอบครัว ชอบที่จะผจญภัยในป่า เขาพบกับโอเด็ต – สาวงามผู้ต้องคำสาปให้กลายเป็นหงส์ สิ่งเดียวที่จะทำลายคำสาปได้คือคำสัญญาแห่งรักแท้จากชายผู้ไม่เคยรักใครมาก่อน ซีคฟรีดชวนโอเด็ตมางานเต้นรำเลือกคู่ของพระองค์ เพื่อจะได้ทรงกล่าวสัญญารัก แต่กลับถูกพ่อมดรอธบาร์ตซ้อนแผน เปลี่ยนให้ลูกสาวมีรูปกายเหมือนโอเด็ต ซีดฟรีดเข้าใจผิดจึงสาบานรักกับเธอแทน โอเด็ตใจสลาย คำสาปของเธอไม่อาจถอนได้อีก เธอจึงเลือกกระโดดลงหน้าผาเพื่อจบชีวิต ซีคฟรีดกระโดดตามลงไป ทั้งคู่ได้ครองรักกันบนสวรรค์และด้วยการเสียสละของทั้งสอง คำสาปของพ่อมดจึงสลาย หงส์ตัวอื่นในทะเลสาบกลับมาอยู่ในร่างของมนุษย์

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดชัยนาท กรมประชาสัมพันธ์
    งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เฉลิมพระเกียรติ “บัลเลต์สวอนเลค” วันที่ 13 -15 ก.ย.2567 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 (Bangkok’s 26th International Festival of Dance & Music) ที่จัดขึ้นต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2542 ในครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอด พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการเปิดโลกทัศน์ให้กับคนไทย ด้วยศิลปะระดับโลกผ่านการแสดงแขนงต่าง ๆ เช่น บัลเลต์ การเต้นร่วมสมัย รวมไปถึงดนตรีคลาสสิก ระหว่างวันที่ 7 กันยายนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ขอเชิญรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการแสดงบัลเลย์ งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ 26 เรื่องสวอนเลค ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันศุกร์ที่ 13 กันยายน 2567 สำหรับการแสดงสวอนเลค (Swan Lake by Bolshoi Ballet) ของคณะบัลเลต์ชั้นนำจากมอสโกที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก ได้เปิดการแสดงเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย จัดเต็มกับนักแสดงกว่า 170 ชีวิต พร้อมวงออร์เคสตราบรรเลงสด เพื่อการแสดง Swan Lake บัลเลต์ยอดนิยมสูงสุดตลอดกาล ที่ถือกำเนิด ณ บอลชอยบัลเลต์เมื่อเกือบ 150 ปีมาแล้ว เรื่องราวของ Swan Lake ได้แรงบันดาลใจมาจากนิทานพื้นบ้านทางฝั่งเยอรมันและรัสเซีย เล่าถึงซิคฟรีด เจ้าชายหนุ่มรูปงามที่เพิ่งอายุเต็ม 21 ปี มารดาของพระองค์อยากให้ลูกชายสมรสเป็นฝั่งเป็นฝา ซิคฟรีดไม่อยากมีครอบครัว ชอบที่จะผจญภัยในป่า เขาพบกับโอเด็ต – สาวงามผู้ต้องคำสาปให้กลายเป็นหงส์ สิ่งเดียวที่จะทำลายคำสาปได้คือคำสัญญาแห่งรักแท้จากชายผู้ไม่เคยรักใครมาก่อน ซีคฟรีดชวนโอเด็ตมางานเต้นรำเลือกคู่ของพระองค์ เพื่อจะได้ทรงกล่าวสัญญารัก แต่กลับถูกพ่อมดรอธบาร์ตซ้อนแผน เปลี่ยนให้ลูกสาวมีรูปกายเหมือนโอเด็ต ซีดฟรีดเข้าใจผิดจึงสาบานรักกับเธอแทน โอเด็ตใจสลาย คำสาปของเธอไม่อาจถอนได้อีก เธอจึงเลือกกระโดดลงหน้าผาเพื่อจบชีวิต ซีคฟรีดกระโดดตามลงไป ทั้งคู่ได้ครองรักกันบนสวรรค์และด้วยการเสียสละของทั้งสอง คำสาปของพ่อมดจึงสลาย หงส์ตัวอื่นในทะเลสาบกลับมาอยู่ในร่างของมนุษย์ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดชัยนาท กรมประชาสัมพันธ์
    Love
    Like
    7
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 668 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กางเขนแดงหัวใจขาว"
    ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล
    ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม
    ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก
    - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - โรงพยาบาลยันฮี
    - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
    .
