• วันปาฏิโมกข์(วันพระใหญ่) ขึ้น ๑๕ เดือน ๘ ปีมะเส็ง เป็นวันอาสาฬหบูชา พระภิกษุสงฆ์ทำการสวดพระปาฏิโมกข์และนำพาประชาชนเวียนเทียนฯลฯ

    วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญ (วันขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 8 เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา (ธรรมเทศนากัณฑ์แรก) โปรดพระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี. การแสดงธรรมครั้งนี้ถือเป็นการประกาศพระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการ และยังเป็นวันที่เกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 เป็นครั้งแรก คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์.
    เหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา:
    การแสดงปฐมเทศนา:
    พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมที่ตรัสรู้เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (กลุ่มพระภิกษุ 5 รูป) ชื่อว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร".
    การเกิดพระสงฆ์รูปแรก:
    หลังจากการแสดงธรรม พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา.
    การเกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3:
    ด้วยเหตุการณ์ที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวช ทำให้พระรัตนตรัย (พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์) ครบถ้วนบริบูรณ์เป็นครั้งแรก.
    ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา:
    เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธทั่วโลกให้ความสำคัญ.
    เป็นวันที่ชาวพุทธจะเข้าวัดทำบุญ ฟังธรรม รักษาศีล และเวียนเทียน เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย.
    เป็นวันที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนา และการเกิดของพระรัตนตรัย.
    วันปาฏิโมกข์(วันพระใหญ่) ขึ้น ๑๕ เดือน ๘ ปีมะเส็ง เป็นวันอาสาฬหบูชา พระภิกษุสงฆ์ทำการสวดพระปาฏิโมกข์และนำพาประชาชนเวียนเทียนฯลฯ วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญ (วันขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 8 เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา (ธรรมเทศนากัณฑ์แรก) โปรดพระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี. การแสดงธรรมครั้งนี้ถือเป็นการประกาศพระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการ และยังเป็นวันที่เกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 เป็นครั้งแรก คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์. เหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา: การแสดงปฐมเทศนา: พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมที่ตรัสรู้เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (กลุ่มพระภิกษุ 5 รูป) ชื่อว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร". การเกิดพระสงฆ์รูปแรก: หลังจากการแสดงธรรม พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา. การเกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3: ด้วยเหตุการณ์ที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวช ทำให้พระรัตนตรัย (พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์) ครบถ้วนบริบูรณ์เป็นครั้งแรก. ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา: เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธทั่วโลกให้ความสำคัญ. เป็นวันที่ชาวพุทธจะเข้าวัดทำบุญ ฟังธรรม รักษาศีล และเวียนเทียน เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย. เป็นวันที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนา และการเกิดของพระรัตนตรัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1046
    ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้
    แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน
    กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น
    แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ
    ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก.
    พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !”
    --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย,
    ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ.

    (ก. ฝ่ายอกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,”
    ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !”
    --มีโทษหรือไม่มีโทษ ?
    “มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย”
    ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.

    ( ข. ฝ่ายกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !”
    มี โทษหรือไม่มีโทษ ?
    “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล
    ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้
    กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’
    ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด”
    ดังนี้
    ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.
    ----
    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้
    ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า

    +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ;

    +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้
    มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า
    “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี.
    ฐานะที่จะมีได้ก็คือ
    เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย
    เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี,
    เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ
    ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ,
    ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ
    ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้,
    ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้
    มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น.
    ”(ชาวกาลามเหล่านั้น
    รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง,
    แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).-

    (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า
    การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น
    จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด
    เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า
    ทุกข์เป็นอย่างไร
    เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร
    ความดับทุกข์เป็นอย่างไร
    มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร
    โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา
    หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก
    หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก
    หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ
    หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ.
    เป็นอัน กล่าวได้ว่า
    ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้
    ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส
    อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 1046 ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 เนื้อความทั้งหมด :- --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” --มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ---- --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น. ”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).- (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า ทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505. http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    -การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคมนี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยา ผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีจิตสหรคตด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอัน ใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลกมี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลกไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหนดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่ เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น . . . .”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพสวดพระปาฏิโมกข์และแสดงพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2568 เนื่องวันวิสาชบูชา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) ณ วัดดวงแข โดย ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต)
    ภาพสวดพระปาฏิโมกข์และแสดงพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2568 เนื่องวันวิสาชบูชา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) ณ วัดดวงแข โดย ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • เวียนเทียนรอบพระอุโบสถ เนื่องในวันวิสาขบูชา

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2568 ที่ วัดสุทธจินดา วรวิหาร #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา ร่วมกิจกรรมทำวัตรสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา และเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ เนื่องในวันวิสาขบูชา เพื่อส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

    #นายกหน่อย #อบจโคราช
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    เวียนเทียนรอบพระอุโบสถ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันที่ 11 พฤษภาคม 2568 ที่ วัดสุทธจินดา วรวิหาร #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา ร่วมกิจกรรมทำวัตรสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา และเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ เนื่องในวันวิสาขบูชา เพื่อส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา #นายกหน่อย #อบจโคราช #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 340 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดพระปาฏิโมกข์และแสดงพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2568 เนื่องวันวิสาชบูชา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) ณ วัดดวงแข โดย ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต)
    สวดพระปาฏิโมกข์และแสดงพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2568 เนื่องวันวิสาชบูชา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) ณ วัดดวงแข โดย ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระไตรปิฏก (บาลี: **Tipiṭaka**; สันสกฤต: **Tripiṭaka**) เป็นคัมภีร์หลักของพุทธศาสนาเถรวาท ที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าและคำอธิบายของพระสาวกไว้อย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ปิฏก (หมวดใหญ่) ได้แก่ **วินัยปิฏก, สุตตันตปิฏก,** และ **อภิธรรมปิฏก**

    ### **1. วินัยปิฏก (Vinaya Piṭaka)**
    ว่าด้วยระเบียบวินัยของภิกษุ-ภิกษุณี แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ย่อย (ขันธกะ):

    1. **มหาวิภังค์**
    - ว่าด้วยศีลของภิกษุ 227 ข้อ
    - รวมเรื่องราวการบัญญัติสิกขาบท เช่น เรื่องพระสุทินน์

    2. **ภิกขุนีวิภังค์**
    - ว่าด้วยศีลของภิกษุณี 311 ข้อ

    3. **มหาวรรค**
    - ว่าด้วยพิธีกรรมสำคัญ เช่น การบวช, การอุปสมบท, การทำสังฆกรรม

    4. **จุลวรรค**
    - ระเบียบย่อย เช่น การอยู่จำพรรษา, การกรานกฐิน

    5. **ปริวาร**
    - สรุปและคำถาม-ตอบเกี่ยวกับวินัย

    ---

    ### **2. สุตตันตปิฏก (Sutta Piṭaka)**
    รวบรวมพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น 5 นิกาย (Nikāya):

    1. **ทีฆนิกาย** (คัมภีร์ยาว)
    - เช่น มหาปรินิพพานสูตร, พรหมชาลสูตร

    2. **มัชฌิมนิกาย** (คัมภีร์ปานกลาง)
    - เช่น สติปัฏฐานสูตร, มงคลสูตร

    3. **สังยุตตนิกาย** (คัมภีร์กลุ่มเรื่อง)
    - เช่น ธาตุสังยุตต์, อริยสัจจสังยุตต์

    4. **อังคุตตรนิกาย** (คัมภีร์เลขเพิ่ม)
    - จัดหมวดธรรมตามจำนวน เช่น เอกนิบาต (หมวด 1), ทุกนิบาต (หมวด 2)

    5. **ขุททกนิกาย** (คัมภีร์เล็กๆ)
    - รวมคัมภีร์สำคัญ เช่น
    - **ธรรมบท** (พุทธวจนะสั้นๆ)
    - **ชาดก** (เรื่องอดีตชาติพระพุทธเจ้า)
    - **มิลินทปัญหา** (สนทนาระหว่างพระนาคเสนกับพระเจ้ามิลินท์)

    ---

    ### **3. อภิธรรมปิฏก (Abhidhamma Piṭaka)**
    ว่าด้วยหลักธรรมเชิงปรัชญาล้วน แบ่งเป็น 7 คัมภีร์:

    1. **ธัมมสังคณี** (การจัดหมวดธรรม)
    2. **วิภังค์** (การแยกแยะธรรม)
    3. **ธาตุกถา** (ว่าด้วยธาตุ 18)
    4. **ปุคคลบัญญัติ** (การกำหนดบุคคล)
    5. **กถาวัตถุ** (คำอภิปรายธรรม)
    6. **ยมก** (ธรรมคู่กัน)
    7. **ปัฏฐาน** (ปัจจัย 24)

    ---

    ### **สรุปเนื้อหาสำคัญ**
    - **วินัยปิฏก**: ควบคุมความประพฤติของสงฆ์
    - **สุตตันตปิฏก**: คำสอนสำหรับการปฏิบัติ (เช่น มรรคมีองค์ 8, อริยสัจ 4)
    - **อภิธรรมปิฏก**: วิเคราะห์ธรรมะเชิงลึก (เช่น จิต, เจตสิก, นิพพาน)

    พระไตรปิฏกฉบับภาษาไทยมีทั้งหมด **45 เล่ม** (ฉบับมหาจุฬาฯ) และยังมีอรรถกถา (คำอธิบาย) เพิ่มเติมอีกมาก

    หากต้องการศึกษาลึกขึ้น แนะนำให้อ่านทีละส่วน เช่น **ธรรมบท** หรือ **มงคลสูตร** ก่อน แล้วค่อยขยายไปยังส่วนอื่นๆ
    พระไตรปิฏก (บาลี: **Tipiṭaka**; สันสกฤต: **Tripiṭaka**) เป็นคัมภีร์หลักของพุทธศาสนาเถรวาท ที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าและคำอธิบายของพระสาวกไว้อย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ปิฏก (หมวดใหญ่) ได้แก่ **วินัยปิฏก, สุตตันตปิฏก,** และ **อภิธรรมปิฏก** ### **1. วินัยปิฏก (Vinaya Piṭaka)** ว่าด้วยระเบียบวินัยของภิกษุ-ภิกษุณี แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ย่อย (ขันธกะ): 1. **มหาวิภังค์** - ว่าด้วยศีลของภิกษุ 227 ข้อ - รวมเรื่องราวการบัญญัติสิกขาบท เช่น เรื่องพระสุทินน์ 2. **ภิกขุนีวิภังค์** - ว่าด้วยศีลของภิกษุณี 311 ข้อ 3. **มหาวรรค** - ว่าด้วยพิธีกรรมสำคัญ เช่น การบวช, การอุปสมบท, การทำสังฆกรรม 4. **จุลวรรค** - ระเบียบย่อย เช่น การอยู่จำพรรษา, การกรานกฐิน 5. **ปริวาร** - สรุปและคำถาม-ตอบเกี่ยวกับวินัย --- ### **2. สุตตันตปิฏก (Sutta Piṭaka)** รวบรวมพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น 5 นิกาย (Nikāya): 1. **ทีฆนิกาย** (คัมภีร์ยาว) - เช่น มหาปรินิพพานสูตร, พรหมชาลสูตร 2. **มัชฌิมนิกาย** (คัมภีร์ปานกลาง) - เช่น สติปัฏฐานสูตร, มงคลสูตร 3. **สังยุตตนิกาย** (คัมภีร์กลุ่มเรื่อง) - เช่น ธาตุสังยุตต์, อริยสัจจสังยุตต์ 4. **อังคุตตรนิกาย** (คัมภีร์เลขเพิ่ม) - จัดหมวดธรรมตามจำนวน เช่น เอกนิบาต (หมวด 1), ทุกนิบาต (หมวด 2) 5. **ขุททกนิกาย** (คัมภีร์เล็กๆ) - รวมคัมภีร์สำคัญ เช่น - **ธรรมบท** (พุทธวจนะสั้นๆ) - **ชาดก** (เรื่องอดีตชาติพระพุทธเจ้า) - **มิลินทปัญหา** (สนทนาระหว่างพระนาคเสนกับพระเจ้ามิลินท์) --- ### **3. อภิธรรมปิฏก (Abhidhamma Piṭaka)** ว่าด้วยหลักธรรมเชิงปรัชญาล้วน แบ่งเป็น 7 คัมภีร์: 1. **ธัมมสังคณี** (การจัดหมวดธรรม) 2. **วิภังค์** (การแยกแยะธรรม) 3. **ธาตุกถา** (ว่าด้วยธาตุ 18) 4. **ปุคคลบัญญัติ** (การกำหนดบุคคล) 5. **กถาวัตถุ** (คำอภิปรายธรรม) 6. **ยมก** (ธรรมคู่กัน) 7. **ปัฏฐาน** (ปัจจัย 24) --- ### **สรุปเนื้อหาสำคัญ** - **วินัยปิฏก**: ควบคุมความประพฤติของสงฆ์ - **สุตตันตปิฏก**: คำสอนสำหรับการปฏิบัติ (เช่น มรรคมีองค์ 8, อริยสัจ 4) - **อภิธรรมปิฏก**: วิเคราะห์ธรรมะเชิงลึก (เช่น จิต, เจตสิก, นิพพาน) พระไตรปิฏกฉบับภาษาไทยมีทั้งหมด **45 เล่ม** (ฉบับมหาจุฬาฯ) และยังมีอรรถกถา (คำอธิบาย) เพิ่มเติมอีกมาก หากต้องการศึกษาลึกขึ้น แนะนำให้อ่านทีละส่วน เช่น **ธรรมบท** หรือ **มงคลสูตร** ก่อน แล้วค่อยขยายไปยังส่วนอื่นๆ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 379 มุมมอง 0 รีวิว
  • 82 ปี ยิงเป้าประหาร! "ตุง แซ่หว่อง" คดีขวานจามคาบ้านสุดอุกอาจ ตำนานแรงอาฆาตฆ่าญาติกลางเมืองเลย

