อัปเดตล่าสุด
- อานิสงส์ในการกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ๖ ประการนี้
๖ ประการเป็นไฉน คือบุคคลย่อมเป็นผู้แน่นอนในพระสัทธรรม ๑ ย่อมเป็นผู้มีความไม่เสื่อม
เป็นธรรมดา ๑ เขาผู้กระทำที่สุดแห่งทุกข์แล้วย่อมไม่มีทุกข์ ๑ เป็นผู้ประกอบด้วยอสาธารณญาณ ๑
เขาเห็นเหตุแล้วด้วยดี ๑ และเห็นธรรมที่เกิดขึ้นแต่เหตุด้วยดี ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์
ในการกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ๖ ประการนี้แล ฯ
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง ปัญจก. อํ .๒๒/๓๙๔/๓๖๘0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิวกรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น! - ภิกษุสงฆ์เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพด้วยเดรัจฉานวิชาได้หรือไม่
ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่
สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วย
ติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ทำพิธีบนบาน ทำพิธีแก้บน ร่ายมนต์ขับผี สอนมนต์ป้องกัน
บ้านเรือน ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย ทำชายให้กลายเป็นกะเทย ทำพิธีปลูกเรือน ทำพิธี
บวงสรวงพื้นที่ พ่นน้ำมนต์ รดน้ำมนต์ ทำพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสำรอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยา
ถ่ายโทษเบื้องบน ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยาตา
ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทากัด ปรุงยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล
แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง.
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง – สีลขันธวรรค . ที .๙/๖๖/๑๒๐
อธิบายเพิ่มเติม
โดยเฉพาะในเรื่องของหมอดู หรือว่าเรื่องอื่น ๆ ซึ่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้คำว่า หากินด้วยเดรัจฉานวิชา ถือว่าไม่ใช่สาวกขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ว่าจะเป็นเสกน้ำมนต์ พ่นน้ำหมาก สร้างวัตถุมงคล ทำนายทายทักอะไรก็ดี จัดอยู่ในประเภทนี้ทั้งนั้น แล้วถ้าท่านทั้งหลายถามว่า “ในเมื่อเป็นเช่นนั้น แล้ววัดท่าขนุนยังสร้างวัตถุมงคลไปทำอะไร ?” ก็ขอตอบว่า “เพราะว่ากูไม่โง่..!”
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านใช้คำว่า หากินด้วยเดรัจฉานวิชา แปลว่า ทำเป็นอาชีพ ในเมื่อเราไม่ทำเป็นอาชีพ ก็ไม่ได้หากินด้วยเดรัจฉานวิชา เพราะฉะนั้น..ไม่ว่าเราจะทำอะไร ก็ต้องพิจารณาให้ชัดเจน เพราะว่าสิ่งที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเอาไว้นั้น พระองค์ท่านทำไปก็เพื่อความบริสุทธิ์ผุดผ่อง น่าเลื่อมใสของพระพุทธศาสนา เผื่อว่าจะฉลาดขึ้น…! อย่าลืมว่าพระพุทธเจ้าตรัสว่า เลี้ยงชีวิตด้วยวิธีการนั้น ๆ สำหรับท่านที่ไม่ได้เลี้ยงชีวิตด้วยวิธีการนั้น ๆ แต่ทำเพื่อสงเคราะห์ญาติโยมก็ทำไปสิครับ..!
พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน
วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๗0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว - บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม
กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง
1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘)
มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘
2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์
ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ
3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ
ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง
4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ
1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล
2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล
3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต
พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน
ดังข้อความว่า
"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส
คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า
5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ
“ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ;
เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ.
"พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม
ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ
การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์
6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้
๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี
เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด
"อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ."
วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙.
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8
๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ
สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล”
(วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.)
วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ
(๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช)
7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร
เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
(ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.)
8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน
โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น
จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ
9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า
“อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์
วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20
หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด
10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า
“ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม;
คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก .
๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง
๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้
๗. ไม่ชักนำในอฐานะ
ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ
ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม
อธิบายความ
1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓)
2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา
3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ
4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓)
11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม
12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ
ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า
“อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
“อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
(ที.มหา.10/134/78.)
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3
คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน
ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้
13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ
ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต
ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา
ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย
15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด
การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่
(มี ต่อ 16-18)
อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิดบาป 18 ประการ คนตื่นธรรม กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง 1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘) มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘ 2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์ ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ 3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง 4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ 1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล 2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล 3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า 5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ; เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ. "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์ 6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้ ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ." วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙. https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8 ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล” (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.) วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช) 7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.) 8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ 9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์ วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20 หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด 10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม; คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก . ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้ ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม อธิบายความ 1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓) 2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา 3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ 4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓) 11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม 12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” (ที.มหา.10/134/78.) https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3 คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ 13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น. 14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย 15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่ (มี ต่อ 16-18) อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 202 มุมมอง 0 รีวิว - 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
- บุคคลทำกรรมใดเเล้ว ย่อมไม่เดือดร้อนใจ
ในภายหลัง มีปีติเอิบอิ่มบุคคลทำกรรมใดเเล้ว ย่อมไม่เดือดร้อนใจ ในภายหลัง มีปีติเอิบอิ่ม1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 129 มุมมอง 38 0 รีวิว - 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
- ขออนุญาตเป็นสะพานบุญเรียนเชิญท่านสาธุชน
พุทธบริษัท ร่วมทำบุญบูรณะมณฑปหลวงพ่อพัฒน์
นารโท วัดพัฒนาราม
(พระอารามหลวง ) จ.สุราษฎร์ธานี
ได้ที่บัญชีธนาคารกรุงไทย
ชื่อบัญชี โครงการบูรณะมณฑปหลวงพ่อพัฒน์ นารโท
เลขที่บัญชี 362-0-56711-5
อานิสงส์ของวิหารทาน
สังฆทานนั้นมีอานิสงส์มากกว่าทานทั่วไป เพราะเป็นทานที่ต่ออายุพระพุทธศาสนา ทานที่จะมีอานิสงส์ที่ใหญ่กว่าสังฆทานก็มีแต่วิหารทานและธรรมทานเท่านั้น
สำหรับสถานที่ซึ่งเป็นวิหารทานและมีการใช้สอยเป็นปกติ ไม่ว่าจะเป็นโบสถ์ ศาลาการเปรียญ หรือสถานปฏิบัติธรรมนั้น ทุกครั้งที่มีบุคคลเข้าไปใช้ เจ้าของจะได้อานิสงส์เพิ่มขึ้นทุกครั้งไป วิหารทานจึงเป็นทานที่มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาของอามิสทาน คือ ทานที่เป็นสิ่งของทั่ว ๆ ไป
ยกเว้นเสียจากธรรมทานแล้ว ไม่มีอานิสงส์อะไรใหญ่กว่าวิหารทานอีก เราจึงเห็นว่าคนโบราณนิยมสร้างโบสถ์ สร้างศาลาการเปรียญ เพราะเมื่อบุคคลเข้าไปใช้สอย โดยเฉพาะพระที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ยิ่งใช้สอยมากเท่าไร อานิสงส์ก็พอกพูนมากขึ้นเท่านั้น เหมือนกับเราปลูกต้นไม้ผล ถึงเวลาก็ผลิดอกออกผลไปเรื่อย ๆ ไม่รู้จบ จนกว่าวิหารหลังนั้นจะหมดสภาพไปเอง
...................................