    "กางเขนแดงหัวใจขาว" ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรี โดย รัฐกรณ์ โกมล ประพันธ์คำร้อง โดย ชาตรี ทับละม่อม ขับร้อง โดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอขอบพระคุณ ภาพวิดิโอประกอบบทเพลงด้วยความอนุเคราะห์จาก - คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - โรงพยาบาลยันฮี - โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 690 มุมมอง 124 0 รีวิว
  • "ศิลปาชีพ"
    ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล
    ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์
    ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร
    ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ศิลปาชีพ" ประพันธ์ทำนอง โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้อง โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรี โดย วีระ วัฒนะจันทรกุล, ปวรินทร์ พิเกณฑ์ ศิลปินรับเชิญ สะล้อ, ปี่จุม, ซึง โดย วรวรรณ วรฉัตร ขับร้อง โดย สุนทรี เวชานนท์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 637 มุมมอง 138 0 รีวิว
  • "กายเราคือเสาหลัก"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี
    ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "กายเราคือเสาหลัก" ประพันธ์คำร้อง-ทำนอง-เรียบเรียงดนตรี โดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์ วิภู กำเนิดดี ศิลปินรับเชิญ - ธีรภาพ ว่องเจริญ : Guitars ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 618 มุมมอง 117 0 รีวิว
  • "คนโขน"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย
    ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่
    ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "คนโขน" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ศิลปินรับเชิญ - อาจารย์สมนึก แสงอรุณ : ปี่ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ : ระนาด, พากย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 614 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • "ภาพพันปี"
    ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม
    ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล
    ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ
    ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "ภาพพันปี" ประพันธ์คำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม ทำนองโดย​ ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ รัฐกรณ์ โกมล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ศิลปินรับเชิญ - ปลายฟ้า พันธเกียรติไพศาล : Piano ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 617 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า"
    ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ
    ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า
    .
    ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย..
    .
    คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า)
    น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ)
    น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง)
    ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ)
    น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่)
    คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน)
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่
    เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง
    โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย
    ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่
    คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า
    ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา
    .
    "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ประพันธ์คำร้อง-ทำนองโดย​ โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ ศิลปินรับเชิญ ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์ (ปกาเกอะญอ) - พิณเตหน่า . ตัวแทนชาวไทยภูเขาจากหกชนเผ่าร่วมขับร้อง ประกอบด้วย.. . คุณเล็ก นารี ภักดีคีรี (อาข่า) น้องนิว ยุพา ตามิ (ลีซอ) น้องชาติ สว่างชาติ แซ่ย่าง (ม้ง) ศาสนาจารย์ กินุ เฉิมเลี่ยมทอง (ปกาเกอะญอ) น้องก้อย ปรียา อินต๊ะ (ลาหู่) คุณแม่เหมยจ้อย แซ่เติ้น (อิ้วเมี่ยน) ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณเอ วีระ วัฒนจันทรกุล ห้องบันทึกเสียง Con Moto เชียงใหม่ เอื้อเฟื้อห้องบันทึกเสียง โอฬาร เนตรหาญ เอื้อเฟื้อสถานที่พัก "เรียวกัง" เชียงราย ชาตรี ทับละม่อม เอื้อเฟื้อสถานที่พัก เชียงใหม่ คุณแมว ช่วยประสานงานพี่น้องชนเผ่า ไหนควร แซ่ว่าง ล่ามแปลภาษา .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 707 มุมมอง 60 0 รีวิว
  • "โพธิ์ทองของปวงไทย"
    ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์)
    ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    ขอบพระคุณ
    คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย
    ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้
    ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej
    และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ
    .
