อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
สัทธรรมลำดับที่ : 1000
ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
เนื้อความทั้งหมด :-
--หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
--บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
แล.-
(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
: &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
#สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 1000
ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
เนื้อความทั้งหมด :-
--หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
--บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
แล.-
(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
: &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
#สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
สัทธรรมลำดับที่ : 1000
ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
เนื้อความทั้งหมด :-
--หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
--บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
แล.-
(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
: &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
#สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
0 Comments
0 Shares
57 Views
0 Reviews