พุทธโอวาท
พุทธโอวาท
  • Public Group
  • 19 Posts
  • 2 Photos
  • 0 Videos
  • 0 Reviews
  • Education
  • Like
    1
    0 Comments 1 Shares 5 Views 0 Reviews
  • ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า “ศาสนา” เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น

    พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า “อะไร” อะไร” เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา

    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค” ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย

    พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ


    เรื่อง “กฐิน” ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ ” คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง

    ลักษณะดังกล่าวมานี้ เรียกว่าเป็น “เนื้องอก” ของ พุทธศาสนา ซึ่งมีมากมายหลายร้อยอย่าง จัดเป็นเนื้อ ร้ายชนิดหนึ่งที่งอกออกมาปิดบังเนื้อดีหรือแก่นแท้ของ พุทธศาสนาให้ค่อยๆ เลือนหายไป นิกายต่างๆ ก็เกิดขึ้น

    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5/
    0 Comments 1 Shares 25 Views 0 Reviews
  • พุทธโอวาท ตอนพุทธวิธีทำลายความง่วง

    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลา มิคทายวันใกล้สุงสุมาร
    คีรนคร แคว้นภัคคะ ก็สมัยนั้นแล ท่านมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม
    แคว้นมคธ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้าน
    กัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุมนุษย์ ครั้นแล้วทรงหายจาก
    เภสกลามิคทายวันใกล้สุงสุมารคีรนคร แคว้นภัคคะ เสด็จไปปรากฏเฉพาะหน้าท่านพระมหา
    โมคคัลลานะ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลังเหยียดแขนที่คู้
    หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดแล้ว ครั้นแล้วได้ตรัส
    ถามท่านพระมหาโมคคัลลานะว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอง่วงหรือ ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอง่วงหรือ
    ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ

    ดูก่อนโมคคัลลานะ เพราะเหตุนั้นแหละ เมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรอยู่ ความง่วงนั้นย่อม
    ครอบงำได้ เธอพึงทำไว้ในใจซึ่งสัญญานั้นให้มาก ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้
    ถ้าเธอยังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ตนได้สดับแล้ว ได้เรียนมาแล้ว
    ด้วยใจ ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงสาธยายธรรมตาม
    ที่ตนได้สดับมาแล้วได้เรียนมาแล้วโดยพิสดาร ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายัง
    ละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงยอนช่องหูทั้งสองข้าง เอามือลูบตัว ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วง
    นั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ แต่นั้นเธอพึงลุกขึ้นยืน เอาน้ำล้างตา เหลียวดูทิศทั้งหลาย แหงนดูดาว
    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน
    https://www.thenirvanalive.com/2024/09/13/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B9%88/
    Yay
    1
    0 Comments 1 Shares 37 Views 0 Reviews
  • ควรศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อมีถ้อยคำซึ่งจะเป็นเหตุให้ทุ่มเถียงกัน ก็จำต้องหวังการพูดมาก เมื่อมีการพูดมาก ย่อมคิดฟุ้งซ่าน
    เมื่อคิดฟุ้งซ่าน ย่อมไม่สำรวม
    เมื่อไม่สำรวม จิตย่อมห่างจากสมาธิ

    https://www.thenirvanalive.com/2024/09/13/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B9%88/
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 36 Views 0 Reviews
  • ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ
    คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้

    อานิสงส์ ๔ ประการเป็นไฉน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น
    เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติ หลงลืม
    เมื่อกระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่ง บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ
    ผู้มีความสุขในภพนั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่สัตว์นั้นย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๑ แห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ
    แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิอันบุคคลพึงหวังได้ ฯ

    อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น
    เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปากขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติหลงลืม เมื่อ
    กระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่งบทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏแก่เธอ ผู้มี
    ความสุขอยู่ในภพนั้นเลย แต่ภิกษุผู้มีฤทธิ์ ถึงความชำนาญแห่งจิต แสดงธรรมแก่เทพบริษัท
    เธอมีความปริวิตกอย่างนี้ว่า ในกาลก่อนเราได้ประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยใด นี้คือธรรมวินัย
    นั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่ว่าสัตว์นั้นย่อมบรรลุคุณวิเศษ เร็วพลันดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ฉลาดต่อ
    เสียงกลอง เขาเดินทางไกล พึงได้ยินเสียงกลอง เขาไม่พึงมีความสงสัย หรือเคลือบแคลงว่า
    เสียงกลองหรือไม่ใช่หนอที่แท้เขาพึงถึงความตกลงใจว่า เสียงกลองทีเดียว ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น
    เหมือนกัน ย่อมเล่าเรียนธรรม ฯลฯ ย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย

    นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๒ แห่งธรรมทั้งหลายที่ภิกษุฟังเนืองๆคล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดี
    ด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้ ฯ

    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/06/13/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B9%94-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3/
    0 Comments 1 Shares 43 Views 0 Reviews
  • ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ
    คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้

    อานิสงส์ ๔ ประการเป็นไฉน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น
    เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติ หลงลืม
    เมื่อกระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่ง บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ
    ผู้มีความสุขในภพนั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่สัตว์นั้นย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๑ แห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ
    แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิอันบุคคลพึงหวังได้ ฯ

    อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ…เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น
    เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปากขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติหลงลืม เมื่อ
    กระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่งบทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏแก่เธอ ผู้มี
    ความสุขอยู่ในภพนั้นเลย แต่ภิกษุผู้มีฤทธิ์ ถึงความชำนาญแห่งจิต แสดงธรรมแก่เทพบริษัท
    เธอมีความปริวิตกอย่างนี้ว่า ในกาลก่อนเราได้ประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยใด นี้คือธรรมวินัย
    นั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่ว่าสัตว์นั้นย่อมบรรลุคุณวิเศษ เร็วพลันดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ฉลาดต่อ
    เสียงกลอง เขาเดินทางไกล พึงได้ยินเสียงกลอง เขาไม่พึงมีความสงสัย หรือเคลือบแคลงว่า
    เสียงกลองหรือไม่ใช่หนอที่แท้เขาพึงถึงความตกลงใจว่า เสียงกลองทีเดียว ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น
    เหมือนกัน ย่อมเล่าเรียนธรรม ฯลฯ ย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย

    นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๒ แห่งธรรมทั้งหลายที่ภิกษุฟังเนืองๆคล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดี
    ด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้ ฯ

    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/06/13/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B9%94-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3/
    0 Comments 1 Shares 45 Views 0 Reviews
  • รีวิวแพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธเครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวพุทธ
    thenirvanalive.com ( เว็บบอร์ดพระนิพพาน) แพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธและคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาพัฒนาโดยชาวพุทธไทย เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่
    สามารถค้นหาธรรมะที่ถูกปิดกั้นได้และ สามารถเข้ามา แบ่งปันบทความตั้งกระทู้ธรรมะได้อย่างอิสระ ทางเว็บฯ
    มีห้องและพื้นที่ให้ท่านเข้ามาแบ่งปันนธรรมะและะความรู้
    ได้อย่างอิสระ โดยไม่ถูกการปิดกั้นการมองเห็นเหมือนแพลตฟอร์มอื่น

    - ท่านที่ชอบการอ่านเข้ามาอ่านบทความธรรมะดีๆๆ มากมายได้แล้ววันนี้

    - ท่านที่ชอบลงบทความธรรมะให้ปัญญาคนสามารถตั้งกระทู้ได้แล้ววันนี้

    - ท่านที่ชอบการ บูชาพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆ สามารถเข้ามาหาบูชากันได้แล้ววันนี้