    "โพธิ์ทองของปวงไทย" ประพันธ์คำร้องโดย​ ชโลธร​ ควรหาเวช​ (เพลงผ้า​ ปรพากย์) ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ด.ญ.​ มนภทริตา​ ทองเกิด, ด.ญ.​ จิรัชญา​ ศรีนุช, ด.ญ.​ ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร​ ตันติเวสส, ด.ญ.​ นภัสร์นันท์​ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา​ เติมจิตรอารีย์ ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== . ขอบพระคุณ คุณแม่หนึ่ง คุณแม่อ๋อ คุณแม่ก้อย คุณแม่บี คุณแม่หมวย ที่พาน้องมาร่วมอาสาทำงานกิจกรรมเทิดพระเกียรติครั้งนี้ ขอบคุณพี่ไอ๋ ดลชัย บุณยะรัตเวช Dolchai Boonyaratavej และคุณตุ๊ก อรทัย Auratai Sukanjanasiri ที่ช่วยประสานงานกับน้องๆ จาก VoiZe Academy ให้นะครับ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 616 มุมมอง 66 0 รีวิว
  • "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ"
    ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช
    ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ประพันธ์คำร้อง ทำนอง และเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประสานเสียงโดย จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 597 มุมมอง 80 0 รีวิว
  • "สุดหัวใจ"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล,
    เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล,
    ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน
    ==========================
    .
    โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    .
    "สุดหัวใจ" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ศรีจิตรา นานานุกูล, เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล, ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ซึ่งเป็นศิลปินท่านหนึ่งที่ถวายงานใต้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานาน ========================== . โอกาสนี้ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ========================== .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 593 มุมมอง 81 0 รีวิว
  • "เพลงไหมแพรวา"
    ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ,
    เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา,
    ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช
    ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน
    ปรัชญา นันธะชัย : แคน
    ==========================
    .
    ขอถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป
    .
    -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===-
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ
    ==========================
    .
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    .
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย
    .
    คณะทำงานโครงการประกอบด้วย
    .
    = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก =
    สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    .
    = ที่ปรึกษาโครงการ =
    นาตยา นันทวนิช
    ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล
    สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร
    ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท
    สมยศ เกียรติอร่ามกุล
    ประสพ เรียงเงิน
    พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร
    กฤษณะ บุญญภัทโร
    นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต
    ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล
    .
    = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง =
    คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่)
    รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ)
    .
    ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร
    โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม
    ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช
    .
    = ผู้อำนวยการผลิต =
    พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส
    .
    = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ =
    พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า
    อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์
    .
    มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
    โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม
    บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล
    มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล
    ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ
    .
    ==========================
    "เพลงไหมแพรวา" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย ภาณุ เทศะศิริ, เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ขับร้องโดย ดลชัย บุณยรัตเวช ศิลปินรับเชิญ - ธนเดช ธีระเลิศนาม : พิณอีสาน ปรัชญา นันธะชัย : แคน ========================== . ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานตลอดกาลตลอดไป . -=== ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ===- ปวงข้าพระพุทธเจ้าคณะทำงานโครงการ ========================== . เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี . สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส • สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับคณะทำงานจิตอาสาอันประกอบด้วยคณะนักแต่งเพลงนำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี ๒๕๖๐ คณะศิลปินนักร้องที่เคยถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี ได้ริเริ่มร่วมมือกันจัดทำโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ภายใต้ชื่อโครงการว่า “คีตามาลัย เทิดไท้พระพันปี” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่เรื่องราวพระราชกรณียกิจอันน่าประทับใจและทรงคุณูปการต่ออาณาประชาราษฎร์ชาวไทยและแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านทางบทเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ เพลง อีกทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านเนื่องในวาระอันเป็นมหาศุภมงคลทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๙๐ พรรษาในปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ผ่านไปอีกด้วย . คณะทำงานโครงการประกอบด้วย . = ผู้สนับสนุนโครงการหลัก = สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม . = ที่ปรึกษาโครงการ = นาตยา นันทวนิช ณัฐจารวี ธันยวานิชย์กุล สมศักดิ์ ตรีเทพวิจิตร ปิยฉัตร เตชะสุนทโรวาท สมยศ เกียรติอร่ามกุล ประสพ เรียงเงิน พ.ต.ต.สุทศธวรรศ อารีย์รัตนะนคร กฤษณะ บุญญภัทโร นายแพทย์อานนท์ โชติรสนิรมิต ดร.ชัยภัฏ จันทร์วิไล . = ผู้สนับสนุนห้องบันทึกเสียง = คณิต พฤกษ์พระกานต์ (ห้องบันทึกเสียงบัตเตอร์ฟลาย สตูดิโอ - กรุงเทพ) วีระ วัฒนะจันทรกุล (ห้องบันทึกเสียงคอน โมโต้ สตูดิโอ - เชียงใหม่) รัฐกรณ์ โกมล (ห้องบันทึกเสียงสายน้ำตัวโน๊ต สตูดิโอ - กรุงเทพ) จรินพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ห้องบันทึกเสียงฮัมมิ่ง เฮ้าส์ สตูดิโอ - กรุงเทพ) . ภาพปกพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ จำนวน ๑๐ ภาพ วาดโดยศิลปินอาสา : สุวิทย์ ใจป้อม ปกข้อมูลด้านในภาพพระฉายาสาทิสลักษณ์ วาดโดยศิลปินอาสา : ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช . = ผู้อำนวยการผลิต = พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส . = ประสานงานโครงการและสื่อประชาสัมพันธ์ = พ.ต.อ.หญิง ศิริกุล ศรีสง่า อนุรักษ์ ภูมิทรัพย์ . มิวสิคไดเร็คเตอร์ : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา โปรดิวเซอร์ : รัฐกรณ์ โกมล และ ชาตรี ทับละม่อม บันทึกเสียง : เกรียงไกร กุศลจริยากูล และ รัฐกรณ์ โกมล มิกซ์เสียง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ รัฐกรณ์ โกมล ประสานงานการผลิต : โอฬาร เนตรหาญ เสนีย์ สอนเย็น และ กฤตภาส สุภาพ . ==========================
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 600 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 731 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 669 มุมมอง 0 รีวิว
  • #วันสตรีไทย
    วันสตรีไทย มีความเป็นมาจากแนวคิดขององค์กรสตรีไทยทั่วประเทศ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีความประสงค์จะขอพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ให้ทรงกำหนดวันสตรีไทยขึ้นในเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นเดือนมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประเทศชาติและคนไทย รวมทั้งทรงเป็นแบบอย่างอันประเสริฐให้กับสตรีไทยในทุก ๆ ด้าน
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา
    วันสตรีไทย จึงเป็นวันที่ช่วยส่งเสริมให้ทุกคนตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญและดีงามของสตรีไทย ให้มีโอกาสแสดงความคิด แสดงภูมิปัญญา ร่วมกันใช้ความรู้ความสามารถทำงานเพื่อประเทศชาติ พัฒนาสังคม และเป็นหลักในการสร้างเสริมความรัก ความอบอุ่นให้สถาบันครอบครัวมีความสุข ทั้งยังเป็นวันแห่งความภาคภูมิใจ ในสถานภาพชีวิตที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของสตรีไทยอีกด้วย
    _________________________
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : Arts of the kingdom - ศิลป์แผ่นดิน
    facebook.com/story.php?stor…
    #วันสตรีไทย วันสตรีไทย มีความเป็นมาจากแนวคิดขององค์กรสตรีไทยทั่วประเทศ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีความประสงค์จะขอพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ให้ทรงกำหนดวันสตรีไทยขึ้นในเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นเดือนมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประเทศชาติและคนไทย รวมทั้งทรงเป็นแบบอย่างอันประเสริฐให้กับสตรีไทยในทุก ๆ ด้าน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา วันสตรีไทย จึงเป็นวันที่ช่วยส่งเสริมให้ทุกคนตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญและดีงามของสตรีไทย ให้มีโอกาสแสดงความคิด แสดงภูมิปัญญา ร่วมกันใช้ความรู้ความสามารถทำงานเพื่อประเทศชาติ พัฒนาสังคม และเป็นหลักในการสร้างเสริมความรัก ความอบอุ่นให้สถาบันครอบครัวมีความสุข ทั้งยังเป็นวันแห่งความภาคภูมิใจ ในสถานภาพชีวิตที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของสตรีไทยอีกด้วย _________________________ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : Arts of the kingdom - ศิลป์แผ่นดิน facebook.com/story.php?stor…
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 684 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออกพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗

    ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยืนบนพระแท่นออกขุนนางหน้าพระที่นั่งพุดตานถม ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พันโท สมชาย กาญจนมณี รองเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่สมุหพระราชมณเฑียร เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลเบิกดาตุกโจจี แซมูเอล เอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย คณบดีคณะทูต เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล

    ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสตอบ และมีพระราชปฏิสันถารกับ
    คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล แล้วเสด็จลงมุขหน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการเจริญพระราชไมตรีกับบรรดามิตรประเทศ อันเป็นรากฐานสำคัญที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งด้านการค้า การลงทุน การศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เมื่อครั้งทรงดำรง
    พระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนานาประเทศ ซึ่งเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศที่มีอยู่เดิมให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น รวมทั้งทอดพระเนตรกิจการด้านต่าง ๆ เพื่อนำวิทยาการมาปรับปรุงพัฒนาประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้า เมื่อเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติแล้ว ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยเสด็จออกทรงรับพระประมุขและผู้นำจากต่างประเทศ
    ที่เสด็จพระราชดำเนินและเดินทางเยือนประเทศไทยในโอกาสต่าง ๆ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ส่งข้อความพระราชสาส์นอำนวยพร ข้อความพระราชสาส์นแสดงความยินดี และข้อความพระราชสาส์น
    แสดงความเสียพระราชหฤทัยในวาระต่าง ๆ ตลอดจนพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระราชสาส์นตราตั้ง และอักษรสาส์นตราตั้ง ในโอกาสเข้ารับตำแหน่งหน้าที่ในประเทศไทย

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : พระลาน
    ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออกพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยืนบนพระแท่นออกขุนนางหน้าพระที่นั่งพุดตานถม ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พันโท สมชาย กาญจนมณี รองเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่สมุหพระราชมณเฑียร เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลเบิกดาตุกโจจี แซมูเอล เอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย คณบดีคณะทูต เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสตอบ และมีพระราชปฏิสันถารกับ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล แล้วเสด็จลงมุขหน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการเจริญพระราชไมตรีกับบรรดามิตรประเทศ อันเป็นรากฐานสำคัญที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งด้านการค้า การลงทุน การศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เมื่อครั้งทรงดำรง พระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนานาประเทศ ซึ่งเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศที่มีอยู่เดิมให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น รวมทั้งทอดพระเนตรกิจการด้านต่าง ๆ เพื่อนำวิทยาการมาปรับปรุงพัฒนาประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้า เมื่อเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติแล้ว ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยเสด็จออกทรงรับพระประมุขและผู้นำจากต่างประเทศ ที่เสด็จพระราชดำเนินและเดินทางเยือนประเทศไทยในโอกาสต่าง ๆ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ส่งข้อความพระราชสาส์นอำนวยพร ข้อความพระราชสาส์นแสดงความยินดี และข้อความพระราชสาส์น แสดงความเสียพระราชหฤทัยในวาระต่าง ๆ ตลอดจนพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระราชสาส์นตราตั้ง และอักษรสาส์นตราตั้ง ในโอกาสเข้ารับตำแหน่งหน้าที่ในประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : พระลาน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 712 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า

    “เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอตั้งกัลยาณจิตร่วมกับปวงชนชาวไทย สำแดงน้ำจิตมุทิตาปราโมทย์ และถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

    สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ เสด็จสถิตในพระราชสถานะพระประมุข เป็นศรีสง่าแห่งอาณาประชาราษฎร ทรงรับพระราชภาระหน้าที่ บำเพ็ญพระราชกรณียกิจด้วย “ตบะ” อันหมายถึงกุศลสมาทาน ตามแบบบัญญัติแห่งราชธรรม สอดคล้องต้องด้วยหลักพระพุทธศาสนา อันการทำหน้าที่ของพระราชานั้น ย่อมได้แก่การครองแผ่นดิน สอดส่องดูแลอาณาราษฎร คอยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ดุจมารดาบิดาถนอมเลี้ยงบุตร ไม่ย่อหย่อน ละทิ้ง หรือว่างเว้น ดั่งคาถาบทหนึ่งแสดงว่า พระอาทิตย์มีตบะส่องแสงในกลางวัน พระจันทร์มีตบะส่องแสงในกลางคืน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมตามบทบาทหน้าที่ที่ดำรงอยู่ ย่อมได้ชื่อว่าเป็น “ผู้บำเพ็ญตบะ” เมื่อปฏิบัติหน้าที่สำเร็จด้วยดี ย่อมเป็น “ผู้มีตบะ” ปรากฏเกียรติยศลือชาสง่างาม เป็นที่ยำเกรง ผู้คนพากันสรรเสริญว่าถึงพร้อมด้วย “ตบะเดชะ” เป็นคุณาลังการอันวิจิตรยอดเยี่ยม

    สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงตั้งพระบรมราชปณิธาน สืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริ พระราชจริยวัตร ตลอดจนพระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระบรมราชบุพการี เพื่อให้บ้านเมืองไทยประสบความเกษมสวัสดิ์ บังเกิดประโยชนสุข สำเร็จแก่มหาชนใต้ร่มพระบารมี ทรงแผ่พระมหากรุณาธิคุณไปโอบอุ้มคุ้มครองพสกนิกรทั่วหน้า นับว่าได้ทรงกระทำตามหน้าที่ สมพระขัตติยชาติ และสมความเป็นสัตบุรุษคนดี ผู้พากเพียรแผดเผากิเลส ทรงข่มพระราชหฤทัย ยืนหยัดดำรงพระองค์ รับพระราชภาระหน้าที่อย่างอดทน เข้มแข็ง และมั่นคง ตามพระราชอุดมการณ์ที่ทรงสมาทานไว้ โดยมิหวั่นไหวสะทกสะเทือนด้วยกระแสโลกธรรม ต้องตามนัยแห่งภาษิต ใน “มหาสุตโสมชาดก” ความว่า

    “พระราชาผู้เอาชนะคนไม่ควรชนะ ไม่ชื่อว่าพระราชา, เพื่อนผู้เอาชนะเพื่อน ไม่ชื่อว่าเพื่อน ฯลฯ บุตรผู้ไม่เลี้ยงดูมารดาบิดาผู้แก่เฒ่า ไม่ชื่อว่าบุตร, สภาที่ไม่มีสัตบุรุษ ไม่ชื่อว่าสภา, ผู้ไม่พูดเป็นธรรม ไม่ชื่อว่าสัตบุรุษ, ส่วนผู้สงบจากราคะ โทสะ โมหะ พูดเป็นธรรมะ ย่อมชื่อว่าสัตบุรุษคนดี” ด้วยประการฉะนี้

    ณ มหามงคลสมัยพิเศษแห่งพระชนมพรรษา ขอเดชานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนพระราชกุศลธรรมจริยา ที่ทรงสั่งสมมาด้วยดี โปรดอภิบาลรักษา สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงเจริญพระชนมสุขสิริสวัสดิ์ สรรพพิบัติอุปัทวันตรายอย่าได้พ้องพานพระยุคลบาท จงทรงเรืองรองโอภาสด้วยพระราชธรรมบารมี ประดุจดวงวชิระอันผ่องใส แผ่พรรณรังสีแห่งทศมรัชสมัย ส่องใจมหาชนชาวไทย ให้เอิบอาบปลาบปลื้มอยู่เสมอไป ตลอดกาลเป็นนิตย์ เทอญ.”

