• ช่วยกันฝันออกแบบรัฐธรรมนูญ โดยดำรงไว้ซึ่งหมวดพระมหากษัตริย์ และความมั่นคงแห่งชาติ

    ไม่ต้องมีพรรคการเมือง เป็นประชาธิปไตยแบบไทย

    หมวดผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง:
    ----------------------------------
    1) เป็นผู้มี หรือเคยมีประวัติการเสียภาษี หรือมียอดรวมภาษีมูลค่าเพิ่มสะสม ปีละสามหมื่นบาทขึ้นไป
    2) มีอายุครบหรือเกิน 18 ปีบริบูรณ์
    3) เป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่มีสัญชาติอื่น


    หมวดผู้สมัคร สส. เลือกตั้ง:
    -----------------------------------------
    1) มีอายุเกิน 30 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70ปีบริบูรณ์
    2) มีประวัติสร้างชื่อเสียง ระดับชาติ, ปราชญ์ชาวบ้าน, บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เป็นหลักฐาน ติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 5ปีภาษี หรือสำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาที่ กพ. รับรอง
    3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้


    หมวดผู้สมัคร นายกฯ รมต. เลือกตั้ง:
    ------------------------------------------------------
    1) มีคุณสมบัติเหมือน ผู้สมัคร สส.
    2) เป็นตำแหน่งหน้าที่แยกสมัครต่างจาก ผู้สมัคร สส. โดยผู้สมัครเลือกตั้ง หน้าที่ นายกฯ หรือ รมต. จะต้องเลือกสมัครในหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเท่านั้น
    3) ผู้สมัคร มีหน้าที่แสดงวิสัยทัศน์ และแผนการดำเนินงานไม่ต่ำกว่า 10ข้อ ลงสื่อสารให้สามารถตรวจสอบ
    4) คะแนนมาจากทั่วประเทศ


    หมวด สว. ส่วนโควตา:
    1) ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการเหล่าทัพ, ปลัดกระทรวง, ตัวแทนศิลปินแห่งชาติทุกสาขา, อาจารย์ผู้มีผลงานวิจัยระดับชาติหรือระดับโลก, อดีตนักเรียนนักศึกษาที่เคยเข้าชิงแข่งขันทางการศึกษาระดับโลก เช่น แข่งขันคณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี สิ่งประดิษฐ์ที่ไม่เคยมี เกมส์, อดีตนักกีฬาทีมชาติไทยที่ผ่านสนามเอเชี่ยนเกมส์ขึ้นไป หลายๆ ประเภท
    2) มีอายุไม่เกิน 76ปีบริบูรณ์
    3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้
    4) ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ทับซ้อน กับ สส. นายกฯ หรือ รมต. เช่น เป็นคนในครอบครัว สามีภรรยา พ่อแม่ พี่น้องในสายเลือด, ไม่เป็นหุ้นส่วน


    ทุกผู้ที่ได้การคัดเลือก จะต้องมีความละอายชั่ว ศีลธรรม หากพบว่ากระทำผิด จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ โดยทันทีไม่สามารถยืดเยื้อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป

    ผู้ช่วย สส. รมต. จะมีได้ไม่เกินกี่คน รายชื่อผู้ช่วย ต้องประกาศ ให้สาธารณะตรวจสอบได้โดยสะดวก

    ช่วยกันฝันออกแบบรัฐธรรมนูญ โดยดำรงไว้ซึ่งหมวดพระมหากษัตริย์ และความมั่นคงแห่งชาติ ไม่ต้องมีพรรคการเมือง เป็นประชาธิปไตยแบบไทย หมวดผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง: ---------------------------------- 1) เป็นผู้มี หรือเคยมีประวัติการเสียภาษี หรือมียอดรวมภาษีมูลค่าเพิ่มสะสม ปีละสามหมื่นบาทขึ้นไป 2) มีอายุครบหรือเกิน 18 ปีบริบูรณ์ 3) เป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่มีสัญชาติอื่น หมวดผู้สมัคร สส. เลือกตั้ง: ----------------------------------------- 1) มีอายุเกิน 30 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70ปีบริบูรณ์ 2) มีประวัติสร้างชื่อเสียง ระดับชาติ, ปราชญ์ชาวบ้าน, บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เป็นหลักฐาน ติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 5ปีภาษี หรือสำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาที่ กพ. รับรอง 3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้ หมวดผู้สมัคร นายกฯ รมต. เลือกตั้ง: ------------------------------------------------------ 1) มีคุณสมบัติเหมือน ผู้สมัคร สส. 2) เป็นตำแหน่งหน้าที่แยกสมัครต่างจาก ผู้สมัคร สส. โดยผู้สมัครเลือกตั้ง หน้าที่ นายกฯ หรือ รมต. จะต้องเลือกสมัครในหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเท่านั้น 3) ผู้สมัคร มีหน้าที่แสดงวิสัยทัศน์ และแผนการดำเนินงานไม่ต่ำกว่า 10ข้อ ลงสื่อสารให้สามารถตรวจสอบ 4) คะแนนมาจากทั่วประเทศ หมวด สว. ส่วนโควตา: 1) ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการเหล่าทัพ, ปลัดกระทรวง, ตัวแทนศิลปินแห่งชาติทุกสาขา, อาจารย์ผู้มีผลงานวิจัยระดับชาติหรือระดับโลก, อดีตนักเรียนนักศึกษาที่เคยเข้าชิงแข่งขันทางการศึกษาระดับโลก เช่น แข่งขันคณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี สิ่งประดิษฐ์ที่ไม่เคยมี เกมส์, อดีตนักกีฬาทีมชาติไทยที่ผ่านสนามเอเชี่ยนเกมส์ขึ้นไป หลายๆ ประเภท 2) มีอายุไม่เกิน 76ปีบริบูรณ์ 3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้ 4) ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ทับซ้อน กับ สส. นายกฯ หรือ รมต. เช่น เป็นคนในครอบครัว สามีภรรยา พ่อแม่ พี่น้องในสายเลือด, ไม่เป็นหุ้นส่วน ทุกผู้ที่ได้การคัดเลือก จะต้องมีความละอายชั่ว ศีลธรรม หากพบว่ากระทำผิด จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ โดยทันทีไม่สามารถยืดเยื้อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ผู้ช่วย สส. รมต. จะมีได้ไม่เกินกี่คน รายชื่อผู้ช่วย ต้องประกาศ ให้สาธารณะตรวจสอบได้โดยสะดวก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 120 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1046
    ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้
    แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน
    กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น
    แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ
    ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก.
    พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !”
    --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย,
    ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ.

    (ก. ฝ่ายอกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,”
    ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !”
    --มีโทษหรือไม่มีโทษ ?
    “มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย”
    ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.

    ( ข. ฝ่ายกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !”
    มี โทษหรือไม่มีโทษ ?
    “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล
    ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้
    กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’
    ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด”
    ดังนี้
    ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.
    ----
    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้
    ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า

    +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ;

    +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้
    มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า
    “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี.
    ฐานะที่จะมีได้ก็คือ
    เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย
    เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี,
    เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ
    ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ,
    ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ
    ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้,
    ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้
    มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น.
    ”(ชาวกาลามเหล่านั้น
    รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง,
    แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).-

    (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า
    การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น
    จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด
    เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า
    ทุกข์เป็นอย่างไร
    เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร
    ความดับทุกข์เป็นอย่างไร
    มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร
    โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา
    หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก
    หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก
    หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ
    หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ.
    เป็นอัน กล่าวได้ว่า
    ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้
    ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส
    อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 1046 ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 เนื้อความทั้งหมด :- --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” --มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ---- --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น. ”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).- (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า ทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505. http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    -การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคมนี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยา ผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีจิตสหรคตด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอัน ใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลกมี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลกไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหนดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่ เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น . . . .”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 135 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 1033
    ชื่อบทธรรม :- สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1033
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ซ. ว่าด้วย มรรคกับอาหุเนยยบุคคล
    --สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล้ว
    ย่อม เป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคล
    เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปด ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้ :-
    --๑. เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์
    ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณเล็กน้อย
    สมาทานศึกษา ในสิกขาบททั้งหลาย อยู่.
    --๒. เขาถวายโภชนะใดๆ แก่เธอ
    เศร้าหมอง หรือประณีต ก็ตาม
    เธอฉันโภชนะนั้นๆ โดยเคารพเอื้อเฟื้อ
    ไม่เดือดร้อนกระวนกระวาย.
    --๓. เป็นผู้เกลียดต่อ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    เกลียดต่อการถึง พร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย
    --๔. เป็นผู้ยินดีในความสงบ มีการอยู่ร่วมกันเป็นสุข ไม่ทำภิกษุเหล่าอื่นให้หวาดกลัว.
    --๕. เป็นผู้เปิดเผย ความโอ้อวด ความโกง ความพยศ ความคด ของเธอ
    ในพระศาสดาหรือในเพื่อนสพรหมจารีผู้เป็นวิญญูชน ตามเป็นจริง
    พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้วิญญูชนเหล่านั้น
    ย่อมพยายามเพื่อกำจัดโทษเหล่านั้นของเธอเสีย.
    --๖. เป็นผู้มีสิกขา ตั้งจิตว่า
    “ภิกษุเหล่าอื่นจะศึกษาหรือไม่ศึกษาก็ตามใจ
    เราจัดศึกษาในบทแห่งการศึกษานั้นๆ”
    ดังนี้.
    --๗. เมื่อเธอไปก็ไปตรง;
    นี้คือ ทางตรงในกรณีนั้น คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; (ปัญญา)​
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; (ศีล)​
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.(สมาธิ)​
    --๘. เป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้วอยู่ ว่า
    “หนัง เอ็น กระดูก จงเหลืออยู่ เนื้อและโลหิตในสรีระจงเหือดแห้งไป ก็ตามที
    ประโยชน์อันบุคคล จะพึงลุถึงได้ด้วยกำลัง ด้วยความเพียร ความบากบั่น ของบุรุษ
    ถ้ายังไม่บรรลุประโยชน์นั้นแล้ว จักหยุดความเพียรเสีย เป็นไม่มี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล
    #ย่อมเป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคล
    http://etipitaka.com/read/pali/23/193/?keywords=อาหุเนยฺโย
    เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺ ฐฏ. อํ. 23/144/103.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/144/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺ ฐฏ. อํ. ๒๓/๑๙๓/๑๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/193/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1033
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1033
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 1033 ชื่อบทธรรม :- สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1033 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ซ. ว่าด้วย มรรคกับอาหุเนยยบุคคล --สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล้ว ย่อม เป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคล เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปด ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้ :- --๑. เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณเล็กน้อย สมาทานศึกษา ในสิกขาบททั้งหลาย อยู่. --๒. เขาถวายโภชนะใดๆ แก่เธอ เศร้าหมอง หรือประณีต ก็ตาม เธอฉันโภชนะนั้นๆ โดยเคารพเอื้อเฟื้อ ไม่เดือดร้อนกระวนกระวาย. --๓. เป็นผู้เกลียดต่อ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เกลียดต่อการถึง พร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย --๔. เป็นผู้ยินดีในความสงบ มีการอยู่ร่วมกันเป็นสุข ไม่ทำภิกษุเหล่าอื่นให้หวาดกลัว. --๕. เป็นผู้เปิดเผย ความโอ้อวด ความโกง ความพยศ ความคด ของเธอ ในพระศาสดาหรือในเพื่อนสพรหมจารีผู้เป็นวิญญูชน ตามเป็นจริง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้วิญญูชนเหล่านั้น ย่อมพยายามเพื่อกำจัดโทษเหล่านั้นของเธอเสีย. --๖. เป็นผู้มีสิกขา ตั้งจิตว่า “ภิกษุเหล่าอื่นจะศึกษาหรือไม่ศึกษาก็ตามใจ เราจัดศึกษาในบทแห่งการศึกษานั้นๆ” ดังนี้. --๗. เมื่อเธอไปก็ไปตรง; นี้คือ ทางตรงในกรณีนั้น คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; (ปัญญา)​ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; (ศีล)​ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.(สมาธิ)​ --๘. เป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้วอยู่ ว่า “หนัง เอ็น กระดูก จงเหลืออยู่ เนื้อและโลหิตในสรีระจงเหือดแห้งไป ก็ตามที ประโยชน์อันบุคคล จะพึงลุถึงได้ด้วยกำลัง ด้วยความเพียร ความบากบั่น ของบุรุษ ถ้ายังไม่บรรลุประโยชน์นั้นแล้ว จักหยุดความเพียรเสีย เป็นไม่มี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล #ย่อมเป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคล http://etipitaka.com/read/pali/23/193/?keywords=อาหุเนยฺโย เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺ ฐฏ. อํ. 23/144/103. http://etipitaka.com/read/thai/23/144/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺ ฐฏ. อํ. ๒๓/๑๙๓/๑๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/193/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1033 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1033 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ซ. ว่าด้วย มรรคกับอาหุเนยยบุคคล-สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค-ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว
    -(ข้อปฏิบัติตามอัฏฐังคิกมรรค อาจจะแยกแยะออกไปเป็นรายละเอียด ได้อย่างมากมาย ด้วยพระพุทธภาษิตที่ตรัสแก่พระสารีบุตรในที่นี้ กล่าวได้ว่า เป็นคำขยายความของ อริยมรรคมีองค์แปดรวมกันได้เป็นอย่างดี จึงได้นำข้อความนี้มาใส่ไว้ในหมวดนี้). หมวด ซ. ว่าด้วย มรรคกับอาหุเนยยบุคคล สักว่าดำเนินอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค ก็เป็นอาหุเนยยบุคคลฯ แล้ว ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล้ว ย่อม เป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคล เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปด ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้ : ๑. เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้มีประมาณเล็กน้อย สมาทานศึกษา ในสิกขาบททั้งหลาย อยู่. ๒. เขาถวายโภชนะใดๆ แก่เธอ เศร้าหมอง หรือประณีต ก็ตาม เธอฉันโภชนะนั้นๆ โดยเคารพเอื้อเฟื้อ ไม่เดือดร้อนกระวนกระวาย. ๓. เป็นผู้เกลียดต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เกลียดต่อการถึง พร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย ๔. เป็นผู้ยินดีในความสงบ มีการอยู่ร่วมกันเป็นสุข ไม่ทำภิกษุเหล่าอื่นให้หวาดกลัว. ๕. เป็นผู้เปิดเผยความโอ้อวด ความโกง ความพยศ ความคดของเธอ ในพระศาสดา หรือในเพื่อนสพรหมจารีผู้เป็นวิญญูชน ตามเป็นจริง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้วิญญูชนเหล่านั้น ย่อมพยายามเพื่อกำจัดโทษเหล่านั้นของเธอเสีย. ๖. เป็นผู้มีสิกขา ตั้งจิตว่า “ภิกษุเหล่าอื่นจะศึกษาหรือไม่ศึกษาก็ตามใจ เราจัดศึกษาในบทแห่งการศึกษานั้นๆ” ดังนี้. ๗. เมื่อเธอไปก็ไปตรง; นี้คือ ทางตรงในกรณีนั้น คือสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะสัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ๘. เป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้วอยู่ ว่า “หนัง เอ็น กระดูก จงเหลืออยู่ เนื้อและโลหิตในสรีระจงเหือดแห้งไป ก็ตามที ประโยชน์อันบุคคล จะพึงลุถึงได้ด้วยกำลัง ด้วยความเพียร ความบากบั่น ของบุรุษ ถ้ายังไม่บรรลุประโยชน์นั้นแล้ว จักหยุดความเพียรเสีย เป็นไม่มี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นอาหุเนยยบุคคล ปาหุเนยยบุคคล ทักขิเณยยบุคคล อัญชลิกรณียบุคคลเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิเล่าเรื่อง 23-6-68
    .
    สวัสดีเช้าวันจันทร์ คุณสนธิมีเรื่องมาเล่าหลายเรื่องอย่างยิ่ง ทั้งเรื่องความสัมพันธ์ไทย-เขมร, การชุมนุมปกป้องอธิปไตยของชาติในวันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน 2568 รวมไปถึงสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยที่มีพรรคบางพรรค คนบางคนทำตัวเป็น "งักปุกคุ้ง" วิญญูชนจอมปลอม ปล่อยข่าวว่าจะสร้างเงื่อนไขโน่นนี่ให้ แพทองธาร ชินวัตร ในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้วคือ เกมการต่อรองทางการเมืองเท่านั้น รวมไปถึงเรื่องต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุด ณ เวลานี้ คือ สงครามระหว่างอิสราเอล-สหรัฐฯ และอิหร่าน ...
    .
    คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=mZl6YYRUNEY
    .
    #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk
    สนธิเล่าเรื่อง 23-6-68 . สวัสดีเช้าวันจันทร์ คุณสนธิมีเรื่องมาเล่าหลายเรื่องอย่างยิ่ง ทั้งเรื่องความสัมพันธ์ไทย-เขมร, การชุมนุมปกป้องอธิปไตยของชาติในวันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน 2568 รวมไปถึงสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยที่มีพรรคบางพรรค คนบางคนทำตัวเป็น "งักปุกคุ้ง" วิญญูชนจอมปลอม ปล่อยข่าวว่าจะสร้างเงื่อนไขโน่นนี่ให้ แพทองธาร ชินวัตร ในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้วคือ เกมการต่อรองทางการเมืองเท่านั้น รวมไปถึงเรื่องต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุด ณ เวลานี้ คือ สงครามระหว่างอิสราเอล-สหรัฐฯ และอิหร่าน ... . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=mZl6YYRUNEY . #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 167 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 1000
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
    ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
    แล.-

    (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
    มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
    ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
    : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
    #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
    เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
    จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค สัทธรรมลำดับที่ : 1000 ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :- ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.- (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29. http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    -หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัด กระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ : อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 246 มุมมอง 0 รีวิว
  • จัดไปครับอาจารย์...!!!
    .
    เดี๋ยวนี้ใครเห็นต่าง พี่แกตีตราเป็น IO ไปหมด...
    .
    การเปิดกว้างทางความคิดเป็น 0 ไม่เหมือน วิญญูชนในระบอบประชาธิปไตย ที่เห็นความหลายหลายเป็นสิ่งสวยงามเลย...
    .
    หรือ ประชาธิปไตย ที่เขาท่องๆกัน มันคือคาถากันภัย งั้นเหรอ...!!!
    .
    พอท่องแล้วทำชั่วอะไรก็ได้ จะไม่มีใครกล้ายุ่งกับคุณทันที เพราะพวกจะเยอะ แถมเสียงดัง...
    .
    จัดไปครับอาจารย์...!!! . เดี๋ยวนี้ใครเห็นต่าง พี่แกตีตราเป็น IO ไปหมด... . การเปิดกว้างทางความคิดเป็น 0 ไม่เหมือน วิญญูชนในระบอบประชาธิปไตย ที่เห็นความหลายหลายเป็นสิ่งสวยงามเลย... . หรือ ประชาธิปไตย ที่เขาท่องๆกัน มันคือคาถากันภัย งั้นเหรอ...!!! . พอท่องแล้วทำชั่วอะไรก็ได้ จะไม่มีใครกล้ายุ่งกับคุณทันที เพราะพวกจะเยอะ แถมเสียงดัง... . 🤣🤣🤣🤣🤣🤣
    อ.ไชยันต์ ไชยพร ร้อง ปอท.เอาผิดเพจ "สมศักดิ์ เจียม" โพสต์กล่าวหาเป็นหนึ่งในขบวนการ IO ของกองทัพบก ยันไม่ยอมให้ใครมาสั่งหรือตกอยู่ภายใต้อำนาจอิทธิพลใดๆ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000042366

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล​
    สัทธรรมลำดับที่ : 977
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    ...
    --ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร,
    ผู้รู้กล่าวกันว่า #อริยกันตศีล (ศีลอันประเสริญเป็นอริยะ)
    เลิศกว่าศีลเหล่านั้น;
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=สีลานิ+อริยกนฺตานิ
    กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว
    วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ #เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ.
    --จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล,
    บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ;
    ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ

    แล.-
    อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ
    อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร
    อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข
    อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร
    อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ
    อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ
    อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต
    เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=อคฺคธมฺมสมาหิโต
    บุญอันเลิศ คือ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขและกำลัง
    ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมที่เลิศ
    เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศคือ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ
    ผู้เป็นทักขิเณยบุคคลชั้นเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมที่เลิศ
    อันปราศจากราคะ เป็นที่เข้าไปสงบ เป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ
    เป็นนาบุญชั้นเยี่ยม ให้ทานในสิ่งที่เลิศ
    ปราชญ์ผู้ถือมั่นธรรมที่เลิศ
    ให้สิ่งที่เลิศ เป็นเทวดาหรือมนุษย์
    ย่อมถึงสถานที่เลิศ บันเทิงใจอยู่

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/32/32.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/32/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๘/๓๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=977
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล​ สัทธรรมลำดับที่ : 977 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล ... --ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร, ผู้รู้กล่าวกันว่า #อริยกันตศีล (ศีลอันประเสริญเป็นอริยะ) เลิศกว่าศีลเหล่านั้น; http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=สีลานิ+อริยกนฺตานิ กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ #เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ. --จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล, บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ; ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ แล.- อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=อคฺคธมฺมสมาหิโต บุญอันเลิศ คือ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขและกำลัง ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมที่เลิศ เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศคือ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักขิเณยบุคคลชั้นเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมที่เลิศ อันปราศจากราคะ เป็นที่เข้าไปสงบ เป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ เป็นนาบุญชั้นเยี่ยม ให้ทานในสิ่งที่เลิศ ปราชญ์ผู้ถือมั่นธรรมที่เลิศ ให้สิ่งที่เลิศ เป็นเทวดาหรือมนุษย์ ย่อมถึงสถานที่เลิศ บันเทิงใจอยู่ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/32/32. http://etipitaka.com/read/thai/22/32/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๘/๓๒. http://etipitaka.com/read/pali/22/38/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=977 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=977 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล
    -ลักษณะความสมบูรณ์แห่งศีล ดูก่อนจุนที ! ศีลทั้งหลายมีประมาณเท่าไร, ผู้รู้กล่าวกันว่า อริยกันตศีล (ศีลเป็นที่ชอบใจของพระอริยเจ้า) เลิศกว่าศีลเหล่านั้น; กล่าวคือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ตัว วิญญูชนสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิลูบคลำ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ. จุนที ! บุคคลเหล่าใด ทำให้บริบูรณ์ในอริยกันตศีล, บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่ากระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ; ก็วิบากอันเลิศ ย่อมมีแก่ผู้กระทำให้บริบูรณ์ในสิ่งอันเลิศ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 392 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ
    สัทธรรมลำดับที่ : 604
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=604
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ

    --คหบดี ท. ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ ว่า
    “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี” ;
    แต่มีสมณพราหมณ์อีกพวกหนึ่ง มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามจากสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    โดยกล่าวว่า-
    “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงมีอยู่”
    ดังนี้.
    --คหบดี ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร
    : สมณพราหมณ์เหล่านี้ มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามต่อกันและกันมิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --คหบดี ท. ! บุรุษวิญญูชน (คนกลาง) มาใคร่ครวญอยู่ในข้อนี้ ว่า
    “สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’
    ดังนี้
    นี้เราก็ไม่ได้เห็น ;
    แม้สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’
    ดังนี้
    นี้เราก็ไม่รู้จัก.
    ก็เมื่อเราไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ จะกล่าวโดยโวหารข้างเดียว
    ว่าฝ่ายนี้เท่านั้นจริง ฝ่ายอื่นเปล่า ดังนี้
    : นั้นก็ไม่เป็นการสมควรแก่เรา.

    สำหรับสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’
    ดังนี้
    ถ้าคำของเขาเป็นความจริง,
    เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักมีการอุบัติในหมู่เทพ ที่ไม่มีรูป
    #มีอัตภาพสำเร็จด้วยสัญญา เป็นแน่นอน ;
    แต่ถ้าถ้อยคำของสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’
    ดังนี้
    เป็นความจริง,
    เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/118/?keywords=ปรินิพฺพายิสฺสามิ

    สำหรับสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง ไม่มี’
    ดังนี้,
    ทิฏฐิของเขาก็
    กระเดียดไปในทางกำหนัดย้อมใจ
    กระเดียดไปในทางประกอบอยู่ในภพ
    กระเดียดไปในทางเพลิดเพลิน ในทางสยบมัวเมา ในทางยึดมั่นด้วยอุปาทาน ;
    ฝ่ายสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า
    ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’
    ดังนี้ นั้นเล่า,
    ทิฏฐิของเขาก็
    กระเดียดไปในทางไม่กำหนัดย้อมใจ
    กระเดียดไปในทางไม่ประกอบอยู่ในภพ
    กระเดียดไปในทางไม่เพลิดเพลิน ในทางไม่สยบมัวเมา ในทางไม่ยึดมั่นด้วยอุปาทาน”
    ดังนี้.
    +--บุรุษวิญญูชนนั้น ครั้นใคร่ครวญเห็นอย่างนี้แล้ว
    ก็ เลือกเอาการปฏิบัติ
    ฝ่ายที่เป็นไปเพื่อเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ดับไม่เหลือ แห่งภพทั้งหลาย
    นั่นเทียว.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/93-94/121.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๑๗-๑๑๘/๑๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/117/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=604
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=604
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ สัทธรรมลำดับที่ : 604 ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=604 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ --คหบดี ท. ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ ว่า “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี” ; แต่มีสมณพราหมณ์อีกพวกหนึ่ง มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามจากสมณพราหมณ์เหล่านั้น โดยกล่าวว่า- “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงมีอยู่” ดังนี้. --คหบดี ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร : สมณพราหมณ์เหล่านี้ มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามต่อกันและกันมิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คหบดี ท. ! บุรุษวิญญูชน (คนกลาง) มาใคร่ครวญอยู่ในข้อนี้ ว่า “สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’ ดังนี้ นี้เราก็ไม่ได้เห็น ; แม้สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ นี้เราก็ไม่รู้จัก. ก็เมื่อเราไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ จะกล่าวโดยโวหารข้างเดียว ว่าฝ่ายนี้เท่านั้นจริง ฝ่ายอื่นเปล่า ดังนี้ : นั้นก็ไม่เป็นการสมควรแก่เรา. สำหรับสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’ ดังนี้ ถ้าคำของเขาเป็นความจริง, เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักมีการอุบัติในหมู่เทพ ที่ไม่มีรูป #มีอัตภาพสำเร็จด้วยสัญญา เป็นแน่นอน ; แต่ถ้าถ้อยคำของสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ เป็นความจริง, เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้เอง. http://etipitaka.com/read/pali/13/118/?keywords=ปรินิพฺพายิสฺสามิ สำหรับสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง ไม่มี’ ดังนี้, ทิฏฐิของเขาก็ กระเดียดไปในทางกำหนัดย้อมใจ กระเดียดไปในทางประกอบอยู่ในภพ กระเดียดไปในทางเพลิดเพลิน ในทางสยบมัวเมา ในทางยึดมั่นด้วยอุปาทาน ; ฝ่ายสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ นั้นเล่า, ทิฏฐิของเขาก็ กระเดียดไปในทางไม่กำหนัดย้อมใจ กระเดียดไปในทางไม่ประกอบอยู่ในภพ กระเดียดไปในทางไม่เพลิดเพลิน ในทางไม่สยบมัวเมา ในทางไม่ยึดมั่นด้วยอุปาทาน” ดังนี้. +--บุรุษวิญญูชนนั้น ครั้นใคร่ครวญเห็นอย่างนี้แล้ว ก็ เลือกเอาการปฏิบัติ ฝ่ายที่เป็นไปเพื่อเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ดับไม่เหลือ แห่งภพทั้งหลาย นั่นเทียว.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/93-94/121. http://etipitaka.com/read/thai/13/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๑๗-๑๑๘/๑๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/13/117/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=604 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=604 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
    -[ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น. และในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗) ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า ได้แก่ภิกษุผู้เป็นโอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า]. ผู้รู้จักเลือกเอาฝ่ายดับไม่เหลือแห่งภพ คหบดี ท. ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ ว่า “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี” ; แต่มีสมณพราหมณ์อีกพวกหนึ่ง มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามจากสมณพราหมณ์เหล่านั้น โดยกล่าวว่า “ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงมีอยู่” ดังนี้. คหบดี ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร : สมณพราหมณ์เหล่านี้ มีถ้อยคำเป็นข้าศึกอย่างตรงกันข้ามต่อกันและกันมิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คหบดี ท. ! บุรุษวิญญูชน (คนกลาง) มาใคร่ครวญอยู่ในข้อนี้ ว่า “สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’ ดังนี้ นี้เราก็ไม่ได้เห็น ; แม้สมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ นี้เราก็ไม่รู้จัก. ก็เมื่อเราไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ จะกล่าวโดยโวหารข้างเดียว ว่าฝ่ายนี้เท่านั้นจริง ฝ่ายอื่นเปล่า ดังนี้ : นั้นก็ไม่เป็นการสมควรแก่เรา. สำหรับสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวงไม่มี’ ดังนี้ ถ้าคำของเขาเป็นความจริง, เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักมีการอุบัติในหมู่เทพ ที่ไม่มีรูป มีอัตภาพสำเร็จด้วยสัญญา เป็นแน่นอน ; แต่ถ้าถ้อยคำของสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ เป็นความจริง, เรื่องก็จะเป็นไปได้ว่า เราจักปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้เอง. สำหรับสมณพราหมณ์พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง ไม่มี’ ดังนี้, ทิฏฐิของเขาก็กระเดียดไปในทางกำหนัดย้อมใจ กระเดียดไปในทางประกอบอยู่ในภพ กระเดียดไปในทางเพลิดเพลิน ในทางสยบมัวเมา ในทางยึดมั่นด้วยอุปาทาน ; ฝ่ายสมณพราหมณ์ พวกที่มีถ้อยคำมีความเห็นอย่างนี้ว่า ‘ความดับแห่งภพโดยประการทั้งปวง มีอยู่’ ดังนี้ นั้นเล่า, ทิฏฐิของเขาก็กระเดียดไปในทางไม่กำหนัดย้อมใจ กระเดียดไปในทางไม่ประกอบอยู่ในภพ กระเดียดไปในทางไม่เพลิดเพลิน ในทางไม่สยบมัวเมา ในทางไม่ยึดมั่นด้วยอุปาทาน” ดังนี้. บุรุษวิญญูชนนั้น ครั้นใคร่ครวญเห็นอย่างนี้แล้ว ก็ เลือกเอาการปฏิบัติ ฝ่ายที่เป็นไปเพื่อเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ดับไม่เหลือ แห่งภพทั้งหลาย นั่นเทียว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 251 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวัสดีวันสงกรานต์ไทยครับ ขอให้มีความสุข ความเจริญ ความร่มเย็น มั่งคั่งร่ำรวย เงินทองไหลมาเทมา และก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน ธุรกิจ ให้เติบโตไปข้างหน้า เฮง เฮง เฮง ปัง ปัง ปัง ส่งท้ายปีเก่าไทย ต้อนรับปีใหม่ไทย ขอให้มวลมิตรร่วมโลกมีความสุข ความสำราญสมบูรณ์พูนสุข ความเจริญก้าวหน้า รุ่งโรจน์โชติช่วงชัชวาลในยุคโลกาภิวัฒน์ซึ่งผมควรจะเดินตามรอย ไม่ใช่เดินสวนทางโลกาภิวัฒน์ และขอให้มวลมิตรร่วมโลกใน VK และ Thaitimes มีสุขภาพแข็งแรงและเป็นกำลังสำคัญในการทำสงครามสารสนเทศและสงคราวข่าวกรอง ข้อมูล ข่าวสาร ต่อผู้รับใช้ปีศาจเฉกเช่นยิวไซออนิสต์และนีโอนาซีอาซอฟด้วยเทอญ
    ขออวยพรให้ คปท. ศปปส. กองทัพธรรม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นักรบศรีวิชัย51 พรรคไทยภักดี อาชีวะพ่อกูวิษณุกรรม อาชีวะราชภักดิ์ พรรคไทยไม่ทน ทำการสิ่งใดที่เป็นคุณต่อประเทศชาติและประชาชนขอให้สำเร็จเพื่ออนาคตข้างหน้าของลูกหลานด้วยเทอญ เพราะภารกิจหลักๆคือหยุดยั้งหายนะจากนโยบายอบายมุขเสรี สถานอโคจรบันเทิงปลอมแต่บรรลัยของจริงครบวงจร นโยบายขายชาติและขบวนการต่างด้าวนอกกฎหมายแย่งอาชีพคนไทย คนไทยถึงไม่ทน ต้องลุกขึ้นสู้ คณะหลอมรวมฯก็ออกมากันแล้วครับ และผมอวยพรให้ประสบชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่แท้จริงของประชาชนผู้เป็นวิญญูชนทั้งปวงเทอญ
    และขออวยพรให้ปูติน ลูคาเชนโก้ สีจิ้นผิงและโดนัลด์ ทรัมป์ประสบชัยชนะไม่มีวันสยบยอมต่อพวกมารผจญอย่างยิวไซออนิสต์ด้วยเทอญ
    สวัสดีวันสงกรานต์ไทยครับ ขอให้มีความสุข ความเจริญ ความร่มเย็น มั่งคั่งร่ำรวย เงินทองไหลมาเทมา และก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน ธุรกิจ ให้เติบโตไปข้างหน้า เฮง เฮง เฮง ปัง ปัง ปัง ส่งท้ายปีเก่าไทย ต้อนรับปีใหม่ไทย ขอให้มวลมิตรร่วมโลกมีความสุข ความสำราญสมบูรณ์พูนสุข ความเจริญก้าวหน้า รุ่งโรจน์โชติช่วงชัชวาลในยุคโลกาภิวัฒน์ซึ่งผมควรจะเดินตามรอย ไม่ใช่เดินสวนทางโลกาภิวัฒน์ และขอให้มวลมิตรร่วมโลกใน VK และ Thaitimes มีสุขภาพแข็งแรงและเป็นกำลังสำคัญในการทำสงครามสารสนเทศและสงคราวข่าวกรอง ข้อมูล ข่าวสาร ต่อผู้รับใช้ปีศาจเฉกเช่นยิวไซออนิสต์และนีโอนาซีอาซอฟด้วยเทอญ ขออวยพรให้ คปท. ศปปส. กองทัพธรรม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นักรบศรีวิชัย51 พรรคไทยภักดี อาชีวะพ่อกูวิษณุกรรม อาชีวะราชภักดิ์ พรรคไทยไม่ทน ทำการสิ่งใดที่เป็นคุณต่อประเทศชาติและประชาชนขอให้สำเร็จเพื่ออนาคตข้างหน้าของลูกหลานด้วยเทอญ เพราะภารกิจหลักๆคือหยุดยั้งหายนะจากนโยบายอบายมุขเสรี สถานอโคจรบันเทิงปลอมแต่บรรลัยของจริงครบวงจร นโยบายขายชาติและขบวนการต่างด้าวนอกกฎหมายแย่งอาชีพคนไทย คนไทยถึงไม่ทน ต้องลุกขึ้นสู้ คณะหลอมรวมฯก็ออกมากันแล้วครับ และผมอวยพรให้ประสบชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่แท้จริงของประชาชนผู้เป็นวิญญูชนทั้งปวงเทอญ และขออวยพรให้ปูติน ลูคาเชนโก้ สีจิ้นผิงและโดนัลด์ ทรัมป์ประสบชัยชนะไม่มีวันสยบยอมต่อพวกมารผจญอย่างยิวไซออนิสต์ด้วยเทอญ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 744 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขออภัยที่หายไปหนึ่งอาทิตย์ค่ะ วันนี้ Storyฯ เห็นว่าเรากำลังอยู่ในบรรยากาศการเลือกคนดีคนเก่งมาบริหารบ้านเมือง เลยลองมาคุยกันเรื่องปรัชญาจีนโบราณ (แม้ว่า Storyฯ จะไม่สันทัดเรื่องปรัชญาก็ตาม)

    เพื่อนเพจที่เคยอ่านนิยายของกิมย้งหรือดูหนังเรื่อง <กระบี่เย้ยยุทธจักร> ต้องคุ้นหูกับคำว่า ‘วิญญูชนจอมปลอม’ ซึ่งในภาษาจีนเรียกว่า ‘เหว่ยจวินจื่อ’ (伪君子) โดยคำว่า ‘จวินจื่อ’ นี้ปัจจุบันมักใช้คำแปลว่า ‘สุภาพชน’ (gentleman)

    แน่นอนว่าคำว่า ‘วิญญูชน’ และ ‘สุภาพชน’ มีนัยแตกต่าง คำถามที่ตามมาก็คือ: ‘จวินจื่อ’ (君子) คืออะไร? นี่เป็นคำถามในข้อสอบยอดฮิตในสมัยจีนโบราณ

    Storyฯ ขอยกตัวอย่างมาจากละครเรื่อง <ดุจฝันบันดาลใจ> ซึ่งมีฉากที่นางเอกต้องร่วมสอบและได้ต่อว่าคนที่กลั่นแกล้งนางและดูถูกพ่อของนางไว้ว่า “วิญญูชนไม่คิดอกุศล ข้าเดินได้อย่างผึ่งผาย นั่งได้อย่างหลังตรง มิเคยต้องกังวลลมปากของผู้ใด... วิญญูชนไม่แบ่งแยกสูงต่ำด้วยชาติกำเนิด” (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า)

    ประโยคที่ว่า ‘วิญญูชนไม่คิดอกุศล’ หรือ ‘จวินจื่อซืออู๋เสีย’ (君子思无邪) นี้ เป็นการรวมสองปรัชญาจากคัมภีร์หลุนอวี่ (论语) เข้ามาด้วยกันในประโยคเดียว

    ปรัชญาแรกว่าด้วยเรื่องของ ‘จวินจื่อ’ ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ‘จวิน’ ที่หมายถึงผู้เป็นประมุขหรือผู้มียศศักดิ์ และ ‘จื่อ’ ที่แปลว่าบุตรชาย ดังนั้นความหมายดั้งเดิมคือหมายถึง ‘Nobleman’ หรืออาจแปลเป็นไทยได้ว่าราชนิกุลหรือลูกหลานชนชั้นศักดินา ต่อมาหมายถึงผู้ที่มีศีลธรรมและคุณสมบัติสูงส่งอันเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่นได้ (‘A man of noble character’) เป็นส่วนประกอบสำคัญของปรัชญาขงจื๊อในการสร้างมาตรฐานสังคม โดยขงจื๊อมักใช้การเปรียบเทียบระหว่าง ‘จวินจื่อ’ กับ ‘เสี่ยวเหริน’ (小人 / ทุรชน) เพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ‘จวินจื่อ’ ควรมีคุณสมบัติอย่างไร Storyฯ สรุปมาไม่ได้หมด เลยยกตัวอย่างมาให้เห็นภาพดังนี้:

    – จวินจื่อคำนึงถึงความเที่ยงธรรม (义) แต่เสี่ยวเหรินคำนึงถึงผลประโยชน์
    – จวินจื่ออยู่ร่วมได้ด้วยความต่าง แต่เสี่ยวเหรินแม้ไม่ต่างแต่ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ --- ประเด็นนี้ Storyฯ อาจแปลได้ไม่ดี ขอขยายความว่า จวินจื่อเมื่อเรียนรู้และตระหนักถึงสิ่งที่ถูกต้อง แม้ว่าอาจมีแก่นความคิดที่แตกต่างกันไป แต่เพราะมีความเข้าใจในเนื้อแท้ของคนและเคารพยอมรับซึ่งกันและกันได้ ก็สามารถส่งเสริมเกื้อกูลหล่อหลอมเข้าด้วยกันได้ แต่ในทางกลับกัน เสี่ยวเหรินมีความเสแสร้งพยายามให้ดูกลมกลืน แต่ทำเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง สุดท้ายแม้อยู่ร่วมกันแต่ไม่สามารถหล่อหลอมเป็นหนึ่งเดียวกันได้
    – จวินจื่อเปิดเผยผึ่งผาย จึงไม่ต้องกังวลถึงความเห็นคนอื่น แต่เสี่ยวเหรินทำอะไรก็พะวงหน้าพะวงหลังกลัวคนมากลั่นแกล้ง
    – จวินจื่อพึ่งพาตนเอง แต่เสี่ยวเหรินพึ่งพาผู้อื่น
    – จวินจื่อส่งเสริมผู้อื่นในเรื่องที่ดีและไม่สนับสนุนในเรื่องที่ไม่ดี แต่เสี่ยวเหรินขัดผู้อื่นในเรื่องที่ดีและส่งเสริมในเรื่องที่ไม่ดี
    – จวินจื่อเปรียบเสมือนลม เสี่ยวเหรินเป็นเหมือนหญ้าที่ต้องเอนไหวศิโรราบให้เมื่อลมพัดผ่าน เป็นการอุปมาอุปไมยว่าคุณธรรมของจวินจื่อ สามารถเอาชนะความไม่ดีของเสี่ยวเหรินได้

    ปรัชญาที่สอง ‘ไม่คิดอกุศล’ (ซืออู๋เสีย/思无邪) โดยปรัชญานี้ขงจื๊อเคยใช้ในสองบริบท บริบทแรกในการวิจารณ์งานประพันธ์โดยหมายถึงว่า สิ่งที่นักประพันธ์สื่อผ่านตัวอักษรออกมานั้น ควรบ่งบอกจิตวิญญาณและความคิดที่แท้จริง พูดง่ายๆ คือซื่อตรงต่อตัวเอง ส่วนอีกบริบทหนึ่งนั้นคือเป็นการกล่าวถึงคุณสมบัติของคน โดยหมายถึงว่า อันความคิดที่ดี ย่อมไม่กลัวที่จะเปิดเผยให้ผู้ใดรับรู้

    คำว่า ‘จวินจื่อ’ ปรากฏอยู่บนงานประพันธ์และสำนวนจีนมากมาย และปรัชญาของขงจื๊อถูกศึกษามาหลายพันปีโดยนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนงวิชาจำนวนนับไม่ถ้วน Storyฯ ไม่หาญกล้ามาเสวนามากมายในปรัชญาเหล่านี้ เพียงแต่เมื่อวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา คำว่า ‘จวินจื่อ’ หรือ ‘วิญญูชน’ ทำให้อดคิดไม่ได้ว่า ในสังคมทุกวันนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นวิญญูชน และใครเป็นวิญญูชนจอมปลอม

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.sohu.com/a/467496758_120871225
    https://www.sohu.com/a/433221328_99929216
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/思无邪/5080
    https://guoxue.ifeng.com/c/7jUG4KBpiZC
    https://baike.baidu.com/item/君子/1389

    #ดุจฝันบันดาลใจ #จวินจื่อ #วิญญูชน #ขงจื๊อ
    ขออภัยที่หายไปหนึ่งอาทิตย์ค่ะ วันนี้ Storyฯ เห็นว่าเรากำลังอยู่ในบรรยากาศการเลือกคนดีคนเก่งมาบริหารบ้านเมือง เลยลองมาคุยกันเรื่องปรัชญาจีนโบราณ (แม้ว่า Storyฯ จะไม่สันทัดเรื่องปรัชญาก็ตาม) เพื่อนเพจที่เคยอ่านนิยายของกิมย้งหรือดูหนังเรื่อง <กระบี่เย้ยยุทธจักร> ต้องคุ้นหูกับคำว่า ‘วิญญูชนจอมปลอม’ ซึ่งในภาษาจีนเรียกว่า ‘เหว่ยจวินจื่อ’ (伪君子) โดยคำว่า ‘จวินจื่อ’ นี้ปัจจุบันมักใช้คำแปลว่า ‘สุภาพชน’ (gentleman) แน่นอนว่าคำว่า ‘วิญญูชน’ และ ‘สุภาพชน’ มีนัยแตกต่าง คำถามที่ตามมาก็คือ: ‘จวินจื่อ’ (君子) คืออะไร? นี่เป็นคำถามในข้อสอบยอดฮิตในสมัยจีนโบราณ Storyฯ ขอยกตัวอย่างมาจากละครเรื่อง <ดุจฝันบันดาลใจ> ซึ่งมีฉากที่นางเอกต้องร่วมสอบและได้ต่อว่าคนที่กลั่นแกล้งนางและดูถูกพ่อของนางไว้ว่า “วิญญูชนไม่คิดอกุศล ข้าเดินได้อย่างผึ่งผาย นั่งได้อย่างหลังตรง มิเคยต้องกังวลลมปากของผู้ใด... วิญญูชนไม่แบ่งแยกสูงต่ำด้วยชาติกำเนิด” (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า) ประโยคที่ว่า ‘วิญญูชนไม่คิดอกุศล’ หรือ ‘จวินจื่อซืออู๋เสีย’ (君子思无邪) นี้ เป็นการรวมสองปรัชญาจากคัมภีร์หลุนอวี่ (论语) เข้ามาด้วยกันในประโยคเดียว ปรัชญาแรกว่าด้วยเรื่องของ ‘จวินจื่อ’ ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ‘จวิน’ ที่หมายถึงผู้เป็นประมุขหรือผู้มียศศักดิ์ และ ‘จื่อ’ ที่แปลว่าบุตรชาย ดังนั้นความหมายดั้งเดิมคือหมายถึง ‘Nobleman’ หรืออาจแปลเป็นไทยได้ว่าราชนิกุลหรือลูกหลานชนชั้นศักดินา ต่อมาหมายถึงผู้ที่มีศีลธรรมและคุณสมบัติสูงส่งอันเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่นได้ (‘A man of noble character’) เป็นส่วนประกอบสำคัญของปรัชญาขงจื๊อในการสร้างมาตรฐานสังคม โดยขงจื๊อมักใช้การเปรียบเทียบระหว่าง ‘จวินจื่อ’ กับ ‘เสี่ยวเหริน’ (小人 / ทุรชน) เพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ‘จวินจื่อ’ ควรมีคุณสมบัติอย่างไร Storyฯ สรุปมาไม่ได้หมด เลยยกตัวอย่างมาให้เห็นภาพดังนี้: – จวินจื่อคำนึงถึงความเที่ยงธรรม (义) แต่เสี่ยวเหรินคำนึงถึงผลประโยชน์ – จวินจื่ออยู่ร่วมได้ด้วยความต่าง แต่เสี่ยวเหรินแม้ไม่ต่างแต่ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ --- ประเด็นนี้ Storyฯ อาจแปลได้ไม่ดี ขอขยายความว่า จวินจื่อเมื่อเรียนรู้และตระหนักถึงสิ่งที่ถูกต้อง แม้ว่าอาจมีแก่นความคิดที่แตกต่างกันไป แต่เพราะมีความเข้าใจในเนื้อแท้ของคนและเคารพยอมรับซึ่งกันและกันได้ ก็สามารถส่งเสริมเกื้อกูลหล่อหลอมเข้าด้วยกันได้ แต่ในทางกลับกัน เสี่ยวเหรินมีความเสแสร้งพยายามให้ดูกลมกลืน แต่ทำเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง สุดท้ายแม้อยู่ร่วมกันแต่ไม่สามารถหล่อหลอมเป็นหนึ่งเดียวกันได้ – จวินจื่อเปิดเผยผึ่งผาย จึงไม่ต้องกังวลถึงความเห็นคนอื่น แต่เสี่ยวเหรินทำอะไรก็พะวงหน้าพะวงหลังกลัวคนมากลั่นแกล้ง – จวินจื่อพึ่งพาตนเอง แต่เสี่ยวเหรินพึ่งพาผู้อื่น – จวินจื่อส่งเสริมผู้อื่นในเรื่องที่ดีและไม่สนับสนุนในเรื่องที่ไม่ดี แต่เสี่ยวเหรินขัดผู้อื่นในเรื่องที่ดีและส่งเสริมในเรื่องที่ไม่ดี – จวินจื่อเปรียบเสมือนลม เสี่ยวเหรินเป็นเหมือนหญ้าที่ต้องเอนไหวศิโรราบให้เมื่อลมพัดผ่าน เป็นการอุปมาอุปไมยว่าคุณธรรมของจวินจื่อ สามารถเอาชนะความไม่ดีของเสี่ยวเหรินได้ ปรัชญาที่สอง ‘ไม่คิดอกุศล’ (ซืออู๋เสีย/思无邪) โดยปรัชญานี้ขงจื๊อเคยใช้ในสองบริบท บริบทแรกในการวิจารณ์งานประพันธ์โดยหมายถึงว่า สิ่งที่นักประพันธ์สื่อผ่านตัวอักษรออกมานั้น ควรบ่งบอกจิตวิญญาณและความคิดที่แท้จริง พูดง่ายๆ คือซื่อตรงต่อตัวเอง ส่วนอีกบริบทหนึ่งนั้นคือเป็นการกล่าวถึงคุณสมบัติของคน โดยหมายถึงว่า อันความคิดที่ดี ย่อมไม่กลัวที่จะเปิดเผยให้ผู้ใดรับรู้ คำว่า ‘จวินจื่อ’ ปรากฏอยู่บนงานประพันธ์และสำนวนจีนมากมาย และปรัชญาของขงจื๊อถูกศึกษามาหลายพันปีโดยนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนงวิชาจำนวนนับไม่ถ้วน Storyฯ ไม่หาญกล้ามาเสวนามากมายในปรัชญาเหล่านี้ เพียงแต่เมื่อวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา คำว่า ‘จวินจื่อ’ หรือ ‘วิญญูชน’ ทำให้อดคิดไม่ได้ว่า ในสังคมทุกวันนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นวิญญูชน และใครเป็นวิญญูชนจอมปลอม (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.sohu.com/a/467496758_120871225 https://www.sohu.com/a/433221328_99929216 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/思无邪/5080 https://guoxue.ifeng.com/c/7jUG4KBpiZC https://baike.baidu.com/item/君子/1389 #ดุจฝันบันดาลใจ #จวินจื่อ #วิญญูชน #ขงจื๊อ
    WWW.SOHU.COM
    《雁归西窗月》是根据小说改编的吗 《雁归西窗月》结局是什么_赵孝
    《雁归西窗月》讲述了霸道郡王赵孝谦与率真少女谢小满的乌龙甜怼恋,两人从开始的欢喜冤家到逐渐相知相守,携手历经坎坷,冲破重重阻碍,最终收获了一段浪漫的爱情故事。 这部剧是先婚后爱的戏码,女主谢小满…
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 650 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวัสดีค่ะ สืบเนื่องจากอาทิตย์ที่แล้วเราคุยกันเรื่องปรัชญาขงจื๊อว่าด้วย ‘วิญญูชน’ วันนี้เลยมาคุยกันสั้นๆ เกี่ยวกับสำนวนจีนที่เกี่ยวข้อง

    เชื่อว่ามีเพื่อนเพจไม่น้อยที่เคยผ่านหูและผ่านตาในซีรีส์และนิยายจีนถึงสำนวน ‘เสาหลักของชาติ’ ซึ่งสำนวนนี้มีใช้ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายจวบจนปัจจุบัน วันนี้เลยมาพร้อมรูปกระกอบของเหล่าตัวละครที่ได้รับการขนานนามในเรื่องนั้นๆ ว่าเป็นเสาหลักของชาติ

    แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วในสำนวนจีนที่มีมาแต่โบราณนี้ เขาใช้คำว่า ‘คานหลัก’ ไม่ใช่ ‘เสาหลัก’?