    - แพลตฟอร์มที่ลงบทความธรรมะและะความรู้อื่นโดย
    ไม่โดนปิดกั้น

    ท่านสามารถค้นหาเว็บบอร์ดพระนิพพานได้ใน Google
    พิมพ์คำว่า เว็บบอร์ดพระนิพพาน เลย รีบสมัครสมาชิกเลย

    https://www.thenirvanalive.com/เว็บบอร์ดพระนิพพาน/
    0 Comments 1 Shares 51 Views 0 Reviews
  • อาเนญชสัปปายสูตร
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมชื่อกัมมาสธรรม ของชาวกุรุในแคว้นกุรุสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว

    พระมีพระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กามไม่เที่ยง เป็นของว่าง
    เปล่า เลือนหายไปเป็นธรรมดา ลักษณะของกามดังนี้ ได้ทำความล่อลวงเป็นที่บ่นถึงของคน
    พาล กามทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า และกามสัญญาทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า
    ทั้ง ๒ อย่างนี้ เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่ง มาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร
    ในกามนี้ ย่อมมีอกุศลลามกเหล่านี้เกิดที่ใจคือ อภิชฌาบ้าง พยาบาทบ้าง สารัมภะบ้าง เป็นไป
    กามนั่นเอง ย่อม เกิดเพื่อเป็นอันตรายแก่อริยสาวกผู้ตามศึกษาอยู่ในธรรมวินัยนี้

    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/09/05/พทธโอวาท-อเนญชสปปายสตร/
    0 Comments 1 Shares 50 Views 0 Reviews
  • รีวิวแพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธเครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวพุทธ
    thenirvanalive.com ( เว็บบอร์ดพระนิพพาน) แพลตฟอร์มชุมชนชาวพุทธและคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาพัฒนาโดยชาวพุทธไทย เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่
    สามารถค้นหาธรรมะที่ถูกปิดกั้นได้และ สามารถเข้ามา แบ่งปันบทความตั้งกระทู้ธรรมะได้อย่างอิสระ ทางเว็บฯ
    มีห้องและพื้นที่ให้ท่านเข้ามาแบ่งปันนธรรมะและะความรู้
    ได้อย่างอิสระ โดยไม่ถูกการปิดกั้นการมองเห็นเหมือนแพลตฟอร์มอื่น

    - ท่านที่ชอบการอ่านเข้ามาอ่านบทความธรรมะดีๆๆ มากมายได้แล้ววันนี้

    - ท่านที่ชอบลงบทความธรรมะให้ปัญญาคนสามารถตั้งกระทู้ได้แล้ววันนี้

    - ท่านที่ชอบการ บูชาพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆ สามารถเข้ามาหาบูชากันได้แล้ววันนี้

    - แพลตฟอร์มที่ลงบทความธรรมะและะความรู้อื่นโดย
    ไม่โดนปิดกั้น

    ท่านสามารถค้นหาเว็บบอร์ดพระนิพพานได้ใน Google
    พิมพ์คำว่า เว็บบอร์ดพระนิพพาน เลย รีบสมัครสมาชิกเลย

    https://www.thenirvanalive.com/เว็บบอร์ดพระนิพพาน/
    0 Comments 1 Shares 50 Views 0 Reviews
  • ตัวกู-ของกู

    ในร่างกายของคนเรามีแบคทีเรีย (Bacteria) อาศัยอยู่ เกือบ ๑,๕๐๐ ชนิด มีจํานวนมากกว่าเซลล์ร่างกายสิบต่อหนึ่ง แทบจะเรียก ได้ว่า “เรานั่นเองคือแบคทีเรีย” เพราะจุลินทรีย์เหล่านี้ ช่วยย่อย สารอาหาร ควบคุมการขับเหงื่อ เปลี่ยนกลูโคสเป็นกล้ามเนื้อ โจมตี เชื้อก่อโรคและซ่อมแซมเซลล์ แหล่งแบคทีเรียที่ใหญ่ที่สุด และระบบ ภูมิคุ้มกัน ร้อยละ ๘๐ อยู่ในลำไส้ โดยมีจุลินทรีย์ราว ๑๐๐ ล้าน ล้านตัว ซึ่งหนักถึงสองกิโลกรัม สำไส้ยังประกอบด้วยเซลล์ประสาท นับล้านเซลล์ ที่รับสัญญาณจากแบคทีเรียอย่างต่อเนื่อง แบคทีเรีย จึงเป็นอวัยวะสำคัญที่สุด สรุปง่ายๆ คือมนุษย์อยู่ไม่ได้ หากไม่มี แบคทีเรีย