ที่มาบทความธรรมะ : เว็บวัดท่าขนุนขออนุญาตเป็นสะพานบุญเรียนเชิญท่านสาธุชน พุทธบริษัท ร่วมทำบุญบูรณะมณฑปหลวงพ่อพัฒน์ นารโท วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง ) จ.สุราษฎร์ธานี ได้ที่บัญชีธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี โครงการบูรณะมณฑปหลวงพ่อพัฒน์ นารโท เลขที่บัญชี 362-0-56711-5 อานิสงส์ของวิหารทาน สังฆทานนั้นมีอานิสงส์มากกว่าทานทั่วไป เพราะเป็นทานที่ต่ออายุพระพุทธศาสนา ทานที่จะมีอานิสงส์ที่ใหญ่กว่าสังฆทานก็มีแต่วิหารทานและธรรมทานเท่านั้น สำหรับสถานที่ซึ่งเป็นวิหารทานและมีการใช้สอยเป็นปกติ ไม่ว่าจะเป็นโบสถ์ ศาลาการเปรียญ หรือสถานปฏิบัติธรรมนั้น ทุกครั้งที่มีบุคคลเข้าไปใช้ เจ้าของจะได้อานิสงส์เพิ่มขึ้นทุกครั้งไป วิหารทานจึงเป็นทานที่มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาของอามิสทาน คือ ทานที่เป็นสิ่งของทั่ว ๆ ไป ยกเว้นเสียจากธรรมทานแล้ว ไม่มีอานิสงส์อะไรใหญ่กว่าวิหารทานอีก เราจึงเห็นว่าคนโบราณนิยมสร้างโบสถ์ สร้างศาลาการเปรียญ เพราะเมื่อบุคคลเข้าไปใช้สอย โดยเฉพาะพระที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ยิ่งใช้สอยมากเท่าไร อานิสงส์ก็พอกพูนมากขึ้นเท่านั้น เหมือนกับเราปลูกต้นไม้ผล ถึงเวลาก็ผลิดอกออกผลไปเรื่อย ๆ ไม่รู้จบ จนกว่าวิหารหลังนั้นจะหมดสภาพไปเอง ................................... ที่มาบทความธรรมะ : เว็บวัดท่าขนุน0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 242 มุมมอง 0 รีวิว - วันอังคารที่ ๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๗
- คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
นำโดยท่านพระอาจารย์พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
ลงจัดสถานที่ ณ พระวิหาร เพื่อรับศรัทธาญาติโยม
ที่นำปิ่นโตมารับตายายในวันสารทเดือนสิบที่จะมีในวันพรุ่งนี้ สถานที่พร้อม
ขอเรียนเชิญทุกท่าน ช่วยสืบสานประเพณี
โดยแบ่งช่วงเวลา
#เวลาเช้า ๐๘.๐๐ น. & #เวลาเพล ๑๐.๐๐ น.
ท่านสะดวกเวลาไหนก็มาได้ มี ๒ช่วงเวลานะ
สารทไทย หมายถึงอะไร
พระยาอนุมานราชธน ได้เขียนเล่าในหนังสือเทศกาลและประเพณีไทยว่า คำว่า "สารท" เป็นคำอินเดีย หมายถึง "ฤดู" ตรงกับฤดูในภาษาอังกฤษ ที่เรียกว่า "ออทั่ม" หรือ ฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งจะมีเฉพาะบางเขตของโลกอย่างยุโรป จีน และอินเดียตอนเหนือ เท่านั้น ช่วงนั้นเป็นระยะที่พืชพรรณธัญชาติ และผลไม้ เริ่มสุกให้พืชผลครั้งแรกในฤดู ดังนั้น ประชาชนจึงรู้สึกยินดี และถือเป็นเทศกาลแห่งความรื่นเริง จึงมักทำพิธีตามความเชื่อและเลี้ยงดูกันอย่างที่เรียกว่า "Seasonal Festival"
โดยบางแห่งก็จะมีการนำพืชผลที่เก็บเกี่ยวได้ครั้งแรกที่เรียกว่า "ผลแรกได้" ไปสังเวยหรือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเองนับถือ เพื่อความเป็นสิริมงคล และแสดงความเคารพที่ท่านช่วยบันดาลให้พืชพรรณธัญญาหารอุดมสมบูรณ์จนเก็บเกี่ยวได้ เช่น พิธีปงคัล ในอินเดียตอนใต้ ที่มีพิธีต้มข้าวกับน้ำนมทำเป็นขนม เรียกว่า ข้าวทิพย์ ข้าวปายาส ถวายพระคเณศ เป็นต้น
ที่มาบทความ : เว็บกระปุกดอทคอม
อย่าลืมมารับ คุณตาคุณยายที่วัดพัฒนารามนะ
เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโม วันอังคารที่ ๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๗ - คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) นำโดยท่านพระอาจารย์พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) ลงจัดสถานที่ ณ พระวิหาร เพื่อรับศรัทธาญาติโยม ที่นำปิ่นโตมารับตายายในวันสารทเดือนสิบที่จะมีในวันพรุ่งนี้ สถานที่พร้อม ขอเรียนเชิญทุกท่าน ช่วยสืบสานประเพณี โดยแบ่งช่วงเวลา #เวลาเช้า ๐๘.๐๐ น. & #เวลาเพล ๑๐.๐๐ น. ท่านสะดวกเวลาไหนก็มาได้ มี ๒ช่วงเวลานะ สารทไทย หมายถึงอะไร พระยาอนุมานราชธน ได้เขียนเล่าในหนังสือเทศกาลและประเพณีไทยว่า คำว่า "สารท" เป็นคำอินเดีย หมายถึง "ฤดู" ตรงกับฤดูในภาษาอังกฤษ ที่เรียกว่า "ออทั่ม" หรือ ฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งจะมีเฉพาะบางเขตของโลกอย่างยุโรป จีน และอินเดียตอนเหนือ เท่านั้น ช่วงนั้นเป็นระยะที่พืชพรรณธัญชาติ และผลไม้ เริ่มสุกให้พืชผลครั้งแรกในฤดู ดังนั้น ประชาชนจึงรู้สึกยินดี และถือเป็นเทศกาลแห่งความรื่นเริง จึงมักทำพิธีตามความเชื่อและเลี้ยงดูกันอย่างที่เรียกว่า "Seasonal Festival" โดยบางแห่งก็จะมีการนำพืชผลที่เก็บเกี่ยวได้ครั้งแรกที่เรียกว่า "ผลแรกได้" ไปสังเวยหรือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเองนับถือ เพื่อความเป็นสิริมงคล และแสดงความเคารพที่ท่านช่วยบันดาลให้พืชพรรณธัญญาหารอุดมสมบูรณ์จนเก็บเกี่ยวได้ เช่น พิธีปงคัล ในอินเดียตอนใต้ ที่มีพิธีต้มข้าวกับน้ำนมทำเป็นขนม เรียกว่า ข้าวทิพย์ ข้าวปายาส ถวายพระคเณศ เป็นต้น ที่มาบทความ : เว็บกระปุกดอทคอม อย่าลืมมารับ คุณตาคุณยายที่วัดพัฒนารามนะ เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโม 0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 391 มุมมอง 0 รีวิว - วันอังคารที่๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗
วันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐
อุโบสถ ที่ ๔ ฤดูฝน
คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
ร่วมกับคณะสงฆ์วัดแหลมทองลงพระอุโบสถทบทวนพระปาติโมกข์ จำนวน ๓๓รูป
องค์แสดงพระปาติโมกข์ : พระมหาณรงค์ศักดิ์
จิตวิริโย
เพื่อทบทวนสิกขาบทที่พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินัยตลอดปีทุกกึ่งเดือน เพื่อความพร้อมเพรียงความงดงามของหมู่คณะสงฆ์
การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น
พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์นาถธมฺโม
วัดพัฒนาราม พระอารามหลวงวันอังคารที่๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ วันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ อุโบสถ ที่ ๔ ฤดูฝน คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) ร่วมกับคณะสงฆ์วัดแหลมทองลงพระอุโบสถทบทวนพระปาติโมกข์ จำนวน ๓๓รูป องค์แสดงพระปาติโมกข์ : พระมหาณรงค์ศักดิ์ จิตวิริโย เพื่อทบทวนสิกขาบทที่พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินัยตลอดปีทุกกึ่งเดือน เพื่อความพร้อมเพรียงความงดงามของหมู่คณะสงฆ์ การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์นาถธมฺโม วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว - (วันอังคารที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗)
วันนี้วันพระ เเรม ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐
ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง)
จ. สุราษฎร์ธานี
นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
เป็นประธานคณะสงฆ์ และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม
ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม
- แสดงพระธรรมเทศนาโดยท่านอาจารย์พระมหาอรุณ อรุโณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ
#ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ
วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ
ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม
เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม
วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง(วันอังคารที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗) วันนี้วันพระ เเรม ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง) จ. สุราษฎร์ธานี นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) เป็นประธานคณะสงฆ์ และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม - แสดงพระธรรมเทศนาโดยท่านอาจารย์พระมหาอรุณ อรุโณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง - เรื่อง การทำสมาธิ ถ้าไม่มุ่งพระโสดาบัน จะขาดทุน
โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ
..." สมาธินี่เป็นของดี เพื่อทำจิตให้ทรงตัว จะต้องรู้ว่า การทรงตัว เราทรงตัวเพื่อเอากำลังของสมาธิไปทำอะไร ให้มันเป็นประโยชน์ ประโยชน์ที่มีความสำคัญที่สุด คือ ตัดอบายภูมิ..
~ คือว่า การเกิดชาตินี้ ถ้าตายไปเมื่อไร ขึ้นชื่อว่า อบายภูมิ เราจะไม่ไปอีก ถ้ามันจะมีการเกิดอีกกี่ชาติก็ตามที เราจะไม่ยอมลงอบายภูมิ เรื่อง อบายภูมิ ไม่มีสิทธิ์จะดึงเราลงไป นั่นก็คือ ต้องทรงอารมณ์จิตให้เป็น พระโสดาบัน..
* ฉะนั้น การเจริญสมาธิ ที่เจริญกันเพื่อความเป็น พระโสดาบัน เป็นอย่างต่ำ จึงจะถูก และ เนื้อแท้จริง ๆ คนที่จะเป็น พระโสดาบัน ไม่ต้องหลับตาก็เป็น นั่งลืมตาก็ได้.. ถ้าหลับตาเสมอ พระโสดาบัน ไปชนบ้านช่อง ของเขาพังหมด..! ต้อง ลืมตาเป็นก็ได้..
~ คือว่า พระโสดาบัน.. พระพุทธเจ้า ตรัสว่า.. เป็นผู้มีปัญญาเล็กน้อย มีสมาธิเล็กน้อย แต่ว่า มีศีล บริสุทธิ์..
~ ทีนี้ อีกนัยหนึ่ง ท่านกล่าวว่า.. พระโสดาบัน กับ สกิทาคามี เป็นผู้ทรง อธิศีล..
.. พระอนาคามี เป็นผู้ทรง อธิจิต..
.. พระอรหันต์ เป็นผู้ทรง อธิปัญญา..
~ อธิ เขาแปลว่า ยิ่ง .. ฉะนั้น พระโสดาบัน ความสำคัญจริง ๆ อยู่ที่ ศีล ๕ สำหรับ ฆราวาส..
~ และ การเจริญสมาธิ ถ้าทำ ฌานสมาบัติ แล้วก็ไม่มุ่งความเป็น พระโสดาบัน.. อาตมาว่า ขาดทุน เอาเวลานั้น ไปทำมาหากินดีกว่า เราทำไปแล้ว ก็ทำอะไรไม่ได้ ได้แต่นั่งภาวนา ทำจิตนิ่ง ๆ
~ เลิกมาแล้ว นิวรณ์ มันก็กวนตามเดิม แล้วเราก็ยังมีสิทธิ์ตกนรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย.. มันจะมีประโยชน์อะไร..."
