อัปเดตล่าสุด
  • ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 62 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    ทอดกฐินสามัคคีที่วัดดวงแข วันที่ ๑๔-๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๗ เวลา ๘.๓๐ เป็นต้นไป ณ วัดดวงเเข ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 61 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องวันครบรอบกาลมรณะภาพ ๓๐ ปี (อายุ ๑๐๓ ปี) และทำบุญอุทิศถวาย พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ) แลอดีตเจ้าอาวาสวัดดวงแข ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เวลา ๑๓.๐๐ น.
    เนื่องวันครบรอบกาลมรณะภาพ ๓๐ ปี (อายุ ๑๐๓ ปี) และทำบุญอุทิศถวาย พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ) แลอดีตเจ้าอาวาสวัดดวงแข ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เวลา ๑๓.๐๐ น.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (Temple of the Emerald Buddha )

    วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร (Wat Mahathat Yuwarajarangsarit Rajaworamahavihara )
    วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (Temple of the Emerald Buddha ) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร (Wat Mahathat Yuwarajarangsarit Rajaworamahavihara )
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว
  • Pali Language Examination Degree 1 - 2 ณ วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ( Wat Traimitr Withayaram Woravihan)
    Pali Language Examination Degree 1 - 2 ณ วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ( Wat Traimitr Withayaram Woravihan)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิธีไหว้บุพพครูอาจารย์ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ)
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒
    ..............................................................................
    เริ่มสวด นะโม 3 จบ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ๑. พุทธคุณ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

    ๒. ธรรมคุณ
    สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ

    ๓. สังฆคุณ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    ๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ)

    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

    ๕. มหาการุณิโก

    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา
    ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง
    นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ
    พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง
    สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ
    จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ


    ..............................................................................................


    ๖. พระคาถาชินบัญชร


    ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.

    ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.

    สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

    หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

    ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

    เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว


    กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.

    ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.

    เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

    ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

    ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

    ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.

    อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

    ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.

    อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    ๗. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*

    ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)

    พิธีไหว้บุพพครูอาจารย์ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ) วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ .............................................................................. เริ่มสวด นะโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ๑. พุทธคุณ อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ ๒. ธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ ๓. สังฆคุณ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ) ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ๕. มหาการุณิโก มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ .............................................................................................. ๖. พระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. ๗. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 39 0 รีวิว
  • วันมหาปวารณา (วันออกพรรษา) วัดดวงแข 29 ตุลาคม พ.ศ. 2566
    วันมหาปวารณา (วันออกพรรษา) วัดดวงแข 29 ตุลาคม พ.ศ. 2566
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 70 0 รีวิว
  • พิธีตักบาตรเทโว ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม. วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    พิธีตักบาตรเทโว ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม. วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 32 0 รีวิว
  • พิธีตักบาตรเทโว ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม. วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    พิธีตักบาตรเทโว ณ วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม. วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • วัดสระเกศ (วัดภูเขาทอง : temple of the Golden Mount Bangkok)
    วัดสระเกศ (วัดภูเขาทอง : temple of the Golden Mount Bangkok)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันปวารณาออกพรรษา วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒ค๖๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปี มะโรง ๑๔.๐๐ น.
    วันปวารณาออกพรรษา วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒ค๖๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปี มะโรง ๑๔.๐๐ น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • Wat Arun Ratchawararam Ratchawaramahawihan and Museum Siam
    Wat Arun Ratchawararam Ratchawaramahawihan and Museum Siam
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • Kathin Ceremony at Duangkhae Temple, on Sunday , 7 November 2021. at 9.00 - 12.00 A.M.
    Kathin Ceremony at Duangkhae Temple, on Sunday , 7 November 2021. at 9.00 - 12.00 A.M.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 21 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 22 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระปาฏิโมกข์ เสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระปาฏิโมกข์ เสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 45 0 รีวิว
  • งานทำบุญอุทิศถวายอดีตเจ้าอาวาสวัดดวงแข แขวรองเมือง เขตปทุมวัน กทม
    งานทำบุญอุทิศถวายอดีตเจ้าอาวาสวัดดวงแข แขวรองเมือง เขตปทุมวัน กทม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์โต วัดอินทรวิหาร
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์โต วัดอินทรวิหาร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานทำบุญประจำปีที่ ๒๘ วันอาทิตย์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร บุญมาก - ฐิตปุญฺโญ) ณ กุฏิวิมลธรรมภาณ (กุฏิ ๓) วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม.
    งานทำบุญประจำปีที่ ๒๘ วันอาทิตย์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร บุญมาก - ฐิตปุญฺโญ) ณ กุฏิวิมลธรรมภาณ (กุฏิ ๓) วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์
    พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด
    พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์
    พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา
    จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย
    พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป
    เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ
    พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
    การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
    การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ( National Museum Bangkok ) : ขอขอบพระคุณความรู้ที่ได้รับ แสดงสิ่งที่มีคุณค่าให้คนรุ่นหลังได้ประจักษ์ รักษาร่องรอยวัฒนธรรมตลอดกาลนาน

    ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต)
    ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ( National Museum Bangkok ) : ขอขอบพระคุณความรู้ที่ได้รับ แสดงสิ่งที่มีคุณค่าให้คนรุ่นหลังได้ประจักษ์ รักษาร่องรอยวัฒนธรรมตลอดกาลนาน ดร. พระมหาศุภชัย แซ่เถียร (อชิโต) ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • มีพบก็ต้องมีจาก ! สมดังคำพุทธพจน์ที่ทรงตรัสไว้ว่า

    อนิจจา วต สังขารา
    สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ

    อุปปาทะวะยะธัมมิโน
    มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา

    อุปัชชิตวานิรุชฌันติ
    มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา

    เตสังวูปะสะโมสุโข
    การเข้าไปสงบระงับสังขารทั้งหลายทั้งปวงได้ เป็นความสุข

    อะจิรัง วะตะยัง กาโย ร่างกายนี้หนอ ในไม่ช้า

    ปะฐะวิง อะธิเสสสะติ
    จักนอนทับพื้นดิน

    ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ
    ถูกทอดทิ้ง ปราศจากวิญญาณ

    นิรัตถัง วะ กะลิงคะรัง
    ประดุจท่อนไม้และท่อนฟืนที่หาประโยชน์มิได้
    มีพบก็ต้องมีจาก ! สมดังคำพุทธพจน์ที่ทรงตรัสไว้ว่า อนิจจา วต สังขารา สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ อุปปาทะวะยะธัมมิโน มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา อุปัชชิตวานิรุชฌันติ มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เตสังวูปะสะโมสุโข การเข้าไปสงบระงับสังขารทั้งหลายทั้งปวงได้ เป็นความสุข อะจิรัง วะตะยัง กาโย ร่างกายนี้หนอ ในไม่ช้า ปะฐะวิง อะธิเสสสะติ จักนอนทับพื้นดิน ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ ถูกทอดทิ้ง ปราศจากวิญญาณ นิรัตถัง วะ กะลิงคะรัง ประดุจท่อนไม้และท่อนฟืนที่หาประโยชน์มิได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
เรื่องราวเพิ่มเติม