    หากแบคทีเรียคิดได้ มันคงคิดว่า ร่างกายของมนุษย์ คือ

    บ้านกูๆๆๆ

    ไรขนตา (Eyelash Mites) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจำพวกปรสิต

    สำหรับตัวผู้เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดประมาณ มิลลิเมตร ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีลักษณะร่างกายถึง โปร่งใส ลำตัวยาว ส่วนบนเป็นส่วนที่มีขาสั้นๆ แปดขา มีปากเหมือน เข็มที่ไว้สำหรับกินเซลล์ผิวหนังซึ่งมีน้ำมันตามรูขุมขน ส่วนที่สองเป็น ส่วนลำตัวที่จะฝังอยู่ในรูขุมขน

    วงจรชีวิตของไรขนตา มีอายุประมาณไม่ถึงเดือน เมื่อตัวผู้ ตัว เมียผสมพันธุ์กัน จะออกไข่ไว้ในรัง (รูขุมขน) อีก ๓-๔ วัน ก็จะชัก เป็นตัว และใช้เวลาอีกประมาณ ๗ วันก็จะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และ เมื่อพวกมันตายลงก็จะใช้รูขุมขนเป็นหลุมฝังศพของพวกมัน มนุษย์ ผู้ใหญ่ร้อยละ ๙๕-๙๘ มีไรขนตาอยู่บนร่างกาย แต่เด็กจะมีน้อยกว่า เนื่องจากมีน้ำมันที่ขับออกตามรูขุมขนน้อยกว่า ไรขนตาสามารถ ติดต่อได้โดยการสัมผัสบริเวณ ขน ผม อาจก่อปัญหาให้เกิดอาการ คันเล็กน้อย ไม่มีอันตรายร้ายแรงแต่อย่างใด
    สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%98%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%95-5/
    0 Comments 1 Shares 53 Views 0 Reviews
  • มารบันเทพ

    พญามาร เป็นเทพยิ่งใหญ่ระดับสูงสุดแห่งชั้นกามาวจรหรือ เทวดาชั้นที่ 5 ชื่อว่า “ปรนิมมิตวสวัตดี” ท่านชื่อว่า “วัสสวัสดี เทวปุตตมาร” คนไทยมักเรียกว่าพญามาร ท่านเป็นมารที่หล่อขั้น เทพแน่นอน เพราะท่านเป็นทั้งเทพทั้งมาร คำว่า “มาร” แปลว่า นิมิต แห่งความขัดข้อง คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งคนไว้ มิให้พ้นจาก อ้านาจครอบงำาของตน ให้ห่วงหน้าพะวงหลังติดอยู่ในกามสุข ไม่อาจเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ได้

    ซึ่งมารตนนี้เคยมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายครั้ง พระองค์ได้เล่าให้ พระอานนท์ฟัง ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค สรุปว่า

    สมัยที่พระพุทธเจ้ายังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ กำลังหนีออกจาก เมืองกบิลพัสดุเพื่อบรรพชา มาเชื่อว่าวัสสวัดดีมาร ได้เข้ามาห้ามมิให้ ออกมหาภิเนษกรมณ์ แต่พระโพธิสัตว์ได้ปฏิเสธและขับไล่มารไปเสีย