    คดีฆาตกรรมสะเทือนขวัญกลางเมืองเลย “ตุง แซ่หว่อง” ช่างไม้ผู้กลายเป็นนักโทษประหาร จากแรงอาฆาตเรื่องการงาน สู่การฆ่าญาติข้างห้องอย่างอุกอาจ อ่านเรื่องจริง ที่ลงเอยด้วยการยิงเป้าอย่างเย็นชา

    คดีที่โลกไม่ลืม 82 ปีผ่านไป ยังสะเทือนใจ ถ้าพูดถึงคดีฆาตกรรมที่โหดเหี้ยม และกลายเป็นข่าวใหญ่ ในประวัติศาสตร์ไทย หนึ่งในนั้นคือคดีของ “ตุง แซ่หว่อง” ช่างไม้หนุ่มเชื้อสายจีน ที่ก่อเหตุฆ่าญาติเชื้อสายจีน อย่างโหดเหี้ยมกลางเมืองเลย

    คดีนี้ไม่ใช่เพียงแค่การฆ่าคน แต่คือเรื่องของความอาฆาต ริษยา การวางแผนอย่างแยบยล การฝังศพในบ้าน และการเบี่ยงเบนความผิดด้วยคำโกหก… จนต้องจบชีวิตลงด้วยโทษประหาร ด้วยการยิงเป้า

    จากช่างไม้สู่ฆาตกร “ตุง แซ่หว่อง” เป็นชายหนุ่มเชื้อสายจีนอายุเพียง 25 ปี ณ เวลาที่ก่อเหตุ อาศัยอยู่กับญาติ “ยิด แซ่อึ๊ง” ซึ่งก็เป็นช่างไม้เช่นกัน ทั้งสองมาเช่าบ้านอยู่ที่หน้าเรือนจำจังหวัดเลย ชีวิตประจำวันของทั้งคู่ดูเรียบง่าย ทำงาน หาเงิน แล้วกลับบ้าน

    แต่สิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้ความเรียบง่ายนั้นคือ ความอิจฉาริษยา และความเครียดจากการเป็น “คู่แข่งกันเอง” ทางอาชีพ ยิ่งเมื่อยิดมีงานเยอะกว่า มีคนจ้างมากกว่า ก็ยิ่งทำให้ตุง สะสมความไม่พอใจไว้ในใจ

    จดหมายปลอม จุดเริ่มต้นของความตาย ทุกอย่างเริ่มต้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2483 เมื่อยิดได้รับจดหมาย 2 ฉบับจากญาติในกรุงเทพฯ ชวนให้ไปทำงาน แต่เนื้อหาจดหมาย กลับมีความผิดปกติหลายจุด จนเจ้าตัวเริ่มสงสัยว่า เป็นของปลอม

    ภายหลังเมื่อตรวจสอบ ตุงยอมรับว่าเป็นคนเขียนขึ้นเอง “เพื่อแกล้งเล่น” แต่ในความจริงแล้ว เจตนาอาจลึกซึ้งกว่านั้น เพื่อ “ลวง” ให้ยิดออกจากพื้นที่ หรือสร้างเหตุให้ทะเลาะ แล้วใช้เป็นข้ออ้างสังหาร

    การทะเลาะรุนแรงจึงเกิดขึ้น จนมีเสียงดังไปถึงป้อมตำรวจหน้าคุก และเป็นเหตุการณ์นำไปสู่เรื่องสยอง ที่ไม่มีใครคาดคิด…

    จากการหายตัว…สู่การพบศพในสวนหลังบ้าน วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2483 นายยิดหายตัวไป ไม่มีใครพบเห็นอีกเลย ตุงอ้างว่า “ไปบ้านก้างปลา” แต่พยานหลายปากเห็นว่า เขาอยู่คนเดียว เด็กหญิงกุ๊ก ลูกสาวยิด ปีนเข้าไปนอนรอพ่อ แต่พ่อก็ไม่กลับมา...

    15 ตุลาคม ตำรวจพบกลิ่นเหม็นเน่าคลุ้งจากหลังบ้าน ขุดดินดูจึงพบว่า... ศพของยิดถูกฝังไว้ในหลุมตื้น ๆ มีรอยของมีคมฟันท้ายทอย 2 แผล พบขวานเปื้อนเลือดในกล่องเครื่องมือตุง และผ้าขาวม้าตุงเปื้อนเลือด ไม้พื้นห้องนอนยิด มีรอยกบไสใหม่ ทุกอย่างบ่งบอกถึง การพยายามกลบเกลื่อนหลักฐาน อย่างมีแบบแผน

    หลักฐาน พยานเด็ด มัดตัวแน่น! ขวานที่พบในบ้าน มีเลือดของยิด ไม้พื้นและผนัง มีรอยเลือดกระเซ็น ลูกกุญแจห้องยิดอยู่กับตุง แต่อ้างว่า ยืมจากเด็กหญิงกุ๊ก ซึ่งเด็กหญิงปฏิเสธว่าไม่เคยให้

    พยานตำรวจ ได้ยินเสียงร้อง “โอ้ย ๆ” กลางดึก รถจักรยานและรองเท้ายยิด ถูกซ่อนไว้ห่างบ้านประมาณ 800 เมตร

    หลักฐานทั้งหมดนี้ ทำให้ตำรวจเชื่อมั่นว่า ตุงคือฆาตกรแน่นอน

    เส้นทางสู่ศาล คำพิพากษาประหารชีวิต ศาลชั้นต้น พิจารณาหลักฐาน พยานแวดล้อม และพบว่า การฆ่ามีแรงจูงใจชัดเจน คือ “ความอาฆาตส่วนตัว” และความพยายาม “ซ่อนเร้นศพ”

    คำพิพากษา “จำเลยมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ด้วยความพยาบาทมาดหมาย ให้ประหารชีวิตโดยไม่ลดหย่อนโทษ”

    แม้ตุงจะยื่นอุทธรณ์และฎีกา แต่ศาลทุกชั้นยืนตามคำพิพากษาเดิม ไม่มีการลดโทษใด ๆ ทั้งสิ้น

    วันสุดท้ายของ “ตุง แซ่หว่อง” กับการประหารโดยยิงเป้า เช้าวันพฤหัสบดีที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2486 เวลา 04.30 น. ณ เรือนจำกลางบางขวาง นายตุงถูกเบิกตัวออกจากแดนควบคุม เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ห้องประหาร

    รับฟังคำสั่งปฏิเสธฎีกา

    เขียนพินัยกรรม

    ทานอาหารมื้อสุดท้าย

    ฟังธรรมเทศนา

    เวลา 6.07 น. ธงแดงสะบัดลง… เสียงปืนดังสนั่นไปทั่วบริเวณ ชีวิตของ “ตุง แซ่หว่อง” จบสิ้น ณ จุดนั้น

    ฆาตกรรมที่ไม่ใช่แค่ “อารมณ์ชั่ววูบ” เรื่องราวของตุง คือเครื่องเตือนใจ ถึงอันตรายของอารมณ์ริษยา ความอาฆาต และความไม่ยอมรับความจริง ความขัดแย้งที่เริ่มต้นจากเรื่องเล็กน้อยอย่าง “จำนวนงานที่ได้รับ” กลับจบลงด้วย การฆ่าญาติ และสูญเสียชีวิตทั้งสองฝ่าย