    สำนวนนี้มักใช้ว่า ‘国之栋梁’(กั๋วจือโต้งเหลียง) ซึ่งเป็นสำนวนที่มีมาแต่โบราณ ปัจจุบันสำนวนที่ถูกต้องคือ ‘国家栋梁’ (กั๋วเจียโต้งเหลียง) โดยคำว่า ‘โต้งเหลียง’นี้แปลว่าคานหลัก และมีสำนวนกล่าวชมคนที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นผู้นำและมีบทบาทสำคัญในกิจการบ้านเมืองนั้นว่า ‘โต้งเหลียงจือฉาย’(栋梁之才)

    เหตุใดในสำนวนนี้จึงใช้คำว่า ‘คาน’ ไม่ใช่ ‘เสา’ เหมือนชาติอื่น? เรื่องนี้ไม่ปรากฏคำอธิบายชัดเจน Storyฯ เองก็ไม่ใช่วิศวกรหรือสถาปนิก แต่พอจะจับใจความได้ดังนี้ค่ะ: คานคือส่วนของบ้านที่รับน้ำหนักจากข้างบนลงมาแล้วค่อยกระจายไปตามเสา และยังเป็นตัวช่วยยึดให้เสาตั้งตรงไม่เอนเอียงไปตามกาลเวลา ในการออกแบบจะคำนวณการกระจายน้ำหนักจากบนลงล่าง (แม้ในการก่อสร้างจริงจะเริ่มจากล่างก่อน) และคานหลักเป็นคานที่ใหญ่ที่สุดและเป็นตัวหลักในการรับน้ำหนัก ในสมัยโบราณมีการทำพิธีบวงสรวงเวลายกคานหลักขึ้นตั้งด้วย แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในสายตาของคนโบราณ

    Storyฯ ลองคิดตามก็รู้สึก ‘เออ...ใช่!’ ด้วยวัฒนธรรมที่จัดลำดับความสำคัญจากบนลงล่าง การเปรียบคนคนหนึ่งเป็นเสมือนคานหลักของบ้านเป็นการอุปมาอุปไมยอย่างชัดเจนว่าคนคนนี้ต้องรับภาระอันมากมายและมีหน้าที่สำคัญในการดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของบ้าน และมีหน้าที่กระจายน้ำหนักไปสู่ส่วนประกอบอื่นของบ้าน ... ซึ่ง Storyฯ คิดว่านี่ก็คือบทบาทหน้าที่ของผู้นำ อดคิดไม่ได้ว่า สำนวนจีนเขาก็เปรียบเทียบได้ถูกต้องดี เพื่อนเพจว่าไหม?

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.tupianzj.com/mingxing/juzhao/20211209/236147.html
    https://www.pixnet.net/tags/我就是這般女子
    https://www.facebook.com/Nsplusengineering/posts/2897265593641850/
    https://ettchk.wordpress.com/2017/12/22/3175/
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://chengyu.qianp.com/cy/%E6%A0%8B%E6%A2%81%E4%B9%8B%E6%89%8D
    http://chengyu.kaishicha.com/in8q.html
    https://baike.baidu.com/item/%E6%A0%8B%E6%A2%81/6433593

    #สำนวนจีน #เสาหลัก
    สวัสดีค่ะ สืบเนื่องจากอาทิตย์ที่แล้วเราคุยกันเรื่องปรัชญาขงจื๊อว่าด้วย ‘วิญญูชน’ วันนี้เลยมาคุยกันสั้นๆ เกี่ยวกับสำนวนจีนที่เกี่ยวข้อง เชื่อว่ามีเพื่อนเพจไม่น้อยที่เคยผ่านหูและผ่านตาในซีรีส์และนิยายจีนถึงสำนวน ‘เสาหลักของชาติ’ ซึ่งสำนวนนี้มีใช้ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายจวบจนปัจจุบัน วันนี้เลยมาพร้อมรูปกระกอบของเหล่าตัวละครที่ได้รับการขนานนามในเรื่องนั้นๆ ว่าเป็นเสาหลักของชาติ แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วในสำนวนจีนที่มีมาแต่โบราณนี้ เขาใช้คำว่า ‘คานหลัก’ ไม่ใช่ ‘เสาหลัก’? สำนวนนี้มักใช้ว่า ‘国之栋梁’(กั๋วจือโต้งเหลียง) ซึ่งเป็นสำนวนที่มีมาแต่โบราณ ปัจจุบันสำนวนที่ถูกต้องคือ ‘国家栋梁’ (กั๋วเจียโต้งเหลียง) โดยคำว่า ‘โต้งเหลียง’นี้แปลว่าคานหลัก และมีสำนวนกล่าวชมคนที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นผู้นำและมีบทบาทสำคัญในกิจการบ้านเมืองนั้นว่า ‘โต้งเหลียงจือฉาย’(栋梁之才) เหตุใดในสำนวนนี้จึงใช้คำว่า ‘คาน’ ไม่ใช่ ‘เสา’ เหมือนชาติอื่น? เรื่องนี้ไม่ปรากฏคำอธิบายชัดเจน Storyฯ เองก็ไม่ใช่วิศวกรหรือสถาปนิก แต่พอจะจับใจความได้ดังนี้ค่ะ: คานคือส่วนของบ้านที่รับน้ำหนักจากข้างบนลงมาแล้วค่อยกระจายไปตามเสา และยังเป็นตัวช่วยยึดให้เสาตั้งตรงไม่เอนเอียงไปตามกาลเวลา ในการออกแบบจะคำนวณการกระจายน้ำหนักจากบนลงล่าง (แม้ในการก่อสร้างจริงจะเริ่มจากล่างก่อน) และคานหลักเป็นคานที่ใหญ่ที่สุดและเป็นตัวหลักในการรับน้ำหนัก ในสมัยโบราณมีการทำพิธีบวงสรวงเวลายกคานหลักขึ้นตั้งด้วย แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในสายตาของคนโบราณ Storyฯ ลองคิดตามก็รู้สึก ‘เออ...ใช่!’ ด้วยวัฒนธรรมที่จัดลำดับความสำคัญจากบนลงล่าง การเปรียบคนคนหนึ่งเป็นเสมือนคานหลักของบ้านเป็นการอุปมาอุปไมยอย่างชัดเจนว่าคนคนนี้ต้องรับภาระอันมากมายและมีหน้าที่สำคัญในการดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของบ้าน และมีหน้าที่กระจายน้ำหนักไปสู่ส่วนประกอบอื่นของบ้าน ... ซึ่ง Storyฯ คิดว่านี่ก็คือบทบาทหน้าที่ของผู้นำ อดคิดไม่ได้ว่า สำนวนจีนเขาก็เปรียบเทียบได้ถูกต้องดี เพื่อนเพจว่าไหม? (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.tupianzj.com/mingxing/juzhao/20211209/236147.html https://www.pixnet.net/tags/我就是這般女子 https://www.facebook.com/Nsplusengineering/posts/2897265593641850/ https://ettchk.wordpress.com/2017/12/22/3175/ Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://chengyu.qianp.com/cy/%E6%A0%8B%E6%A2%81%E4%B9%8B%E6%89%8D http://chengyu.kaishicha.com/in8q.html https://baike.baidu.com/item/%E6%A0%8B%E6%A2%81/6433593 #สำนวนจีน #เสาหลัก
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 574 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขออภัยที่หายไปหนึ่งอาทิตย์ค่ะ วันนี้ Storyฯ เห็นว่าเรากำลังอยู่ในบรรยากาศการเลือกคนดีคนเก่งมาบริหารบ้านเมือง เลยลองมาคุยกันเรื่องปรัชญาจีนโบราณ (แม้ว่า Storyฯ จะไม่สันทัดเรื่องปรัชญาก็ตาม)

    เพื่อนเพจที่เคยอ่านนิยายของกิมย้งหรือดูหนังเรื่อง <กระบี่เย้ยยุทธจักร> ต้องคุ้นหูกับคำว่า ‘วิญญูชนจอมปลอม’ ซึ่งในภาษาจีนเรียกว่า ‘เหว่ยจวินจื่อ’ (伪君子) โดยคำว่า ‘จวินจื่อ’ นี้ปัจจุบันมักใช้คำแปลว่า ‘สุภาพชน’ (gentleman)

    แน่นอนว่าคำว่า ‘วิญญูชน’ และ ‘สุภาพชน’ มีนัยแตกต่าง คำถามที่ตามมาก็คือ: ‘จวินจื่อ’ (君子) คืออะไร? นี่เป็นคำถามในข้อสอบยอดฮิตในสมัยจีนโบราณ

    Storyฯ ขอยกตัวอย่างมาจากละครเรื่อง <ดุจฝันบันดาลใจ> ซึ่งมีฉากที่นางเอกต้องร่วมสอบและได้ต่อว่าคนที่กลั่นแกล้งนางและดูถูกพ่อของนางไว้ว่า “วิญญูชนไม่คิดอกุศล ข้าเดินได้อย่างผึ่งผาย นั่งได้อย่างหลังตรง มิเคยต้องกังวลลมปากของผู้ใด... วิญญูชนไม่แบ่งแยกสูงต่ำด้วยชาติกำเนิด” (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า)

    ประโยคที่ว่า ‘วิญญูชนไม่คิดอกุศล’ หรือ ‘จวินจื่อซืออู๋เสีย’ (君子思无邪) นี้ เป็นการรวมสองปรัชญาจากคัมภีร์หลุนอวี่ (论语) เข้ามาด้วยกันในประโยคเดียว

    ปรัชญาแรกว่าด้วยเรื่องของ ‘จวินจื่อ’ ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ‘จวิน’ ที่หมายถึงผู้เป็นประมุขหรือผู้มียศศักดิ์ และ ‘จื่อ’ ที่แปลว่าบุตรชาย ดังนั้นความหมายดั้งเดิมคือหมายถึง ‘Nobleman’ หรืออาจแปลเป็นไทยได้ว่าราชนิกุลหรือลูกหลานชนชั้นศักดินา ต่อมาหมายถึงผู้ที่มีศีลธรรมและคุณสมบัติสูงส่งอันเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่นได้ (‘A man of noble character’) เป็นส่วนประกอบสำคัญของปรัชญาขงจื๊อในการสร้างมาตรฐานสังคม โดยขงจื๊อมักใช้การเปรียบเทียบระหว่าง ‘จวินจื่อ’ กับ ‘เสี่ยวเหริน’ (小人 / ทุรชน) เพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ‘จวินจื่อ’ ควรมีคุณสมบัติอย่างไร Storyฯ สรุปมาไม่ได้หมด เลยยกตัวอย่างมาให้เห็นภาพดังนี้:

    – จวินจื่อคำนึงถึงความเที่ยงธรรม (义) แต่เสี่ยวเหรินคำนึงถึงผลประโยชน์
    – จวินจื่ออยู่ร่วมได้ด้วยความต่าง แต่เสี่ยวเหรินแม้ไม่ต่างแต่ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ --- ประเด็นนี้ Storyฯ อาจแปลได้ไม่ดี ขอขยายความว่า จวินจื่อเมื่อเรียนรู้และตระหนักถึงสิ่งที่ถูกต้อง แม้ว่าอาจมีแก่นความคิดที่แตกต่างกันไป แต่เพราะมีความเข้าใจในเนื้อแท้ของคนและเคารพยอมรับซึ่งกันและกันได้ ก็สามารถส่งเสริมเกื้อกูลหล่อหลอมเข้าด้วยกันได้ แต่ในทางกลับกัน เสี่ยวเหรินมีความเสแสร้งพยายามให้ดูกลมกลืน แต่ทำเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง สุดท้ายแม้อยู่ร่วมกันแต่ไม่สามารถหล่อหลอมเป็นหนึ่งเดียวกันได้
    – จวินจื่อเปิดเผยผึ่งผาย จึงไม่ต้องกังวลถึงความเห็นคนอื่น แต่เสี่ยวเหรินทำอะไรก็พะวงหน้าพะวงหลังกลัวคนมากลั่นแกล้ง
    – จวินจื่อพึ่งพาตนเอง แต่เสี่ยวเหรินพึ่งพาผู้อื่น
    – จวินจื่อส่งเสริมผู้อื่นในเรื่องที่ดีและไม่สนับสนุนในเรื่องที่ไม่ดี แต่เสี่ยวเหรินขัดผู้อื่นในเรื่องที่ดีและส่งเสริมในเรื่องที่ไม่ดี
    – จวินจื่อเปรียบเสมือนลม เสี่ยวเหรินเป็นเหมือนหญ้าที่ต้องเอนไหวศิโรราบให้เมื่อลมพัดผ่าน เป็นการอุปมาอุปไมยว่าคุณธรรมของจวินจื่อ สามารถเอาชนะความไม่ดีของเสี่ยวเหรินได้

    ปรัชญาที่สอง ‘ไม่คิดอกุศล’ (ซืออู๋เสีย/思无邪) โดยปรัชญานี้ขงจื๊อเคยใช้ในสองบริบท บริบทแรกในการวิจารณ์งานประพันธ์โดยหมายถึงว่า สิ่งที่นักประพันธ์สื่อผ่านตัวอักษรออกมานั้น ควรบ่งบอกจิตวิญญาณและความคิดที่แท้จริง พูดง่ายๆ คือซื่อตรงต่อตัวเอง ส่วนอีกบริบทหนึ่งนั้นคือเป็นการกล่าวถึงคุณสมบัติของคน โดยหมายถึงว่า อันความคิดที่ดี ย่อมไม่กลัวที่จะเปิดเผยให้ผู้ใดรับรู้

    คำว่า ‘จวินจื่อ’ ปรากฏอยู่บนงานประพันธ์และสำนวนจีนมากมาย และปรัชญาของขงจื๊อถูกศึกษามาหลายพันปีโดยนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนงวิชาจำนวนนับไม่ถ้วน Storyฯ ไม่หาญกล้ามาเสวนามากมายในปรัชญาเหล่านี้ เพียงแต่เมื่อวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา คำว่า ‘จวินจื่อ’ หรือ ‘วิญญูชน’ ทำให้อดคิดไม่ได้ว่า ในสังคมทุกวันนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นวิญญูชน และใครเป็นวิญญูชนจอมปลอม

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.sohu.com/a/467496758_120871225
    https://www.sohu.com/a/433221328_99929216
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/思无邪/5080
    https://guoxue.ifeng.com/c/7jUG4KBpiZC
    https://baike.baidu.com/item/君子/1389

    #ดุจฝันบันดาลใจ #จวินจื่อ #วิญญูชน #ขงจื๊อ
    ขออภัยที่หายไปหนึ่งอาทิตย์ค่ะ วันนี้ Storyฯ เห็นว่าเรากำลังอยู่ในบรรยากาศการเลือกคนดีคนเก่งมาบริหารบ้านเมือง เลยลองมาคุยกันเรื่องปรัชญาจีนโบราณ (แม้ว่า Storyฯ จะไม่สันทัดเรื่องปรัชญาก็ตาม) เพื่อนเพจที่เคยอ่านนิยายของกิมย้งหรือดูหนังเรื่อง <กระบี่เย้ยยุทธจักร> ต้องคุ้นหูกับคำว่า ‘วิญญูชนจอมปลอม’ ซึ่งในภาษาจีนเรียกว่า ‘เหว่ยจวินจื่อ’ (伪君子) โดยคำว่า ‘จวินจื่อ’ นี้ปัจจุบันมักใช้คำแปลว่า ‘สุภาพชน’ (gentleman) แน่นอนว่าคำว่า ‘วิญญูชน’ และ ‘สุภาพชน’ มีนัยแตกต่าง คำถามที่ตามมาก็คือ: ‘จวินจื่อ’ (君子) คืออะไร? นี่เป็นคำถามในข้อสอบยอดฮิตในสมัยจีนโบราณ Storyฯ ขอยกตัวอย่างมาจากละครเรื่อง <ดุจฝันบันดาลใจ> ซึ่งมีฉากที่นางเอกต้องร่วมสอบและได้ต่อว่าคนที่กลั่นแกล้งนางและดูถูกพ่อของนางไว้ว่า “วิญญูชนไม่คิดอกุศล ข้าเดินได้อย่างผึ่งผาย นั่งได้อย่างหลังตรง มิเคยต้องกังวลลมปากของผู้ใด... วิญญูชนไม่แบ่งแยกสูงต่ำด้วยชาติกำเนิด” (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า) ประโยคที่ว่า ‘วิญญูชนไม่คิดอกุศล’ หรือ ‘จวินจื่อซืออู๋เสีย’ (君子思无邪) นี้ เป็นการรวมสองปรัชญาจากคัมภีร์หลุนอวี่ (论语) เข้ามาด้วยกันในประโยคเดียว ปรัชญาแรกว่าด้วยเรื่องของ ‘จวินจื่อ’ ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ‘จวิน’ ที่หมายถึงผู้เป็นประมุขหรือผู้มียศศักดิ์ และ ‘จื่อ’ ที่แปลว่าบุตรชาย ดังนั้นความหมายดั้งเดิมคือหมายถึง ‘Nobleman’ หรืออาจแปลเป็นไทยได้ว่าราชนิกุลหรือลูกหลานชนชั้นศักดินา ต่อมาหมายถึงผู้ที่มีศีลธรรมและคุณสมบัติสูงส่งอันเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่นได้ (‘A man of noble character’) เป็นส่วนประกอบสำคัญของปรัชญาขงจื๊อในการสร้างมาตรฐานสังคม โดยขงจื๊อมักใช้การเปรียบเทียบระหว่าง ‘จวินจื่อ’ กับ ‘เสี่ยวเหริน’ (小人 / ทุรชน) เพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ‘จวินจื่อ’ ควรมีคุณสมบัติอย่างไร Storyฯ สรุปมาไม่ได้หมด เลยยกตัวอย่างมาให้เห็นภาพดังนี้: – จวินจื่อคำนึงถึงความเที่ยงธรรม (义) แต่เสี่ยวเหรินคำนึงถึงผลประโยชน์ – จวินจื่ออยู่ร่วมได้ด้วยความต่าง แต่เสี่ยวเหรินแม้ไม่ต่างแต่ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ --- ประเด็นนี้ Storyฯ อาจแปลได้ไม่ดี ขอขยายความว่า จวินจื่อเมื่อเรียนรู้และตระหนักถึงสิ่งที่ถูกต้อง แม้ว่าอาจมีแก่นความคิดที่แตกต่างกันไป แต่เพราะมีความเข้าใจในเนื้อแท้ของคนและเคารพยอมรับซึ่งกันและกันได้ ก็สามารถส่งเสริมเกื้อกูลหล่อหลอมเข้าด้วยกันได้ แต่ในทางกลับกัน เสี่ยวเหรินมีความเสแสร้งพยายามให้ดูกลมกลืน แต่ทำเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง สุดท้ายแม้อยู่ร่วมกันแต่ไม่สามารถหล่อหลอมเป็นหนึ่งเดียวกันได้ – จวินจื่อเปิดเผยผึ่งผาย จึงไม่ต้องกังวลถึงความเห็นคนอื่น แต่เสี่ยวเหรินทำอะไรก็พะวงหน้าพะวงหลังกลัวคนมากลั่นแกล้ง – จวินจื่อพึ่งพาตนเอง แต่เสี่ยวเหรินพึ่งพาผู้อื่น – จวินจื่อส่งเสริมผู้อื่นในเรื่องที่ดีและไม่สนับสนุนในเรื่องที่ไม่ดี แต่เสี่ยวเหรินขัดผู้อื่นในเรื่องที่ดีและส่งเสริมในเรื่องที่ไม่ดี – จวินจื่อเปรียบเสมือนลม เสี่ยวเหรินเป็นเหมือนหญ้าที่ต้องเอนไหวศิโรราบให้เมื่อลมพัดผ่าน เป็นการอุปมาอุปไมยว่าคุณธรรมของจวินจื่อ สามารถเอาชนะความไม่ดีของเสี่ยวเหรินได้ ปรัชญาที่สอง ‘ไม่คิดอกุศล’ (ซืออู๋เสีย/思无邪) โดยปรัชญานี้ขงจื๊อเคยใช้ในสองบริบท บริบทแรกในการวิจารณ์งานประพันธ์โดยหมายถึงว่า สิ่งที่นักประพันธ์สื่อผ่านตัวอักษรออกมานั้น ควรบ่งบอกจิตวิญญาณและความคิดที่แท้จริง พูดง่ายๆ คือซื่อตรงต่อตัวเอง ส่วนอีกบริบทหนึ่งนั้นคือเป็นการกล่าวถึงคุณสมบัติของคน โดยหมายถึงว่า อันความคิดที่ดี ย่อมไม่กลัวที่จะเปิดเผยให้ผู้ใดรับรู้ คำว่า ‘จวินจื่อ’ ปรากฏอยู่บนงานประพันธ์และสำนวนจีนมากมาย และปรัชญาของขงจื๊อถูกศึกษามาหลายพันปีโดยนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนงวิชาจำนวนนับไม่ถ้วน Storyฯ ไม่หาญกล้ามาเสวนามากมายในปรัชญาเหล่านี้ เพียงแต่เมื่อวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา คำว่า ‘จวินจื่อ’ หรือ ‘วิญญูชน’ ทำให้อดคิดไม่ได้ว่า ในสังคมทุกวันนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นวิญญูชน และใครเป็นวิญญูชนจอมปลอม (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.sohu.com/a/467496758_120871225 https://www.sohu.com/a/433221328_99929216 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/思无邪/5080 https://guoxue.ifeng.com/c/7jUG4KBpiZC https://baike.baidu.com/item/君子/1389 #ดุจฝันบันดาลใจ #จวินจื่อ #วิญญูชน #ขงจื๊อ
    WWW.SOHU.COM
    《雁归西窗月》是根据小说改编的吗 《雁归西窗月》结局是什么_赵孝
    《雁归西窗月》讲述了霸道郡王赵孝谦与率真少女谢小满的乌龙甜怼恋,两人从开始的欢喜冤家到逐渐相知相守,携手历经坎坷,冲破重重阻碍,最终收获了一段浪漫的爱情故事。 这部剧是先婚后爱的戏码,女主谢小满…
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 970 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวัสดีค่ะ สืบเนื่องจากอาทิตย์ที่แล้วเราคุยกันเรื่องปรัชญาขงจื๊อว่าด้วย ‘วิญญูชน’ วันนี้เลยมาคุยกันสั้นๆ เกี่ยวกับสำนวนจีนที่เกี่ยวข้อง

    เชื่อว่ามีเพื่อนเพจไม่น้อยที่เคยผ่านหูและผ่านตาในซีรีส์และนิยายจีนถึงสำนวน ‘เสาหลักของชาติ’ ซึ่งสำนวนนี้มีใช้ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายจวบจนปัจจุบัน วันนี้เลยมาพร้อมรูปกระกอบของเหล่าตัวละครที่ได้รับการขนานนามในเรื่องนั้นๆ ว่าเป็นเสาหลักของชาติ

    แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วในสำนวนจีนที่มีมาแต่โบราณนี้ เขาใช้คำว่า ‘คานหลัก’ ไม่ใช่ ‘เสาหลัก’?

    สำนวนนี้มักใช้ว่า ‘国之栋梁’(กั๋วจือโต้งเหลียง) ซึ่งเป็นสำนวนที่มีมาแต่โบราณ ปัจจุบันสำนวนที่ถูกต้องคือ ‘国家栋梁’ (กั๋วเจียโต้งเหลียง) โดยคำว่า ‘โต้งเหลียง’นี้แปลว่าคานหลัก และมีสำนวนกล่าวชมคนที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นผู้นำและมีบทบาทสำคัญในกิจการบ้านเมืองนั้นว่า ‘โต้งเหลียงจือฉาย’(栋梁之才)

    เหตุใดในสำนวนนี้จึงใช้คำว่า ‘คาน’ ไม่ใช่ ‘เสา’ เหมือนชาติอื่น? เรื่องนี้ไม่ปรากฏคำอธิบายชัดเจน Storyฯ เองก็ไม่ใช่วิศวกรหรือสถาปนิก แต่พอจะจับใจความได้ดังนี้ค่ะ: คานคือส่วนของบ้านที่รับน้ำหนักจากข้างบนลงมาแล้วค่อยกระจายไปตามเสา และยังเป็นตัวช่วยยึดให้เสาตั้งตรงไม่เอนเอียงไปตามกาลเวลา ในการออกแบบจะคำนวณการกระจายน้ำหนักจากบนลงล่าง (แม้ในการก่อสร้างจริงจะเริ่มจากล่างก่อน) และคานหลักเป็นคานที่ใหญ่ที่สุดและเป็นตัวหลักในการรับน้ำหนัก ในสมัยโบราณมีการทำพิธีบวงสรวงเวลายกคานหลักขึ้นตั้งด้วย แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในสายตาของคนโบราณ

    Storyฯ ลองคิดตามก็รู้สึก ‘เออ...ใช่!’ ด้วยวัฒนธรรมที่จัดลำดับความสำคัญจากบนลงล่าง การเปรียบคนคนหนึ่งเป็นเสมือนคานหลักของบ้านเป็นการอุปมาอุปไมยอย่างชัดเจนว่าคนคนนี้ต้องรับภาระอันมากมายและมีหน้าที่สำคัญในการดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของบ้าน และมีหน้าที่กระจายน้ำหนักไปสู่ส่วนประกอบอื่นของบ้าน ... ซึ่ง Storyฯ คิดว่านี่ก็คือบทบาทหน้าที่ของผู้นำ อดคิดไม่ได้ว่า สำนวนจีนเขาก็เปรียบเทียบได้ถูกต้องดี เพื่อนเพจว่าไหม?