    ที่มา: เพจสำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช

    #Thaitimes
    เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า “เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอตั้งกัลยาณจิตร่วมกับปวงชนชาวไทย สำแดงน้ำจิตมุทิตาปราโมทย์ และถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ เสด็จสถิตในพระราชสถานะพระประมุข เป็นศรีสง่าแห่งอาณาประชาราษฎร ทรงรับพระราชภาระหน้าที่ บำเพ็ญพระราชกรณียกิจด้วย “ตบะ” อันหมายถึงกุศลสมาทาน ตามแบบบัญญัติแห่งราชธรรม สอดคล้องต้องด้วยหลักพระพุทธศาสนา อันการทำหน้าที่ของพระราชานั้น ย่อมได้แก่การครองแผ่นดิน สอดส่องดูแลอาณาราษฎร คอยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ดุจมารดาบิดาถนอมเลี้ยงบุตร ไม่ย่อหย่อน ละทิ้ง หรือว่างเว้น ดั่งคาถาบทหนึ่งแสดงว่า พระอาทิตย์มีตบะส่องแสงในกลางวัน พระจันทร์มีตบะส่องแสงในกลางคืน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมตามบทบาทหน้าที่ที่ดำรงอยู่ ย่อมได้ชื่อว่าเป็น “ผู้บำเพ็ญตบะ” เมื่อปฏิบัติหน้าที่สำเร็จด้วยดี ย่อมเป็น “ผู้มีตบะ” ปรากฏเกียรติยศลือชาสง่างาม เป็นที่ยำเกรง ผู้คนพากันสรรเสริญว่าถึงพร้อมด้วย “ตบะเดชะ” เป็นคุณาลังการอันวิจิตรยอดเยี่ยม สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงตั้งพระบรมราชปณิธาน สืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริ พระราชจริยวัตร ตลอดจนพระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระบรมราชบุพการี เพื่อให้บ้านเมืองไทยประสบความเกษมสวัสดิ์ บังเกิดประโยชนสุข สำเร็จแก่มหาชนใต้ร่มพระบารมี ทรงแผ่พระมหากรุณาธิคุณไปโอบอุ้มคุ้มครองพสกนิกรทั่วหน้า นับว่าได้ทรงกระทำตามหน้าที่ สมพระขัตติยชาติ และสมความเป็นสัตบุรุษคนดี ผู้พากเพียรแผดเผากิเลส ทรงข่มพระราชหฤทัย ยืนหยัดดำรงพระองค์ รับพระราชภาระหน้าที่อย่างอดทน เข้มแข็ง และมั่นคง ตามพระราชอุดมการณ์ที่ทรงสมาทานไว้ โดยมิหวั่นไหวสะทกสะเทือนด้วยกระแสโลกธรรม ต้องตามนัยแห่งภาษิต ใน “มหาสุตโสมชาดก” ความว่า “พระราชาผู้เอาชนะคนไม่ควรชนะ ไม่ชื่อว่าพระราชา, เพื่อนผู้เอาชนะเพื่อน ไม่ชื่อว่าเพื่อน ฯลฯ บุตรผู้ไม่เลี้ยงดูมารดาบิดาผู้แก่เฒ่า ไม่ชื่อว่าบุตร, สภาที่ไม่มีสัตบุรุษ ไม่ชื่อว่าสภา, ผู้ไม่พูดเป็นธรรม ไม่ชื่อว่าสัตบุรุษ, ส่วนผู้สงบจากราคะ โทสะ โมหะ พูดเป็นธรรมะ ย่อมชื่อว่าสัตบุรุษคนดี” ด้วยประการฉะนี้ ณ มหามงคลสมัยพิเศษแห่งพระชนมพรรษา ขอเดชานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนพระราชกุศลธรรมจริยา ที่ทรงสั่งสมมาด้วยดี โปรดอภิบาลรักษา สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงเจริญพระชนมสุขสิริสวัสดิ์ สรรพพิบัติอุปัทวันตรายอย่าได้พ้องพานพระยุคลบาท จงทรงเรืองรองโอภาสด้วยพระราชธรรมบารมี ประดุจดวงวชิระอันผ่องใส แผ่พรรณรังสีแห่งทศมรัชสมัย ส่องใจมหาชนชาวไทย ให้เอิบอาบปลาบปลื้มอยู่เสมอไป ตลอดกาลเป็นนิตย์ เทอญ.” ที่มา: เพจสำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช #Thaitimes
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 602 มุมมอง 0 รีวิว