    หากเราปล่อยให้ความอิจฉาเข้าครอบงำ อาจกลายเป็นไฟที่เผาผลาญทุกสิ่ง

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 161444 เม.ย. 2568

    #ตุงแซ่หว่อง #คดีฆ่าญาติ #ยิงเป้าประหาร #คดีสะเทือนขวัญ #ฆาตกรรมไทย #ประหารชีวิต #เรื่องจริงจากคุก #ขวานฆ่าคน #คดีอาฆาต #ย้อนคดีดัง
    82 ปี ยิงเป้าประหาร! "ตุง แซ่หว่อง" คดีขวานจามคาบ้านสุดอุกอาจ ตำนานแรงอาฆาตฆ่าญาติกลางเมืองเลย 🔥 📌 คดีฆาตกรรมสะเทือนขวัญกลางเมืองเลย “ตุง แซ่หว่อง” ช่างไม้ผู้กลายเป็นนักโทษประหาร จากแรงอาฆาตเรื่องการงาน สู่การฆ่าญาติข้างห้องอย่างอุกอาจ อ่านเรื่องจริง ที่ลงเอยด้วยการยิงเป้าอย่างเย็นชา 🕵️‍♂️ 📚 คดีที่โลกไม่ลืม 82 ปีผ่านไป ยังสะเทือนใจ 💔 ถ้าพูดถึงคดีฆาตกรรมที่โหดเหี้ยม และกลายเป็นข่าวใหญ่ ในประวัติศาสตร์ไทย หนึ่งในนั้นคือคดีของ “ตุง แซ่หว่อง” ช่างไม้หนุ่มเชื้อสายจีน ที่ก่อเหตุฆ่าญาติเชื้อสายจีน อย่างโหดเหี้ยมกลางเมืองเลย 🪓 คดีนี้ไม่ใช่เพียงแค่การฆ่าคน แต่คือเรื่องของความอาฆาต ริษยา การวางแผนอย่างแยบยล การฝังศพในบ้าน และการเบี่ยงเบนความผิดด้วยคำโกหก… จนต้องจบชีวิตลงด้วยโทษประหาร ด้วยการยิงเป้า 😨 👤 จากช่างไม้สู่ฆาตกร 🧰 “ตุง แซ่หว่อง” เป็นชายหนุ่มเชื้อสายจีนอายุเพียง 25 ปี ณ เวลาที่ก่อเหตุ อาศัยอยู่กับญาติ “ยิด แซ่อึ๊ง” ซึ่งก็เป็นช่างไม้เช่นกัน ทั้งสองมาเช่าบ้านอยู่ที่หน้าเรือนจำจังหวัดเลย ชีวิตประจำวันของทั้งคู่ดูเรียบง่าย ทำงาน หาเงิน แล้วกลับบ้าน แต่สิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้ความเรียบง่ายนั้นคือ ความอิจฉาริษยา และความเครียดจากการเป็น “คู่แข่งกันเอง” ทางอาชีพ ยิ่งเมื่อยิดมีงานเยอะกว่า มีคนจ้างมากกว่า ก็ยิ่งทำให้ตุง สะสมความไม่พอใจไว้ในใจ 😤 📩 จดหมายปลอม จุดเริ่มต้นของความตาย 🧨 ทุกอย่างเริ่มต้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2483 เมื่อยิดได้รับจดหมาย 2 ฉบับจากญาติในกรุงเทพฯ ชวนให้ไปทำงาน แต่เนื้อหาจดหมาย กลับมีความผิดปกติหลายจุด จนเจ้าตัวเริ่มสงสัยว่า เป็นของปลอม ❗ ภายหลังเมื่อตรวจสอบ ตุงยอมรับว่าเป็นคนเขียนขึ้นเอง “เพื่อแกล้งเล่น” แต่ในความจริงแล้ว เจตนาอาจลึกซึ้งกว่านั้น เพื่อ “ลวง” ให้ยิดออกจากพื้นที่ หรือสร้างเหตุให้ทะเลาะ แล้วใช้เป็นข้ออ้างสังหาร ❓ การทะเลาะรุนแรงจึงเกิดขึ้น จนมีเสียงดังไปถึงป้อมตำรวจหน้าคุก และเป็นเหตุการณ์นำไปสู่เรื่องสยอง ที่ไม่มีใครคาดคิด… 🕵️‍♂️ จากการหายตัว…สู่การพบศพในสวนหลังบ้าน 🪦 วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2483 นายยิดหายตัวไป ไม่มีใครพบเห็นอีกเลย ตุงอ้างว่า “ไปบ้านก้างปลา” แต่พยานหลายปากเห็นว่า เขาอยู่คนเดียว เด็กหญิงกุ๊ก ลูกสาวยิด ปีนเข้าไปนอนรอพ่อ แต่พ่อก็ไม่กลับมา... 15 ตุลาคม ตำรวจพบกลิ่นเหม็นเน่าคลุ้งจากหลังบ้าน ขุดดินดูจึงพบว่า... ศพของยิดถูกฝังไว้ในหลุมตื้น ๆ มีรอยของมีคมฟันท้ายทอย 2 แผล 🪓 พบขวานเปื้อนเลือดในกล่องเครื่องมือตุง และผ้าขาวม้าตุงเปื้อนเลือด ไม้พื้นห้องนอนยิด มีรอยกบไสใหม่ ทุกอย่างบ่งบอกถึง การพยายามกลบเกลื่อนหลักฐาน อย่างมีแบบแผน 🔬 หลักฐาน พยานเด็ด มัดตัวแน่น! 🧾 🔪 ขวานที่พบในบ้าน มีเลือดของยิด 🩸 ไม้พื้นและผนัง มีรอยเลือดกระเซ็น 🔑 ลูกกุญแจห้องยิดอยู่กับตุง แต่อ้างว่า ยืมจากเด็กหญิงกุ๊ก ซึ่งเด็กหญิงปฏิเสธว่าไม่เคยให้ 🕯️ พยานตำรวจ ได้ยินเสียงร้อง “โอ้ย ๆ” กลางดึก 🚲 รถจักรยานและรองเท้ายยิด ถูกซ่อนไว้ห่างบ้านประมาณ 800 เมตร หลักฐานทั้งหมดนี้ ทำให้ตำรวจเชื่อมั่นว่า ตุงคือฆาตกรแน่นอน 💯 ⚖️ เส้นทางสู่ศาล คำพิพากษาประหารชีวิต 🧑‍⚖️ ศาลชั้นต้น พิจารณาหลักฐาน พยานแวดล้อม และพบว่า การฆ่ามีแรงจูงใจชัดเจน คือ “ความอาฆาตส่วนตัว” และความพยายาม “ซ่อนเร้นศพ” ✒️ คำพิพากษา “จำเลยมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ด้วยความพยาบาทมาดหมาย ให้ประหารชีวิตโดยไม่ลดหย่อนโทษ” แม้ตุงจะยื่นอุทธรณ์และฎีกา แต่ศาลทุกชั้นยืนตามคำพิพากษาเดิม ไม่มีการลดโทษใด ๆ ทั้งสิ้น ❌ 🔫 วันสุดท้ายของ “ตุง แซ่หว่อง” กับการประหารโดยยิงเป้า ⛓️ เช้าวันพฤหัสบดีที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2486 เวลา 04.30 น. ณ เรือนจำกลางบางขวาง นายตุงถูกเบิกตัวออกจากแดนควบคุม เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ห้องประหาร 😔 ✅ รับฟังคำสั่งปฏิเสธฎีกา ✍️ เขียนพินัยกรรม 🍱 ทานอาหารมื้อสุดท้าย 🛐 ฟังธรรมเทศนา เวลา 6.07 น. ธงแดงสะบัดลง… เสียงปืนดังสนั่นไปทั่วบริเวณ ❗ ชีวิตของ “ตุง แซ่หว่อง” จบสิ้น ณ จุดนั้น 🧠 ฆาตกรรมที่ไม่ใช่แค่ “อารมณ์ชั่ววูบ” 😢 เรื่องราวของตุง คือเครื่องเตือนใจ ถึงอันตรายของอารมณ์ริษยา ความอาฆาต และความไม่ยอมรับความจริง ความขัดแย้งที่เริ่มต้นจากเรื่องเล็กน้อยอย่าง “จำนวนงานที่ได้รับ” กลับจบลงด้วย การฆ่าญาติ และสูญเสียชีวิตทั้งสองฝ่าย หากเราปล่อยให้ความอิจฉาเข้าครอบงำ อาจกลายเป็นไฟที่เผาผลาญทุกสิ่ง 🧨🔥 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 161444 เม.ย. 2568 📲 #ตุงแซ่หว่อง #คดีฆ่าญาติ #ยิงเป้าประหาร #คดีสะเทือนขวัญ #ฆาตกรรมไทย #ประหารชีวิต #เรื่องจริงจากคุก #ขวานฆ่าคน #คดีอาฆาต #ย้อนคดีดัง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1035 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตภาวนา พระธรรมเทศนาโดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    จิตภาวนา พระธรรมเทศนาโดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 375 มุมมอง 6 0 รีวิว
  • วันนี้พระธรรมเทศนาถวายพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระราชินี

    พระราชปณิธานขององค์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนา แต่มาสมัยนี้ ลูกหลานพระยามาร คิดเห็นผิดด้วยโลภะ โมหะ จะนำอบายมุขมานำเสนอแก่มวลมนุษย์ชาติ ไม่ว่าคนไทยและชาวต่างชาติ
    ข้าพระพุทธเจ้า ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องรักษาบ้านเมือง ได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้มีหน้าที่ กรุณาโปรดทำหน้าที่ หาช่องทำหน้าที่ ให้พญามาร จอมมาร พ่ายแพ้ ต่อธรรม ต่อสัจจะ ต่อกรรม ให้ทำชั่วไม่สำเร็จ อย่าได้เดือดร้อนพลเมืองของชาติ ที่มีเหลือไม่มากด้วยเทริญ สาธุ สาธุ สาธุ
    วันนี้พระธรรมเทศนาถวายพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระราชินี พระราชปณิธานขององค์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนา แต่มาสมัยนี้ ลูกหลานพระยามาร คิดเห็นผิดด้วยโลภะ โมหะ จะนำอบายมุขมานำเสนอแก่มวลมนุษย์ชาติ ไม่ว่าคนไทยและชาวต่างชาติ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องรักษาบ้านเมือง ได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้มีหน้าที่ กรุณาโปรดทำหน้าที่ หาช่องทำหน้าที่ ให้พญามาร จอมมาร พ่ายแพ้ ต่อธรรม ต่อสัจจะ ต่อกรรม ให้ทำชั่วไม่สำเร็จ อย่าได้เดือดร้อนพลเมืองของชาติ ที่มีเหลือไม่มากด้วยเทริญ สาธุ สาธุ สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 658 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำเริง คำพะอุ อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ และอดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย เสียชีวิตที่บ้านพักด้วยโรคชรา รวมอายุได้ 80 ปี พิธีสวดพระอภิธรรมจัดขึ้นที่วัดเสมียนนารี ฌาปนกิจ 9 ธ.ค.

    วันนี้ (5 ธ.ค.) รายงานข่าวแจ้งว่า นายสำเริง คำพะอุ อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ และอดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย อายุ 80 ปี เสียชีวิตอย่างสงบด้วยโรคชรา ที่บ้านพักย่าน จ.นนทบุรี โดยมีกำหนดสวดพระอภิธรรมและฌาปนกิจ ณ วัดเสมียนนารี ศาลา 4 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ในวันนี้มีพิธีรดน้ำศพเวลา 16.00 น. สวดพระอภิธรรม เวลา 17.00 น. และจะมีพิธีสวดพระอภิธรรมวันที่ 6-8 ธ.ค. เวลา 18.00 น. (วันที่ 8 ธ.ค. แสดงพระธรรมเทศนา เวลา 17.30 น.) และฌาปนกิจวันที่ 9 ธ.ค. เวลา 17.00 น.

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000117160

    #MGROnline #สำเริงคำพะอุ #อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ #อดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย
    สำเริง คำพะอุ อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ และอดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย เสียชีวิตที่บ้านพักด้วยโรคชรา รวมอายุได้ 80 ปี พิธีสวดพระอภิธรรมจัดขึ้นที่วัดเสมียนนารี ฌาปนกิจ 9 ธ.ค. • วันนี้ (5 ธ.ค.) รายงานข่าวแจ้งว่า นายสำเริง คำพะอุ อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ และอดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย อายุ 80 ปี เสียชีวิตอย่างสงบด้วยโรคชรา ที่บ้านพักย่าน จ.นนทบุรี โดยมีกำหนดสวดพระอภิธรรมและฌาปนกิจ ณ วัดเสมียนนารี ศาลา 4 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ในวันนี้มีพิธีรดน้ำศพเวลา 16.00 น. สวดพระอภิธรรม เวลา 17.00 น. และจะมีพิธีสวดพระอภิธรรมวันที่ 6-8 ธ.ค. เวลา 18.00 น. (วันที่ 8 ธ.ค. แสดงพระธรรมเทศนา เวลา 17.30 น.) และฌาปนกิจวันที่ 9 ธ.ค. เวลา 17.00 น. • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000117160 • #MGROnline #สำเริงคำพะอุ #อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามรัฐ #อดีตนายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 646 มุมมอง 0 รีวิว
  • บึ้มขวางกวนอิมเทพา ทำลายพหุวัฒนธรรม

    6 โมงเช้า วันที่ 20 พ.ย. คนร้ายลอบวางระเบิดใส่แคมป์คนงานก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม บ้านปากบางสะกอม หมู่ 1 ต.สะกอม อ.เทพา จ.สงขลา ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 3 ราย ต่อมาเวลา 10.30 น และ 10.40 น. เกิดระเบิดลูกที่ 3 และลูกที่4 บริเวณเส้นทางเข้าที่เกิดเหตุห่างจากที่เกิดเหตุจุดแรกประมาณ 400 เมตร แต่ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ ระหว่างเจ้าหน้าที่ตรวจสอบจุดเกิดเหตุ พบจดหมายพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เป็นภาษาไทยและเมียนมา ระบุว่า "ถ้าใครที่ทำงานในโครงการนี้ที่นี่และในสามจังหวัดชายแดนใต้ เราขอเตือนจงหยุด ไม่งั้นเราจะไม่รับรองชีวิตของท่าน"