    ต่อมา เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งบนโพธิบัลลังก์ ก่อนจะตรัสรู้ พญามารได้นำเสนามารไปรบกวน แต่ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่ทศบารมี ของพระโพธิสัตว์

    อีกครั้งหนึ่ง สมัยที่ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ณ ต้นอชปาลนิโครธ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่อุรุเวลาเสนานิคม

    สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้

    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%95-6/
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 50 Views 0 Reviews
  • พุทธโอวาท ตอน อเนญชสัปปายสูตร

    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมชื่อกัมมาสธรรม ของชาวกุรุในแคว้นกุรุสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว

    พระมีพระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กามไม่เที่ยง เป็นของว่าง
    เปล่า เลือนหายไปเป็นธรรมดา ลักษณะของกามดังนี้ ได้ทำความล่อลวงเป็นที่บ่นถึงของคน
    พาล กามทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า และกามสัญญาทั้งที่มีในภพนี้ ทั้งที่มีในภพหน้า
    ทั้ง ๒ อย่างนี้ เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่ง มาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร
    ในกามนี้ ย่อมมีอกุศลลามกเหล่านี้เกิดที่ใจคือ อภิชฌาบ้าง พยาบาทบ้าง สารัมภะบ้าง เป็นไป
    กามนั่นเอง ย่อม เกิดเพื่อเป็นอันตรายแก่อริยสาวกผู้ตามศึกษาอยู่ในธรรมวินัยนี้

    สามารถอ่านศึกษาต่อที่เว็บไซต์พระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2024/09/05/พทธโอวาท-อเนญชสปปายสตร/

    #พุทธโอวาท
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 67 Views 0 Reviews
  • “มนุญฺญเมว ภาเสยฺย นามนุญฺญํ กุทาจนํ

    แปลความว่า

    บุคคล ควรพูดคำที่เจริญใจเท่านั้น ไม่ควรพูด
    คำที่ไม่เจริญใจในกาลไหน "

    #พุทธโอวาท
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 67 Views 0 Reviews
  • ธุระ ๒ อย่างในพระพุทธศาสนา
    พระศาสดาตรัสว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลวง
    ธุระมี ๒ อย่าง คือ คันถธุระและวิปัสสนาธุระ เท่านั้น"

    ที่ชื่อว่า คันถธุระ ได้แก่ การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี เรียนพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วจึงทรงไว้ กล่าวบอก พุทธวจนะนั้น
    ที่ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ ได้แก่ การเริ่มตั้งความสิ้นและความเสื่อมไว้ในอัตภาพ ทำวิปัสสนาให้เจริญ ด้วยอำนาจแห่งการติดต่อแล้วจึงถือเอาพระอรหัตของภิกษุผู้มีความประพฤติแคล่วคล่อง ยินดียิ่งแล้วในเสนาสนะที่สงัด

    …ที่มา : ธ.บ. 1 / 7 เรื่อง พระจักขุปาลเถระ….

    ขยายความเพิ่มเติม

    ความหมายของคันถธุระ คือ การศึกษาเล่าเรียน พระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎกให้แตกฉานชำนาญในพระพุทธพจน์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วจึงกล่าวสอนอุบาสก อุบาสิกา ให้รู้แจ้งเห็นจริงตามพระพุทธองค์ คันถธุระ เปรียบเหมือน แผนที่นำพาไปหา ขุมสมบัติ ฉะนั้น .

    ส่วนวิปัสสนาธุระ คือ การลงมือปฏิบัติพิจารณาให้เห็นทุกข์เห็นโทษในอัตภาพ แล้วจึงทำวิปัสสนาญาณให้บังเกิดเจริญด้วยการทำติดต่อพากเพียรปฏิบัติจนหมดกิเลสคือความเป็นพระอรหันต์(ถึงพระนิพพาน) วิปัสสนาธุระ เปรียบเหมือน
    การลงมือเดินทางไปตามแผนที่(คันถธุระ) ให้ถึงขุมสมบัติ คือ พระนิพพาน ๆ ประเสริฐกว่าสมบัติทั้งหมด ฉะนั้น .
    นักบวชไม่ควรทิ้งเรื่องของคันถธุระและวิปัสสนาธุระ เป็นเรื่องสำคัญในพระพุทธศานา จำเป็นต้องทำให้ได้ไม่ว่าจะทางโลกและทางธรรมจะต้องมีความคล่องตัวเสมอ .

    นักบวชทุกวันนี้บางพวก ไม่สนใจในธุระของพระพุทธศาสนา คือ ” คันถธุระและวิปัสสนาธุระ “
    มุ่งหมายเอาแต่ ลาภ ยศ สักการะ จากศรัทธาญาติโยม อุบาสก อุบาสิกา ยึดติดในยศถาบรรดาศักดิ์ดุจคฤหัสถ์ ยศถาบรรดาศักดิ์ที่ได้มาแล้วจึงควรจะนำมาใช้ในงานด้านพระพุทธศาสนา
    ส่งเสริมคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ให้บังเกิดผล ปฏิบัติจนหลุดพ้นจากกองทุกข์เข้าสู่ความเป็นพระอรหันต์ คือ เข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้น
    นักบวชควรพิจารณายึดถือธุระ ๒ อย่างในพระพุทธศาสนาเท่านั้น ทำให้เจริญตามสมควรแก่ปัญญาของตน

    เขียนโดย : พระมหาวรสถิตย์ นาถธมฺโม

    #พุทธโอวาท
    0 Comments 1 Shares 71 Views 0 Reviews
  • พุทธโอวาท ตอน กาลทานสูตร

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาลทาน ๕ ประการนี้ ๕ ประการนี้เป็นไฉน

    ๑ ทายกย่อมให้ทานแก่ผู้มาสู่ถิ่นของตน

    ๒ ทายกย่อมให้ทานแก่ผู้เตรียมจะไป

    ๓ ทายกย่อมให้ทานในสมัยข้าวแพง

    ๔ ทายกย่อมให้ข้าวใหม่แก่ผู้มีศีล

    ๕ ทายกย่อมให้ผลไม้ใหม่แก่ผู้มีศีล

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาลทาน๕ ประการนี้แล

    บุคคลผู้มีปัญญา รู้ความประสงค์ ปราศจากความตระหนี่ ย่อมให้ทานในกาลที่
    ควรให้ เพราะผู้ให้ทานตามกาลในพระอริยเจ้าทั้งหลาย ผู้ปฏิบัติซื่อตรง
    ผู้มีใจคงที่ เป็นผู้มีใจผ่องใสทักขิณาทานจึงจะมีผลไพบูลย์

    ชนเหล่าใดย่อมอนุโมทนาหรือช่วยเหลือในทักขิณาทานนั้น ทักขิณาทานนั้นย่อมไม่มี
    ผลบกพร่อง เพราะการอนุโมทนาหรือการช่วยเหลือนั้นแม้พวกที่อนุโมทนา
    หรือช่วยเหลือ ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญเพราะฉะนั้นบุคคลผู้มีจิตไม่ท้อถอยจึง
    ควรให้ทานในเขตที่มีผลมาก บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย
    ในปรโลก

    พระไตรปิฎก ฉบับหลวง -ปญฺจก. อํ .๒๒/๓๖/๓๖
    0 Comments 1 Shares 71 Views 0 Reviews
  • " ปุญญญเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ
    ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโยติ

    หากว่าบุคคลควรทำบุณ ก็ควรทำบุญนั้น
    บ่อยๆๆ ควรทำความพอใจในบุญนั้น
    เพราะว่าการสั่งสมบุญนำความสุขมาให้ "

    ที่มา : ม.ที./๗๓/๖๘
    0 Comments 1 Shares 72 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 71 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 70 Views 0 Reviews
More Stories
Chatbox

Join the group to join the chatbox