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.tupianzj.com/mingxing/juzhao/20211209/236147.html
    https://www.pixnet.net/tags/我就是這般女子
    https://www.facebook.com/Nsplusengineering/posts/2897265593641850/
    https://ettchk.wordpress.com/2017/12/22/3175/
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://chengyu.qianp.com/cy/%E6%A0%8B%E6%A2%81%E4%B9%8B%E6%89%8D
    http://chengyu.kaishicha.com/in8q.html
    https://baike.baidu.com/item/%E6%A0%8B%E6%A2%81/6433593

    #สำนวนจีน #เสาหลัก
    สวัสดีค่ะ สืบเนื่องจากอาทิตย์ที่แล้วเราคุยกันเรื่องปรัชญาขงจื๊อว่าด้วย ‘วิญญูชน’ วันนี้เลยมาคุยกันสั้นๆ เกี่ยวกับสำนวนจีนที่เกี่ยวข้อง เชื่อว่ามีเพื่อนเพจไม่น้อยที่เคยผ่านหูและผ่านตาในซีรีส์และนิยายจีนถึงสำนวน ‘เสาหลักของชาติ’ ซึ่งสำนวนนี้มีใช้ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลายจวบจนปัจจุบัน วันนี้เลยมาพร้อมรูปกระกอบของเหล่าตัวละครที่ได้รับการขนานนามในเรื่องนั้นๆ ว่าเป็นเสาหลักของชาติ แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วในสำนวนจีนที่มีมาแต่โบราณนี้ เขาใช้คำว่า ‘คานหลัก’ ไม่ใช่ ‘เสาหลัก’? สำนวนนี้มักใช้ว่า ‘国之栋梁’(กั๋วจือโต้งเหลียง) ซึ่งเป็นสำนวนที่มีมาแต่โบราณ ปัจจุบันสำนวนที่ถูกต้องคือ ‘国家栋梁’ (กั๋วเจียโต้งเหลียง) โดยคำว่า ‘โต้งเหลียง’นี้แปลว่าคานหลัก และมีสำนวนกล่าวชมคนที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นผู้นำและมีบทบาทสำคัญในกิจการบ้านเมืองนั้นว่า ‘โต้งเหลียงจือฉาย’(栋梁之才) เหตุใดในสำนวนนี้จึงใช้คำว่า ‘คาน’ ไม่ใช่ ‘เสา’ เหมือนชาติอื่น? เรื่องนี้ไม่ปรากฏคำอธิบายชัดเจน Storyฯ เองก็ไม่ใช่วิศวกรหรือสถาปนิก แต่พอจะจับใจความได้ดังนี้ค่ะ: คานคือส่วนของบ้านที่รับน้ำหนักจากข้างบนลงมาแล้วค่อยกระจายไปตามเสา และยังเป็นตัวช่วยยึดให้เสาตั้งตรงไม่เอนเอียงไปตามกาลเวลา ในการออกแบบจะคำนวณการกระจายน้ำหนักจากบนลงล่าง (แม้ในการก่อสร้างจริงจะเริ่มจากล่างก่อน) และคานหลักเป็นคานที่ใหญ่ที่สุดและเป็นตัวหลักในการรับน้ำหนัก ในสมัยโบราณมีการทำพิธีบวงสรวงเวลายกคานหลักขึ้นตั้งด้วย แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในสายตาของคนโบราณ Storyฯ ลองคิดตามก็รู้สึก ‘เออ...ใช่!’ ด้วยวัฒนธรรมที่จัดลำดับความสำคัญจากบนลงล่าง การเปรียบคนคนหนึ่งเป็นเสมือนคานหลักของบ้านเป็นการอุปมาอุปไมยอย่างชัดเจนว่าคนคนนี้ต้องรับภาระอันมากมายและมีหน้าที่สำคัญในการดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของบ้าน และมีหน้าที่กระจายน้ำหนักไปสู่ส่วนประกอบอื่นของบ้าน ... ซึ่ง Storyฯ คิดว่านี่ก็คือบทบาทหน้าที่ของผู้นำ อดคิดไม่ได้ว่า สำนวนจีนเขาก็เปรียบเทียบได้ถูกต้องดี เพื่อนเพจว่าไหม? (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.tupianzj.com/mingxing/juzhao/20211209/236147.html https://www.pixnet.net/tags/我就是這般女子 https://www.facebook.com/Nsplusengineering/posts/2897265593641850/ https://ettchk.wordpress.com/2017/12/22/3175/ Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://chengyu.qianp.com/cy/%E6%A0%8B%E6%A2%81%E4%B9%8B%E6%89%8D http://chengyu.kaishicha.com/in8q.html https://baike.baidu.com/item/%E6%A0%8B%E6%A2%81/6433593 #สำนวนจีน #เสาหลัก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 843 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผลตรวจผ้าผกก.โจ้ ไม่พบดีเอ็นเอคนอื่น : [NEWS UPDATE]
    พล.ต.ต.วาที อัศวุตมางกุร ผู้บังคับการกองพิสูจน์หลักฐานกลาง เผยผลตรวจพิสูจน์ทางนิติวิทยาศาสตร์คดี พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ อดีตผู้กำกับโจ้ ออกแล้ว ซึ่งจะส่งผลทั้งหมดให้พนักงานสอบสวนดำเนินการต่อ
    ทั้งนี้ มีรายงานว่ามีการพิสูจน์หลักฐาน 2 ชิ้น คือ ผ้าขนหนูที่ใช้ผูกคอ จากการตรวจดีเอ็นเอไม่พบความผิดปกติ ไม่พบดีเอ็นเอบุคคลอื่น โดยผ้าขนหนูผืนนี้เป็นของใช้ส่วนตัวของอดีตผู้กำกับโจ้ ที่ใช้ตั้งแต่อยู่แดน 7 และเชื่อว่านำมาใช้ต่อเนื่อง ส่วนรอยหยดเลือดที่ปรากฏบนพื้นห้องขัง เชื่อว่าเป็นเลือดของอดีตผู้กำกับโจ้ เป็นบาดแผลคล้ายรอยสัตว์กัด