    พ.อ.ปองพล สุทธิเบญจกุล รองโฆษก กอ.รมน.ภาค 4 สน. แถลงว่า กลุ่มผู้ก่อเหตุพยายามทำลายรูปเคารพทางศาสนา ซึ่งเป็นการทำลายสัญลักษณ์ของความเป็นพหุวัฒนธรรม พยายามสร้างสังคมเชิงเดี่ยวที่ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนและหลักของศาสนาอันดีงาม เชื่อว่าพยายามหยิบความขัดแย้งทางศาสนามาเป็นปัญหาขัดแย้งในพื้นที่ แต่ นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผอ.โรงพยาบาลสะบ้าย้อย แกนนำคัดค้านนิคมอุตสาหกรรมจะนะ กล่าวกับสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส อ้างว่าไม่ใช่การวางระเบิดแบบปกติ ที่ผ่านมาชาวบ้านในพื้นที่พยายามคัดค้านการก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เพราะมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของนิคมฯ แต่ก็แผ่วลง และเห็นว่าเป็นสิทธิ์ของนายทุน กระทั่งเริ่มลงเสาขนาดใหญ่ในพื้นที่

    เป็นที่น่าสังเกตว่า เหตุดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และครอบครัว ได้จัดพิธีพุทธาภิเษกเจดีย์สัมฤทธิ์ผลคุ้มลูกกันภัย ณ สถานที่ก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เมื่อวันที่ 14 พ.ย. หรือ 6 วันก่อนเกิดเหตุ โดยมี พล.อ.มณี จันทร์ทิพย์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาล ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 4 และนายนิพนธ์ บุญญามณี อดีต รมช.มหาดไทย และได้เชิญพระธรรมกิตติเมธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาส แสดงธรรมเทศนา โดยยืนยันว่าจะเป็นแลนด์มาร์คใหม่ในจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ เพราะบรรยากาศโดยรอบสวยงามตามธรรมชาติ หาดสวย ทะเลน้ำใส มีเสน่ห์เฉพาะตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ

    สำหรับโครงการก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เกิดขึ้นเมื่อปี 2565 โดยบริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) ได้ซื้อที่ดิน 65 ไร่ เพื่อก่อสร้าง เช่นเดียวกับเจ้าแม่กวนอิมในต่างประเทศ แต่ต่อมาคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขลานำชาวมุสลิมกว่า 4,000 คน ละหมาดฮายัตเพื่อคัดค้านการก่อสร้าง อ้างว่ามีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะอยู่เบื้องหลัง และอ้างว่าล้อมรอบด้วยชุมชนชาวมุสลิม ทั้งที่ความจริงที่ดินอยู่ห่างไกลจากชุมชนมาก ส่วนใหญ่เป็นรีสอร์ต สวนยางพารา และสวนมะพร้าวเท่านั้น

    #Newskit #เจ้าแม่กวนอิม #เทพา
    บึ้มขวางกวนอิมเทพา ทำลายพหุวัฒนธรรม 6 โมงเช้า วันที่ 20 พ.ย. คนร้ายลอบวางระเบิดใส่แคมป์คนงานก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม บ้านปากบางสะกอม หมู่ 1 ต.สะกอม อ.เทพา จ.สงขลา ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 3 ราย ต่อมาเวลา 10.30 น และ 10.40 น. เกิดระเบิดลูกที่ 3 และลูกที่4 บริเวณเส้นทางเข้าที่เกิดเหตุห่างจากที่เกิดเหตุจุดแรกประมาณ 400 เมตร แต่ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ ระหว่างเจ้าหน้าที่ตรวจสอบจุดเกิดเหตุ พบจดหมายพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เป็นภาษาไทยและเมียนมา ระบุว่า "ถ้าใครที่ทำงานในโครงการนี้ที่นี่และในสามจังหวัดชายแดนใต้ เราขอเตือนจงหยุด ไม่งั้นเราจะไม่รับรองชีวิตของท่าน" พ.อ.ปองพล สุทธิเบญจกุล รองโฆษก กอ.รมน.ภาค 4 สน. แถลงว่า กลุ่มผู้ก่อเหตุพยายามทำลายรูปเคารพทางศาสนา ซึ่งเป็นการทำลายสัญลักษณ์ของความเป็นพหุวัฒนธรรม พยายามสร้างสังคมเชิงเดี่ยวที่ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนและหลักของศาสนาอันดีงาม เชื่อว่าพยายามหยิบความขัดแย้งทางศาสนามาเป็นปัญหาขัดแย้งในพื้นที่ แต่ นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผอ.โรงพยาบาลสะบ้าย้อย แกนนำคัดค้านนิคมอุตสาหกรรมจะนะ กล่าวกับสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส อ้างว่าไม่ใช่การวางระเบิดแบบปกติ ที่ผ่านมาชาวบ้านในพื้นที่พยายามคัดค้านการก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เพราะมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของนิคมฯ แต่ก็แผ่วลง และเห็นว่าเป็นสิทธิ์ของนายทุน กระทั่งเริ่มลงเสาขนาดใหญ่ในพื้นที่ เป็นที่น่าสังเกตว่า เหตุดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และครอบครัว ได้จัดพิธีพุทธาภิเษกเจดีย์สัมฤทธิ์ผลคุ้มลูกกันภัย ณ สถานที่ก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เมื่อวันที่ 14 พ.ย. หรือ 6 วันก่อนเกิดเหตุ โดยมี พล.อ.มณี จันทร์ทิพย์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาล ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 4 และนายนิพนธ์ บุญญามณี อดีต รมช.มหาดไทย และได้เชิญพระธรรมกิตติเมธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาส แสดงธรรมเทศนา โดยยืนยันว่าจะเป็นแลนด์มาร์คใหม่ในจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ เพราะบรรยากาศโดยรอบสวยงามตามธรรมชาติ หาดสวย ทะเลน้ำใส มีเสน่ห์เฉพาะตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ สำหรับโครงการก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม เกิดขึ้นเมื่อปี 2565 โดยบริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) ได้ซื้อที่ดิน 65 ไร่ เพื่อก่อสร้าง เช่นเดียวกับเจ้าแม่กวนอิมในต่างประเทศ แต่ต่อมาคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขลานำชาวมุสลิมกว่า 4,000 คน ละหมาดฮายัตเพื่อคัดค้านการก่อสร้าง อ้างว่ามีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะอยู่เบื้องหลัง และอ้างว่าล้อมรอบด้วยชุมชนชาวมุสลิม ทั้งที่ความจริงที่ดินอยู่ห่างไกลจากชุมชนมาก ส่วนใหญ่เป็นรีสอร์ต สวนยางพารา และสวนมะพร้าวเท่านั้น #Newskit #เจ้าแม่กวนอิม #เทพา
    Like
    Sad
    4
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1907 มุมมอง 0 รีวิว
  • กำหนดการพิธีฌาปนกิจ
    คุณโสภณ องค์การณ์
    ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐
    วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗
    ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา
    ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์
    ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล
    ๑๓.๐๐ น.
    เวียนเมรุ
    ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์
    ทอดผ้าบังสกุล
    ยืนไว้อาลัย
    ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง
    เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ
    (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง)

    #Thaitimes
    กำหนดการพิธีฌาปนกิจ คุณโสภณ องค์การณ์ ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐ วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล ๑๓.๐๐ น. เวียนเมรุ ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์ ทอดผ้าบังสกุล ยืนไว้อาลัย ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง) #Thaitimes
    Sad
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 877 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องกรรมไว้อย่างชัดเจนว่า "เรามีกรรมเป็นของตน" นั่นหมายความว่าทุกการกระทำที่เราทำไม่ว่าจะเป็นทางกาย วาจา หรือใจ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราต้องรับผลจากมันเอง ไม่ว่ากรรมที่เกิดขึ้นนั้นจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว สัตว์ทั้งหลายจะได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างแน่นอน

    ภิกษุผู้ฟังพระธรรมเทศนานี้ย่อมตระหนักถึงการมีชีวิตอยู่บนเส้นทางของกรรม พระพุทธเจ้าทรงชี้ให้เห็นว่า การที่เราก่อกรรมใดๆ จะส่งผลตามกรรมอย่างแน่นอน จึงทำให้ภิกษุทั้งหลายเกิดความระมัดระวังในการดำเนินชีวิต การฟังธรรมนี้ย่อมทำให้เขาระลึกถึงกรรมที่ยังไม่สมบูรณ์บริบูรณ์ และพยายามละเลิกทุจริตทั้งหลาย

    ในทางกลับกัน เมื่อเราในฐานะคนธรรมดาพิจารณาชีวิตของตนเองที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า ชีวิตคนหนึ่งเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ทั้งความคิดและการกระทำ แต่กรรมที่ทำไว้ในอดีตยังคงตามมาให้ผลเสมอ แม้เราจะเปลี่ยนแปลงตัวเองจากเมื่อก่อน ความคิดและการกระทำในอดีตยังคงส่งผลต่อเราในปัจจุบัน นี่คือความจริงของกรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นเพราะบังเอิญ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นผลจากการกระทำที่ผ่านมา

    การพิจารณาถึงเรื่องกรรมและผลกรรมในชีวิตของเรานั้น จะทำให้เราเห็นถึงความสำคัญของการระวังในการกระทำทั้งปวง เพราะทุกสิ่งที่เราทำในวันนี้ ล้วนส่งผลต่ออนาคตของเราอย่างแน่นอน

    พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องกรรมไว้อย่างชัดเจนว่า "เรามีกรรมเป็นของตน" นั่นหมายความว่าทุกการกระทำที่เราทำไม่ว่าจะเป็นทางกาย วาจา หรือใจ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราต้องรับผลจากมันเอง ไม่ว่ากรรมที่เกิดขึ้นนั้นจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว สัตว์ทั้งหลายจะได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างแน่นอน ภิกษุผู้ฟังพระธรรมเทศนานี้ย่อมตระหนักถึงการมีชีวิตอยู่บนเส้นทางของกรรม พระพุทธเจ้าทรงชี้ให้เห็นว่า การที่เราก่อกรรมใดๆ จะส่งผลตามกรรมอย่างแน่นอน จึงทำให้ภิกษุทั้งหลายเกิดความระมัดระวังในการดำเนินชีวิต การฟังธรรมนี้ย่อมทำให้เขาระลึกถึงกรรมที่ยังไม่สมบูรณ์บริบูรณ์ และพยายามละเลิกทุจริตทั้งหลาย ในทางกลับกัน เมื่อเราในฐานะคนธรรมดาพิจารณาชีวิตของตนเองที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า ชีวิตคนหนึ่งเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ทั้งความคิดและการกระทำ แต่กรรมที่ทำไว้ในอดีตยังคงตามมาให้ผลเสมอ แม้เราจะเปลี่ยนแปลงตัวเองจากเมื่อก่อน ความคิดและการกระทำในอดีตยังคงส่งผลต่อเราในปัจจุบัน นี่คือความจริงของกรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นเพราะบังเอิญ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นผลจากการกระทำที่ผ่านมา การพิจารณาถึงเรื่องกรรมและผลกรรมในชีวิตของเรานั้น จะทำให้เราเห็นถึงความสำคัญของการระวังในการกระทำทั้งปวง เพราะทุกสิ่งที่เราทำในวันนี้ ล้วนส่งผลต่ออนาคตของเราอย่างแน่นอน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 294 มุมมอง 0 รีวิว
  • มารู้จักพระสุตตันตปิฎกกัน