( จากหนังสือ รวมคำสอนธรรมปฏิบัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๒๖ ของวัดท่าซุง )0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว - ควรศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อมีถ้อยคำซึ่งจะเป็นเหตุให้ทุ่มเถียงกัน ก็จำต้องหวังการพูดมาก เมื่อมีการพูดมาก ย่อมคิดฟุ้งซ่าน
เมื่อคิดฟุ้งซ่าน ย่อมไม่สำรวม
เมื่อไม่สำรวม จิตย่อมห่างจากสมาธิ
https://www.thenirvanalive.com/2024/09/13/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B9%88/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว - พุทธโอวาท ตอนพุทธวิธีทำลายความง่วง
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลา มิคทายวันใกล้สุงสุมาร
คีรนคร แคว้นภัคคะ ก็สมัยนั้นแล ท่านมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม
แคว้นมคธ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้าน
กัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุมนุษย์ ครั้นแล้วทรงหายจาก
เภสกลามิคทายวันใกล้สุงสุมารคีรนคร แคว้นภัคคะ เสด็จไปปรากฏเฉพาะหน้าท่านพระมหา
โมคคัลลานะ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลังเหยียดแขนที่คู้
หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดแล้ว ครั้นแล้วได้ตรัส
ถามท่านพระมหาโมคคัลลานะว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอง่วงหรือ ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอง่วงหรือ
ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
ดูก่อนโมคคัลลานะ เพราะเหตุนั้นแหละ เมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรอยู่ ความง่วงนั้นย่อม
ครอบงำได้ เธอพึงทำไว้ในใจซึ่งสัญญานั้นให้มาก ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้
ถ้าเธอยังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ตนได้สดับแล้ว ได้เรียนมาแล้ว
ด้วยใจ ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงสาธยายธรรมตาม
ที่ตนได้สดับมาแล้วได้เรียนมาแล้วโดยพิสดาร ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายัง
ละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงยอนช่องหูทั้งสองข้าง เอามือลูบตัว ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วง
นั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงลุกขึ้นยืน เอาน้ำล้างตา เหลียวดูทิศทั้งหลาย แหงนดูดาว
สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน
https://www.thenirvanalive.com/2024/09/13/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B9%88/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว - รีวิวแพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธเครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวพุทธ
thenirvanalive.com ( เว็บบอร์ดพระนิพพาน) แพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธและคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาพัฒนาโดยชาวพุทธไทย เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่
สามารถค้นหาธรรมะที่ถูกปิดกั้นได้และ สามารถเข้ามา แบ่งปันบทความตั้งกระทู้ธรรมะได้อย่างอิสระ ทางเว็บฯ
มีห้องและพื้นที่ให้ท่านเข้ามาแบ่งปันนธรรมะและะความรู้
ได้อย่างอิสระ โดยไม่ถูกการปิดกั้นการมองเห็นเหมือนแพลตฟอร์มอื่น
- ท่านที่ชอบการอ่านเข้ามาอ่านบทความธรรมะดีๆๆ มากมายได้แล้ววันนี้
- ท่านที่ชอบลงบทความธรรมะให้ปัญญาคนสามารถตั้งกระทู้ได้แล้ววันนี้
- ท่านที่ชอบการ บูชาพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆ สามารถเข้ามาหาบูชากันได้แล้ววันนี้
- แพลตฟอร์มที่ลงบทความธรรมะและะความรู้อื่นโดย
ไม่โดนปิดกั้น
ท่านสามารถค้นหาเว็บบอร์ดพระนิพพานได้ใน Google
พิมพ์คำว่า เว็บบอร์ดพระนิพพาน เลย รีบสมัครสมาชิกเลย
https://www.thenirvanalive.com/เว็บบอร์ดพระนิพพาน/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว - รีวิวแพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธเครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวพุทธ
thenirvanalive.com ( เว็บบอร์ดพระนิพพาน) แพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธและคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาพัฒนาโดยชาวพุทธไทย เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่
สามารถค้นหาธรรมะที่ถูกปิดกั้นได้และ สามารถเข้ามา แบ่งปันบทความตั้งกระทู้ธรรมะได้อย่างอิสระ ทางเว็บฯ
มีห้องและพื้นที่ให้ท่านเข้ามาแบ่งปันนธรรมะและะความรู้
ได้อย่างอิสระ โดยไม่ถูกการปิดกั้นการมองเห็นเหมือนแพลตฟอร์มอื่น
- ท่านที่ชอบการอ่านเข้ามาอ่านบทความธรรมะดีๆๆ มากมายได้แล้ววันนี้
- ท่านที่ชอบลงบทความธรรมะให้ปัญญาคนสามารถตั้งกระทู้ได้แล้ววันนี้
- ท่านที่ชอบการ บูชาพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆ สามารถเข้ามาหาบูชากันได้แล้ววันนี้
- แพลตฟอร์มที่ลงบทความธรรมะและะความรู้อื่นโดย
ไม่โดนปิดกั้น
ท่านสามารถค้นหาเว็บบอร์ดพระนิพพานได้ใน Google
พิมพ์คำว่า เว็บบอร์ดพระนิพพาน เลย รีบสมัครสมาชิกเลย
