• อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 172
    ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าอย่างคือ
    พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
    พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
    พืชจากตา (ผลุพีช),
    พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
    พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
    เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
    +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
    +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
    --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
    ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172

    สัทธรรมลำดับที่ : 173
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
    ของวิญญาณทางตา
    วิญญาณทางหู
    วิญญาณทางจมูก
    วิญญาณทางลิ้น
    วิญญาณทางกาย และ
    วิญญาณทางใจ
    ใด ๆ นั่นเท่ากับ
    เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
    เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173

    สัทธรรมลำดับที่ : 174
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174

    สัทธรรมลำดับที่ : 175
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
    วิญญาณทางตา,
    วิญญาณทางหู,
    วิญญาณทางจมูก,
    วิญญาณทางลิ้น,
    วิญญาณทางกาย, และ
    วิญญาณทางใจ.
    -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
    ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 172 ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ พืชจากเหง้า (มูลพีช ), พืชจากต้น (ขนฺธพีช), พืชจากตา (ผลุพีช), พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น) เป็นคำรบห้า (พีชพีช). +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, แต่ดิน น้ำ ไม่มี. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ? +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !” +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ? +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร) พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม) พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107. http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172 สัทธรรมลำดับที่ : 173 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ ของวิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และ วิญญาณทางใจ ใด ๆ นั่นเท่ากับ เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483. http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173 สัทธรรมลำดับที่ : 174 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ; วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ, อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123. http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174 สัทธรรมลำดับที่ : 175 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และ วิญญาณทางใจ. -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 Comments 0 Shares 211 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 168
    ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ.
    ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168

    สัทธรรมลำดับที่ : 169
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169

    สัทธรรมลำดับที่ : 170
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งวิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม
    แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ)
    เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร
    ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ
    วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง)
    วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170

    สัทธรรมลำดับที่ : 171
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 168 ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 เนื้อความทั้งหมด :- ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168 สัทธรรมลำดับที่ : 169 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง, ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169 สัทธรรมลำดับที่ : 170 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งวิญญาณ --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246. http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170 สัทธรรมลำดับที่ : 171 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471. http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 Comments 0 Shares 178 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 161
    ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161

    สัทธรรมลำดับที่ : 162
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่
    ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ
    สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น
    ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป,
    ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา,
    ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา,
    ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ
    ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162

    สัทธรรมลำดับที่ : 163
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสังขาร
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่,
    เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า.
    เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้.
    เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก.
    บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น
    ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น
    ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 161 ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 เนื้อความทั้งหมด :- --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161 สัทธรรมลำดับที่ : 162 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สังขาร” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร. -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป, ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา, ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา, ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162 สัทธรรมลำดับที่ : 163 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสังขาร --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่, เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า. เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้. เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก. บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    -๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ สังขารหก ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา หกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    0 Comments 0 Shares 204 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 Comments 0 Shares 367 Views 0 Reviews