    เนื้อหาโดยสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
    พระสุตตันตปิฎก คือประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะสมกับบุคคล เหตุการณ์ และโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา ซึ่งอยู่ในรูปแบบหรือองค์ต่าง ๆ (มี ๙ องค์ ที่เรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์” เช่น สุตตะ เคยยะ) รวมถึงพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายของพระสาวกพระสาวิกาที่กล่าวตามแนวพระพุทธพจน์ในบริบทต่าง ๆ ด้วย
    พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็น ๕ หมวด เรียกว่า นิกาย คือ (๑) ทีฆนิกาย (หมวดยาว) (๒) มัชฌิมนิกาย (หมวดปานกลาง) (๓) สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหา) (๔) อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) (๕) ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) การจัดแบ่งพระสูตรเป็น ๕ นิกายนี้ ถ้าพิจารณาเนื้อหาโดยรวมของแต่ละนิกาย จะพบว่าท่านอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้
    ๑. แบ่งตามความยาวของพระสูตร คือรวบรวมพระสูตรที่มีความยาวมากไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า ทีฆนิกาย รวบรวมพระสูตรที่มีความยาวปานกลางไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมนิกาย ส่วนพระสูตรที่มีขนาดความยาวน้อยกว่านั้น แยกไปจัดแบ่งไว้ในหมวดอื่นและด้วยวิธีอื่นดังจะกล่าวในข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๔ ตามลำดับ
    ๒. แบ่งตามเนื้อหาสาระของพระสูตร คือประมวลพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระประเภทเดียวกัน จัดไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหาสาระ) เช่นประมวลเรื่องที่เกี่ยวกับพระมหากัสสปเถระเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า กัสสปสังยุต
    ๓. แบ่งตามลำดับจำนวนองค์ธรรมหรือหัวข้อธรรม คือรวบรวมพระสูตรที่มีหัวข้อธรรมเท่ากันเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) และมีชื่อกำกับหมวดย่อยว่า นิบาต มี ๑๑ นิบาต คือหมวดพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม ๑ ข้อ เรียกว่า เอกกนิบาต ที่มี ๒ ข้อ เรียกว่า ทุกนิบาต ที่มี ๓ ข้อ เรียกว่าติกนิบาต ที่มี ๔ ข้อ เรียกว่า จตุกกนิบาต ที่มี ๕ ข้อ เรียกว่า ปัญจกนิบาต ที่มี ๖ ข้อ เรียกว่า ฉักกนิบาต ที่มี ๗ ข้อ เรียกว่า สัตตกนิบาต ที่มี ๘ ข้อ เรียกว่า อัฏฐกนิบาต ที่มี ๙ ข้อ เรียกว่า นวกนิบาต ที่มี ๑๐ ข้อ เรียกว่า ทสกนิบาต และที่มี ๑๑ ข้อ เรียกว่า เอกาทสกนิบาต
    ๔.จัดแยกพระสูตรที่ไม่เข้าเกณฑ์ทั้ง ๓ ข้างต้นไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) แบ่งตามหัวข้อใหญ่เป็น ๑๕ เรื่อง คือ (๑) ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปทะ (ธรรมบท) (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต (๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตกะ (๑๑) นิทเทส (มหานิทเทสและจูฬนิทเทส) (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน (๑๔) พุทธวังสะ (พุทธวงศ์) (๑๕) จริยาปิฎก นอกจากนี้ท่านยังจัดพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกเข้าไว้ในขุททกนิกายนี้ด้วย
    ๑. เนื้อหาโดยสังเขปของทีฆนิกาย
    ทีฆนิกาย มีพระสูตรขนาดยาวจำนวน ๓๔ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค (ตอน) คือ (๑) สีลขันธวรรค (๒) มหาวรรค (๓) ปาฏิกวรรค
    สีลขันธวรรค ว่าด้วยศีล และทิฏฐิ (ลัทธิ) มีจำนวน ๑๓ สูตร
    มหาวรรค ว่าด้วยเรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์ มีพระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้น และพระประวัติของพระองค์เอง เรื่องปฏิจจสมุปบาท เรื่องมหาปรินิพพาน มีจำนวน ๑๐ สูตร
    ปาฏิกวรรค ว่าด้วยเรื่องนักบวชนอกพระพุทธศาสนา มีนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร เป็นต้น เรื่องจักรวรรดิวัตร เรื่องมูลกำเนิดของโลก เรื่องมหาปุริสลักษณะ (ลักษณะมหาบุรุษ) เรื่องการสังคายนาพระธรรมวินัย เป็นต้น มีจำนวน ๑๑ สูตร
    ๒. เนื้อหาโดยสังเขปของมัชฌิมนิกาย
    มัชฌิมนิกาย มีพระสูตรขนาดปานกลาง จำนวน ๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ (หมวดละ ๕๐ สูตร) คือ (๑) มูลปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ต้น) (๒) มัชฌิมปัณณาสก์ (ปัณณาสก์กลาง) (๓) อุปริปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ปลาย) แต่ละปัณณาสก์ แบ่งย่อยเป็นวรรค (หมวดหรือตอน) ได้ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ยกเว้นวิภังควรรคของอุปริปัณณาสก์ ซึ่งท่านเพิ่มให้เป็น ๑๒ สูตร ดังนี้
    มูลปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) มูลปริยายวรรค ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมซึ่งปรากฏในมูลปริยายสูตร เป็นต้น (๒) สีหนาทวรรค ว่าด้วยการบันลือสีหนาท ดังปรากฏในจูฬสีหนาทสูตร มหาสีหนาทสูตร เป็นต้น (๓) โอปัมมวรรค ว่าด้วยข้ออุปมา เช่นอุปมาด้วยเลื่อย อุปมาด้วยอรสรพิษ ดังปรากฏในกกจูปมสูตร อลคัททูปมสูตร เป็นต้น (๔) มหายมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดใหญ่ เช่นเหตุการณ์ในโคสิงคสาลวัน ๒ เหตุการณ์ ดังปรากฏในจูฬโคสิงคสูตร และมหาโคสิงคสูตร เป็นต้น (๕) จูฬยมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดเล็ก เช่น การสันทนาธรรมที่ทำให้เกิดปัญญาของบุคคล ๒ คู่ ดังปรากฏในมหาเวทัลลสูตร จูฬเวทัลลสูตร
    มัชฌิมปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) คหปติวรรค ว่าด้วยคหบดี (๒) ภิกขุวรรค ว่าด้วยภิกษุ (๓) ปริพพาชกวรรค ว่าด้วยปริพาชก (๔) ราชวรรค ว่าด้วยพระราชา (๕) พราหมณวรรค ว่าด้วยพราหมณ์อุปริปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) เทวทหวรรค ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่เทวทหนิคม เป็นต้น ดังปรากฏในเทวทหสูตร (๒) อนุปทวรรค ว่าด้วยธรรมตามลำดับบท เป็นต้น ดังปรากฏในอนุปทสูตร (๓) สุญญตวรรค ว่าด้วยสุญญตา เป็นต้น ดังปรากฏในจูฬสุญญตสูตร และมหาสุญญตสูตร (๔) วิภังควรรค ว่าด้วยการจำแนกธรรม (๕) สฬายตนวรรค ว่าด้วยอายตนะ ๖
    ๓. เนื้อหาโดยสังเขปของสังยุตตนิกาย
    สังยุตตนิกาย มีพระสูตรที่ปรากฏจำนวน ๒,๗๕๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๗,๗๖๒ สูตร : วิ.อ. ๑/๑๗) แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ตามเนื้อหาสาระหรือรูปแบบที่เข้ากันได้กลุ่มละ ๑ วรรค คือ
    ๑. สคาถวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีรูปแบบเป็นคาถาประพันธ์ มีจำนวน ๒๗๑ สูตร จัดเป็นสังยุต (ประมวลเนื้อหาเป็นเรื่อง ๆ) ได้ ๑๑ สังยุต
    ๒. นิทานวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับต้นเหตุแห่งการเกิดและการดับแห่งทุกข์ มีจำนวน ๓๓๗ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต
    ๓. ขันธวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับขันธ์ ๕ มีจำนวน ๗๑๖ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๓ สังยุต
    ๔. สฬายตนวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอายตนะ ๖ มีจำนวน ๔๒๐ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต
    ๕. มหาวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับธรรมหมวดใหญ่ ได้แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ และหมวดธรรมที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน ๑,๐๐๘ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๒ สังยุต
    ๔. เนื้อหาโดยสังเขปของอังคุตตรนิกาย
    อังคุตตรนิกายมีพระสูตรตามที่ปรากฏจำนวน ๗,๙๐๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๙,๕๕๗ สูตร : วิ.อ. ๑/๒๕) แบ่งเป็น ๑๑ นิบาต (หมวดย่อย) ดังนี้
    ๑. เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๖๑๙ สูตร แบ่งเป็น ๒๐ วรรค
    ๒. ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๗๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๕ วรรค กับ ๔ หัวข้อเปยยาล (หมวดธรรมที่แสดงไว้โดยย่อ)
    ๓. ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๓๕๓ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๖ วรรค กับ ๒ หัวข้อเปยยาล
    ๔. จตุกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๔ ประการ มี ๗๘๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๗ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๕. ปัญจกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๕ ประการ มี ๑,๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๖ วรรค กับ ๓ หัวข้อเปยยาล
    ๖. ฉักกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๖ ประการ มี ๖๔๙ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๗. สัตตกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๗ ประการ มี ๑,๑๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๑ ปัณณาสก์ ๕ วรรค และอีก ๕ วรรค (ไม่จัดเป็นปัณณาสก์) กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๘. อักฐกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๘ ประการ มี ๖๒๖ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๐ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๙. นวกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๙ ประการ มี ๔๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๙ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๑๐. ทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๐ ประการ มี ๗๔๖ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๑๑. เอกาทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๑ ประการ มี ๖๗๑ สูตร แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๕. เนื้อหาโดยสังเขปของขุททกนิกาย
    ขุททกนิกายมีหัวข้อธรรมจำนวน ๑๕ เรื่อง ๑๕ คัมภีร์ แต่ละคัมภีร์มีเนื้อหาโดยสังเขปดังนี้
    ๑. ขุททกปาฐะ ว่าด้วยบทสวดสั้น ๆ จำนวน ๙ บท ๙ สูตร เช่น สรณคมน์ มงคลสูตร รัตนสูตร
    ๒. ธัมมปทะ (ธรรมบท) ว่าด้วยธรรมภาษิตสั้น ๆ จำนวน ๔๒๓ บท ๔๒๗ คาถา ๓๐๕ เรื่อง แบ่งเป็นวรรคได้ ๒๖ วรรค
    ๓. อุทาน ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ทรงเปล่งออกมาด้วยกำลังปีติโสมนัส มี ๘๐ สูตร ๙๕ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๘ วรรค
    ๔. อิติวุตตกะ ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ยกมาอ้างอิง จำนวน ๑๑๒ สูตร แบ่งเป็นนิบาตได้ ๔ นิบาต ดังนี้
    ๔.๑ เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๒๗ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค
    ๔.๒ ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๑๒ สูตร ไม่แบ่งเป็นวรรค
    ๔.๓ ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๕ วรรค
    ๕. สุตตนิบาต ว่าด้วยพระสูตรที่มีเนื้อหาเป็นประเภทร้อยกรอง (คาถา) และบางส่วนเป็นประเภทร้อยกรองผสมร้อยแก้ว (เคยยะ) มี ๗๐ สูตร ๑,๑๕๖ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๕ วรรค
    ๖. วิมานวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของผู้เกิดในวิมาน คือเทพบุตรและเทพธิดาทั้งหลาย มี ๘๕ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อิตถีวิมาน (วิมานของเทพธิดา) และปุริสวิมาน (วิมานของเทพบุตร) อิตถีวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค ปุริสวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค
    ๗. เปตวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของเปรต มี ๕๑ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เปตวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้ชาย) และเปติวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้หญิง) ทั้ง ๒ ประเภทแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค โดยไม่ได้แยกออกจากกัน
    ๘. เถรคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถระจำนวน ๒๖๔ รูป ๒๖๔ เรื่อง ๑,๓๖๐ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๒๑ นิบาต จัดเรียงตามลำดับนิบาตที่มีคาถาน้อยไปหานิบาตที่มีคาถามาก
    ๙. เถรีคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถรีจำนวน ๗๓ รูป ๗๓ เรื่อง ๕๒๖ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๖ นิบาต
    ๑๐. ชาตกะ (ชาดก) ว่าด้วยพระประวัติในอดีตของพระผู้มีพระภาคในรูปแบบของคาถาประพันธ์ล้วน มี ๕๔๗ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ มี ๕๒๕ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๗ นิบาต ภาค ๒ มี ๒๒ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๕ นิบาต (นับต่อจากนิบาตที่ ๑๗ ในภาค ๑ เป็นนิบาตที่ ๑๘ - ๒๒)
    ๑๑. นิทเทส ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะย่อในรูปคาถาให้มีความหมายกว้างขวางดุจมหาสมุทรและมหาปฐพี แบ่งออกเป็น ๒ คัมภีร์ คือ มหานิทเทส (นิทเทสใหญ่) และจูฬนิทเทส (นิทเทสน้อย) เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร มหานิทเทสอธิบายพระพุทธวจนะในพระสูตร ๑๖ สูตร ที่ปรากฏในอัฏฐกวรรค (หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยการไม่ติดอยู่ในกาม) แห่งสุตตนิบาต (คัมภีร์ที่ ๕ ของขุททกนิกาย) มีกามสูตร เป็นต้น ส่วนจูฬนิทเทสอธิบายปัญหาของมาณพ (ศิษย์ของพราหมณ์พาวรี) ๑๖ คน ที่ปรากฏในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรค แห่งสุตตนิบาตเช่นเดียวกัน
    ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะที่เกี่ยวกับศีล สมาธิ ปัญญา อย่างกว้างขวางยิ่ง เพื่อให้เกิดความรู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔ คือ (๑) อรรถปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในอรรถ) (๒) ธรรมปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในธรรม) (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในนิรุกติหรือภาษา) (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในปฏิภาณ) มี ๓๐ เรื่อง เรียกว่า กถา แบ่งเป็น ๓ วรรค เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร
    ๑๓. อปทาน ว่าด้วยอัตชีวประวัติของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระเถระและพระเถรี รวม ๖๔๓ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ ประกอบด้วยพุทธาปทาน ๑ เรื่อง ปัจเจกพุทธาปทาน ๔๑ เรื่อง และเถราปทาน (ตอนต้น) ๔๑๐ เรื่อง ภาค ๒ ประกอบด้วยเถราปทาน (ตอนปลาย) ๑๕๑ เรื่อง และเถริยาปทาน ๔๐ เรื่อง
    ๑๔. พุทธวงศ์ ว่าด้วยพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ เริ่มตั้งแต่พระทีปังกรพุทธเจ้าจนถึงพระกัสสปพุทธเจ้า และพระประวัติของพระพุทธเจ้าของเรา คือพระโคตมพุทธเจ้า ทรงเน้นว่าพระองค์ทรงบำเพ็ญบารมีในศาสนาของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์นี้
    ๑๕. จริยาปิฎก ว่าด้วยพุทธจริยาสั้น ๆ ที่เกี่ยวกับการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระองค์ มี ๓๕ เรื่อง ใน ๓๕ ชาติ แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค

    มารู้จักพระสุตตันตปิฎกกัน เนื้อหาโดยสังเขปของพระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก คือประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะสมกับบุคคล เหตุการณ์ และโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา ซึ่งอยู่ในรูปแบบหรือองค์ต่าง ๆ (มี ๙ องค์ ที่เรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์” เช่น สุตตะ เคยยะ) รวมถึงพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายของพระสาวกพระสาวิกาที่กล่าวตามแนวพระพุทธพจน์ในบริบทต่าง ๆ ด้วย พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็น ๕ หมวด เรียกว่า นิกาย คือ (๑) ทีฆนิกาย (หมวดยาว) (๒) มัชฌิมนิกาย (หมวดปานกลาง) (๓) สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหา) (๔) อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) (๕) ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) การจัดแบ่งพระสูตรเป็น ๕ นิกายนี้ ถ้าพิจารณาเนื้อหาโดยรวมของแต่ละนิกาย จะพบว่าท่านอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้ ๑. แบ่งตามความยาวของพระสูตร คือรวบรวมพระสูตรที่มีความยาวมากไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า ทีฆนิกาย รวบรวมพระสูตรที่มีความยาวปานกลางไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมนิกาย ส่วนพระสูตรที่มีขนาดความยาวน้อยกว่านั้น แยกไปจัดแบ่งไว้ในหมวดอื่นและด้วยวิธีอื่นดังจะกล่าวในข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๔ ตามลำดับ ๒. แบ่งตามเนื้อหาสาระของพระสูตร คือประมวลพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระประเภทเดียวกัน จัดไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหาสาระ) เช่นประมวลเรื่องที่เกี่ยวกับพระมหากัสสปเถระเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า กัสสปสังยุต ๓. แบ่งตามลำดับจำนวนองค์ธรรมหรือหัวข้อธรรม คือรวบรวมพระสูตรที่มีหัวข้อธรรมเท่ากันเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) และมีชื่อกำกับหมวดย่อยว่า นิบาต มี ๑๑ นิบาต คือหมวดพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม ๑ ข้อ เรียกว่า เอกกนิบาต ที่มี ๒ ข้อ เรียกว่า ทุกนิบาต ที่มี ๓ ข้อ เรียกว่าติกนิบาต ที่มี ๔ ข้อ เรียกว่า จตุกกนิบาต ที่มี ๕ ข้อ เรียกว่า ปัญจกนิบาต ที่มี ๖ ข้อ เรียกว่า ฉักกนิบาต ที่มี ๗ ข้อ เรียกว่า สัตตกนิบาต ที่มี ๘ ข้อ เรียกว่า อัฏฐกนิบาต ที่มี ๙ ข้อ เรียกว่า นวกนิบาต ที่มี ๑๐ ข้อ เรียกว่า ทสกนิบาต และที่มี ๑๑ ข้อ เรียกว่า เอกาทสกนิบาต ๔.จัดแยกพระสูตรที่ไม่เข้าเกณฑ์ทั้ง ๓ ข้างต้นไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) แบ่งตามหัวข้อใหญ่เป็น ๑๕ เรื่อง คือ (๑) ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปทะ (ธรรมบท) (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต (๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตกะ (๑๑) นิทเทส (มหานิทเทสและจูฬนิทเทส) (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน (๑๔) พุทธวังสะ (พุทธวงศ์) (๑๕) จริยาปิฎก นอกจากนี้ท่านยังจัดพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกเข้าไว้ในขุททกนิกายนี้ด้วย ๑. เนื้อหาโดยสังเขปของทีฆนิกาย ทีฆนิกาย มีพระสูตรขนาดยาวจำนวน ๓๔ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค (ตอน) คือ (๑) สีลขันธวรรค (๒) มหาวรรค (๓) ปาฏิกวรรค สีลขันธวรรค ว่าด้วยศีล และทิฏฐิ (ลัทธิ) มีจำนวน ๑๓ สูตร มหาวรรค ว่าด้วยเรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์ มีพระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้น และพระประวัติของพระองค์เอง เรื่องปฏิจจสมุปบาท เรื่องมหาปรินิพพาน มีจำนวน ๑๐ สูตร ปาฏิกวรรค ว่าด้วยเรื่องนักบวชนอกพระพุทธศาสนา มีนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร เป็นต้น เรื่องจักรวรรดิวัตร เรื่องมูลกำเนิดของโลก เรื่องมหาปุริสลักษณะ (ลักษณะมหาบุรุษ) เรื่องการสังคายนาพระธรรมวินัย เป็นต้น มีจำนวน ๑๑ สูตร ๒. เนื้อหาโดยสังเขปของมัชฌิมนิกาย มัชฌิมนิกาย มีพระสูตรขนาดปานกลาง จำนวน ๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ (หมวดละ ๕๐ สูตร) คือ (๑) มูลปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ต้น) (๒) มัชฌิมปัณณาสก์ (ปัณณาสก์กลาง) (๓) อุปริปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ปลาย) แต่ละปัณณาสก์ แบ่งย่อยเป็นวรรค (หมวดหรือตอน) ได้ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ยกเว้นวิภังควรรคของอุปริปัณณาสก์ ซึ่งท่านเพิ่มให้เป็น ๑๒ สูตร ดังนี้ มูลปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) มูลปริยายวรรค ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมซึ่งปรากฏในมูลปริยายสูตร เป็นต้น (๒) สีหนาทวรรค ว่าด้วยการบันลือสีหนาท ดังปรากฏในจูฬสีหนาทสูตร มหาสีหนาทสูตร เป็นต้น (๓) โอปัมมวรรค ว่าด้วยข้ออุปมา เช่นอุปมาด้วยเลื่อย อุปมาด้วยอรสรพิษ ดังปรากฏในกกจูปมสูตร อลคัททูปมสูตร เป็นต้น (๔) มหายมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดใหญ่ เช่นเหตุการณ์ในโคสิงคสาลวัน ๒ เหตุการณ์ ดังปรากฏในจูฬโคสิงคสูตร และมหาโคสิงคสูตร เป็นต้น (๕) จูฬยมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดเล็ก เช่น การสันทนาธรรมที่ทำให้เกิดปัญญาของบุคคล ๒ คู่ ดังปรากฏในมหาเวทัลลสูตร จูฬเวทัลลสูตร มัชฌิมปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) คหปติวรรค ว่าด้วยคหบดี (๒) ภิกขุวรรค ว่าด้วยภิกษุ (๓) ปริพพาชกวรรค ว่าด้วยปริพาชก (๔) ราชวรรค ว่าด้วยพระราชา (๕) พราหมณวรรค ว่าด้วยพราหมณ์อุปริปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) เทวทหวรรค ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่เทวทหนิคม เป็นต้น ดังปรากฏในเทวทหสูตร (๒) อนุปทวรรค ว่าด้วยธรรมตามลำดับบท เป็นต้น ดังปรากฏในอนุปทสูตร (๓) สุญญตวรรค ว่าด้วยสุญญตา เป็นต้น ดังปรากฏในจูฬสุญญตสูตร และมหาสุญญตสูตร (๔) วิภังควรรค ว่าด้วยการจำแนกธรรม (๕) สฬายตนวรรค ว่าด้วยอายตนะ ๖ ๓. เนื้อหาโดยสังเขปของสังยุตตนิกาย สังยุตตนิกาย มีพระสูตรที่ปรากฏจำนวน ๒,๗๕๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๗,๗๖๒ สูตร : วิ.อ. ๑/๑๗) แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ตามเนื้อหาสาระหรือรูปแบบที่เข้ากันได้กลุ่มละ ๑ วรรค คือ ๑. สคาถวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีรูปแบบเป็นคาถาประพันธ์ มีจำนวน ๒๗๑ สูตร จัดเป็นสังยุต (ประมวลเนื้อหาเป็นเรื่อง ๆ) ได้ ๑๑ สังยุต ๒. นิทานวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับต้นเหตุแห่งการเกิดและการดับแห่งทุกข์ มีจำนวน ๓๓๗ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต ๓. ขันธวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับขันธ์ ๕ มีจำนวน ๗๑๖ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๓ สังยุต ๔. สฬายตนวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอายตนะ ๖ มีจำนวน ๔๒๐ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต ๕. มหาวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับธรรมหมวดใหญ่ ได้แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ และหมวดธรรมที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน ๑,๐๐๘ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๒ สังยุต ๔. เนื้อหาโดยสังเขปของอังคุตตรนิกาย อังคุตตรนิกายมีพระสูตรตามที่ปรากฏจำนวน ๗,๙๐๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๙,๕๕๗ สูตร : วิ.อ. ๑/๒๕) แบ่งเป็น ๑๑ นิบาต (หมวดย่อย) ดังนี้ ๑. เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๖๑๙ สูตร แบ่งเป็น ๒๐ วรรค ๒. ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๗๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๕ วรรค กับ ๔ หัวข้อเปยยาล (หมวดธรรมที่แสดงไว้โดยย่อ) ๓. ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๓๕๓ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๖ วรรค กับ ๒ หัวข้อเปยยาล ๔. จตุกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๔ ประการ มี ๗๘๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๗ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๕. ปัญจกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๕ ประการ มี ๑,๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๖ วรรค กับ ๓ หัวข้อเปยยาล ๖. ฉักกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๖ ประการ มี ๖๔๙ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๗. สัตตกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๗ ประการ มี ๑,๑๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๑ ปัณณาสก์ ๕ วรรค และอีก ๕ วรรค (ไม่จัดเป็นปัณณาสก์) กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๘. อักฐกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๘ ประการ มี ๖๒๖ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๐ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๙. นวกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๙ ประการ มี ๔๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๙ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๑๐. ทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๐ ประการ มี ๗๔๖ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๑๑. เอกาทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๑ ประการ มี ๖๗๑ สูตร แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๕. เนื้อหาโดยสังเขปของขุททกนิกาย ขุททกนิกายมีหัวข้อธรรมจำนวน ๑๕ เรื่อง ๑๕ คัมภีร์ แต่ละคัมภีร์มีเนื้อหาโดยสังเขปดังนี้ ๑. ขุททกปาฐะ ว่าด้วยบทสวดสั้น ๆ จำนวน ๙ บท ๙ สูตร เช่น สรณคมน์ มงคลสูตร รัตนสูตร ๒. ธัมมปทะ (ธรรมบท) ว่าด้วยธรรมภาษิตสั้น ๆ จำนวน ๔๒๓ บท ๔๒๗ คาถา ๓๐๕ เรื่อง แบ่งเป็นวรรคได้ ๒๖ วรรค ๓. อุทาน ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ทรงเปล่งออกมาด้วยกำลังปีติโสมนัส มี ๘๐ สูตร ๙๕ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๘ วรรค ๔. อิติวุตตกะ ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ยกมาอ้างอิง จำนวน ๑๑๒ สูตร แบ่งเป็นนิบาตได้ ๔ นิบาต ดังนี้ ๔.๑ เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๒๗ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค ๔.๒ ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๑๒ สูตร ไม่แบ่งเป็นวรรค ๔.๓ ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๕ วรรค ๕. สุตตนิบาต ว่าด้วยพระสูตรที่มีเนื้อหาเป็นประเภทร้อยกรอง (คาถา) และบางส่วนเป็นประเภทร้อยกรองผสมร้อยแก้ว (เคยยะ) มี ๗๐ สูตร ๑,๑๕๖ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๕ วรรค ๖. วิมานวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของผู้เกิดในวิมาน คือเทพบุตรและเทพธิดาทั้งหลาย มี ๘๕ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อิตถีวิมาน (วิมานของเทพธิดา) และปุริสวิมาน (วิมานของเทพบุตร) อิตถีวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค ปุริสวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค ๗. เปตวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของเปรต มี ๕๑ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เปตวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้ชาย) และเปติวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้หญิง) ทั้ง ๒ ประเภทแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค โดยไม่ได้แยกออกจากกัน ๘. เถรคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถระจำนวน ๒๖๔ รูป ๒๖๔ เรื่อง ๑,๓๖๐ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๒๑ นิบาต จัดเรียงตามลำดับนิบาตที่มีคาถาน้อยไปหานิบาตที่มีคาถามาก ๙. เถรีคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถรีจำนวน ๗๓ รูป ๗๓ เรื่อง ๕๒๖ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๖ นิบาต ๑๐. ชาตกะ (ชาดก) ว่าด้วยพระประวัติในอดีตของพระผู้มีพระภาคในรูปแบบของคาถาประพันธ์ล้วน มี ๕๔๗ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ มี ๕๒๕ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๗ นิบาต ภาค ๒ มี ๒๒ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๕ นิบาต (นับต่อจากนิบาตที่ ๑๗ ในภาค ๑ เป็นนิบาตที่ ๑๘ - ๒๒) ๑๑. นิทเทส ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะย่อในรูปคาถาให้มีความหมายกว้างขวางดุจมหาสมุทรและมหาปฐพี แบ่งออกเป็น ๒ คัมภีร์ คือ มหานิทเทส (นิทเทสใหญ่) และจูฬนิทเทส (นิทเทสน้อย) เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร มหานิทเทสอธิบายพระพุทธวจนะในพระสูตร ๑๖ สูตร ที่ปรากฏในอัฏฐกวรรค (หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยการไม่ติดอยู่ในกาม) แห่งสุตตนิบาต (คัมภีร์ที่ ๕ ของขุททกนิกาย) มีกามสูตร เป็นต้น ส่วนจูฬนิทเทสอธิบายปัญหาของมาณพ (ศิษย์ของพราหมณ์พาวรี) ๑๖ คน ที่ปรากฏในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรค แห่งสุตตนิบาตเช่นเดียวกัน ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะที่เกี่ยวกับศีล สมาธิ ปัญญา อย่างกว้างขวางยิ่ง เพื่อให้เกิดความรู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔ คือ (๑) อรรถปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในอรรถ) (๒) ธรรมปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในธรรม) (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในนิรุกติหรือภาษา) (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในปฏิภาณ) มี ๓๐ เรื่อง เรียกว่า กถา แบ่งเป็น ๓ วรรค เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร ๑๓. อปทาน ว่าด้วยอัตชีวประวัติของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระเถระและพระเถรี รวม ๖๔๓ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ ประกอบด้วยพุทธาปทาน ๑ เรื่อง ปัจเจกพุทธาปทาน ๔๑ เรื่อง และเถราปทาน (ตอนต้น) ๔๑๐ เรื่อง ภาค ๒ ประกอบด้วยเถราปทาน (ตอนปลาย) ๑๕๑ เรื่อง และเถริยาปทาน ๔๐ เรื่อง ๑๔. พุทธวงศ์ ว่าด้วยพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ เริ่มตั้งแต่พระทีปังกรพุทธเจ้าจนถึงพระกัสสปพุทธเจ้า และพระประวัติของพระพุทธเจ้าของเรา คือพระโคตมพุทธเจ้า ทรงเน้นว่าพระองค์ทรงบำเพ็ญบารมีในศาสนาของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์นี้ ๑๕. จริยาปิฎก ว่าด้วยพุทธจริยาสั้น ๆ ที่เกี่ยวกับการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระองค์ มี ๓๕ เรื่อง ใน ๓๕ ชาติ แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 632 มุมมอง 0 รีวิว
  • ให้ฟังเสียงธรรม เสียงธรรม จะกล่อมจิตใจ ให้สงบเย็น ธรรมเทศนา โดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน #หลวงตามหาบัว #ธรรมะ #ธรรมทาน #ธรรมะก่อนนอน #ธรรมะสอนใจ #สติ
    ให้ฟังเสียงธรรม เสียงธรรม จะกล่อมจิตใจ ให้สงบเย็น ธรรมเทศนา โดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน #หลวงตามหาบัว #ธรรมะ #ธรรมทาน #ธรรมะก่อนนอน #ธรรมะสอนใจ #สติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1306 มุมมอง 152 0 รีวิว
  • พิจารณา ร่างกาย ทำอย่างนี้ ธรรมเทศนา โดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน #คําสอนอันเป็นที่พึ่ง #ขององค์พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาพระมหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาดวัดเกษรศีลคุณ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #กราบในบารมีของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ 🙏🏻
    พิจารณา ร่างกาย ทำอย่างนี้ ธรรมเทศนา โดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน #คําสอนอันเป็นที่พึ่ง #ขององค์พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาพระมหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาดวัดเกษรศีลคุณ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #กราบในบารมีของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ 🙏🏻✨
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1940 มุมมอง 82 0 รีวิว
  • (วันอังคารที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗)