https://www.thenirvanalive.com/เว็บบอร์ดพระนิพพาน/รีวิวแพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธเครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวพุทธ thenirvanalive.com ( เว็บบอร์ดพระนิพพาน) แพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธและคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาพัฒนาโดยชาวพุทธไทย เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ สามารถค้นหาธรรมะที่ถูกปิดกั้นได้และ สามารถเข้ามา แบ่งปันบทความตั้งกระทู้ธรรมะได้อย่างอิสระ ทางเว็บฯ มีห้องและพื้นที่ให้ท่านเข้ามาแบ่งปันนธรรมะและะความรู้ ได้อย่างอิสระ โดยไม่ถูกการปิดกั้นการมองเห็นเหมือนแพลตฟอร์มอื่น - ท่านที่ชอบการอ่านเข้ามาอ่านบทความธรรมะดีๆๆ มากมายได้แล้ววันนี้ - ท่านที่ชอบลงบทความธรรมะให้ปัญญาคนสามารถตั้งกระทู้ได้แล้ววันนี้ - ท่านที่ชอบการ บูชาพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆ สามารถเข้ามาหาบูชากันได้แล้ววันนี้ - แพลตฟอร์มที่ลงบทความธรรมะและะความรู้อื่นโดย ไม่โดนปิดกั้น ท่านสามารถค้นหาเว็บบอร์ดพระนิพพานได้ใน Google พิมพ์คำว่า เว็บบอร์ดพระนิพพาน เลย รีบสมัครสมาชิกเลย https://www.thenirvanalive.com/เว็บบอร์ดพระนิพพาน/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 424 มุมมอง 0 รีวิว - ตัวกู-ของกู
ในร่างกายของคนเรามีแบคทีเรีย (Bacteria) อาศัยอยู่ เกือบ ๑,๕๐๐ ชนิด มีจํานวนมากกว่าเซลล์ร่างกายสิบต่อหนึ่ง แทบจะเรียก ได้ว่า “เรานั่นเองคือแบคทีเรีย” เพราะจุลินทรีย์เหล่านี้ ช่วยย่อย สารอาหาร ควบคุมการขับเหงื่อ เปลี่ยนกลูโคสเป็นกล้ามเนื้อ โจมตี เชื้อก่อโรคและซ่อมแซมเซลล์ แหล่งแบคทีเรียที่ใหญ่ที่สุด และระบบ ภูมิคุ้มกัน ร้อยละ ๘๐ อยู่ในลำไส้ โดยมีจุลินทรีย์ราว ๑๐๐ ล้าน ล้านตัว ซึ่งหนักถึงสองกิโลกรัม สำไส้ยังประกอบด้วยเซลล์ประสาท นับล้านเซลล์ ที่รับสัญญาณจากแบคทีเรียอย่างต่อเนื่อง แบคทีเรีย จึงเป็นอวัยวะสำคัญที่สุด สรุปง่ายๆ คือมนุษย์อยู่ไม่ได้ หากไม่มี แบคทีเรีย
หากแบคทีเรียคิดได้ มันคงคิดว่า ร่างกายของมนุษย์ คือ
บ้านกูๆๆๆ
ไรขนตา (Eyelash Mites) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจำพวกปรสิต
สำหรับตัวผู้เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดประมาณ มิลลิเมตร ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีลักษณะร่างกายถึง โปร่งใส ลำตัวยาว ส่วนบนเป็นส่วนที่มีขาสั้นๆ แปดขา มีปากเหมือน เข็มที่ไว้สำหรับกินเซลล์ผิวหนังซึ่งมีน้ำมันตามรูขุมขน ส่วนที่สองเป็น ส่วนลำตัวที่จะฝังอยู่ในรูขุมขน
วงจรชีวิตของไรขนตา มีอายุประมาณไม่ถึงเดือน เมื่อตัวผู้ ตัว เมียผสมพันธุ์กัน จะออกไข่ไว้ในรัง (รูขุมขน) อีก ๓-๔ วัน ก็จะชัก เป็นตัว และใช้เวลาอีกประมาณ ๗ วันก็จะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และ เมื่อพวกมันตายลงก็จะใช้รูขุมขนเป็นหลุมฝังศพของพวกมัน มนุษย์ ผู้ใหญ่ร้อยละ ๙๕-๙๘ มีไรขนตาอยู่บนร่างกาย แต่เด็กจะมีน้อยกว่า เนื่องจากมีน้ำมันที่ขับออกตามรูขุมขนน้อยกว่า ไรขนตาสามารถ ติดต่อได้โดยการสัมผัสบริเวณ ขน ผม อาจก่อปัญหาให้เกิดอาการ คันเล็กน้อย ไม่มีอันตรายร้ายแรงแต่อย่างใด
สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้
https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%98%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%95-5/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 0 รีวิว - พุทธโอวาท ตอน อเนญชสัปปายสูตร
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมชื่อกัมมาสธรรม ของชาวกุรุในแคว้นกุรุสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว
พระมีพระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กามไม่เที่ยง เป็นของว่าง
เปล่า เลือนหายไปเป็นธรรมดา ลักษณะของกามดังนี้ ได้ทำความล่อลวงเป็นที่บ่นถึงของคน
พาล กามทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า และกามสัญญาทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า
ทั้ง ๒ อย่างนี้ เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่ง มาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร
ในกามนี้ ย่อมมีอกุศลลามกเหล่านี้เกิดที่ใจคือ อภิชฌาบ้าง พยาบาทบ้าง สารัมภะบ้าง เป็นไป
กามนั่นเอง ย่อม เกิดเพื่อเป็นอันตรายแก่อริยสาวกผู้ตามศึกษาอยู่ในธรรมวินัยนี้
สามารถอ่านศึกษาต่อที่เว็บไซต์พระนิพพาน
https://www.thenirvanalive.com/2024/09/05/พทธโอวาท-อเนญชสปปายสตร/
#พุทธโอวาท0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 0 รีวิว - “มนุญฺญเมว ภาเสยฺย นามนุญฺญํ กุทาจนํ
แปลความว่า
บุคคล ควรพูดคำที่เจริญใจเท่านั้น ไม่ควรพูด
คำที่ไม่เจริญใจในกาลไหน "
#พุทธโอวาท0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว - วันนี้วันพระใหญ่ได้ทำบุญใหญ่ชื้อนํ้าปานะถวายพระภิกษุสงฆ์ที่ลงพระอุโบสถทบทวน
พระปาติโมกข์ จำนวน ๓๒ รูป
ณ วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
อนุโมทนาบุญสาธุๆๆๆ บุญ
อานิสงส์การถวายน้ำปานะพระภิกษุสงฆ์
ในการทำบุญด้วยน้ำ จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า ตราบเท้าเข้าสู่พระนิพพาน ฯ
 การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น
พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