    หา รมต. วิญญูชนยาก

    ดักคออย่าขวางอภิปราย

    ห่วงเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอม

    สงครามการค้าฉุดเศรษฐกิจ
    ผลตรวจผ้าผกก.โจ้ ไม่พบดีเอ็นเอคนอื่น : [NEWS UPDATE] พล.ต.ต.วาที อัศวุตมางกุร ผู้บังคับการกองพิสูจน์หลักฐานกลาง เผยผลตรวจพิสูจน์ทางนิติวิทยาศาสตร์คดี พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ อดีตผู้กำกับโจ้ ออกแล้ว ซึ่งจะส่งผลทั้งหมดให้พนักงานสอบสวนดำเนินการต่อ ทั้งนี้ มีรายงานว่ามีการพิสูจน์หลักฐาน 2 ชิ้น คือ ผ้าขนหนูที่ใช้ผูกคอ จากการตรวจดีเอ็นเอไม่พบความผิดปกติ ไม่พบดีเอ็นเอบุคคลอื่น โดยผ้าขนหนูผืนนี้เป็นของใช้ส่วนตัวของอดีตผู้กำกับโจ้ ที่ใช้ตั้งแต่อยู่แดน 7 และเชื่อว่านำมาใช้ต่อเนื่อง ส่วนรอยหยดเลือดที่ปรากฏบนพื้นห้องขัง เชื่อว่าเป็นเลือดของอดีตผู้กำกับโจ้ เป็นบาดแผลคล้ายรอยสัตว์กัด หา รมต. วิญญูชนยาก ดักคออย่าขวางอภิปราย ห่วงเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอม สงครามการค้าฉุดเศรษฐกิจ
    Like
    Love
    Haha
    5
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1781 มุมมอง 50 0 รีวิว
  • #จับโป๊ะ...#คนตื้นธรรม : #รู้พุทธแบบตื้นๆ
    มีผู้ส่งคลิปคนตื้นธรรม...ไปบรรยายธรรมะแก่กลุ่มคนใกล้วันมาฆะบูชา...มาให้โดยกล่าวถึงโอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสไว้ในวันมาฆะบูชาว่า คือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน...สิ่งที่เขาพูดถูกต้องหรือไม่...สามารถจับโป๊ะว่าคนๆนี้มีความรู้เรื่องพระพุทธศาสนาแบบพื้นฐานง่ายๆเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่ มาชำแหละกันดู
    #โอวาทปาฏิโมกข์กับพระปาฏิโมกข์ต่างกันอย่างไร
    ปาฏิโมกข์ คือ มาจาก ๒ คำ คือ ปาติ(ฏิ) = เฉพาะ หรือ รักษา กับ โมกฺข แปลว่า หลุดพ้น มีความหมายว่า หลุดพ้นโดยเฉพาะกับธรรมที่รักษาความหลุดพ้น ปาฏิโมกข์มี ๒ ประเภทคือ
    ๑.#โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักการใหญ่หรือหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องตรัสไว้หลังตรัสรู้ จึงมีคำสรุปเป็นพระบาลีว่า "เอตํ พุทฺธานสาสนํ นี่คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" สำหรับพระโคตมะพระพุทธเจ้าของเราตรัสไว้ในวันมาฆะบูชานี้แล
    ๒. #อาณาปาฏิโมกข์ คือ ศีลใหญ่หรือศีลหลักของภิกษุและภิกษุณี ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังมีพระช่วงหลังประพฤติไม่ดีไม่งาม เกิดขึ้นในคณะสงฆ์ เพื่อรักษาคณะสงฆ์ และเพื่อรักษาศรัทธาจากพุทธบริษัทกลุ่มอื่น จึงบัญญัติไว้...ตอนหลังกลายเป็นสังฆกรรมที่พระสวดทุกกึ่งเดือน.. เพื่อทบทวนและสังวรระวังในศีลของตน.
    #ตื้นธรรม : #บอกโอวาทปาฏิโมกข์คือปาฏิโมกข์ศีลพระ
    คนตื้นธรรมคราวนี้ถูกจับโป๊ะชัดๆจากผู้รู้ว่า...มีความรู้เรื่องพุทธน้อยมาก...โดยการอธิบายว่า โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสในวันมาฆะคือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน ผิดแบบไม่น่าให้อภัย ใครฟังหรืออ่านเรื่องนี้แล้วเฉยๆปล่อยผ่านก็แสดงว่าไม่ค่อยรู้เรื่องพระพุทธศาสนาเช่นกัน
    #โอวาทปาฏิโมกข์กับปาติโมกข์พระ : #เทียบได้จากไทม์ไลน์
    โอวาทปาฏิโมกข์ที่ตรัสกับพระอรหันต์ เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๑,๒๕๐ รูป พระพุทธเจ้าตรัสในตอนพรรษาที่ ๑ หลังตรัสรู้ เมื่อขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ แล้วเผยแผ่ธรรมจนมีพระสาวกมากกว่า ๑,๒๕๐ รูปในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๓
    (ประมาณ ๙ เดือน)
    ส่วนปาติโมกข์ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังพระสุทินเสพเมถุนธรรมกับภริยาเก่าเพื่อสืบสกุล พระอรรถกถาจารย์วินิจฉัยว่าหลังพรรษาที่ ๒๐ ไปแล้วก็พิสูจน์ได้ว่า ปาติโมกข์ในวันมาฆะกับปาฏิโมกข์ศีลพระ...ไทม์ไลน์..ต่างกันแน่นอน เขามั่วนิ่ม...ชัวร์
    #ปาฏิโมกข์ทั้ง ๒ : #เนื้อหาก็แตกต่าง
    โอวาทปาฏิโมกข์ในวันมาฆะ คือ #หัวใจของพระพุทธศาสนา มี
    -#อุดมการณ์ ๓ คือ
    ขันติ นิพพาน การไม่เบียดเบียน
    -#หลักการ ๓
    ละชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์
    - #วิธีการ
    ไม่พูดร้าย ไม่ทำร้าย ยึดในหลักปาฏิโมกข์ ใช้ชีวิตพอดี เน้นความสงบ หมั่นฝึกสมาธิภาวนา
    นี่คือสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์
    ส่วนพระปาฏิโมกข์คือศีลหลักพระที่พระต้องรักษามี ๒๒๗ ข้อ แบ่งไปตามนี้ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ อธิกรณสมถะ ๗ ล้วนเป็นศีลของพระแทบทั้งสิ้น มันคนละอย่างกันเลย
    คนตื้นธรรมรู้ธรรมะแบบงูๆปลาๆ เอาหางมาชนหัว มั่วนิ่มไปหมด อาศัยว่าพูดเร็ว พูดมัน และคนไม่ค่อยจะรู้เรื่องพระเรื่องเจ้ากัน.. มันจึงดำน้ำโผล่มาบอกธรรมะ..ทั้งๆที่วิญญูชนผู้รู้เขาติเตียน แต่กลับด่าสวนกลับ...ไม่เคยยอมรับว่าตนสอนผิดสอนพลาดยังไง...แม้เขาจะได้อะไรบ้าง....แต่อนาคตของเขาไม่แน่นอน...เพราะเล่นกับของสูงระดับอ้างพระบรมศาสดาบ่อยๆ...หวังจะชักชวนจูงผู้ศรัทธาที่มีความรู้ไม่มาก...งานนี้คุณกำลังเล่นไฟ...ไฟนี้ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่คือไฟนรกโลกันต์...ทานที่เขายกมือท่วมหัวถวายด้วยศรัทธาถ้าไม่ดีจริง. อย่าว่าแต่ชาติหน้าเลย...ชาตินี้แหละ...ดูไป.
    ด้วยจิตคารวะ
    ดร.มงคล นาฏกระสูตร
    มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    #จับโป๊ะ...#คนตื้นธรรม : #รู้พุทธแบบตื้นๆ มีผู้ส่งคลิปคนตื้นธรรม...ไปบรรยายธรรมะแก่กลุ่มคนใกล้วันมาฆะบูชา...มาให้โดยกล่าวถึงโอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสไว้ในวันมาฆะบูชาว่า คือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน...สิ่งที่เขาพูดถูกต้องหรือไม่...สามารถจับโป๊ะว่าคนๆนี้มีความรู้เรื่องพระพุทธศาสนาแบบพื้นฐานง่ายๆเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่ มาชำแหละกันดู #โอวาทปาฏิโมกข์กับพระปาฏิโมกข์ต่างกันอย่างไร ปาฏิโมกข์ คือ มาจาก ๒ คำ คือ ปาติ(ฏิ) = เฉพาะ หรือ รักษา กับ โมกฺข แปลว่า หลุดพ้น มีความหมายว่า หลุดพ้นโดยเฉพาะกับธรรมที่รักษาความหลุดพ้น ปาฏิโมกข์มี ๒ ประเภทคือ ๑.#โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักการใหญ่หรือหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องตรัสไว้หลังตรัสรู้ จึงมีคำสรุปเป็นพระบาลีว่า "เอตํ พุทฺธานสาสนํ นี่คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" สำหรับพระโคตมะพระพุทธเจ้าของเราตรัสไว้ในวันมาฆะบูชานี้แล ๒. #อาณาปาฏิโมกข์ คือ ศีลใหญ่หรือศีลหลักของภิกษุและภิกษุณี ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังมีพระช่วงหลังประพฤติไม่ดีไม่งาม เกิดขึ้นในคณะสงฆ์ เพื่อรักษาคณะสงฆ์ และเพื่อรักษาศรัทธาจากพุทธบริษัทกลุ่มอื่น จึงบัญญัติไว้...ตอนหลังกลายเป็นสังฆกรรมที่พระสวดทุกกึ่งเดือน.. เพื่อทบทวนและสังวรระวังในศีลของตน. #ตื้นธรรม : #บอกโอวาทปาฏิโมกข์คือปาฏิโมกข์ศีลพระ คนตื้นธรรมคราวนี้ถูกจับโป๊ะชัดๆจากผู้รู้ว่า...มีความรู้เรื่องพุทธน้อยมาก...โดยการอธิบายว่า โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสในวันมาฆะคือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน ผิดแบบไม่น่าให้อภัย ใครฟังหรืออ่านเรื่องนี้แล้วเฉยๆปล่อยผ่านก็แสดงว่าไม่ค่อยรู้เรื่องพระพุทธศาสนาเช่นกัน #โอวาทปาฏิโมกข์กับปาติโมกข์พระ : #เทียบได้จากไทม์ไลน์ โอวาทปาฏิโมกข์ที่ตรัสกับพระอรหันต์ เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๑,๒๕๐ รูป พระพุทธเจ้าตรัสในตอนพรรษาที่ ๑ หลังตรัสรู้ เมื่อขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ แล้วเผยแผ่ธรรมจนมีพระสาวกมากกว่า ๑,๒๕๐ รูปในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๓ (ประมาณ ๙ เดือน) ส่วนปาติโมกข์ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังพระสุทินเสพเมถุนธรรมกับภริยาเก่าเพื่อสืบสกุล พระอรรถกถาจารย์วินิจฉัยว่าหลังพรรษาที่ ๒๐ ไปแล้วก็พิสูจน์ได้ว่า ปาติโมกข์ในวันมาฆะกับปาฏิโมกข์ศีลพระ...ไทม์ไลน์..ต่างกันแน่นอน เขามั่วนิ่ม...ชัวร์ #ปาฏิโมกข์ทั้ง ๒ : #เนื้อหาก็แตกต่าง โอวาทปาฏิโมกข์ในวันมาฆะ คือ #หัวใจของพระพุทธศาสนา มี -#อุดมการณ์ ๓ คือ ขันติ นิพพาน การไม่เบียดเบียน -#หลักการ ๓ ละชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์ - #วิธีการ ๖ ไม่พูดร้าย ไม่ทำร้าย ยึดในหลักปาฏิโมกข์ ใช้ชีวิตพอดี เน้นความสงบ หมั่นฝึกสมาธิภาวนา นี่คือสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ส่วนพระปาฏิโมกข์คือศีลหลักพระที่พระต้องรักษามี ๒๒๗ ข้อ แบ่งไปตามนี้ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ อธิกรณสมถะ ๗ ล้วนเป็นศีลของพระแทบทั้งสิ้น มันคนละอย่างกันเลย คนตื้นธรรมรู้ธรรมะแบบงูๆปลาๆ เอาหางมาชนหัว มั่วนิ่มไปหมด อาศัยว่าพูดเร็ว พูดมัน และคนไม่ค่อยจะรู้เรื่องพระเรื่องเจ้ากัน.. มันจึงดำน้ำโผล่มาบอกธรรมะ..ทั้งๆที่วิญญูชนผู้รู้เขาติเตียน แต่กลับด่าสวนกลับ...ไม่เคยยอมรับว่าตนสอนผิดสอนพลาดยังไง...แม้เขาจะได้อะไรบ้าง....แต่อนาคตของเขาไม่แน่นอน...เพราะเล่นกับของสูงระดับอ้างพระบรมศาสดาบ่อยๆ...หวังจะชักชวนจูงผู้ศรัทธาที่มีความรู้ไม่มาก...งานนี้คุณกำลังเล่นไฟ...ไฟนี้ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่คือไฟนรกโลกันต์...ทานที่เขายกมือท่วมหัวถวายด้วยศรัทธาถ้าไม่ดีจริง. อย่าว่าแต่ชาติหน้าเลย...ชาตินี้แหละ...ดูไป. ด้วยจิตคารวะ ดร.มงคล นาฏกระสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1469 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกือบ18 ปีแล้ว ผมเคยเขียนเรื่องนี้มาแล้วครั้งหนึ่ง
    .
    บทความนั้นมีชื่อว่า ‘งักปุกคุ้ง’ แห่งเสียนหลอ (https://mgronline.com/daily/detail/9500000032355 เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2550)
    .
    แต่วันนี้ไม่รู้ว่าตัวเองนึกครึ้มอกครึ้มใจอะไรเลยย้อนไปอ่าน แล้วอยากเอามารีไรท์ และนำมาแบ่งปันอีกครั้งนึง
    .
    ต้นปี 2568 นี้ มีภาพยนตร์เรื่องหนึ่งที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายจีนกำลังภายในเรื่องอมตะ เรื่อง “กระบี่เย้ยยุทธจักร” (หรือ ยิ้มเย้ยยุทธจักร หรือ เดชคัมภีร์เทวดา หรือในภาษาจีนคือ 笑傲江湖 ส่วน ชื่ออังกฤษ Invincible Swordsman) ถูกนำมารีเมคใหม่อีกครั้ง โดยตอนนี้ลงจอฉายที่จีนไปแล้ว ในไทยก็กำลังจะเข้าฉายทาง WeTV กับ iQIYI
    .
    กระบี่เย้ยยุทธจักร เป็นนวนิยายกำลังภายในของสุดยอดปรมาจารย์ทางวรรณกรรมจีน “กิมย้ง” หรือจีนกลางอ่านว่า “จินยง (金庸)” ซึ่งท่านเสียชีวิตไปเมื่อ 7 ปีที่แล้วเมื่อวัน 30 ตุลาคม 2561
    .
    กระบี่เย้ยยุทธจักรถือเป็นนิยายกำลังภายในเรื่องเดียวของกิมย้งที่ไม่ได้อิงประวัติศาสตร์ของจีนในยุคใด แต่เป็นนวนิยายกำลังภายในแนวการเมืองที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่ง
    .
    เรื่องราวเขียนถึงคนที่เรียกตัวเองว่า ฝ่ายธรรมมะ ฝ่ายอธรรม และ วิญญูชนจอมปลอม ได้อย่างลึกซึ้ง และถ่องแท้ที่สุด!
    .
    ตัวละครหลักคือ เหล็งฮู้ชง ตัวเอกของเรื่อง ศิษย์คนโตและศิษย์ทรยศแห่งสำนักฮั้วซัว (หรือหัวซาน ที่เป็นยอดบรรพตในมณฑลส่านซี) สองคือ งักปุกคุ้ง ซือแป๋เจ้าสำนักฮั้วซัว
    .
    งักปุกคุ้ง (แซ่งัก นามปุกคุ้ง) เป็นเจ้าสำนักฮั้วซัว ผู้สืบทอดเพลงกระบี่และลมปราณเมฆม่วงแห่งสำนักฮั้วซัว หนึ่งในห้า ยอดสำนักกระบี่แห่งบู๊ลิ้ม ภาพภายนอกเป็นผู้กล้าที่ได้ชื่อว่าเป็นจอมยุทธ์ผู้ทรงคุณธรรม เป็นเจ้าสำนักกระบี่อันเลื่องชื่อที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นสำนักมาตรฐานของยุทธจักร จนได้รับฉายาจากบรรดาจอมยุทธ์ว่า “กระบี่วิญญูชน”
    .
    งักปุกคุ้ง นอกจากจะเป็นเจ้าสำนักของยอดสำนักกระบี่แล้ว ในด้านของชาติพันธุ์ เจ้าตัวยังเชื่อมั่นด้วยว่า ต้นตระกูลงัก (หรือในภาษาจีนกลางคือแซ่เย่ว์ – 岳) ของตนมีวีรบุรุษกู้ชาติอยู่หลายคน โดยหนึ่งในผู้ที่มีชื่อเสียงที่สุดของตระกูลงักก็คือ ‘งักฮุย (เย่ว์เฟย)’ ยอดขุนพลแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ งักปุกคุ้งเชื่อมั่นใน ‘คุณธรรม’ ของตนจนถึงกับเดินทางรอนแรมพาเหล่าศิษย์ฮั้วซัวไปเคารพสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของงักฮุย
    .
    อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นเจ้าสำนักกระบี่ฝ่ายธรรมะ ทั้งยังได้ฉายาว่าเป็น “กระบี่วิญญูชน” แต่ตลอดทั้งเรื่อง ชื่อเสียงและคำพูดของงักปุกคุ้ง กลับไม่ได้สอดคล้องกับการกระทำของเขาเลยแม้แต่น้อย ยกตัวอย่างเช่น
     งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่มักจะหลบเลี่ยงเมื่อภัยมาถึงตัว
     งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่มักจะวางเฉย เมื่อประสบเห็นความไม่เป็นธรรมของยุทธจักร
     งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่พร้อมจะให้ร้ายป้ายสีและถีบหัวส่ง เหล็งฮู้ชง ศิษย์เอกมากกว่าที่จะยื่นมือเข้าปกป้องเมื่อเหล็งฮู้ชงถูกกล่าวหาว่าสมคบกับฝ่ายอธรรม
     งักปุกคุ้ง เป็นวิญญูชนที่แม้ปากจะบอกว่าไม่สนใจต่อลาภยศ หรือยอดวิชาแห่งยุทธจักร แต่กลับส่ง “งักเล้งซัง” บุตรีของตนเองไปแต่งกับ “ลิ้มเพ้งจือ” รวมถึงยินยอมสละอวัยวะเพศของตัวเอง เพียงเพื่อจะได้ครอบครองเพลงคัมภีร์กระบี่ตระกูลลิ้ม
    .
    กล่าวโดยสรุปแล้วงักปุกคุ้ง เป็นบุคคลประเภทที่เรียกว่า “วิญญูชนจอมปลอม” ภายนอกดูเป็นคนดีที่มีชื่อเสียง เป็น “กระบี่วิญญูชน” เจ้าสำนักกระบี่อันเลื่องชื่อ แต่แท้จริงแล้วกลับประพฤติตนยิ่งกว่าคนในสายอธรรมเสียอีก
    .
    เมื่อพลิกอ่าน “กระบี่เย้ยยุทธจักร” และพิจารณาความระหว่างบรรทัดที่กิมย้งสอดแทรกลงในนวนิยายกำลังภายในเล่มนี้ ผู้อ่านก็จะรับรู้ได้ถึงความเป็นอัจฉริยะของกิมย้ง ที่แม้จะเขียนถึงเรื่องราวในยุทธภพในยุคสมัยราชวงศ์หมิง (ตามการคาดเดาของผู้เขียนเอง) แต่เนื้อหาของนวนิยายกลับสามารถนำมาเปรียบเทียบกับความเป็นไปทางการเมือง เสียดสีถึงพฤติกรรมของผู้คนในสังคมจีนในยุคสมัยที่ประเทศจีนวุ่นวายที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ คือ ในช่วงของการปฏิวัติวัฒนธรรม (พ.ศ.2509-2519)
    .
    ส่วนเมื่อมองถึงเหตุการณ์บ้านเมืองไทยในยุคปัจจุบันแล้ว ใครจะเป็นงักปุกคุ้ง, ใครจะเป็นเหล็งฮู้ชง, ใครจะเป็นฝ่ายธรรมมะ, ใครจะเป็นฝ่ายอธรรม, ใครจะเป็นกระบี่วิญญูชน หรือ ใครจะเป็นวิญญูชนจอมปลอม ผมนั้นมิอาจจะตัดสินใจแทนใครได้จริง ๆ
    .
    ต่างคนต่างมุมมอง ต่างภูมิหลัง ต่างภูมิรู้ ต่างประสบการณ์ ต่างความคิด และเป็นสิทธิเฉพาะตัวของแต่ละคน
    เกือบ18 ปีแล้ว ผมเคยเขียนเรื่องนี้มาแล้วครั้งหนึ่ง . บทความนั้นมีชื่อว่า ‘งักปุกคุ้ง’ แห่งเสียนหลอ (https://mgronline.com/daily/detail/9500000032355 เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2550) . แต่วันนี้ไม่รู้ว่าตัวเองนึกครึ้มอกครึ้มใจอะไรเลยย้อนไปอ่าน แล้วอยากเอามารีไรท์ และนำมาแบ่งปันอีกครั้งนึง . ต้นปี 2568 นี้ มีภาพยนตร์เรื่องหนึ่งที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายจีนกำลังภายในเรื่องอมตะ เรื่อง “กระบี่เย้ยยุทธจักร” (หรือ ยิ้มเย้ยยุทธจักร หรือ เดชคัมภีร์เทวดา หรือในภาษาจีนคือ 笑傲江湖 ส่วน ชื่ออังกฤษ Invincible Swordsman) ถูกนำมารีเมคใหม่อีกครั้ง โดยตอนนี้ลงจอฉายที่จีนไปแล้ว ในไทยก็กำลังจะเข้าฉายทาง WeTV กับ iQIYI . กระบี่เย้ยยุทธจักร เป็นนวนิยายกำลังภายในของสุดยอดปรมาจารย์ทางวรรณกรรมจีน “กิมย้ง” หรือจีนกลางอ่านว่า “จินยง (金庸)” ซึ่งท่านเสียชีวิตไปเมื่อ 7 ปีที่แล้วเมื่อวัน 30 ตุลาคม 2561 . กระบี่เย้ยยุทธจักรถือเป็นนิยายกำลังภายในเรื่องเดียวของกิมย้งที่ไม่ได้อิงประวัติศาสตร์ของจีนในยุคใด แต่เป็นนวนิยายกำลังภายในแนวการเมืองที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่ง . เรื่องราวเขียนถึงคนที่เรียกตัวเองว่า ฝ่ายธรรมมะ ฝ่ายอธรรม และ วิญญูชนจอมปลอม ได้อย่างลึกซึ้ง และถ่องแท้ที่สุด! . ตัวละครหลักคือ เหล็งฮู้ชง ตัวเอกของเรื่อง ศิษย์คนโตและศิษย์ทรยศแห่งสำนักฮั้วซัว (หรือหัวซาน ที่เป็นยอดบรรพตในมณฑลส่านซี) สองคือ งักปุกคุ้ง ซือแป๋เจ้าสำนักฮั้วซัว . งักปุกคุ้ง (แซ่งัก นามปุกคุ้ง) เป็นเจ้าสำนักฮั้วซัว ผู้สืบทอดเพลงกระบี่และลมปราณเมฆม่วงแห่งสำนักฮั้วซัว หนึ่งในห้า ยอดสำนักกระบี่แห่งบู๊ลิ้ม ภาพภายนอกเป็นผู้กล้าที่ได้ชื่อว่าเป็นจอมยุทธ์ผู้ทรงคุณธรรม เป็นเจ้าสำนักกระบี่อันเลื่องชื่อที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นสำนักมาตรฐานของยุทธจักร จนได้รับฉายาจากบรรดาจอมยุทธ์ว่า “กระบี่วิญญูชน” . งักปุกคุ้ง นอกจากจะเป็นเจ้าสำนักของยอดสำนักกระบี่แล้ว ในด้านของชาติพันธุ์ เจ้าตัวยังเชื่อมั่นด้วยว่า ต้นตระกูลงัก (หรือในภาษาจีนกลางคือแซ่เย่ว์ – 岳) ของตนมีวีรบุรุษกู้ชาติอยู่หลายคน โดยหนึ่งในผู้ที่มีชื่อเสียงที่สุดของตระกูลงักก็คือ ‘งักฮุย (เย่ว์เฟย)’ ยอดขุนพลแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ งักปุกคุ้งเชื่อมั่นใน ‘คุณธรรม’ ของตนจนถึงกับเดินทางรอนแรมพาเหล่าศิษย์ฮั้วซัวไปเคารพสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของงักฮุย . อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นเจ้าสำนักกระบี่ฝ่ายธรรมะ ทั้งยังได้ฉายาว่าเป็น “กระบี่วิญญูชน” แต่ตลอดทั้งเรื่อง ชื่อเสียงและคำพูดของงักปุกคุ้ง กลับไม่ได้สอดคล้องกับการกระทำของเขาเลยแม้แต่น้อย ยกตัวอย่างเช่น  งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่มักจะหลบเลี่ยงเมื่อภัยมาถึงตัว  งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่มักจะวางเฉย เมื่อประสบเห็นความไม่เป็นธรรมของยุทธจักร  งักปุกคุ้งเป็นวิญญูชนที่พร้อมจะให้ร้ายป้ายสีและถีบหัวส่ง เหล็งฮู้ชง ศิษย์เอกมากกว่าที่จะยื่นมือเข้าปกป้องเมื่อเหล็งฮู้ชงถูกกล่าวหาว่าสมคบกับฝ่ายอธรรม  งักปุกคุ้ง เป็นวิญญูชนที่แม้ปากจะบอกว่าไม่สนใจต่อลาภยศ หรือยอดวิชาแห่งยุทธจักร แต่กลับส่ง “งักเล้งซัง” บุตรีของตนเองไปแต่งกับ “ลิ้มเพ้งจือ” รวมถึงยินยอมสละอวัยวะเพศของตัวเอง เพียงเพื่อจะได้ครอบครองเพลงคัมภีร์กระบี่ตระกูลลิ้ม . กล่าวโดยสรุปแล้วงักปุกคุ้ง เป็นบุคคลประเภทที่เรียกว่า “วิญญูชนจอมปลอม” ภายนอกดูเป็นคนดีที่มีชื่อเสียง เป็น “กระบี่วิญญูชน” เจ้าสำนักกระบี่อันเลื่องชื่อ แต่แท้จริงแล้วกลับประพฤติตนยิ่งกว่าคนในสายอธรรมเสียอีก . เมื่อพลิกอ่าน “กระบี่เย้ยยุทธจักร” และพิจารณาความระหว่างบรรทัดที่กิมย้งสอดแทรกลงในนวนิยายกำลังภายในเล่มนี้ ผู้อ่านก็จะรับรู้ได้ถึงความเป็นอัจฉริยะของกิมย้ง ที่แม้จะเขียนถึงเรื่องราวในยุทธภพในยุคสมัยราชวงศ์หมิง (ตามการคาดเดาของผู้เขียนเอง) แต่เนื้อหาของนวนิยายกลับสามารถนำมาเปรียบเทียบกับความเป็นไปทางการเมือง เสียดสีถึงพฤติกรรมของผู้คนในสังคมจีนในยุคสมัยที่ประเทศจีนวุ่นวายที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ คือ ในช่วงของการปฏิวัติวัฒนธรรม (พ.ศ.2509-2519) . ส่วนเมื่อมองถึงเหตุการณ์บ้านเมืองไทยในยุคปัจจุบันแล้ว ใครจะเป็นงักปุกคุ้ง, ใครจะเป็นเหล็งฮู้ชง, ใครจะเป็นฝ่ายธรรมมะ, ใครจะเป็นฝ่ายอธรรม, ใครจะเป็นกระบี่วิญญูชน หรือ ใครจะเป็นวิญญูชนจอมปลอม ผมนั้นมิอาจจะตัดสินใจแทนใครได้จริง ๆ . ต่างคนต่างมุมมอง ต่างภูมิหลัง ต่างภูมิรู้ ต่างประสบการณ์ ต่างความคิด และเป็นสิทธิเฉพาะตัวของแต่ละคน
    Like
    Love
    7
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1108 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำ
    นับวันโลกใบนี้ยิ่งอยู่กันยากมากขึ้นทุกวันๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่กลุ่มบุคคลที่มีพวกพ้องมากนั่นเอง และก็จะได้รับสิทธิพิเศษต่างๆมากมาย ยิ่งคนที่เป็นผู้นำกลุ่มแล้วด้วย ถ้าเป็นคนที่ดีก็ดีไป และก็ดีมากๆด้วย แต่ถ้าเป็นคนที่ชั่วล่ะก็ ฉิบหายแม่งมันทั้งโคตรตระกูลโคตรเหง้ากันเลยทีเดียว “ผู้นำที่ดีก็ดีไป ผู้นำที่ชั่วก็ชั่วไป” ค่าของคนไม่ได้วัดกันที่คนมากหรือน้อย ไม่ได้วัดกันที่มีชื่อเสียงมากดีหรือไม่ ไม่ได้วัดกันที่มีอิทธิพลมากหรือเปล่า แต่วัดกันที่คุณงามความดีในขณะที่ตนเองยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่ที่ผลงานอย่างที่ใครๆหลายๆคนเข้าใจกัน ซึ่งบางคนเค้าก็ไม่ได้มีงานทำ ไม่ได้มีผลงานออกมาเป็นชิ้นเป็นอัน ในแบบที่จะสามารถจับต้องกันได้ ก็ไม่มีผลงานออกมา และแม้แต่พระพุทธเจ้าเองท่านก็ไม่มีผลงานที่จับต้องได้เป็นชิ้นเป็นอันเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่ท่านมี “ความดี” มี “ธรรมะ” มี “สาระ” และเป็นแก่นสารในตัวของท่านเอง ท่านไม่เคยชักจูงใครให้หลงใหลไปกับท่าน และแถมยังมีแม้แต่คำสอนของท่านเองที่ยังหักล้างในตัวของท่านเองเลยว่า “ห้ามให้เชื่อโดยปราศจากเหตุและผล” ถ้าตัวของท่านเองไม่มี “เหตุผล” ไม่มี “ธรรม” ซึ่งก็คือ “ปัญญา” ความรอบรู้ในทุกโลกหล้า ในทุกอณูของจักรวาล ในทุกดวงจิตวิญญาณแล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมาเชื่อถือเคารพศรัทธาในตัวของท่านเองเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่มันไม่ใช่ ใช่มั้ย ก็เพราะว่าท่านเป็นถึง “พุทธะ” ซึ่งก็คือ “ผู้รู้” และแถมด้วย “รู้แจ้งเห็นจริงทุกสรรพสิ่ง” ศาสนาของท่านถึงได้มีผู้คนศรัทธานับถือมากมายมาจนถึงปัจจุบันนี้นั่นเอง
    เรามาเปรียบเทียบกันว่าระหว่างคนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำว่ามันแตกต่างกันอย่างไร
    คนที่มีจิตใจสูงก็คือ “คนดี” นั่นเอง โดยสรุปย่อๆง่ายๆ แต่เรามาขยายความต่อกันเลยว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงมักจะเป็นคนที่มีคุณงามความดีอยู่ในตัวเอง เป็นคนที่ไม่คิดพูดทำในสิ่งที่ไม่ดีไม่งามไม่ถูกต้องต่างๆนาๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กใหญ่ขนาดไหนอย่างไรก็ตาม โดยรวมแล้วก็คือคนที่มี “หิริ” กับ “โอตัปปะ” ซึ่งก็คือ ความละอายความชั่วกลัวเกรงต่อบาปกรรมความชั่วความเลวต่างๆในทุกประเภททั้งหมดโดยไม่มีการยกเว้นเลยแม้แต่เรื่องเดียว พูดไปพูดมามันก็เหมือนกับว่ามันทำกันได้ง่ายๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้นมันไม่ได้ทำกันได้ง่ายๆเลย และเป็นเรื่องที่ยากมากๆเลยด้วย โดยเฉพาะกับคนที่เป็นเพียงแค่คนปุถุชนคนธรรมดาอย่างเราๆท่านๆ แต่กับในคนวิญญูชนนั้นมันเป็นเรื่องที่ไม่ได้ยากเย็นอะไรเลยสำหรับพวกเค้า ก็เพราะว่าเค้าคนนั้นได้ผ่านพ้นจากการเป็นคนปุถุชนมาแล้วนั่นเอง ซึ่งกว่าคนปุถุชนจะมากลายเป็นคนวิญญูชนนั้นมันมักจะต้องพานพบเจอกับตัวอุปสรรคขวากหนามต่างๆมามากมายและกับตัวปัญหาที่ยากยิ่งมาก่อน ซึ่งในจำพวกนี้ก็คือ “เจ้ากรรม นายเวร อริศัตรู และบททดสอบจากเบื้องบน” นั่นเอง และเค้าคนนั้นก็ได้สัมผัสรับรู้ซึ้งได้ถึงสัจธรรมของชีวิตและได้บรรลุธรรมแล้วด้วยดีอย่างลึกซึ้งจนถึงขั้นปล่อยปลดลดละวางซึ่งกิเลสตัวตนของเค้าเอง และได้ค้นพบหนทางสว่างในวิถีชีวิตของตนเองว่าต่อจากนี้ไปจะดำเนินชีวิตไปในทางใดอย่างไรให้มีความสุขและเป็นปกติสุขในแบบฉบับของตนเองจนกว่าร่างกายจะละสังขารของตนเองไปสู่ชีวิตที่เป็นนิรันดร์ในชาติภพหน้าต่อไป นี่คือคนที่มีจิตใจสูง
    แล้วเรามาว่ากันถึงคนที่มีจิตใจต่ำกันบ้างว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจต่ำนั้นโดยทั่วไปเรามักจะเรียกขานกันว่าเป็น “คนชั่ว” นั่นเอง แต่เราจะมาอธิบายกันให้เข้าใจยิ่งขึ้นไปอีกคือ คนประเภทนี้นั้นมักจะเป็นคนเห็นแก่ตัว ชอบเอาแต่ใจของตนเองเป็นใหญ่ ไม่สนใจผู้อื่นว่าตนเองจะทำให้ใครเดือดเนื้อร้อนใจหรือไม่อย่างไรในการกระทำของตนเอง ชอบยกตนข่มท่าน ชอบเอาชนะ โลภโมโทสัน มักโกรธโมโหง่าย เลือดร้อนวู่วามบ้าคลั่ง ไม่คิดหน้าระวังหลัง ชื่นชอบอบายมุก เจ้าชู้ประตูดิน ลุ่มหลงมัวเมา และจิตใจเต็มไปด้วยกิเลสตัณหา ชอบอวดเบ่งใหญ่โต วางก้ามเป็นคนอันธพาลขวางคลองคูเมือง นึกว่าตนเองยิ่งใหญ่คับฟ้าทั่วแผ่นดิน มักทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่เป็นโต มักใหญ่ใฝ่สูง บ้าอำนาจ ชอบฆ่าชอบทำลายล้างผลาญ นิสัยโดยรวมแล้วแย่มาก เอาเป็นว่านี่เป็นคนที่ไม่มีธรรมในจิตใจ ไม่มีความดีงามในตัวของตัวเองเลย คนจำพวกนี้มักมีอยู่ทั่วไปในสังคมเรา ไม่เว้นแม้กระทั่งคนที่เห็นแก่ตัวก็เป็นคนชั่วด้วย และก็ชอบที่จะมีความสุขบนความทุกข์ของคนดี เพราะอยู่ในสังคมของคนชั่วเพียงอย่างเดียวไม่ได้ เพราะว่าจะไม่มีใครยอมใคร และจะฆ่ากันเองนั่นเอง และไม่สามารถที่จะอยู่ในหมู่ของคนดีได้อีกด้วย ก็เพราะว่าไม่มีคนดีที่ไหนเค้ายอมรับในนิสัยสันดานความประพฤติชั่วได้ พอตัวเองใกล้จะตายก็ทุรนทุรายและก็ตกนรกลงหลุมกันทุกราย คนจำพวกนี้มักจะกลัวมากๆเพียงอย่างเดียวคือ “กลัวตาย” แต่ไม่กลัวลงนรก เพราะไม่เชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรม พอตายลงไปแล้วก็มาขอส่วนบุญคนอื่น ซึ่งก็สมควรกับการกระทำของตนเองอย่างยิ่งแล้ว นี่คือคนที่มีจิตใจต่ำนั่นเอง
    สุดท้ายแล้ว ในท้ายที่สุดแล้ว คนที่จะเลือกเดินบนทางเดินของตนเองที่จะไปในทิศทางใดนั้นก็มักจะได้เป็นไปในแบบนั้น “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ทำอย่างไรได้อย่างนั้น” มันเป็นกฎแห่งกรรม มันเป็นสัจธรรม ไม่มีใครหลีกหนีกรรมพ้นไปได้ กรรมคือการกระทำ “ทำกรรมดีย่อมได้ดี ทำกรรมชั่วย่อมได้ชั่ว” ตอบแทนกรรมกลับไป กรรมยุติธรรมเสมอ แล้วคุณหล่ะ จะเลือกเดินไปในทิศทางใดแบบไหน จะเลือกเป็นคนที่มีจิตใจสูงหรือต่ำ คุณเลือกได้ตั้งแต่บัดนี้นะ เลือกให้ดีก็แล้วกัน ก่อนที่จะหมดโอกาสที่จะได้เลือกอีกตลอดไป เลือกให้ทันก่อนที่คุณจะตายลงไปก็แล้วกัน
    คนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำ นับวันโลกใบนี้ยิ่งอยู่กันยากมากขึ้นทุกวันๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่กลุ่มบุคคลที่มีพวกพ้องมากนั่นเอง และก็จะได้รับสิทธิพิเศษต่างๆมากมาย ยิ่งคนที่เป็นผู้นำกลุ่มแล้วด้วย ถ้าเป็นคนที่ดีก็ดีไป และก็ดีมากๆด้วย แต่ถ้าเป็นคนที่ชั่วล่ะก็ ฉิบหายแม่งมันทั้งโคตรตระกูลโคตรเหง้ากันเลยทีเดียว “ผู้นำที่ดีก็ดีไป ผู้นำที่ชั่วก็ชั่วไป” ค่าของคนไม่ได้วัดกันที่คนมากหรือน้อย ไม่ได้วัดกันที่มีชื่อเสียงมากดีหรือไม่ ไม่ได้วัดกันที่มีอิทธิพลมากหรือเปล่า แต่วัดกันที่คุณงามความดีในขณะที่ตนเองยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่ที่ผลงานอย่างที่ใครๆหลายๆคนเข้าใจกัน ซึ่งบางคนเค้าก็ไม่ได้มีงานทำ ไม่ได้มีผลงานออกมาเป็นชิ้นเป็นอัน ในแบบที่จะสามารถจับต้องกันได้ ก็ไม่มีผลงานออกมา และแม้แต่พระพุทธเจ้าเองท่านก็ไม่มีผลงานที่จับต้องได้เป็นชิ้นเป็นอันเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่ท่านมี “ความดี” มี “ธรรมะ” มี “สาระ” และเป็นแก่นสารในตัวของท่านเอง ท่านไม่เคยชักจูงใครให้หลงใหลไปกับท่าน และแถมยังมีแม้แต่คำสอนของท่านเองที่ยังหักล้างในตัวของท่านเองเลยว่า “ห้ามให้เชื่อโดยปราศจากเหตุและผล” ถ้าตัวของท่านเองไม่มี “เหตุผล” ไม่มี “ธรรม” ซึ่งก็คือ “ปัญญา” ความรอบรู้ในทุกโลกหล้า ในทุกอณูของจักรวาล ในทุกดวงจิตวิญญาณแล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมาเชื่อถือเคารพศรัทธาในตัวของท่านเองเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่มันไม่ใช่ ใช่มั้ย ก็เพราะว่าท่านเป็นถึง “พุทธะ” ซึ่งก็คือ “ผู้รู้” และแถมด้วย “รู้แจ้งเห็นจริงทุกสรรพสิ่ง” ศาสนาของท่านถึงได้มีผู้คนศรัทธานับถือมากมายมาจนถึงปัจจุบันนี้นั่นเอง เรามาเปรียบเทียบกันว่าระหว่างคนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำว่ามันแตกต่างกันอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงก็คือ “คนดี” นั่นเอง โดยสรุปย่อๆง่ายๆ แต่เรามาขยายความต่อกันเลยว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงมักจะเป็นคนที่มีคุณงามความดีอยู่ในตัวเอง เป็นคนที่ไม่คิดพูดทำในสิ่งที่ไม่ดีไม่งามไม่ถูกต้องต่างๆนาๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กใหญ่ขนาดไหนอย่างไรก็ตาม โดยรวมแล้วก็คือคนที่มี “หิริ” กับ “โอตัปปะ” ซึ่งก็คือ ความละอายความชั่วกลัวเกรงต่อบาปกรรมความชั่วความเลวต่างๆในทุกประเภททั้งหมดโดยไม่มีการยกเว้นเลยแม้แต่เรื่องเดียว พูดไปพูดมามันก็เหมือนกับว่ามันทำกันได้ง่ายๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้นมันไม่ได้ทำกันได้ง่ายๆเลย และเป็นเรื่องที่ยากมากๆเลยด้วย โดยเฉพาะกับคนที่เป็นเพียงแค่คนปุถุชนคนธรรมดาอย่างเราๆท่านๆ แต่กับในคนวิญญูชนนั้นมันเป็นเรื่องที่ไม่ได้ยากเย็นอะไรเลยสำหรับพวกเค้า ก็เพราะว่าเค้าคนนั้นได้ผ่านพ้นจากการเป็นคนปุถุชนมาแล้วนั่นเอง ซึ่งกว่าคนปุถุชนจะมากลายเป็นคนวิญญูชนนั้นมันมักจะต้องพานพบเจอกับตัวอุปสรรคขวากหนามต่างๆมามากมายและกับตัวปัญหาที่ยากยิ่งมาก่อน ซึ่งในจำพวกนี้ก็คือ “เจ้ากรรม นายเวร อริศัตรู และบททดสอบจากเบื้องบน” นั่นเอง และเค้าคนนั้นก็ได้สัมผัสรับรู้ซึ้งได้ถึงสัจธรรมของชีวิตและได้บรรลุธรรมแล้วด้วยดีอย่างลึกซึ้งจนถึงขั้นปล่อยปลดลดละวางซึ่งกิเลสตัวตนของเค้าเอง และได้ค้นพบหนทางสว่างในวิถีชีวิตของตนเองว่าต่อจากนี้ไปจะดำเนินชีวิตไปในทางใดอย่างไรให้มีความสุขและเป็นปกติสุขในแบบฉบับของตนเองจนกว่าร่างกายจะละสังขารของตนเองไปสู่ชีวิตที่เป็นนิรันดร์ในชาติภพหน้าต่อไป นี่คือคนที่มีจิตใจสูง แล้วเรามาว่ากันถึงคนที่มีจิตใจต่ำกันบ้างว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจต่ำนั้นโดยทั่วไปเรามักจะเรียกขานกันว่าเป็น “คนชั่ว” นั่นเอง แต่เราจะมาอธิบายกันให้เข้าใจยิ่งขึ้นไปอีกคือ คนประเภทนี้นั้นมักจะเป็นคนเห็นแก่ตัว ชอบเอาแต่ใจของตนเองเป็นใหญ่ ไม่สนใจผู้อื่นว่าตนเองจะทำให้ใครเดือดเนื้อร้อนใจหรือไม่อย่างไรในการกระทำของตนเอง ชอบยกตนข่มท่าน ชอบเอาชนะ โลภโมโทสัน มักโกรธโมโหง่าย เลือดร้อนวู่วามบ้าคลั่ง ไม่คิดหน้าระวังหลัง ชื่นชอบอบายมุก เจ้าชู้ประตูดิน ลุ่มหลงมัวเมา และจิตใจเต็มไปด้วยกิเลสตัณหา ชอบอวดเบ่งใหญ่โต วางก้ามเป็นคนอันธพาลขวางคลองคูเมือง นึกว่าตนเองยิ่งใหญ่คับฟ้าทั่วแผ่นดิน มักทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่เป็นโต มักใหญ่ใฝ่สูง บ้าอำนาจ ชอบฆ่าชอบทำลายล้างผลาญ นิสัยโดยรวมแล้วแย่มาก เอาเป็นว่านี่เป็นคนที่ไม่มีธรรมในจิตใจ ไม่มีความดีงามในตัวของตัวเองเลย คนจำพวกนี้มักมีอยู่ทั่วไปในสังคมเรา ไม่เว้นแม้กระทั่งคนที่เห็นแก่ตัวก็เป็นคนชั่วด้วย และก็ชอบที่จะมีความสุขบนความทุกข์ของคนดี เพราะอยู่ในสังคมของคนชั่วเพียงอย่างเดียวไม่ได้ เพราะว่าจะไม่มีใครยอมใคร และจะฆ่ากันเองนั่นเอง และไม่สามารถที่จะอยู่ในหมู่ของคนดีได้อีกด้วย ก็เพราะว่าไม่มีคนดีที่ไหนเค้ายอมรับในนิสัยสันดานความประพฤติชั่วได้ พอตัวเองใกล้จะตายก็ทุรนทุรายและก็ตกนรกลงหลุมกันทุกราย คนจำพวกนี้มักจะกลัวมากๆเพียงอย่างเดียวคือ “กลัวตาย” แต่ไม่กลัวลงนรก เพราะไม่เชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรม พอตายลงไปแล้วก็มาขอส่วนบุญคนอื่น ซึ่งก็สมควรกับการกระทำของตนเองอย่างยิ่งแล้ว นี่คือคนที่มีจิตใจต่ำนั่นเอง สุดท้ายแล้ว ในท้ายที่สุดแล้ว คนที่จะเลือกเดินบนทางเดินของตนเองที่จะไปในทิศทางใดนั้นก็มักจะได้เป็นไปในแบบนั้น “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ทำอย่างไรได้อย่างนั้น” มันเป็นกฎแห่งกรรม มันเป็นสัจธรรม ไม่มีใครหลีกหนีกรรมพ้นไปได้ กรรมคือการกระทำ “ทำกรรมดีย่อมได้ดี ทำกรรมชั่วย่อมได้ชั่ว” ตอบแทนกรรมกลับไป กรรมยุติธรรมเสมอ แล้วคุณหล่ะ จะเลือกเดินไปในทิศทางใดแบบไหน จะเลือกเป็นคนที่มีจิตใจสูงหรือต่ำ คุณเลือกได้ตั้งแต่บัดนี้นะ เลือกให้ดีก็แล้วกัน ก่อนที่จะหมดโอกาสที่จะได้เลือกอีกตลอดไป เลือกให้ทันก่อนที่คุณจะตายลงไปก็แล้วกัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 646 มุมมอง 0 รีวิว
  • วิญญูชนกับปุถุชน
    คำว่าวิญญูชนกับปุถุชนอาจจะเป็นคำที่เข้าใจได้ยาก แต่มันหมายถึงคนที่ดีกับคนธรรมดาทั่วๆไป นั่นล่ะคือความหมายที่ผมจะกล่าวถึง
    น้อยคนนักที่จะประพฤติตนในแบบวิญญูชนได้ และส่วนมากก็มักจะเป็นแค่ประชาชนคนธรรมดาเท่านั้น เพราะว่ามันไม่ได้เป็นกันได้ยากมากมายกันนักนั่นเอง
    วิญญูชนในความหมายของผมคือ บุคคลผู้ที่มีศีลธรรมและเพียบพร้อมไปด้วยคุณธรรมและจริยวัตรอันงดงามนั่นเอง ส่วนปุถุชนนั้น ในความหมายของผมนั้นหมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นเพียงแค่คนธรรมดาที่มีซึ่งกิเลสตัณหา มีซึ่งความรัก,โลภ,โกรธ,หลง อยู่มากมายเต็มเปี่ยมในหัวใจตนนั่นเอง
    คนเราถ้าว่าด้วยการขาดซึ่งศีลธรรมแล้วมันก็ไม่ต่างอะไรไปจากสัตว์เดรัจฉานดีๆตัวหนึ่งนั่นเอง ฉะนั้นเราถึงควรคิดตระหนักให้มั่นให้อยู่ในใจเราว่า เราจะเลือกซึ่งเส้นทางใดระหว่างวิญญูชนกับปุถุชน และถ้าโลกนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยคนที่ไร้ซึ่งศีลธรรมประจำใจตนแล้ว โลกเรามันคงวุ่นวายสับสนปั่นป่วนอลหม่านว้าวุ่นโว้งเว้งเคว้งคว้างมากๆเลย และเพราะผู้คนในโลกนี้ขาดซึ่งศีลธรรมกันมาก มันจึงทำให้โลกนี้เน่าเฟะไม่น่าอาศัยอยู่เอาเสียเลย สักวันมันคงจะไม่ต่างไปจากโลกแห่งสัตว์ดุร้ายสุดดุป่าเถื่อนกันถ้วนหน้า ซึ่งมันจะเต็มไปด้วยมาร,ภูติ,ผี,ปีศาจ,อสูร,สัตว์นรก,อมนุษย์ และตัวประหลาดเต็มเกลื่อนกลาดเต็มบ้านเต็มเมืองไปหมดไปทั่วกรุงทั่วนครกันเป็นแน่แท้จริงทีเดียวเชียว
    ท้ายที่สุดแล้วพวกเราจะใช้ชีวิตอยู่กันอย่างไรในสังคมโลกใบนี้กันนะ ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่ามันคงจะไม่เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงถึงปานนั้นขั้นที่เราจะอาศัยอยู่ในที่ไหนแห่งหนใดไม่ได้อีกต่อไป และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกคนคงจะเลือกเดินในเส้นทางที่ดีที่ถูกต้องดีงามกันมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้กันนะครับ
    วิญญูชนกับปุถุชน คำว่าวิญญูชนกับปุถุชนอาจจะเป็นคำที่เข้าใจได้ยาก แต่มันหมายถึงคนที่ดีกับคนธรรมดาทั่วๆไป นั่นล่ะคือความหมายที่ผมจะกล่าวถึง น้อยคนนักที่จะประพฤติตนในแบบวิญญูชนได้ และส่วนมากก็มักจะเป็นแค่ประชาชนคนธรรมดาเท่านั้น เพราะว่ามันไม่ได้เป็นกันได้ยากมากมายกันนักนั่นเอง วิญญูชนในความหมายของผมคือ บุคคลผู้ที่มีศีลธรรมและเพียบพร้อมไปด้วยคุณธรรมและจริยวัตรอันงดงามนั่นเอง ส่วนปุถุชนนั้น ในความหมายของผมนั้นหมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นเพียงแค่คนธรรมดาที่มีซึ่งกิเลสตัณหา มีซึ่งความรัก,โลภ,โกรธ,หลง อยู่มากมายเต็มเปี่ยมในหัวใจตนนั่นเอง คนเราถ้าว่าด้วยการขาดซึ่งศีลธรรมแล้วมันก็ไม่ต่างอะไรไปจากสัตว์เดรัจฉานดีๆตัวหนึ่งนั่นเอง ฉะนั้นเราถึงควรคิดตระหนักให้มั่นให้อยู่ในใจเราว่า เราจะเลือกซึ่งเส้นทางใดระหว่างวิญญูชนกับปุถุชน และถ้าโลกนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยคนที่ไร้ซึ่งศีลธรรมประจำใจตนแล้ว โลกเรามันคงวุ่นวายสับสนปั่นป่วนอลหม่านว้าวุ่นโว้งเว้งเคว้งคว้างมากๆเลย และเพราะผู้คนในโลกนี้ขาดซึ่งศีลธรรมกันมาก มันจึงทำให้โลกนี้เน่าเฟะไม่น่าอาศัยอยู่เอาเสียเลย สักวันมันคงจะไม่ต่างไปจากโลกแห่งสัตว์ดุร้ายสุดดุป่าเถื่อนกันถ้วนหน้า ซึ่งมันจะเต็มไปด้วยมาร,ภูติ,ผี,ปีศาจ,อสูร,สัตว์นรก,อมนุษย์ และตัวประหลาดเต็มเกลื่อนกลาดเต็มบ้านเต็มเมืองไปหมดไปทั่วกรุงทั่วนครกันเป็นแน่แท้จริงทีเดียวเชียว ท้ายที่สุดแล้วพวกเราจะใช้ชีวิตอยู่กันอย่างไรในสังคมโลกใบนี้กันนะ ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่ามันคงจะไม่เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงถึงปานนั้นขั้นที่เราจะอาศัยอยู่ในที่ไหนแห่งหนใดไม่ได้อีกต่อไป และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกคนคงจะเลือกเดินในเส้นทางที่ดีที่ถูกต้องดีงามกันมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้กันนะครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 268 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำหรับประเทศไทย การประกอบอาชีพ Sex Creator เป็นเรื่องที่วิญญูชนมองว่าละเมิดศีลธรรม และยังเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายบ้านเมืองด้วย