    วันนี้วันพระ เเรม ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐

    ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง)
    จ. สุราษฎร์ธานี

    นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ
    ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
    เป็นประธานคณะสงฆ์ และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม
    ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม

    - แสดงพระธรรมเทศนาโดยท่านอาจารย์พระมหาอรุณ อรุโณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ

    #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ
    วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ
    ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม

    เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม
    วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง
    (วันอังคารที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗) วันนี้วันพระ เเรม ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง) จ. สุราษฎร์ธานี นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) เป็นประธานคณะสงฆ์ และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม - แสดงพระธรรมเทศนาโดยท่านอาจารย์พระมหาอรุณ อรุโณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1301 มุมมอง 0 รีวิว
  • #บุพเพสันนิวาส #พระธรรมเทศนาจากองค์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #องค์หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระอริยสงฆ์ผู้งามในบุญ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #CapCut
    #บุพเพสันนิวาส #พระธรรมเทศนาจากองค์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #องค์หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระอริยสงฆ์ผู้งามในบุญ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #CapCut
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1322 มุมมอง 16 0 รีวิว
  • มนุษย์ ๗ จำพวก
    พระธรรมเทศนาโดย...หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    ณ วัดป่าอุดมสมพร เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๑๘

    มนุษย์ทั้งหลายมี ๗ จำพวก มนุษย์มี ๗ อย่าง

    มนุสสติรัจฉาโน ทำไมจึงว่ามนุสสติรัจฉาโน
    ดูซิ ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นสัตว์เดรัจฉาน
    คือมันขี้เกียจขี้คร้าน รับอาหารแล้วก็นอน
    ไม่รู้จักการกราบ ไม่รู้จักการไหว้ ไม่รู้จักการรักษาศีลภาวนา
    ทำบุญให้ทานอะไร เหมือนกับสัตว์เดรัจฉานน่ะ
    มนุษย์เช่นนั้นแหละตายไปก็ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
    ดูเอาซิ พิจารณาเอาซี ร่างกายเป็นมนุษย์แต่หัวใจเป็นสัตว์เดรัจฉาน

    มนุสสเปโต ร่างกายเป็นมนุษย์ แต่หัวใจเป็นเปรต
    มันมีแต่โมโหโทโส อยากฆ่า อยากฟัน
    ความทะเยอทะยานดิ้นรน มีพยาบาทอาฆาตจองเวร
    ดูซิ ใจมันมีอาฆาต นี่แหละมนุสสเปโต
    ร่างกายเป็นมนุษย์ เมื่อดับขันธ์ไปแล้วก็ไปเป็นเปรต

    มนุสสนิรเย ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นนรก
    หัวใจเป็นนรก คือมันมืด มันกลุ้มอกกลุ้มใจ ให้ทุกข์ให้ร้อน
    ดูเอาซิ นั่นแหละนรก ดับขันธ์ไปแล้วก็ไปนรกซี่
    ได้รับความทุกข์ยากความลำบากรำคาญ นี่มนุษย์เช่นนี้
    ทีนี้ถ้าไม่ไปเป็นอย่างนั้น เกิดเป็นมนุษย์ก็เป็นมนุษย์ที่ต่ำช้า
    หัวใจต่ำช้า อย่างอธิบายมาแล้ว ต่ำช้ายังไงล่ะ
    เป็นใบ้บ้าเสียจริต หูหนวกตาบอด ปากกืด กระจอกงอกง่อย
    ขี้ทูดกุฏฐัง ตกระกำลำบาก แน่ะ มนุษย์หัวใจเป็นยังงั้น
    ถ้าเกิดเป็นมนุษย์อีกก็เป็นมนุษย์ที่ต่ำช้า
    ดูซิ ใจเราทุกคน ไม่ว่าพระว่าเณร ไม่ว่าผู้หญิงผู้ชาย
    เอ้าดู อธิบายให้ฟัง ถ้ามันเป็นอย่างนั้นเราไม่ต้องการก็เลิกก็ละเสีย
    ให้รู้จักดีรู้จักชั่ว รู้จักผิดรู้จักถูก รู้จักฟัง อธิบายให้ฟัง

    มนุสสเทโว ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นเทวธิดา เทวบุตร
    หัวใจมีทาน มีศีล มีภาวนา รู้จักเคารพนอบน้อม รู้จักกราบรู้จักไหว้
    ใจมีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวบาป ใจเบิกบาน ใจสว่างไสว ใจดี
    ดับขันธ์ก็ไปเป็นเทวบุตรเทวธิดา เรื่องเป็นอย่างนั้น ดูเอาซิ