เขียนโดย : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโมวันนี้วันพระใหญ่ได้ทำบุญใหญ่ชื้อนํ้าปานะถวายพระภิกษุสงฆ์ที่ลงพระอุโบสถทบทวน พระปาติโมกข์ จำนวน ๓๒ รูป ณ วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) อนุโมทนาบุญสาธุๆๆๆ บุญ อานิสงส์การถวายน้ำปานะพระภิกษุสงฆ์ ในการทำบุญด้วยน้ำ จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า ตราบเท้าเข้าสู่พระนิพพาน ฯ  การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ เขียนโดย : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโม - วันพระแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙
อุโบสถ ที่ ๓ ฤดูฝน
วันจันทร์ที่๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗
คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
ร่วมกับคณะสงฆ์วัดแหลมทองลงพระอุโบสถทบทวนพระปาติโมกข์ จำนวน ๓๒ รูป
องค์แสดงพระปาติโมกข์ : พระมหาศรวุฒิ สิริวณฺโณ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
เพื่อทบทวนสิกขาบทที่พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินัยตลอดปีทุกกึ่งเดือน เพื่อความพร้อมเพรียงความงดงามของหมู่คณะสงฆ์
การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น
พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์นาถธมฺโม
วัดพัฒนาราม พระอารามหลวงวันพระแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ อุโบสถ ที่ ๓ ฤดูฝน วันจันทร์ที่๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ คณะสงฆ์วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) ร่วมกับคณะสงฆ์วัดแหลมทองลงพระอุโบสถทบทวนพระปาติโมกข์ จำนวน ๓๒ รูป องค์แสดงพระปาติโมกข์ : พระมหาศรวุฒิ สิริวณฺโณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) เพื่อทบทวนสิกขาบทที่พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินัยตลอดปีทุกกึ่งเดือน เพื่อความพร้อมเพรียงความงดงามของหมู่คณะสงฆ์ การสวดปาฏิโมกข์ เป็นการทบทวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระภิกษุ โดยจะมีการสวดทุก ๑๕ วัน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ในเดือนเต็ม หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจของสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ เครดิตรูปภาพ : พระมหาวรสถิตย์นาถธมฺโม วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 291 มุมมอง 0 รีวิว - มโนมยิทธิ : ผู้ฝึกใหม่
✨ “มโนมยิทธิ” นี่ก็เป็นทั้งกสิณด้วย และก็เป็นพุทธานุสติด้วย คำว่า "#พุทธานุสสติ" คือ นึกถึงพระพุทธเจ้าเห็นภาพพระพุทธเจ้า หรือภาพพระพุทธรูป ถ้าพระพุทธรูปเป็นกสิณ ถ้าเรานึกว่าเป็นพระพุทธเจ้าเป็นพุทธานุสสติ ถ้าเราเห็นเป็นสีเหลืองเป็น #ปิตกกสิณ ถ้าเราเห็นเป็นสีขาวเป็น
#โอทาตกสิณ ถ้าเห็นเป็นแก้วสีใสเป็น
#อาโลกกสิณ อย่างนี้เป็นต้น
🌾ทีนี้ มโนมยิทธิเราปฏิบัติกันทำไม
✨ขอให้ทราบว่า การปฏิบัติมโนมยิทธิขั้นแรกจะต้องได้ทิพจักขุญาณ ก่อน คำว่า
“#ทิพจักขุญาณ” นี้เราจะเห็นนรก เห็นสวรรค์ เห็นพรหมโลก เห็นทุกอย่างที่เราต้องการเห็นที่ตาเนื้อเราไม่สามารถจะเห็น ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ ยืนยันว่า ตายแล้วมีสภาพไม่สูญตามคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
🌾ถ้าทำคล่องตัวจริง ๆ จะสามารถระลึกชาติได้ด้วย และจะรู้ว่าถ้าเราตายจากความเป็นคนชาตินี้เราจะอยู่ที่ไหน เราจะอยู่สวรรค์ชั้นไหน เราจะอยู่พรหมโลกชั้นไหนหรืออยู่ที่ไหน เราจะทราบ ทราบก่อนที่จะตาย ทราบตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ทราบแน่นอน เราจะได้มีความดีใจว่าการตายคราวนี้ตาย ไปแล้วเราไม่ลำบาก เรามีความสุขมากกว่านี้ แต่ความจริงคุณประโยชน์มากกว่านี้นะ
✨ทีนี้ ขอแนะนำในการปฏิบัติ วิธีปฏิบัติจริง ๆ อันดับแรกก็รู้ลมหายใจเข้าออกเหมือนกัน คือว่าอันดับแรกจริง ๆ ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่ฝึกใหม่ #นึกถึงภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่ง คือพระพุทธรูปจะเป็นองค์ใดก็ตามที่เราชอบที่เรามีความเคารพมาก นึกถึงภาพท่าน และก็รู้ #ลมหายใจเข้าออก #ภาวนาด้วย คำภาวนาใช้คำภาวนา ๔ คำ ว่า #นะมะ #พะธะ คือ เวลาหายใจเข้านึกว่า #นะมะ เวลาหายใจออกนึกว่า #พะธะ
🌾ขณะที่รู้ลมหายใจเข้าออก อันนี้ขอญาติโยมพุทธบริษัททุกคนอย่าบังคับร่างกาย จงอย่าบังคับว่าร่างกายจงหายใจแรงหรือหายใจเบา ปล่อยไปตามเรื่อง การหายใจเป็นหน้าที่ของร่างกาย แต่การเอาจิตใจเข้าไปรู้ลมหายใจเข้าออกเป็นเรื่องของเรา ต้องปล่อยกายตามสบาย ไม่งั้นจะเหนื่อย
✨ขอย้ำใหม่ว่า เวลาหายใจเข้านึกตามว่า #นะมะ เวลาหายใจออกนึกตามว่า #พะธะ พร้อมกันนั้นให้ตั้งใจนึกถึงพระพุทธรูปสักองค์หนึ่งองค์ใด การรู้ลมหายใจเข้าหายใจออกเป็น #อานาปานุสสติกรรมฐาน ขณะใดที่รู้ลมหายใจเข้าออก เวลานั้นท่านมีสมาธิที่เรียกว่า “อานาปานุสสติ” ได้หนึ่งกองละ
🌾ประการที่ ๒ นึกถึงพระพุทธเจ้า หรือพระพุทธรูป เป็น #พุทธานุสสติกรรมฐาน
🌾ประการที่ ๓ จิดนึกถึงภาพพระพุทธรูป ภาพพระพุทธรูปเป็น #กสิณ ถ้าสีเหลืองเป็น
#ปีตกกสิณ เป็นต้น