    #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ # SexCreator #ท่องเที่ยวไทยป่นปี้
    #จับSexCreator
    สำหรับประเทศไทย การประกอบอาชีพ Sex Creator เป็นเรื่องที่วิญญูชนมองว่าละเมิดศีลธรรม และยังเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายบ้านเมืองด้วย #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ # SexCreator #ท่องเที่ยวไทยป่นปี้ #จับSexCreator
    Like
    Sad
    Angry
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1375 มุมมอง 53 0 รีวิว
  • ปาเกียวเกียร์อาร์ เดชาเกียร์ดี เกาะคอตั้มเข้าซังเต
    หลังจากหลบหน้าไปหลายวัน ทนายปาเกียว ก็ร้องเพลงถอยดีกว่าไม่เอาดีกว่า ขอถอนตัวจากการเป็นทนายความแก้ต่างให้ทนายตั้มนายษิทรา เบี้ยบังเกิด เพราะสุดจะรับไหว ต่อวิธีการสู้คดีแบบหัวชนฝา
    ทนายปาเกียวตรวจสอบจนแน่ใจแล้วว่า ทนายตั้มมีการปลอมแปลงเอกสารสัญญาที่เคยทําไว้กับพี่อ้อยจตุพร หวังใช้เป็นหมัดเด็ดในศาล ว่ากันว่าการใช้หลักฐานปลอมเป็นงานถนัดของใครบางคนจนถูกร้องเรียนมาแล้วหลายต่อหลายคดี ซึ่งทนายปาเกียว ไม่อยากโดนหางเลข เป็นทนายที่ต้องมาพลอยติดคุกตามจําเลยไปด้วย ยิ่งมีตัวอย่างให้ดูเป็นขวัญตาหมาดๆ คือ ทนายปากแดงที่ติดคุกในการว่าความให้ แอมไซยาไนด์ ยิ่งเหมือนรายการเชือดไก่ให้ลิงดูตอนนี้
    จึงเป็นนาทีทองแล้วของทนายเดชา ที่จะพิสูจน์ให้โลกรู้ว่า มีจุดยืนเป็นมิตรแท้ทนายโจรมาตั้งแต่เริ่ม โลกนี้ก็แทบจะเหลือในเดชาคนเดียวที่จะต้องรับเป็นทนายให้ตั้มเพื่อนรัก ต้องบอกว่าคดีใหญ่ระดับนี้เหมาะที่สุดแล้วกับทนายบิ๊กเนม จบเนติบัณฑิต พร่ําสอนกฎหมายให้ประชาชนผ่านจอทุกเช้าค่ํา
    แม้ที่ผ่านมาสดๆร้อนๆจะเสียรังวัด จนโดนล้อไปทั้งประเทศ อีท่าไหนไม่ทราบ ดันไปแพ้คดีให้กับทนายไม่จบเน อย่าง ทนายนิด้าเจ็บนี้ยิ่งต้องแปรความอัปยศอดสู เป็นพลังให้โลกตะลึงว่าไม่ได้เก่งแต่ปาก แต่เก่งหน้าบัลลังก์ด้วยช่วยทนายแบรนด์เนมให้รอดทุกข์ให้ได้
    เมื่อได้เป็นทนายให้ทนายตั้มเต็มตัวคราวนี้ จะเรียกสื่อมาแถลงทางคดีอะไรก็เหมาะสมชอบธรรมไม่มีใครว่าได้อีกแล้วว่าหิวแสงไปเผือกในเรื่องที่ตัวเอง แต่คดีฉ้อโกงเป็นปกติธุระสะท้านเมืองขึ้นมา จะเห็นว่าผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายถึงเก้าสิบเก้าเปอร์เซ็นต์วิเคราะห์สอดคล้องกันว่าทนายตั้มรอดยากในทุกกระทงความผิด ทนายเกิดผลแก้วเกิดเพื่อนคนหนึ่งของทนายตั้มพูดชัดว่าเขาเชื่อหลักฐานของพี่อ้อยมากกว่า วิญญูชนย่อมรู้ว่าทนายตั้มฉ้อโกงทนายเกิดผลบอกว่า เพื่อนก็คือเพื่อน แต่เมื่อเห็นเพื่อนกระทําผิดก็กล้าวิจารณ์ซึ่งเป็นการนิยามความเป็นเพื่อนที่น่าชื่นชม ไม่ใช่แบบคนที่เล่นพวกจนหลงทาง
    ทนายรณรงค์แก้วเพชร เพื่อนอีกคนกล่าวว่ามองไม่เห็นทางเลยที่ทนายตั้มจะรอดได้ทนายอาคม คงสวัสดิ์ อดีตคนกันเอง ที่ให้ทนายตั้มยอมสารภาพเพื่อลดโทษจะดีต่อตัวเองและคนรอบข้างมากกว่า
    ทนายตั้มเสี่ยงติดคุกอีกคดีคือคดีทําลายพินัยกรรมของพี่อ้อยโดยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 188 บัญญัติว่าผู้ใดทําลายซ่อนเร้นพินัยกรรมให้เสียหายถือว่ามีความผิดโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปีเพราะฉะนั้นพี่อ้อยและทีมกฎหมายของนายสนธิลิ้มทองกุลคงจะดําเนินคดีทนายตั้มข้อหาทําลายพินัยกรรมอย่างแน่นอนเพราะโทษหนักเสียยิ่งกว่าคดีฉ้อโกงด้วยซ้ํา ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่
    #คิงส์โพธิ์ดำ
    ปาเกียวเกียร์อาร์ เดชาเกียร์ดี เกาะคอตั้มเข้าซังเต หลังจากหลบหน้าไปหลายวัน ทนายปาเกียว ก็ร้องเพลงถอยดีกว่าไม่เอาดีกว่า ขอถอนตัวจากการเป็นทนายความแก้ต่างให้ทนายตั้มนายษิทรา เบี้ยบังเกิด เพราะสุดจะรับไหว ต่อวิธีการสู้คดีแบบหัวชนฝา ทนายปาเกียวตรวจสอบจนแน่ใจแล้วว่า ทนายตั้มมีการปลอมแปลงเอกสารสัญญาที่เคยทําไว้กับพี่อ้อยจตุพร หวังใช้เป็นหมัดเด็ดในศาล ว่ากันว่าการใช้หลักฐานปลอมเป็นงานถนัดของใครบางคนจนถูกร้องเรียนมาแล้วหลายต่อหลายคดี ซึ่งทนายปาเกียว ไม่อยากโดนหางเลข เป็นทนายที่ต้องมาพลอยติดคุกตามจําเลยไปด้วย ยิ่งมีตัวอย่างให้ดูเป็นขวัญตาหมาดๆ คือ ทนายปากแดงที่ติดคุกในการว่าความให้ แอมไซยาไนด์ ยิ่งเหมือนรายการเชือดไก่ให้ลิงดูตอนนี้ จึงเป็นนาทีทองแล้วของทนายเดชา ที่จะพิสูจน์ให้โลกรู้ว่า มีจุดยืนเป็นมิตรแท้ทนายโจรมาตั้งแต่เริ่ม โลกนี้ก็แทบจะเหลือในเดชาคนเดียวที่จะต้องรับเป็นทนายให้ตั้มเพื่อนรัก ต้องบอกว่าคดีใหญ่ระดับนี้เหมาะที่สุดแล้วกับทนายบิ๊กเนม จบเนติบัณฑิต พร่ําสอนกฎหมายให้ประชาชนผ่านจอทุกเช้าค่ํา แม้ที่ผ่านมาสดๆร้อนๆจะเสียรังวัด จนโดนล้อไปทั้งประเทศ อีท่าไหนไม่ทราบ ดันไปแพ้คดีให้กับทนายไม่จบเน อย่าง ทนายนิด้าเจ็บนี้ยิ่งต้องแปรความอัปยศอดสู เป็นพลังให้โลกตะลึงว่าไม่ได้เก่งแต่ปาก แต่เก่งหน้าบัลลังก์ด้วยช่วยทนายแบรนด์เนมให้รอดทุกข์ให้ได้ เมื่อได้เป็นทนายให้ทนายตั้มเต็มตัวคราวนี้ จะเรียกสื่อมาแถลงทางคดีอะไรก็เหมาะสมชอบธรรมไม่มีใครว่าได้อีกแล้วว่าหิวแสงไปเผือกในเรื่องที่ตัวเอง แต่คดีฉ้อโกงเป็นปกติธุระสะท้านเมืองขึ้นมา จะเห็นว่าผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายถึงเก้าสิบเก้าเปอร์เซ็นต์วิเคราะห์สอดคล้องกันว่าทนายตั้มรอดยากในทุกกระทงความผิด ทนายเกิดผลแก้วเกิดเพื่อนคนหนึ่งของทนายตั้มพูดชัดว่าเขาเชื่อหลักฐานของพี่อ้อยมากกว่า วิญญูชนย่อมรู้ว่าทนายตั้มฉ้อโกงทนายเกิดผลบอกว่า เพื่อนก็คือเพื่อน แต่เมื่อเห็นเพื่อนกระทําผิดก็กล้าวิจารณ์ซึ่งเป็นการนิยามความเป็นเพื่อนที่น่าชื่นชม ไม่ใช่แบบคนที่เล่นพวกจนหลงทาง ทนายรณรงค์แก้วเพชร เพื่อนอีกคนกล่าวว่ามองไม่เห็นทางเลยที่ทนายตั้มจะรอดได้ทนายอาคม คงสวัสดิ์ อดีตคนกันเอง ที่ให้ทนายตั้มยอมสารภาพเพื่อลดโทษจะดีต่อตัวเองและคนรอบข้างมากกว่า ทนายตั้มเสี่ยงติดคุกอีกคดีคือคดีทําลายพินัยกรรมของพี่อ้อยโดยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 188 บัญญัติว่าผู้ใดทําลายซ่อนเร้นพินัยกรรมให้เสียหายถือว่ามีความผิดโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปีเพราะฉะนั้นพี่อ้อยและทีมกฎหมายของนายสนธิลิ้มทองกุลคงจะดําเนินคดีทนายตั้มข้อหาทําลายพินัยกรรมอย่างแน่นอนเพราะโทษหนักเสียยิ่งกว่าคดีฉ้อโกงด้วยซ้ํา ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธิ์ดำ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1418 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เขากระโดง โกงแผ่นดิน”เรื่องใหญ่เทียบเทียมเกาะกูด
    .
    ปัญหาในกรรมสิทธิ์ที่ดินทางแยกเขากระโดง ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ท่านผู้ชมรู้ไหมไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เป็นเรื่องใหญ่มากๆ อาจจะใหญ่ที่สุด ไม่ได้น้อยกว่าเกาะกูดเลย เพราะทุกอย่างควรจะจบที่ศาลฎีกา และศาลปกครองกลาง ซึ่งมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วว่าเป็นที่ดินการรถไฟ แต่ทำไมถึงหาข้อยุติไม่ได้
    .
    คนที่ครอบครองที่ดินที่เขากระโดงจากชาวบ้านจำนวนหนึ่ง และยังมีนักการเมืองตระกูล "ชิดชอบ" เครือญาติในตระกูล "ชิดชอบ" ที่ดินบางแปลงดังกล่าวปัจจุบันเป็นที่ก่อตั้งสนามกีฬาฟุตบอล และสนามแข่งรถของตระกูล "ชิดชอบ"
    .
    ที่ดินที่มีปัญหาและศาลฎีกามีคำพิพากษาแล้ว จำนวน 850 แปลง เนื้อที่รวม 5,083 ไร่ว่าเป็นที่ดินของการรถไฟฯที่มีพระบรมราชโองการของรัชกาลที่ 5 พระราชทานให้แก่การรถไฟฯ เป็นเนื้อที่ 5,083 ไร่ ต่อมายุครัชกาลที่ 6 ก็มีการตราพระราชกฤษฎีกาให้เป็นที่ดินของการรถไฟฯ ซ้ำเข้าไปอีก เป็นอันว่าใช้บังคับไม่ได้ ท่านผู้ชมว่ามันทุเรศไหม และคำพิพากษาศาลสูงทั้งสองก็ไม่มีความหมายที่ต้องปฏิบัติตามอำนาจตุลาการ ซึ่งศาลก็ใช้ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ไม่มีผลบังคับ
    .
    แต่รู้ไหมครับ อิทธิพลทางการเมืองทำให้ทุกอย่างพลิกผัน เมื่อคณะกรรมการกรมที่ดินมีมติไม่เพิกถอนโฉนดที่ดินเขากระโดงที่มีปัญหา 5 พันไร่ อ้างการรถไฟแห่งประเทศไทยไม่มีพยานหลักฐานยืนยันว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นของการรถไฟแห่งประเทศไทย
    .
    แต่เมื่อข้อสรุปกรมที่ดินออกมาเช่นนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่านำมาสู่ความสงสัยอย่างมากมาย คนทั้งประเทศเขาสงสัยกันหมด นักกฎหมายก็สงสัย วิญญูชนที่รักชาติ รักแผ่นดิน ก็สงสัย มีแต่พวกนักการเมืองระยำๆ นี้ที่มันไม่สงสัย เพราะมันสั่งกรมที่ดินให้ทำตามแบบนี้
    .
    ไม่มีเหตุผลใดที่คณะกรรมการของกรมที่ดินจะมีมติหักกับคำพิพากษาศาลเช่นนี้ เพราะข้อเท็จจริงแล้ว ข้อกฎหมายได้ยุติในศาลไปแล้ว ผู้ทำผิดกฎหมายคือกรมที่ดินนั่นเอง เลยไม่แปลกใจที่ทัวร์จะลงไปที่นายพรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมที่ดิน เข้าอย่างจังจากกรณีเขากระโดงนั้น อาจทำให้เส้นทางไปสู่ดวงดาวของนักปกครองรายนี้มีอุปสรรคพอสมควร หรือไม่แล้ว ชีวิตหลังเกษียณอาจต้องมาชี้แจงองค์กรอิสระ หรือขึ้นศาล ก็เป็นไปได้
    .
    สำหรับนักการเมืองและข้าราชการที่ยังดื้อแพ่ง ไม่ยอมปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลสูงสุดนั้น พวกนี้กำลังละเมิดพระบรมราชโองการ พระราชกฤษฎีกา แม้แต่คำพิพากษาของศาลสูงสุด ใช่หรือเปล่า การที่นักการเมืองและข้าราชการที่มีอำนาจบังอาจทำเช่นนี้ แสดงว่ามีโมหะ บ้าอำนาจ เหลิงอำนาจ หลงอำนาจ และโลภ เข้าครอบงำจิตใจจนไม่เป็นผู้เป็นคนแล้ว ความมีหิริโอตัปปะยังต่ำกว่าสัตว์เดรัจฉานเสียอีก จึงเป็นอันตรายร้ายแรงต่อประเทศชาติและประชาชน ดังนั้น ผู้มีหน้าที่ในการปราบปรามทั้งหลาย จะต้องเร่งมือเพื่อไม่ให้บ้านเมืองบอบช้ำเสียหายไปมากกว่านี้
    “เขากระโดง โกงแผ่นดิน”เรื่องใหญ่เทียบเทียมเกาะกูด . ปัญหาในกรรมสิทธิ์ที่ดินทางแยกเขากระโดง ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ท่านผู้ชมรู้ไหมไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เป็นเรื่องใหญ่มากๆ อาจจะใหญ่ที่สุด ไม่ได้น้อยกว่าเกาะกูดเลย เพราะทุกอย่างควรจะจบที่ศาลฎีกา และศาลปกครองกลาง ซึ่งมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วว่าเป็นที่ดินการรถไฟ แต่ทำไมถึงหาข้อยุติไม่ได้ . คนที่ครอบครองที่ดินที่เขากระโดงจากชาวบ้านจำนวนหนึ่ง และยังมีนักการเมืองตระกูล "ชิดชอบ" เครือญาติในตระกูล "ชิดชอบ" ที่ดินบางแปลงดังกล่าวปัจจุบันเป็นที่ก่อตั้งสนามกีฬาฟุตบอล และสนามแข่งรถของตระกูล "ชิดชอบ" . ที่ดินที่มีปัญหาและศาลฎีกามีคำพิพากษาแล้ว จำนวน 850 แปลง เนื้อที่รวม 5,083 ไร่ว่าเป็นที่ดินของการรถไฟฯที่มีพระบรมราชโองการของรัชกาลที่ 5 พระราชทานให้แก่การรถไฟฯ เป็นเนื้อที่ 5,083 ไร่ ต่อมายุครัชกาลที่ 6 ก็มีการตราพระราชกฤษฎีกาให้เป็นที่ดินของการรถไฟฯ ซ้ำเข้าไปอีก เป็นอันว่าใช้บังคับไม่ได้ ท่านผู้ชมว่ามันทุเรศไหม และคำพิพากษาศาลสูงทั้งสองก็ไม่มีความหมายที่ต้องปฏิบัติตามอำนาจตุลาการ ซึ่งศาลก็ใช้ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ไม่มีผลบังคับ . แต่รู้ไหมครับ อิทธิพลทางการเมืองทำให้ทุกอย่างพลิกผัน เมื่อคณะกรรมการกรมที่ดินมีมติไม่เพิกถอนโฉนดที่ดินเขากระโดงที่มีปัญหา 5 พันไร่ อ้างการรถไฟแห่งประเทศไทยไม่มีพยานหลักฐานยืนยันว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นของการรถไฟแห่งประเทศไทย . แต่เมื่อข้อสรุปกรมที่ดินออกมาเช่นนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่านำมาสู่ความสงสัยอย่างมากมาย คนทั้งประเทศเขาสงสัยกันหมด นักกฎหมายก็สงสัย วิญญูชนที่รักชาติ รักแผ่นดิน ก็สงสัย มีแต่พวกนักการเมืองระยำๆ นี้ที่มันไม่สงสัย เพราะมันสั่งกรมที่ดินให้ทำตามแบบนี้ . ไม่มีเหตุผลใดที่คณะกรรมการของกรมที่ดินจะมีมติหักกับคำพิพากษาศาลเช่นนี้ เพราะข้อเท็จจริงแล้ว ข้อกฎหมายได้ยุติในศาลไปแล้ว ผู้ทำผิดกฎหมายคือกรมที่ดินนั่นเอง เลยไม่แปลกใจที่ทัวร์จะลงไปที่นายพรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมที่ดิน เข้าอย่างจังจากกรณีเขากระโดงนั้น อาจทำให้เส้นทางไปสู่ดวงดาวของนักปกครองรายนี้มีอุปสรรคพอสมควร หรือไม่แล้ว ชีวิตหลังเกษียณอาจต้องมาชี้แจงองค์กรอิสระ หรือขึ้นศาล ก็เป็นไปได้ . สำหรับนักการเมืองและข้าราชการที่ยังดื้อแพ่ง ไม่ยอมปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลสูงสุดนั้น พวกนี้กำลังละเมิดพระบรมราชโองการ พระราชกฤษฎีกา แม้แต่คำพิพากษาของศาลสูงสุด ใช่หรือเปล่า การที่นักการเมืองและข้าราชการที่มีอำนาจบังอาจทำเช่นนี้ แสดงว่ามีโมหะ บ้าอำนาจ เหลิงอำนาจ หลงอำนาจ และโลภ เข้าครอบงำจิตใจจนไม่เป็นผู้เป็นคนแล้ว ความมีหิริโอตัปปะยังต่ำกว่าสัตว์เดรัจฉานเสียอีก จึงเป็นอันตรายร้ายแรงต่อประเทศชาติและประชาชน ดังนั้น ผู้มีหน้าที่ในการปราบปรามทั้งหลาย จะต้องเร่งมือเพื่อไม่ให้บ้านเมืองบอบช้ำเสียหายไปมากกว่านี้
    Like
    Angry
    Love
    Sad
    23
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1979 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เขากระโดง โกงแผ่นดิน”เรื่องใหญ่เทียบเทียมเกาะกูด
    .
    ปัญหาในกรรมสิทธิ์ที่ดินทางแยกเขากระโดง ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ท่านผู้ชมรู้ไหมไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เป็นเรื่องใหญ่มากๆ อาจจะใหญ่ที่สุด ไม่ได้น้อยกว่าเกาะกูดเลย เพราะทุกอย่างควรจะจบที่ศาลฎีกา และศาลปกครองกลาง ซึ่งมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วว่าเป็นที่ดินการรถไฟ แต่ทำไมถึงหาข้อยุติไม่ได้
    .
    คนที่ครอบครองที่ดินที่เขากระโดงจากชาวบ้านจำนวนหนึ่ง และยังมีนักการเมืองตระกูล "ชิดชอบ" เครือญาติในตระกูล "ชิดชอบ" ที่ดินบางแปลงดังกล่าวปัจจุบันเป็นที่ก่อตั้งสนามกีฬาฟุตบอล และสนามแข่งรถของตระกูล "ชิดชอบ"
    .
    ที่ดินที่มีปัญหาและศาลฎีกามีคำพิพากษาแล้ว จำนวน 850 แปลง เนื้อที่รวม 5,083 ไร่ว่าเป็นที่ดินของการรถไฟฯที่มีพระบรมราชโองการของรัชกาลที่ 5 พระราชทานให้แก่การรถไฟฯ เป็นเนื้อที่ 5,083 ไร่ ต่อมายุครัชกาลที่ 6 ก็มีการตราพระราชกฤษฎีกาให้เป็นที่ดินของการรถไฟฯ ซ้ำเข้าไปอีก เป็นอันว่าใช้บังคับไม่ได้ ท่านผู้ชมว่ามันทุเรศไหม และคำพิพากษาศาลสูงทั้งสองก็ไม่มีความหมายที่ต้องปฏิบัติตามอำนาจตุลาการ ซึ่งศาลก็ใช้ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ไม่มีผลบังคับ
    .
    แต่รู้ไหมครับ อิทธิพลทางการเมืองทำให้ทุกอย่างพลิกผัน เมื่อคณะกรรมการกรมที่ดินมีมติไม่เพิกถอนโฉนดที่ดินเขากระโดงที่มีปัญหา 5 พันไร่ อ้างการรถไฟแห่งประเทศไทยไม่มีพยานหลักฐานยืนยันว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นของการรถไฟแห่งประเทศไทย
    .
    แต่เมื่อข้อสรุปกรมที่ดินออกมาเช่นนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่านำมาสู่ความสงสัยอย่างมากมาย คนทั้งประเทศเขาสงสัยกันหมด นักกฎหมายก็สงสัย วิญญูชนที่รักชาติ รักแผ่นดิน ก็สงสัย มีแต่พวกนักการเมืองระยำๆ นี้ที่มันไม่สงสัย เพราะมันสั่งกรมที่ดินให้ทำตามแบบนี้
    .
    ไม่มีเหตุผลใดที่คณะกรรมการของกรมที่ดินจะมีมติหักกับคำพิพากษาศาลเช่นนี้ เพราะข้อเท็จจริงแล้ว ข้อกฎหมายได้ยุติในศาลไปแล้ว ผู้ทำผิดกฎหมายคือกรมที่ดินนั่นเอง เลยไม่แปลกใจที่ทัวร์จะลงไปที่นายพรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมที่ดิน เข้าอย่างจังจากกรณีเขากระโดงนั้น อาจทำให้เส้นทางไปสู่ดวงดาวของนักปกครองรายนี้มีอุปสรรคพอสมควร หรือไม่แล้ว ชีวิตหลังเกษียณอาจต้องมาชี้แจงองค์กรอิสระ หรือขึ้นศาล ก็เป็นไปได้
    .
    สำหรับนักการเมืองและข้าราชการที่ยังดื้อแพ่ง ไม่ยอมปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลสูงสุดนั้น พวกนี้กำลังละเมิดพระบรมราชโองการ พระราชกฤษฎีกา แม้แต่คำพิพากษาของศาลสูงสุด ใช่หรือเปล่า การที่นักการเมืองและข้าราชการที่มีอำนาจบังอาจทำเช่นนี้ แสดงว่ามีโมหะ บ้าอำนาจ เหลิงอำนาจ หลงอำนาจ และโลภ เข้าครอบงำจิตใจจนไม่เป็นผู้เป็นคนแล้ว ความมีหิริโอตัปปะยังต่ำกว่าสัตว์เดรัจฉานเสียอีก จึงเป็นอันตรายร้ายแรงต่อประเทศชาติและประชาชน ดังนั้น ผู้มีหน้าที่ในการปราบปรามทั้งหลาย จะต้องเร่งมือเพื่อไม่ให้บ้านเมืองบอบช้ำเสียหายไปมากกว่านี้
    “เขากระโดง โกงแผ่นดิน”เรื่องใหญ่เทียบเทียมเกาะกูด . ปัญหาในกรรมสิทธิ์ที่ดินทางแยกเขากระโดง ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ท่านผู้ชมรู้ไหมไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เป็นเรื่องใหญ่มากๆ อาจจะใหญ่ที่สุด ไม่ได้น้อยกว่าเกาะกูดเลย เพราะทุกอย่างควรจะจบที่ศาลฎีกา และศาลปกครองกลาง ซึ่งมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วว่าเป็นที่ดินการรถไฟ แต่ทำไมถึงหาข้อยุติไม่ได้ . คนที่ครอบครองที่ดินที่เขากระโดงจากชาวบ้านจำนวนหนึ่ง และยังมีนักการเมืองตระกูล "ชิดชอบ" เครือญาติในตระกูล "ชิดชอบ" ที่ดินบางแปลงดังกล่าวปัจจุบันเป็นที่ก่อตั้งสนามกีฬาฟุตบอล และสนามแข่งรถของตระกูล "ชิดชอบ" . ที่ดินที่มีปัญหาและศาลฎีกามีคำพิพากษาแล้ว จำนวน 850 แปลง เนื้อที่รวม 5,083 ไร่ว่าเป็นที่ดินของการรถไฟฯที่มีพระบรมราชโองการของรัชกาลที่ 5 พระราชทานให้แก่การรถไฟฯ เป็นเนื้อที่ 5,083 ไร่ ต่อมายุครัชกาลที่ 6 ก็มีการตราพระราชกฤษฎีกาให้เป็นที่ดินของการรถไฟฯ ซ้ำเข้าไปอีก เป็นอันว่าใช้บังคับไม่ได้ ท่านผู้ชมว่ามันทุเรศไหม และคำพิพากษาศาลสูงทั้งสองก็ไม่มีความหมายที่ต้องปฏิบัติตามอำนาจตุลาการ ซึ่งศาลก็ใช้ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ไม่มีผลบังคับ . แต่รู้ไหมครับ อิทธิพลทางการเมืองทำให้ทุกอย่างพลิกผัน เมื่อคณะกรรมการกรมที่ดินมีมติไม่เพิกถอนโฉนดที่ดินเขากระโดงที่มีปัญหา 5 พันไร่ อ้างการรถไฟแห่งประเทศไทยไม่มีพยานหลักฐานยืนยันว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นของการรถไฟแห่งประเทศไทย . แต่เมื่อข้อสรุปกรมที่ดินออกมาเช่นนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่านำมาสู่ความสงสัยอย่างมากมาย คนทั้งประเทศเขาสงสัยกันหมด นักกฎหมายก็สงสัย วิญญูชนที่รักชาติ รักแผ่นดิน ก็สงสัย มีแต่พวกนักการเมืองระยำๆ นี้ที่มันไม่สงสัย เพราะมันสั่งกรมที่ดินให้ทำตามแบบนี้ . ไม่มีเหตุผลใดที่คณะกรรมการของกรมที่ดินจะมีมติหักกับคำพิพากษาศาลเช่นนี้ เพราะข้อเท็จจริงแล้ว ข้อกฎหมายได้ยุติในศาลไปแล้ว ผู้ทำผิดกฎหมายคือกรมที่ดินนั่นเอง เลยไม่แปลกใจที่ทัวร์จะลงไปที่นายพรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมที่ดิน เข้าอย่างจังจากกรณีเขากระโดงนั้น อาจทำให้เส้นทางไปสู่ดวงดาวของนักปกครองรายนี้มีอุปสรรคพอสมควร หรือไม่แล้ว ชีวิตหลังเกษียณอาจต้องมาชี้แจงองค์กรอิสระ หรือขึ้นศาล ก็เป็นไปได้ . สำหรับนักการเมืองและข้าราชการที่ยังดื้อแพ่ง ไม่ยอมปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลสูงสุดนั้น พวกนี้กำลังละเมิดพระบรมราชโองการ พระราชกฤษฎีกา แม้แต่คำพิพากษาของศาลสูงสุด ใช่หรือเปล่า การที่นักการเมืองและข้าราชการที่มีอำนาจบังอาจทำเช่นนี้ แสดงว่ามีโมหะ บ้าอำนาจ เหลิงอำนาจ หลงอำนาจ และโลภ เข้าครอบงำจิตใจจนไม่เป็นผู้เป็นคนแล้ว ความมีหิริโอตัปปะยังต่ำกว่าสัตว์เดรัจฉานเสียอีก จึงเป็นอันตรายร้ายแรงต่อประเทศชาติและประชาชน ดังนั้น ผู้มีหน้าที่ในการปราบปรามทั้งหลาย จะต้องเร่งมือเพื่อไม่ให้บ้านเมืองบอบช้ำเสียหายไปมากกว่านี้