    มนุสสพรหมา ท้าวมหาพรหม นางมหาพรหม หัวใจเช่นใด
    มีพรหมวิหาร มีพรหมวิหารธรรมเป็นเครื่องอยู่
    หัวใจว่างไม่มีอะไร เหมือนกะอากาศนี้แหละ ว่างเปล่าหมด
    เหลือแต่อรูปจิต ดับขันธ์ไปเป็นพรหม ท้าวมหาพรหม นางมหาพรหม
    อยากรู้ก็ดูเอาซิ ที่อยู่ของเราเป็นอย่างนี้ มนุษย์ทั้งหลาย

    มนุสสอรหัตโต ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นพระอรหันต์
    คือละกิเลส ละตัณหา กิเลสคือใจเศร้าหมอง
    ตัณหาคือใจทะเยอทะยานดิ้นรนกระวนกระวาย
    ท่านละกิเลสตัณหา ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ อวิชชา
    ตัณหาอุปาทาน ภพชาติ ละขาดในสันดาน ไม่มีสิ่งเหล่านี้ในจิตใจ
    เมื่อดับขันธ์ไปก็เข้าสู่นิพพาน ดับทุกข์ในวัฏสงสาร
    ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีก ก็เป็นแต่มนุษย์ ได้แต่มนุษย์ซิ

    เราจึงมาฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยของเรา เพ่งเล็งดูซิ
    เราอย่าดูอื่น เรานั่งอยู่ก็นั่งดูใจของเรา ไม่ได้ดูดินฟ้าอากาศนะ
    ใจของเรามันเป็นอย่างไร เหมือนที่อธิบายให้ฟังไหมล่ะ
    มันไม่ดีตรงไหนก็แก้ไขซิ ทีนี้

    มนุสสพุทโธ ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นพระพุทธเจ้า
    พระพุทธเจ้าก็เป็นมนุษย์เหมือนกับพวกเรานี้
    ว่าเรื่องภพเรื่องชาติของท่าน บิดามารดาของท่านก็มี
    บุตรภรรยาท่านก็มี ท่านเป็นมนุษย์ครือเรานี่แหละ
    แต่ท่านประพฤติปฏิบัติ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง
    เป็นสยัมภู ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง
    ไม่มีบุคคลผู้ใดหรือใครแนะนำพร่ำสอน รู้ด้วยตนเองเป็นสยัมภู
    รู้แจ้งแทงตลอดหมดซึ่งสารพัดเญยยะธรรมทั้งหลาย ไม่มีที่ปกปิด
    สัตว์ทั้งหลาย ตนของท่าน บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    ญาณความรู้ความเห็นในบุพพชาติเบื้องหลัง
    เป็นอะไรๆ มา ท่านรู้หมด เรื่องมันเป็นอย่างนั้น
    จุตูปาตญาณ จุติจากนี้ไปอยู่ในภพชาติใด ภพน้อยภพใหญ่ ท่านรู้หมด
    คือเหมือนอธิบายให้ฟังนี้ อาสวักขยญาณ สิ้นจากภพจากชาติท่านก็รู้หมด
    มนุษย์ ๗ จำพวก พระธรรมเทศนาโดย...หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ณ วัดป่าอุดมสมพร เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๑๘ มนุษย์ทั้งหลายมี ๗ จำพวก มนุษย์มี ๗ อย่าง มนุสสติรัจฉาโน ทำไมจึงว่ามนุสสติรัจฉาโน ดูซิ ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นสัตว์เดรัจฉาน คือมันขี้เกียจขี้คร้าน รับอาหารแล้วก็นอน ไม่รู้จักการกราบ ไม่รู้จักการไหว้ ไม่รู้จักการรักษาศีลภาวนา ทำบุญให้ทานอะไร เหมือนกับสัตว์เดรัจฉานน่ะ มนุษย์เช่นนั้นแหละตายไปก็ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ดูเอาซิ พิจารณาเอาซี ร่างกายเป็นมนุษย์แต่หัวใจเป็นสัตว์เดรัจฉาน มนุสสเปโต ร่างกายเป็นมนุษย์ แต่หัวใจเป็นเปรต มันมีแต่โมโหโทโส อยากฆ่า อยากฟัน ความทะเยอทะยานดิ้นรน มีพยาบาทอาฆาตจองเวร ดูซิ ใจมันมีอาฆาต นี่แหละมนุสสเปโต ร่างกายเป็นมนุษย์ เมื่อดับขันธ์ไปแล้วก็ไปเป็นเปรต มนุสสนิรเย ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นนรก หัวใจเป็นนรก คือมันมืด มันกลุ้มอกกลุ้มใจ ให้ทุกข์ให้ร้อน ดูเอาซิ นั่นแหละนรก ดับขันธ์ไปแล้วก็ไปนรกซี่ ได้รับความทุกข์ยากความลำบากรำคาญ นี่มนุษย์เช่นนี้ ทีนี้ถ้าไม่ไปเป็นอย่างนั้น เกิดเป็นมนุษย์ก็เป็นมนุษย์ที่ต่ำช้า หัวใจต่ำช้า อย่างอธิบายมาแล้ว ต่ำช้ายังไงล่ะ เป็นใบ้บ้าเสียจริต หูหนวกตาบอด ปากกืด กระจอกงอกง่อย ขี้ทูดกุฏฐัง ตกระกำลำบาก แน่ะ มนุษย์หัวใจเป็นยังงั้น ถ้าเกิดเป็นมนุษย์อีกก็เป็นมนุษย์ที่ต่ำช้า ดูซิ ใจเราทุกคน ไม่ว่าพระว่าเณร ไม่ว่าผู้หญิงผู้ชาย เอ้าดู อธิบายให้ฟัง ถ้ามันเป็นอย่างนั้นเราไม่ต้องการก็เลิกก็ละเสีย ให้รู้จักดีรู้จักชั่ว รู้จักผิดรู้จักถูก รู้จักฟัง อธิบายให้ฟัง มนุสสเทโว ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นเทวธิดา เทวบุตร หัวใจมีทาน มีศีล มีภาวนา รู้จักเคารพนอบน้อม รู้จักกราบรู้จักไหว้ ใจมีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวบาป ใจเบิกบาน ใจสว่างไสว ใจดี ดับขันธ์ก็ไปเป็นเทวบุตรเทวธิดา เรื่องเป็นอย่างนั้น ดูเอาซิ มนุสสพรหมา ท้าวมหาพรหม นางมหาพรหม หัวใจเช่นใด มีพรหมวิหาร มีพรหมวิหารธรรมเป็นเครื่องอยู่ หัวใจว่างไม่มีอะไร เหมือนกะอากาศนี้แหละ ว่างเปล่าหมด เหลือแต่อรูปจิต ดับขันธ์ไปเป็นพรหม ท้าวมหาพรหม นางมหาพรหม อยากรู้ก็ดูเอาซิ ที่อยู่ของเราเป็นอย่างนี้ มนุษย์ทั้งหลาย มนุสสอรหัตโต ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นพระอรหันต์ คือละกิเลส ละตัณหา กิเลสคือใจเศร้าหมอง ตัณหาคือใจทะเยอทะยานดิ้นรนกระวนกระวาย ท่านละกิเลสตัณหา ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ อวิชชา ตัณหาอุปาทาน ภพชาติ ละขาดในสันดาน ไม่มีสิ่งเหล่านี้ในจิตใจ เมื่อดับขันธ์ไปก็เข้าสู่นิพพาน ดับทุกข์ในวัฏสงสาร ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีก ก็เป็นแต่มนุษย์ ได้แต่มนุษย์ซิ เราจึงมาฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยของเรา เพ่งเล็งดูซิ เราอย่าดูอื่น เรานั่งอยู่ก็นั่งดูใจของเรา ไม่ได้ดูดินฟ้าอากาศนะ ใจของเรามันเป็นอย่างไร เหมือนที่อธิบายให้ฟังไหมล่ะ มันไม่ดีตรงไหนก็แก้ไขซิ ทีนี้ มนุสสพุทโธ ร่างกายเป็นมนุษย์ หัวใจเป็นพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็เป็นมนุษย์เหมือนกับพวกเรานี้ ว่าเรื่องภพเรื่องชาติของท่าน บิดามารดาของท่านก็มี บุตรภรรยาท่านก็มี ท่านเป็นมนุษย์ครือเรานี่แหละ แต่ท่านประพฤติปฏิบัติ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง เป็นสยัมภู ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ไม่มีบุคคลผู้ใดหรือใครแนะนำพร่ำสอน รู้ด้วยตนเองเป็นสยัมภู รู้แจ้งแทงตลอดหมดซึ่งสารพัดเญยยะธรรมทั้งหลาย ไม่มีที่ปกปิด สัตว์ทั้งหลาย ตนของท่าน บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณความรู้ความเห็นในบุพพชาติเบื้องหลัง เป็นอะไรๆ มา ท่านรู้หมด เรื่องมันเป็นอย่างนั้น จุตูปาตญาณ จุติจากนี้ไปอยู่ในภพชาติใด ภพน้อยภพใหญ่ ท่านรู้หมด คือเหมือนอธิบายให้ฟังนี้ อาสวักขยญาณ สิ้นจากภพจากชาติท่านก็รู้หมด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 594 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด (1)
    #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด (1)
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1293 มุมมอง 75 0 รีวิว
  • คนใจบอด ทำแต่ความชั่วช้า ลามก #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน#พระธรรมเทศนา #ธรรมเทศนา #ธรรมะ #ฟังเทศน์กัน #ฝากติดตาม #ฝากติดตามด้วย #สอนธรรมะ #tiktok #ธรรมะสวัสดี
    🔥คนใจบอด ทำแต่ความชั่วช้า ลามก 🔥 #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน#พระธรรมเทศนา #ธรรมเทศนา #ธรรมะ #ฟังเทศน์กัน #ฝากติดตาม #ฝากติดตามด้วย #สอนธรรมะ #tiktok #ธรรมะสวัสดี
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 943 มุมมอง 77 0 รีวิว
  • #บุญมีบาปมีนรกมีสวรรค์มี #โอวาทธรรมคําสอน #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระธรรมวิสุทธิมงคล #ธรรมะสอนใจ #ธรรมมะและแง่คิด #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #ครูบาอาจารย์ #ธรรมเทศนา #คําสอน #วัดป่าบ้านตาด
    #บุญมีบาปมีนรกมีสวรรค์มี #โอวาทธรรมคําสอน #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระธรรมวิสุทธิมงคล #ธรรมะสอนใจ #ธรรมมะและแง่คิด #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #ครูบาอาจารย์ #ธรรมเทศนา #คําสอน #วัดป่าบ้านตาด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1436 มุมมอง 67 0 รีวิว
  • #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด (1)
    #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด (1)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1286 มุมมอง 36 0 รีวิว
  • (วันจันทร์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗)

    วันนี้วันพระ เเรม ๑๔ คํ่า เดือน ๙

    ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง)
    จ. สุราษฎร์ธานี

    นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ
    ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
    และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม
    ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม
    แสดงพระธรรมเทศนาโดย ท่านพระอาจารย์
    พระครูสุตพิพัฒนานุการ
    ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ

    #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ
    วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ
    ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม

    เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม

    @วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง
    (วันจันทร์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗) วันนี้วันพระ เเรม ๑๔ คํ่า เดือน ๙ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง) จ. สุราษฎร์ธานี นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม แสดงพระธรรมเทศนาโดย ท่านพระอาจารย์ พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม @วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1318 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด
    #ธรรมเทศนา #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #คําสอน #ธรรมมะและแง่คิด #ธรรมมะสอนใจ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #โอวาทธรรมจากพ่อแม่ครูอาจารย์ #พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก #วัดป่าบ้านตาด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1374 มุมมอง 68 0 รีวิว
Pages Boosts