✨และเวลาที่ญาติโยมภาวนาอยู่แบบนี้ ครูเขาจะให้ภาวนาประมาณ ๑๐ นาที ขณะที่ภาวนาอยู่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทจงอย่าอยากรู้อยากเห็น อะไรเป็นอันขาด เพราะว่าถ้าไปอยากรู้อยากเห็นเวลานั้นเข้า จิตจะฟุ้งซ่าน ความเป็นทิพย์จะไม่เกิด ขณะภาวนาและรู้ลมหายใจเข้าออก ต้องการให้ฝึก จิดให้ทรงตัวเท่านั้นเอง แต่ว่าเวลา ๑๐ นาทีนี่ ความจริงเวลาไม่นาน แต่ทว่าเวลานั้นอาจจะมีอารมณ์อื่นเข้ามาแทรก ภาวนาไป ๆ เดี๋ยวมีเรื่องต่าง ๆ เข้ามาแทรก อันนี้ก็เป็นของธรรมดา ถ้ามีอย่างนี้อย่าตำหนิใจตนว่าเลว ยังไม่เลวเพราะเรากำลังฝึก ก็มันยังมีเผลอบ้าง ในเมื่อรู้ตัวว่ามีอารมณ์อื่นเข้ามาแทรก ก็ทิ้งอารมณ์เสีย หันเข้ามารู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้านึกว่า #นะมะ หายใจออกนึกว่า #พะธะ... มีต่อ🔸
⭐⭐⭐⭐⭐⭐⭐
จากหนังสือ📒พ่อสอนลูกเล่ม ๒ คำสอนของ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน
วัดจันทาราม (ท่าซุง) อุทัยธานี โดย สุนิสา วงศ์ราม ปาริชาต แสงหิรัญ ชมรมวิชชุเวทย์ธรรมปฏิบัติ
หน้า ๔๕๕-๔๕๗
👑 พิมพ์เป็นธรรมทานโดยสุวิทย์ ยิ้มสำราญ
🔔 เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน
สามารถอ่านเพิ่มในเว็บพระนิพพาน
https://www.thenirvanalive.com/community/ธรรมะหลวงพ่อฤาษี/มโนมยิทธิ-ผู้ฝึกใหม่/มโนมยิทธิ : ผู้ฝึกใหม่ ✨ “มโนมยิทธิ” นี่ก็เป็นทั้งกสิณด้วย และก็เป็นพุทธานุสติด้วย คำว่า "#พุทธานุสสติ" คือ นึกถึงพระพุทธเจ้าเห็นภาพพระพุทธเจ้า หรือภาพพระพุทธรูป ถ้าพระพุทธรูปเป็นกสิณ ถ้าเรานึกว่าเป็นพระพุทธเจ้าเป็นพุทธานุสสติ ถ้าเราเห็นเป็นสีเหลืองเป็น #ปิตกกสิณ ถ้าเราเห็นเป็นสีขาวเป็น #โอทาตกสิณ ถ้าเห็นเป็นแก้วสีใสเป็น #อาโลกกสิณ อย่างนี้เป็นต้น 🌾ทีนี้ มโนมยิทธิเราปฏิบัติกันทำไม ✨ขอให้ทราบว่า การปฏิบัติมโนมยิทธิขั้นแรกจะต้องได้ทิพจักขุญาณ ก่อน คำว่า “#ทิพจักขุญาณ” นี้เราจะเห็นนรก เห็นสวรรค์ เห็นพรหมโลก เห็นทุกอย่างที่เราต้องการเห็นที่ตาเนื้อเราไม่สามารถจะเห็น ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ ยืนยันว่า ตายแล้วมีสภาพไม่สูญตามคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 🌾ถ้าทำคล่องตัวจริง ๆ จะสามารถระลึกชาติได้ด้วย และจะรู้ว่าถ้าเราตายจากความเป็นคนชาตินี้เราจะอยู่ที่ไหน เราจะอยู่สวรรค์ชั้นไหน เราจะอยู่พรหมโลกชั้นไหนหรืออยู่ที่ไหน เราจะทราบ ทราบก่อนที่จะตาย ทราบตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ทราบแน่นอน เราจะได้มีความดีใจว่าการตายคราวนี้ตาย ไปแล้วเราไม่ลำบาก เรามีความสุขมากกว่านี้ แต่ความจริงคุณประโยชน์มากกว่านี้นะ ✨ทีนี้ ขอแนะนำในการปฏิบัติ วิธีปฏิบัติจริง ๆ อันดับแรกก็รู้ลมหายใจเข้าออกเหมือนกัน คือว่าอันดับแรกจริง ๆ ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่ฝึกใหม่ #นึกถึงภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่ง คือพระพุทธรูปจะเป็นองค์ใดก็ตามที่เราชอบที่เรามีความเคารพมาก นึกถึงภาพท่าน และก็รู้ #ลมหายใจเข้าออก #ภาวนาด้วย คำภาวนาใช้คำภาวนา ๔ คำ ว่า #นะมะ #พะธะ คือ เวลาหายใจเข้านึกว่า #นะมะ เวลาหายใจออกนึกว่า #พะธะ 🌾ขณะที่รู้ลมหายใจเข้าออก อันนี้ขอญาติโยมพุทธบริษัททุกคนอย่าบังคับร่างกาย จงอย่าบังคับว่าร่างกายจงหายใจแรงหรือหายใจเบา ปล่อยไปตามเรื่อง การหายใจเป็นหน้าที่ของร่างกาย แต่การเอาจิตใจเข้าไปรู้ลมหายใจเข้าออกเป็นเรื่องของเรา ต้องปล่อยกายตามสบาย ไม่งั้นจะเหนื่อย ✨ขอย้ำใหม่ว่า เวลาหายใจเข้านึกตามว่า #นะมะ เวลาหายใจออกนึกตามว่า #พะธะ พร้อมกันนั้นให้ตั้งใจนึกถึงพระพุทธรูปสักองค์หนึ่งองค์ใด การรู้ลมหายใจเข้าหายใจออกเป็น #อานาปานุสสติกรรมฐาน ขณะใดที่รู้ลมหายใจเข้าออก เวลานั้นท่านมีสมาธิที่เรียกว่า “อานาปานุสสติ” ได้หนึ่งกองละ 🌾ประการที่ ๒ นึกถึงพระพุทธเจ้า หรือพระพุทธรูป เป็น #พุทธานุสสติกรรมฐาน 🌾ประการที่ ๓ จิดนึกถึงภาพพระพุทธรูป ภาพพระพุทธรูปเป็น #กสิณ ถ้าสีเหลืองเป็น #ปีตกกสิณ เป็นต้น ✨และเวลาที่ญาติโยมภาวนาอยู่แบบนี้ ครูเขาจะให้ภาวนาประมาณ ๑๐ นาที ขณะที่ภาวนาอยู่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทจงอย่าอยากรู้อยากเห็น อะไรเป็นอันขาด เพราะว่าถ้าไปอยากรู้อยากเห็นเวลานั้นเข้า จิตจะฟุ้งซ่าน ความเป็นทิพย์จะไม่เกิด ขณะภาวนาและรู้ลมหายใจเข้าออก ต้องการให้ฝึก จิดให้ทรงตัวเท่านั้นเอง แต่ว่าเวลา ๑๐ นาทีนี่ ความจริงเวลาไม่นาน แต่ทว่าเวลานั้นอาจจะมีอารมณ์อื่นเข้ามาแทรก ภาวนาไป ๆ เดี๋ยวมีเรื่องต่าง ๆ เข้ามาแทรก อันนี้ก็เป็นของธรรมดา ถ้ามีอย่างนี้อย่าตำหนิใจตนว่าเลว ยังไม่เลวเพราะเรากำลังฝึก ก็มันยังมีเผลอบ้าง ในเมื่อรู้ตัวว่ามีอารมณ์อื่นเข้ามาแทรก ก็ทิ้งอารมณ์เสีย หันเข้ามารู้ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้านึกว่า #นะมะ หายใจออกนึกว่า #พะธะ... มีต่อ🔸 ⭐⭐⭐⭐⭐⭐⭐ จากหนังสือ📒พ่อสอนลูกเล่ม ๒ คำสอนของ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม (ท่าซุง) อุทัยธานี โดย สุนิสา วงศ์ราม ปาริชาต แสงหิรัญ ชมรมวิชชุเวทย์ธรรมปฏิบัติ หน้า ๔๕๕-๔๕๗ 👑 พิมพ์เป็นธรรมทานโดยสุวิทย์ ยิ้มสำราญ 🔔 เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน สามารถอ่านเพิ่มในเว็บพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/ธรรมะหลวงพ่อฤาษี/มโนมยิทธิ-ผู้ฝึกใหม่/0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 708 มุมมอง 0 รีวิว - (วันจันทร์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗)
วันนี้วันพระ เเรม ๑๔ คํ่า เดือน ๙
ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง)
จ. สุราษฎร์ธานี
นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง)
และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม
ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม
แสดงพระธรรมเทศนาโดย ท่านพระอาจารย์
พระครูสุตพิพัฒนานุการ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ
#ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ
วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ
ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม
เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม
@วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง(วันจันทร์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗) วันนี้วันพระ เเรม ๑๔ คํ่า เดือน ๙ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง) จ. สุราษฎร์ธานี นำโดยท่านพระอาจารย์พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) และคณะสงฆ์วัดพัฒนารามลงรับศรัทธาญาติโยม ที่นำปิ่นโตมาทำบุญเนื่องในวันธรรมสวนะหรือวันพระ ณ หอฉันวัดพัฒนาราม แสดงพระธรรมเทศนาโดย ท่านพระอาจารย์ พระครูสุตพิพัฒนานุการ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพัฒนารามฯ #ความเป็นมาของวันธรรมะสวนะ วันธรรมสวนะ คือ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัทที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาแล้วแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่า การฟังธรรมตามกาลที่กำหนดเป็นประจำไว้ ย่อมก่อให้เกิดสติปัญญาและสิริมงคลแก่ผู้ฟัง อย่างน้อยได้รับธรรมสวนานิสงส์อยู่เสมอ ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ธรรมะพีเดีย.คอม เครดิตภาพ : พระมหาวรสถิตย์ นาถฺธมฺโม @วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง - 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 77 0 รีวิว
- ธุระ ๒ อย่างในพระพุทธศาสนา
พระศาสดาตรัสว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลวง
ธุระมี ๒ อย่าง คือ คันถธุระและวิปัสสนาธุระ เท่านั้น"
ที่ชื่อว่า คันถธุระ ได้แก่ การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี เรียนพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วจึงทรงไว้ กล่าวบอก พุทธวจนะนั้น
ที่ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ ได้แก่ การเริ่มตั้งความสิ้นและความเสื่อมไว้ในอัตภาพ ทำวิปัสสนาให้เจริญ ด้วยอำนาจแห่งการติดต่อแล้วจึงถือเอาพระอรหัตของภิกษุผู้มีความประพฤติแคล่วคล่อง ยินดียิ่งแล้วในเสนาสนะที่สงัด
…ที่มา : ธ.บ. 1 / 7 เรื่อง พระจักขุปาลเถระ….
ขยายความเพิ่มเติม
ความหมายของคันถธุระ คือ การศึกษาเล่าเรียน พระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎกให้แตกฉานชำนาญในพระพุทธพจน์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วจึงกล่าวสอนอุบาสก อุบาสิกา ให้รู้แจ้งเห็นจริงตามพระพุทธองค์ คันถธุระ เปรียบเหมือน แผนที่นำพาไปหา ขุมสมบัติ ฉะนั้น .
ส่วนวิปัสสนาธุระ คือ การลงมือปฏิบัติพิจารณาให้เห็นทุกข์เห็นโทษในอัตภาพ แล้วจึงทำวิปัสสนาญาณให้บังเกิดเจริญด้วยการทำติดต่อพากเพียรปฏิบัติจนหมดกิเลสคือความเป็นพระอรหันต์(ถึงพระนิพพาน) วิปัสสนาธุระ เปรียบเหมือน
การลงมือเดินทางไปตามแผนที่(คันถธุระ) ให้ถึงขุมสมบัติ คือ พระนิพพาน ๆ ประเสริฐกว่าสมบัติทั้งหมด ฉะนั้น .
นักบวชไม่ควรทิ้งเรื่องของคันถธุระและวิปัสสนาธุระ เป็นเรื่องสำคัญในพระพุทธศานา จำเป็นต้องทำให้ได้ไม่ว่าจะทางโลกและทางธรรมจะต้องมีความคล่องตัวเสมอ .
นักบวชทุกวันนี้บางพวก ไม่สนใจในธุระของพระพุทธศาสนา คือ ” คันถธุระและวิปัสสนาธุระ “
มุ่งหมายเอาแต่ ลาภ ยศ สักการะ จากศรัทธาญาติโยม อุบาสก อุบาสิกา ยึดติดในยศถาบรรดาศักดิ์ดุจคฤหัสถ์ ยศถาบรรดาศักดิ์ที่ได้มาแล้วจึงควรจะนำมาใช้ในงานด้านพระพุทธศาสนา
ส่งเสริมคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ให้บังเกิดผล ปฏิบัติจนหลุดพ้นจากกองทุกข์เข้าสู่ความเป็นพระอรหันต์ คือ เข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้น
นักบวชควรพิจารณายึดถือธุระ ๒ อย่างในพระพุทธศาสนาเท่านั้น ทำให้เจริญตามสมควรแก่ปัญญาของตน
เขียนโดย : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโม
#พุทธโอวาท - พุทธโอวาท ตอนอานิสงส์การให้ทาน ๕ ประการนี้
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์แห่งการให้ทาน ๕ ประการนี้
๕ ประการนี้เป็นไฉน คือ
๑ ผู้ให้ทานย่อมเป็นที่รักที่ชอบใจของชนหมู่มาก
๒ สัปบุรุษผู้สงบย่อมคบหาผู้ให้ทาน
๓ กิตติศัพท์อันงามของผู้ให้ทานย่อมขจรทั่วไป
๔ บุคคลผู้ให้ทานย่อมไม่ห่างเหินจากธรรมของคฤหัสถ์
๕ บุคคลผู้ให้ทานเมื่อตายไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์แห่งการให้ทาน ๕ ประการนี้แล ฯ
บุคคลผู้ให้ทานย่อมเป็นที่รักของชนเป็นอันมาก ชื่อว่าดำเนินตามธรรมของ
สัปบุรุษ สัปบุรุษผู้สงบผู้สำรวมอินทรีย์ ประกอบพรหมจรรย์ ย่อมคบหาบุคคลผู้ให้ทานทุกเมื่อ
สัปบุรุษเหล่านั้นย่อมแสดงธรรมเป็นที่บรรเทาทุกข์
ทั้งปวงแก่เขา เขาได้ทราบชัดแล้ว ย่อมเป็นผู้หาอาสวะมิได้ปรินิพพานในโลกนี้ ฯ
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง -ปญฺจก. อํ .๒๒/๓๕/๓๕
พุทธโอวาท #พุทธโอวาท #คำสอนพระพุทธเจ้า #พระไตรปิฎก0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
เรื่องราวเพิ่มเติม