    Like
    Angry
    19
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1960 มุมมอง 1 รีวิว
  • ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช.
    .
    ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย
    .
    สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต
    .
    ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา
    .
    ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
    .
    ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ
    .
    ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล
    .
    ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
    .
    ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ
    .
    ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6
    .
    สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้
    .
    ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป
    ..............
    Sondhi X
    ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช. . ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย . สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต . ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา . ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข . ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ . ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล . ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา . ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ . ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 . สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้ . ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป .............. Sondhi X
    Sad
    Like
    4
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2912 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปานเทพ ยิปมันเมืองไทย ตัวตึงบ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ มือขวา ของคุณสนธิ ลิ้มทองกุลเปล่งประกายให้ได้ยลกันเต็มตา ผ่านรายการโหนกระแส มีคนเข้ามาชื่นชมล้นหลามว่าเป็นการนําเสนอเรื่องราวได้ดีทุกประเด็นทุกอย่างเคลียร์หมด ทั้งยกย่องลุคการแต่งตัวของอาจารย์ปานเทพเหมือนยิปมัน ยอดมวยกังฟูของโลก โผล่มาสู้กับทนายปาเกียว สายหยุด เพ็งบุญชู ทนายความของทนายตั้ม และปานเทพก็น็อคสายหยุดแค่ออกรายการครั้งเดียว
    เพราะพยานหลักฐานที่ปรมาจารย์ปานเทพ พูดออกมาให้ดูบางส่วนนั้นมันชัดเจนว่าทนายตั้ม มาฉ้อโกงซ้ําซ้ําเป็นปกติธุระอย่างแน่นอน แต่ทนายปาเกียวไม่ยอมรับว่าตัวเองแพ้แล้ว วันถัดมาเขาออกรายการ ซึ่งต้องดีเบตกับทนายเกิดผลแก้วเกิด ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มทนายอเวนเจอร์ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกลุ่มอเวจี
    คราวนี้ทนายปาเกียวโดนน็อกคาจออีกรอบด้วยหมัดหนักๆ พูดช้าๆ ของทนายเกิดผลจนถึงกับสติหลุดแย่งทนายเกิดผลพูดจนพิธีกรต้องเบรกให้หยุด สายหยุดออกอาการหลุกหลิก นั่งกลอกตาไปมาไม่นิ่งเหมือนตอนเปิดตัวครั้งแรกๆ เสียงเหน่อเหน่อของทนายปาเกียวเริ่มหมดเสน่ห์ ตอนนี้เริ่มโดนทัวร์ลงด่ากันฉ่ำ เพราะใครที่ฟังรายการดังกล่าวจะเห็นเลยว่า ทนายปาเกียวเอาแต่แถ ถึงขนาดพูดว่า ซื้อรถเบนซ์มีใบเสร็จสองใบก็ได้ ไม่ผิด จะเอาฮาไปถึงไหน
    ทนายเกิดผลพูดนุ่มๆ เชือดนิ่มๆ ว่าคดี 71 ล้านนั้น วิญญูชนก็รู้แล้วว่านี่มันคือการฉ้อโกง แค่โควต้าหวยรัฐบาลมันไม่มีจริงก็ชัดเจนแล้วว่าโกงพอจนแต้มขึ้นมาทนายปาเกียวก็ยังอ้างว่า จําไทม์ไลน์ไม่ได้ หรือบอกจะขอไปถามทนายตั้มในคุกก่อน social ฟันธงทนายปาเกียวกับทนายตั้มศีลเสมอกันโดยแท้
    การตอบโต้ชี้แจงจึงหนักไปทางบิดๆเบี้ยวๆ เพื่อจะเอาเงินคนอื่นโดยไม่ผิดกฎหมาย โดยอาศัยการตีความกฎหมายแบบตะแบงไปเรื่อย ยิ่งทนายปาเกียว ยกตรรกะว่ากฎหมายกับศีลธรรมเป็นคนละเรื่องกันก็เป็นเรื่องที่รับฟังยาก
    นักศึกษากฎหมายบางท่านคอมเมนต์ว่า อาจารย์สอนไว้ศีลธรรมและความยุติธรรมต่างหากที่เป็นรากฐานสําคัญของกฎหมาย ทนายหลายคนที่เลว ใช้ฐานกฎหมายโหมดเดียวกัน เพื่อนต้องมาก่อน แต่ทัวร์ลงทนายจุ๊กกรู้หนักมากเพราะลีลา ที่เขาคิดว่าดีอย่างการไปสัมภาษณ์แขวะอาจารย์ปานเทพว่าหิวแสง อาจารย์ปานเทพก็ตอบนิ่มนิ่มไปว่า ทนายเดชา คุณรู้จักผมน้อยไป
    อาจารย์ปานเทพศึกษากฎหมายถึงขั้นขึ้นซักค้านในศาลให้ตัวเอง ไม่ต้องพึ่งพาทนาย ผลก็คือสถิติข่มทนายเดชามิด เพราะอาจารย์ปานเทพไม่เคยแพ้คดีที่ตัวเองซักค้านเลย สํานักบ้านพระอาทิตย์เมื่อออกรบก็เปล่งประกายเจิดจรัส สมคําร่ําลือว่า ถ้าหากคนสํานักบ้านพระอาทิตย์ยืนที่สอง ก็ไม่มีใครกล้าเป็นที่หนึ่ง
    ติดตามข่าวซีพๆแบบนี้ได้ที่
    #คิงส์โพธิ์ดำ
    ปานเทพ ยิปมันเมืองไทย ตัวตึงบ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ มือขวา ของคุณสนธิ ลิ้มทองกุลเปล่งประกายให้ได้ยลกันเต็มตา ผ่านรายการโหนกระแส มีคนเข้ามาชื่นชมล้นหลามว่าเป็นการนําเสนอเรื่องราวได้ดีทุกประเด็นทุกอย่างเคลียร์หมด ทั้งยกย่องลุคการแต่งตัวของอาจารย์ปานเทพเหมือนยิปมัน ยอดมวยกังฟูของโลก โผล่มาสู้กับทนายปาเกียว สายหยุด เพ็งบุญชู ทนายความของทนายตั้ม และปานเทพก็น็อคสายหยุดแค่ออกรายการครั้งเดียว เพราะพยานหลักฐานที่ปรมาจารย์ปานเทพ พูดออกมาให้ดูบางส่วนนั้นมันชัดเจนว่าทนายตั้ม มาฉ้อโกงซ้ําซ้ําเป็นปกติธุระอย่างแน่นอน แต่ทนายปาเกียวไม่ยอมรับว่าตัวเองแพ้แล้ว วันถัดมาเขาออกรายการ ซึ่งต้องดีเบตกับทนายเกิดผลแก้วเกิด ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มทนายอเวนเจอร์ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกลุ่มอเวจี คราวนี้ทนายปาเกียวโดนน็อกคาจออีกรอบด้วยหมัดหนักๆ พูดช้าๆ ของทนายเกิดผลจนถึงกับสติหลุดแย่งทนายเกิดผลพูดจนพิธีกรต้องเบรกให้หยุด สายหยุดออกอาการหลุกหลิก นั่งกลอกตาไปมาไม่นิ่งเหมือนตอนเปิดตัวครั้งแรกๆ เสียงเหน่อเหน่อของทนายปาเกียวเริ่มหมดเสน่ห์ ตอนนี้เริ่มโดนทัวร์ลงด่ากันฉ่ำ เพราะใครที่ฟังรายการดังกล่าวจะเห็นเลยว่า ทนายปาเกียวเอาแต่แถ ถึงขนาดพูดว่า ซื้อรถเบนซ์มีใบเสร็จสองใบก็ได้ ไม่ผิด จะเอาฮาไปถึงไหน ทนายเกิดผลพูดนุ่มๆ เชือดนิ่มๆ ว่าคดี 71 ล้านนั้น วิญญูชนก็รู้แล้วว่านี่มันคือการฉ้อโกง แค่โควต้าหวยรัฐบาลมันไม่มีจริงก็ชัดเจนแล้วว่าโกงพอจนแต้มขึ้นมาทนายปาเกียวก็ยังอ้างว่า จําไทม์ไลน์ไม่ได้ หรือบอกจะขอไปถามทนายตั้มในคุกก่อน social ฟันธงทนายปาเกียวกับทนายตั้มศีลเสมอกันโดยแท้ การตอบโต้ชี้แจงจึงหนักไปทางบิดๆเบี้ยวๆ เพื่อจะเอาเงินคนอื่นโดยไม่ผิดกฎหมาย โดยอาศัยการตีความกฎหมายแบบตะแบงไปเรื่อย ยิ่งทนายปาเกียว ยกตรรกะว่ากฎหมายกับศีลธรรมเป็นคนละเรื่องกันก็เป็นเรื่องที่รับฟังยาก นักศึกษากฎหมายบางท่านคอมเมนต์ว่า อาจารย์สอนไว้ศีลธรรมและความยุติธรรมต่างหากที่เป็นรากฐานสําคัญของกฎหมาย ทนายหลายคนที่เลว ใช้ฐานกฎหมายโหมดเดียวกัน เพื่อนต้องมาก่อน แต่ทัวร์ลงทนายจุ๊กกรู้หนักมากเพราะลีลา ที่เขาคิดว่าดีอย่างการไปสัมภาษณ์แขวะอาจารย์ปานเทพว่าหิวแสง อาจารย์ปานเทพก็ตอบนิ่มนิ่มไปว่า ทนายเดชา คุณรู้จักผมน้อยไป อาจารย์ปานเทพศึกษากฎหมายถึงขั้นขึ้นซักค้านในศาลให้ตัวเอง ไม่ต้องพึ่งพาทนาย ผลก็คือสถิติข่มทนายเดชามิด เพราะอาจารย์ปานเทพไม่เคยแพ้คดีที่ตัวเองซักค้านเลย สํานักบ้านพระอาทิตย์เมื่อออกรบก็เปล่งประกายเจิดจรัส สมคําร่ําลือว่า ถ้าหากคนสํานักบ้านพระอาทิตย์ยืนที่สอง ก็ไม่มีใครกล้าเป็นที่หนึ่ง ติดตามข่าวซีพๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธิ์ดำ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1341 มุมมอง 0 รีวิว
  • โฉมหน้าเจ้าตัวร้าย
    “กฤษฎีกากัมพูชา 1972”
    รุกล้ำอธิปไตยเกาะ/น่านน้ำไทย !
    ________
    .
    ใครที่บอกว่ากัมพูชาไม่เคย ”พูด“ อ้างกรรมสิทธิเหนือเกาะกูด และบรรดาคนไทยที่นำเรื่องนี้มาเป็นประเด็นคือพวกคลั่งชาติ ลองพิจารณาอ่านเรื่องนี้สักนิด…
    .
    กัมพูชาอาจจะไม่เคย ”พูด“ อย่างเป็นทางการในนามรัฐบาล ไม่ว่าในยุคไหนระบอบอะไร แต่กัมพูชาลงมือ “ทำ” เลยอย่างไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ยเมื่อ 52 ปีก่อนในช่วงสั้น ๆ ของรัฐบาลระบอบสาธารณรัฐ
    .
    และ “ผลแห่งการกระทำ” นั้นยังคงอยู่ !
    .
    “กฤษฎีกาที่ 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972”
    .
    วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972
    .
    จอมพลลอนนอลลงนามในฐานะประธานาธิบดีสาธารณรัฐกัมพูชา หลังรัฐประหารโค่นล้มระบอบกษัตริย์ 2 ปี และก่อนพนมเปญแตกพ่ายแพ้ต่อคอมมิวนิสต์เขมรแดง 3 ปี
    .
    สารัตถะสำคัญอยู่ในมาตราแรก (Article Premier) ผมสรุปมาจากที่ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์เขียนไว้ในบทความของท่านเมื่อปี 2554 รวมทั้งการเสวนาที่สยามสมาคมในปีเดียวกันนั้น
    .
    วรรคแรกเป็นการอ้างฐานทางกฎหมาย
    .
    (1) อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีปลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958
    .
    (2) สนธิสัญญาสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และ…
    .
    (3) บันทึกการปักปันเขตแดนสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1908 รวมทั้ง…
    .
    (4) แผนที่เดินเรือของฝรั่งเศส 1972 มาตราส่วน 1:1,096,000
    .
    กฤษฎีกา 1972 ระบุพิกัดของเขตไหล่ทวีปตามจุดอ้างอิงที่เกี่ยวกับ “เกาะกูด” รวมทั้ง “ทะเลอาณาเขต(ของไทย)“ โดยตรง
    .
    โดยในวรรคสอง (ย่อหน้าล่างสุดของกฤษฎีกาหน้าแรก) กล่าวว่าได้มีการปักปันเขตไหล่ทวีประหว่างไทยกับฝรั่งเศสแล้ว โดยทางทิศเหนือ ใช้เส้นตรงเชื่อมจุดชายแดนแผ่นดินที่จุด “A” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นที่ตั้งหลักเขตที่ 73) มายังจุดสูงสุดบนเกาะกูดที่เรียกว่าจุด “S” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นการอ้างอิงจากหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 1) และลากต่อออกทะเลไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่เรียกว่าจุด “P”
    .
    โดยในตารางท้ายมาตราแรก (อยู่ตอนต้นของกฤษฎีกาหน้า 2) ได้กำหนดรายละเอียดของจุด “A“ และ “P” ไว้
    .
    จุด ”A” คือจุดใต้สุดของการแบ่งเขตแดนทางบกตามสนธิสัญญาค.ศ. 1907 ก็คือหลักเขตที่ 73 นั่นเอง
    .
    จุด “P” กึ่งกลางอ่าวไทยนั้น กฤษฎีการะบุว่าเป็นจุดมัธยะ (หรือกึ่งกลาง) ระหว่างไหล่ทวีปของกัมพูชากับไทย
    .
    มาตราแรกโดยเฉพาะวรรคสองนี่แหละ “เท็จ” โดยสิ้นเชิง
    .
    เพราะไม่เคยมีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับอินโดจีนของฝรั่งเศสกันมาก่อน โดยเฉพาะในช่วงค.ศ. 1907 หรือ 1908 ไม่เคยมีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการนี้ ประวัติศาสตร์ฉบับไหนก็ไม่เคยระบุ กฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลที่นานาชาติยึดถือกันเมื่อ 127 ปีก่อนก็ต่างกับปัจจุบัน ยุคนั้นยังไม่มีสิ่งที่นานาชาติกำหนดอาณาเขตทางทะเลขึ้นมาให้รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือแล้วเรียกว่า “ไหล่ทวีป” เสียด้วยซ้ำ ไม่มีเขตต่อเนื่อง ไม่มีเขตเศรษฐกิจจำเพาะ มีแค่ทะเลอาณาเขตระยะ 3 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง พ้นออกมาเป็นเขตทะเลหลวงที่เป็นเขตทะเลเสรีไม่มีประเทศใดมีสิทธิถือครองเป็นเจ้าของได้
    .
    แต่สมมติแม้จะยึดกฎเกณฑ์ในยุคสมัยค.ศ. 1907 หากจะปักปันเขตแดนทางทะเลกัน การขีดเส้นแนว “A-S-P” เป็นอาณาเขตทางทะเลของอินโดจีนฝรั่งเศสก็ไม่ถูกและไม่มีกฎเกณฑ์ใดรองรับอยู่ดี เพราะระยะทางจากชายฝั่งถึงเกาะกูดประมาณ 19 ไมล์ทะเล เกิน 3 ไมล์ทะเลตั้งเยอะ อินโดจีนฝรั่งเศสจะไปถือสิทธิครอบครองเขตทะเลหลวงได้อย่างไร
    .
    การจงใจระบุพิกัดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อค.ศ. 1972 เช่นนี้คือการกระทำที่ละเมิดอธิปไตยไทยเหนือเกาะกูด ทั้งตัวเกาะ และทะเลอาณาเขต
    .
    ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์ กล่าวไว้ในงานเขียนของท่านว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะมีการแบ่งเขตไหล่ทวีปโดยเส้นผ่าเกาะกูดซึ่งเป็นดินแดนทางบก เพราะไหล่ทวีปหมายถึงพื้นดินใต้ทะเลและใต้พื้นดินใต้ทะเล
    .
    ดังนั้น โอกาสที่แนว “A-S-P” จะถูกต้องมีอยู่เงื่อนไขเดียวเท่านั้น…
    .
    คือตัวเกาะกูดต้องเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่ง !
    .
    ขอย้ำอีกครั้งว่า แนว “A-S-P” อันเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปด้านเหนือของกัมพูชาตามกฤษฎีกา 1972 จะถูกต้องก็ต่อเมื่อตัวเกาะกูดเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่งเท่านั้น !!
    .
    แล้วประเทศไทยผู้ถูกรุกล้ำอธิปไตยจะ “ยอมรับ” ได้อย่างไร ?
    .
    แม้จะไม่ใช่การยอมรับใน “ความถูกต้อง” แค่ยอมรับ “การมีอยู่”, “การคงอยู่” เพื่อเป็นเพียง “กรอบ” ในการ “เจรจาเรื่องอื่น” ก็เถอะ !!
    .
    ตรงนี้จำเป็นต้องมีการพูดถึงแผนที่หรือแผนผัง 2 (+1) ฉบับที่นำมาลงเป็นภาพประกอบไว้
    .
    ฉบับที่ 1 คือแผนที่เดินเรือฝรั่งเศสที่ใช้แนบท้ายกฤษฎีกา 1972 ไม่ได้มีการเขียนลากเส้นบนแผนที่พาดผ่านตัวเกาะกูดโดยตรง หากแต่ลากเป็นเส้นตรงออกมาจากชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดสุดเขตแดนทางบกของไทยกับกัมพูชามาหยุดที่ตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันออก แล้วลากเส้นตรงใหม่จากตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันตกตรงไปกลางอ่าวไทย แผนที่ทำนองนี้โดยทั่วไปเป็นแผนที่ใช้สำหรับกิจการในกองทัพเรือรวมถึงการเดินเรือไม่ใช่แผนที่แสดงเขตแดนใด ๆ ทั้งสิ้น เส้นตรงที่ลากผ่านเกาะกูดไปยังกลางอ่าวไทยในแผนที่นี้ก็ไม่ได้ระบุว่าเป็นเส้นอะไร แต่กระนั้นตรงชื่อเกาะกูด (Koh Kut) ก็ยังมีวงเล็บต่อท้ายว่า “(Siam)” อย่างที่พอเห็นได้ จึงแสดงให้เห็นว่าในปีค.ศ. 1907 จนกระทั่งถึงวันคืนเอกราชให้ 3 ประเทศอินโดจีน ฝรั่งเศสไม่ได้มีความพยายาม “เคลม” กรรมสิทธิ์เหนือเกาะกูดแต่ประการใด เพราะในสนธิสัญญา 1907 ข้อ 2 อันเป็นสัญญาหลัก ระบุไว้ชัดเจนแล้วว่าเขายกให้เรา แลกกับ 3 มณฑลใหญ่ของกัมพูชาดังที่ทราบกันดี
    .
    ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่ที่กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นแจกแก่ผู้สื่อข่าวเพื่อชี้แจงกฤษฎีกา 1972 ให้ชัดเจนขึ้น คราวนี้นอกจากตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไปเพื่อขับเน้นเฉพาะเส้นที่เสกสรรค์ปั้นแต่งว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนแล้ว ยังเขียนเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรง
    .
    แผนที่ฉบับหลังนี้เข้าใจว่าเมื่อกระทรวงการต่างประเทศไทยได้รับ ก็นำมาทำใหม่เพื่อประกอบการศึกษาภายใน มีภาษาไทยกำกับ ยังคงแสดงเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรงตามเจตนาของต้นฉบับที่ฝ่ายกันพูชาจัดทำ
    .
    เช่นนี้แล้ว ใครที่ออกตัวรับรองว่ากัมพูชาไม่เคย “พูด” ไม่เคยอ้างสิทธิเหนือเกาะกูดน่ะจะว่าอย่างไร ?
    .
    เพราะการที่กัมพูชาลงมือ “ทำ” โดยกฤษฎีกา 1972 ตามที่เล่ามานี้มันยิ่งกว่า “พูด” เสียอีก !
    .
    ไม่เคยได้ยินภาษิตที่ว่า “การกระทำดังกว่าคำพูด” หรือ ?!!
    .
    ณ ปีค.ศ. 1907 มีแต่การปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศส
    .
    แต่แน่ละ มีการกล่าวถึงเกาะกูดไว้ในหนังสือติดท้ายสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ข้อ 1 จริง แต่ก็เพียงเพื่อใช้เป็นจุดเล็งไปยังจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นดินชายหาดที่จะกำหนดให้ป็นหลักเขตที่ 73 เพราะบนแผ่นดินชายหาดบริเวณนั้นไม่มีภูมิประเทศใดที่ยั่งยืนพอให้เป็นที่สังเกตได้
    .
    “เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามกับยอดเขาสูงที่สุดของเกาะกูดเป็นหลักแล้ว ตั้งแต่นี้ต่อไปทางตะวันออกเฉียงเหนือถึงสันเขาพนมกระวาน….“
    .
    แค่ข้อความที่ระบุว่า “ตั้งแต่ชายทะเล…” วิญญูชนย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงแผ่นดิน-ไม่ใช่ทะเล แต่กัมพูชาในยุคจอมพลลอนนอลในปีค.ศ. 1972 ไปตีขลุมว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลแล้วในอดีต แล้วก็ตีเส้นตามอำเภอใจ เพื่อตีกินพื้นที่ทรัพยากรในอ่าวไทย
    .
    โดยในอีกทางหนึ่งก็ไปหยิบเอา ”เส้นประ“ (- - - - - - -) ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายหาดจังหวัดตราดในแผนที่ประกอบหนังสือติดท้ายสนธิสัญญาค.ศ. 1907 มาเป็นประเด็นอธิบายการแถระดับโลกของตัวเอง
    .
    หากดูภาพสุดท้ายจะพบมีเส้น ++++++ อันเป็นสัญลักษณ์สากลของเส้นแบ่งเขตแดน (boundary line) ตลอดแนวเขตแดนทางบกไทยกัมพูชา ขณะที่เส้นประ (dotted line) - - - - - - มีอยู่เพียงสั้น ๆ ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายทะเลจังหวัดตราดเท่านั้น ซึ่งเมื่อดูในบริบทของสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 วิญญูชนก็ย่อมเข้าใจได้ไม่ยากอีกเช่นกันว่าเป็นการแสดงจุดเล็งไปยังแผ่นดินเพื่อหาจุดที่ตั้งหลักเขตที่ 73
    .
    การแถดังกล่าวกลายเป็นกรณีศึกษาทางวิชาการกันพอสมควรหลังปีค.ศ. 1972 และก็มีการยืนยันในข้อเท็จจริงแล้วอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะจากบุคคลระดับชนชั้นนำของกัมพูชาเอง
    .
    ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ขอย้ำว่ากฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชานี้ยังคงดำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน ในฐานะที่เป็นประกาศของประมุขแห่งรัฐ
    .
    การที่แผนผังแนบท้าย MOU 2544 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ คือเส้นแนว “A-S-P” กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านบนของกัมพูชาไม่ได้เขียนแบบลากพาดผ่าน หรือเขียนแบบหยุดเว้นตัวเกาะ แต่เขียนประชิดติดตัวเกาะเว้าเป็นรูปตัว ”U” ทางทิศใต้แล้วก็ตาม นั่นหาเป็นผลแปรเปลี่ยนใด ๆ ไม่ เพราะด้านหนึ่งตัวกฤษฎีกา 1972 ยังคงอยู่ อีกด้านหนึ่งแนวเส้น “A-S-P” ยังคงอยู่ การละเมิดอธิปไตยเหนือตัวเกาะกูดและทะเลอาณาเขตของไทยยังคงอยู่
    .
    มีหนำซ้ำเนื้อหาใน MOU 2544 ข้อ 5 ก็ระบุไว้ว่าการตกลงใด ๆ หากจะมีขึ้นไม่กระทบกระเทือนการอ้างสิทธิของแต่ละฝ่าย
    .
    พระอัจฉริยภาพและพระมหากรุณาธิคุณต่อคนไทยจังหวัดจันทบุรีและตราดในองค์พระปิยมหาราชเจ้าช่วงวิกฤตกับฝรั่งเศสระหว่าง ร.ศ. 112 - 125 ทำให้ประเทศไทย ณ วันนี้มีฝั่งทะเลตะวันออกด้านอ่าวไทยยาวเหยียดจนแทบจะโอบล้อมแหล่งทรัพยากรไว้ได้ทั้งหมด - คนไทยต้องรักษาไว้
    .
    ประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ของล้นเกล้าฯในหลวงรัชกาลที่ 9 สืบทอดพระราชปณิธานของสมเด็จพระอัยกา - คนไทยต้องรักษาไว้
    .
    .
    คำนูณ สิทธิสมาน
    4 พฤศจิกายน 2567

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/15CSsZXGkk/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    โฉมหน้าเจ้าตัวร้าย “กฤษฎีกากัมพูชา 1972” รุกล้ำอธิปไตยเกาะ/น่านน้ำไทย ! ________ . ใครที่บอกว่ากัมพูชาไม่เคย ”พูด“ อ้างกรรมสิทธิเหนือเกาะกูด และบรรดาคนไทยที่นำเรื่องนี้มาเป็นประเด็นคือพวกคลั่งชาติ ลองพิจารณาอ่านเรื่องนี้สักนิด… . กัมพูชาอาจจะไม่เคย ”พูด“ อย่างเป็นทางการในนามรัฐบาล ไม่ว่าในยุคไหนระบอบอะไร แต่กัมพูชาลงมือ “ทำ” เลยอย่างไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ยเมื่อ 52 ปีก่อนในช่วงสั้น ๆ ของรัฐบาลระบอบสาธารณรัฐ . และ “ผลแห่งการกระทำ” นั้นยังคงอยู่ ! . “กฤษฎีกาที่ 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972” . วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 . จอมพลลอนนอลลงนามในฐานะประธานาธิบดีสาธารณรัฐกัมพูชา หลังรัฐประหารโค่นล้มระบอบกษัตริย์ 2 ปี และก่อนพนมเปญแตกพ่ายแพ้ต่อคอมมิวนิสต์เขมรแดง 3 ปี . สารัตถะสำคัญอยู่ในมาตราแรก (Article Premier) ผมสรุปมาจากที่ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์เขียนไว้ในบทความของท่านเมื่อปี 2554 รวมทั้งการเสวนาที่สยามสมาคมในปีเดียวกันนั้น . วรรคแรกเป็นการอ้างฐานทางกฎหมาย . (1) อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีปลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 . (2) สนธิสัญญาสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และ… . (3) บันทึกการปักปันเขตแดนสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1908 รวมทั้ง… . (4) แผนที่เดินเรือของฝรั่งเศส 1972 มาตราส่วน 1:1,096,000 . กฤษฎีกา 1972 ระบุพิกัดของเขตไหล่ทวีปตามจุดอ้างอิงที่เกี่ยวกับ “เกาะกูด” รวมทั้ง “ทะเลอาณาเขต(ของไทย)“ โดยตรง . โดยในวรรคสอง (ย่อหน้าล่างสุดของกฤษฎีกาหน้าแรก) กล่าวว่าได้มีการปักปันเขตไหล่ทวีประหว่างไทยกับฝรั่งเศสแล้ว โดยทางทิศเหนือ ใช้เส้นตรงเชื่อมจุดชายแดนแผ่นดินที่จุด “A” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นที่ตั้งหลักเขตที่ 73) มายังจุดสูงสุดบนเกาะกูดที่เรียกว่าจุด “S” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นการอ้างอิงจากหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 1) และลากต่อออกทะเลไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่เรียกว่าจุด “P” . โดยในตารางท้ายมาตราแรก (อยู่ตอนต้นของกฤษฎีกาหน้า 2) ได้กำหนดรายละเอียดของจุด “A“ และ “P” ไว้ . จุด ”A” คือจุดใต้สุดของการแบ่งเขตแดนทางบกตามสนธิสัญญาค.ศ. 1907 ก็คือหลักเขตที่ 73 นั่นเอง . จุด “P” กึ่งกลางอ่าวไทยนั้น กฤษฎีการะบุว่าเป็นจุดมัธยะ (หรือกึ่งกลาง) ระหว่างไหล่ทวีปของกัมพูชากับไทย . มาตราแรกโดยเฉพาะวรรคสองนี่แหละ “เท็จ” โดยสิ้นเชิง . เพราะไม่เคยมีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับอินโดจีนของฝรั่งเศสกันมาก่อน โดยเฉพาะในช่วงค.ศ. 1907 หรือ 1908 ไม่เคยมีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการนี้ ประวัติศาสตร์ฉบับไหนก็ไม่เคยระบุ กฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลที่นานาชาติยึดถือกันเมื่อ 127 ปีก่อนก็ต่างกับปัจจุบัน ยุคนั้นยังไม่มีสิ่งที่นานาชาติกำหนดอาณาเขตทางทะเลขึ้นมาให้รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือแล้วเรียกว่า “ไหล่ทวีป” เสียด้วยซ้ำ ไม่มีเขตต่อเนื่อง ไม่มีเขตเศรษฐกิจจำเพาะ มีแค่ทะเลอาณาเขตระยะ 3 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง พ้นออกมาเป็นเขตทะเลหลวงที่เป็นเขตทะเลเสรีไม่มีประเทศใดมีสิทธิถือครองเป็นเจ้าของได้ . แต่สมมติแม้จะยึดกฎเกณฑ์ในยุคสมัยค.ศ. 1907 หากจะปักปันเขตแดนทางทะเลกัน การขีดเส้นแนว “A-S-P” เป็นอาณาเขตทางทะเลของอินโดจีนฝรั่งเศสก็ไม่ถูกและไม่มีกฎเกณฑ์ใดรองรับอยู่ดี เพราะระยะทางจากชายฝั่งถึงเกาะกูดประมาณ 19 ไมล์ทะเล เกิน 3 ไมล์ทะเลตั้งเยอะ อินโดจีนฝรั่งเศสจะไปถือสิทธิครอบครองเขตทะเลหลวงได้อย่างไร . การจงใจระบุพิกัดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อค.ศ. 1972 เช่นนี้คือการกระทำที่ละเมิดอธิปไตยไทยเหนือเกาะกูด ทั้งตัวเกาะ และทะเลอาณาเขต . ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์ กล่าวไว้ในงานเขียนของท่านว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะมีการแบ่งเขตไหล่ทวีปโดยเส้นผ่าเกาะกูดซึ่งเป็นดินแดนทางบก เพราะไหล่ทวีปหมายถึงพื้นดินใต้ทะเลและใต้พื้นดินใต้ทะเล . ดังนั้น โอกาสที่แนว “A-S-P” จะถูกต้องมีอยู่เงื่อนไขเดียวเท่านั้น… . คือตัวเกาะกูดต้องเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่ง ! . ขอย้ำอีกครั้งว่า แนว “A-S-P” อันเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปด้านเหนือของกัมพูชาตามกฤษฎีกา 1972 จะถูกต้องก็ต่อเมื่อตัวเกาะกูดเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่งเท่านั้น !! . แล้วประเทศไทยผู้ถูกรุกล้ำอธิปไตยจะ “ยอมรับ” ได้อย่างไร ? . แม้จะไม่ใช่การยอมรับใน “ความถูกต้อง” แค่ยอมรับ “การมีอยู่”, “การคงอยู่” เพื่อเป็นเพียง “กรอบ” ในการ “เจรจาเรื่องอื่น” ก็เถอะ !! . ตรงนี้จำเป็นต้องมีการพูดถึงแผนที่หรือแผนผัง 2 (+1) ฉบับที่นำมาลงเป็นภาพประกอบไว้ . ฉบับที่ 1 คือแผนที่เดินเรือฝรั่งเศสที่ใช้แนบท้ายกฤษฎีกา 1972 ไม่ได้มีการเขียนลากเส้นบนแผนที่พาดผ่านตัวเกาะกูดโดยตรง หากแต่ลากเป็นเส้นตรงออกมาจากชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดสุดเขตแดนทางบกของไทยกับกัมพูชามาหยุดที่ตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันออก แล้วลากเส้นตรงใหม่จากตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันตกตรงไปกลางอ่าวไทย แผนที่ทำนองนี้โดยทั่วไปเป็นแผนที่ใช้สำหรับกิจการในกองทัพเรือรวมถึงการเดินเรือไม่ใช่แผนที่แสดงเขตแดนใด ๆ ทั้งสิ้น เส้นตรงที่ลากผ่านเกาะกูดไปยังกลางอ่าวไทยในแผนที่นี้ก็ไม่ได้ระบุว่าเป็นเส้นอะไร แต่กระนั้นตรงชื่อเกาะกูด (Koh Kut) ก็ยังมีวงเล็บต่อท้ายว่า “(Siam)” อย่างที่พอเห็นได้ จึงแสดงให้เห็นว่าในปีค.ศ. 1907 จนกระทั่งถึงวันคืนเอกราชให้ 3 ประเทศอินโดจีน ฝรั่งเศสไม่ได้มีความพยายาม “เคลม” กรรมสิทธิ์เหนือเกาะกูดแต่ประการใด เพราะในสนธิสัญญา 1907 ข้อ 2 อันเป็นสัญญาหลัก ระบุไว้ชัดเจนแล้วว่าเขายกให้เรา แลกกับ 3 มณฑลใหญ่ของกัมพูชาดังที่ทราบกันดี . ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่ที่กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นแจกแก่ผู้สื่อข่าวเพื่อชี้แจงกฤษฎีกา 1972 ให้ชัดเจนขึ้น คราวนี้นอกจากตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไปเพื่อขับเน้นเฉพาะเส้นที่เสกสรรค์ปั้นแต่งว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนแล้ว ยังเขียนเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรง . แผนที่ฉบับหลังนี้เข้าใจว่าเมื่อกระทรวงการต่างประเทศไทยได้รับ ก็นำมาทำใหม่เพื่อประกอบการศึกษาภายใน มีภาษาไทยกำกับ ยังคงแสดงเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรงตามเจตนาของต้นฉบับที่ฝ่ายกันพูชาจัดทำ . เช่นนี้แล้ว ใครที่ออกตัวรับรองว่ากัมพูชาไม่เคย “พูด” ไม่เคยอ้างสิทธิเหนือเกาะกูดน่ะจะว่าอย่างไร ? . เพราะการที่กัมพูชาลงมือ “ทำ” โดยกฤษฎีกา 1972 ตามที่เล่ามานี้มันยิ่งกว่า “พูด” เสียอีก ! . ไม่เคยได้ยินภาษิตที่ว่า “การกระทำดังกว่าคำพูด” หรือ ?!! . ณ ปีค.ศ. 1907 มีแต่การปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศส . แต่แน่ละ มีการกล่าวถึงเกาะกูดไว้ในหนังสือติดท้ายสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ข้อ 1 จริง แต่ก็เพียงเพื่อใช้เป็นจุดเล็งไปยังจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นดินชายหาดที่จะกำหนดให้ป็นหลักเขตที่ 73 เพราะบนแผ่นดินชายหาดบริเวณนั้นไม่มีภูมิประเทศใดที่ยั่งยืนพอให้เป็นที่สังเกตได้ . “เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามกับยอดเขาสูงที่สุดของเกาะกูดเป็นหลักแล้ว ตั้งแต่นี้ต่อไปทางตะวันออกเฉียงเหนือถึงสันเขาพนมกระวาน….“ . แค่ข้อความที่ระบุว่า “ตั้งแต่ชายทะเล…” วิญญูชนย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงแผ่นดิน-ไม่ใช่ทะเล แต่กัมพูชาในยุคจอมพลลอนนอลในปีค.ศ. 1972 ไปตีขลุมว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลแล้วในอดีต แล้วก็ตีเส้นตามอำเภอใจ เพื่อตีกินพื้นที่ทรัพยากรในอ่าวไทย . โดยในอีกทางหนึ่งก็ไปหยิบเอา ”เส้นประ“ (- - - - - - -) ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายหาดจังหวัดตราดในแผนที่ประกอบหนังสือติดท้ายสนธิสัญญาค.ศ. 1907 มาเป็นประเด็นอธิบายการแถระดับโลกของตัวเอง . หากดูภาพสุดท้ายจะพบมีเส้น ++++++ อันเป็นสัญลักษณ์สากลของเส้นแบ่งเขตแดน (boundary line) ตลอดแนวเขตแดนทางบกไทยกัมพูชา ขณะที่เส้นประ (dotted line) - - - - - - มีอยู่เพียงสั้น ๆ ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายทะเลจังหวัดตราดเท่านั้น ซึ่งเมื่อดูในบริบทของสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 วิญญูชนก็ย่อมเข้าใจได้ไม่ยากอีกเช่นกันว่าเป็นการแสดงจุดเล็งไปยังแผ่นดินเพื่อหาจุดที่ตั้งหลักเขตที่ 73 . การแถดังกล่าวกลายเป็นกรณีศึกษาทางวิชาการกันพอสมควรหลังปีค.ศ. 1972 และก็มีการยืนยันในข้อเท็จจริงแล้วอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะจากบุคคลระดับชนชั้นนำของกัมพูชาเอง . ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ขอย้ำว่ากฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชานี้ยังคงดำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน ในฐานะที่เป็นประกาศของประมุขแห่งรัฐ . การที่แผนผังแนบท้าย MOU 2544 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ คือเส้นแนว “A-S-P” กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านบนของกัมพูชาไม่ได้เขียนแบบลากพาดผ่าน หรือเขียนแบบหยุดเว้นตัวเกาะ แต่เขียนประชิดติดตัวเกาะเว้าเป็นรูปตัว ”U” ทางทิศใต้แล้วก็ตาม นั่นหาเป็นผลแปรเปลี่ยนใด ๆ ไม่ เพราะด้านหนึ่งตัวกฤษฎีกา 1972 ยังคงอยู่ อีกด้านหนึ่งแนวเส้น “A-S-P” ยังคงอยู่ การละเมิดอธิปไตยเหนือตัวเกาะกูดและทะเลอาณาเขตของไทยยังคงอยู่ . มีหนำซ้ำเนื้อหาใน MOU 2544 ข้อ 5 ก็ระบุไว้ว่าการตกลงใด ๆ หากจะมีขึ้นไม่กระทบกระเทือนการอ้างสิทธิของแต่ละฝ่าย . พระอัจฉริยภาพและพระมหากรุณาธิคุณต่อคนไทยจังหวัดจันทบุรีและตราดในองค์พระปิยมหาราชเจ้าช่วงวิกฤตกับฝรั่งเศสระหว่าง ร.ศ. 112 - 125 ทำให้ประเทศไทย ณ วันนี้มีฝั่งทะเลตะวันออกด้านอ่าวไทยยาวเหยียดจนแทบจะโอบล้อมแหล่งทรัพยากรไว้ได้ทั้งหมด - คนไทยต้องรักษาไว้ . ประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ของล้นเกล้าฯในหลวงรัชกาลที่ 9 สืบทอดพระราชปณิธานของสมเด็จพระอัยกา - คนไทยต้องรักษาไว้ . . คำนูณ สิทธิสมาน 4 พฤศจิกายน 2567 ที่มา https://www.facebook.com/share/p/15CSsZXGkk/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2026 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts