• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 305
    ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    เนื้อความทั้งหมด : -
    --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้
    เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู
    และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น)
    ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู
    แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ;
    --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด
    มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย,
    มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย,
    คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้
    เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น
    ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก
    ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน,
    มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ;
    ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง.
    --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า
    คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน

    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก
    เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง
    เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​
    เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้
    เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว
    เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่
    : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส,
    และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ,
    +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ
    และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก.
    ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว
    ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก,
    ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล
    ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย.
    กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว,
    เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม,
    เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ.
    เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น,
    +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ

    ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่,
    ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส
    และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453
    http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 305 ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 เนื้อความทั้งหมด : - --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย, คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา. http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453 http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓ http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์)
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์) อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึงน้ำนมของมารดา. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ๑ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และเป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ๑. โมกขจิกะ เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้. ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้นเป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 92 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 303
    ชื่อบทธรรม : - ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=303
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด
    --วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น
    สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมีอุปาทาน (เชื้อ) อยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน.
    --วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟ
    ที่มีเชื้อ ย่อมโพลงขึ้นได้,
    ที่ไม่มีเชื้อ ก็โพลงขึ้นไม่ได้,
    อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น;
    --วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น
    สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมี อุปาทานอยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน.
    --“พระโคดมผู้เจริญ !
    ถ้าสมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล,
    สมัยนั้น พระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่เปลวไฟนั้น
    ถ้าถือว่ามันยังมีเชื้ออยู่ ?”
    --วัจฉะ !
    สมัยใด เปลวไฟถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล,
    เราย่อมบัญญัติเปลวไฟนั้น ว่า มีลมนั่นแหละเป็นเชื้อ.
    --วัจฉะ ! เพราะว่า สมัยนั้น #ลมย่อมเป็นเชื้อของเปลวไฟนั้น.
    --“พระโคดมผู้เจริญ !
    ถ้าสมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น,
    สมัยนั้นพระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่สัตว์นั้น
    ถ้าถือว่า มันยังมีเชื้ออยู่ ?”
    --วัจฉะ !
    สมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น (สัมภเวสีสัตว์),
    เรากล่าว สัตว์นี้ ว่า มีตัณหานั่นแหละเป็นเชื้อ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/485/?keywords=ตณฺหา
    เพราะว่า สมัยนั้น #ตัณหาย่อมเป็นเชื้อของสัตว์นั้น แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/399/800.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/399/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/485/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=304
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=303
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด สัทธรรมลำดับที่ : 303 ชื่อบทธรรม : - ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=303 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด --วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมีอุปาทาน (เชื้อ) อยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน. --วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟ ที่มีเชื้อ ย่อมโพลงขึ้นได้, ที่ไม่มีเชื้อ ก็โพลงขึ้นไม่ได้, อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น; --วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมี อุปาทานอยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน. --“พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าสมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล, สมัยนั้น พระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่เปลวไฟนั้น ถ้าถือว่ามันยังมีเชื้ออยู่ ?” --วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล, เราย่อมบัญญัติเปลวไฟนั้น ว่า มีลมนั่นแหละเป็นเชื้อ. --วัจฉะ ! เพราะว่า สมัยนั้น #ลมย่อมเป็นเชื้อของเปลวไฟนั้น. --“พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าสมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น, สมัยนั้นพระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่สัตว์นั้น ถ้าถือว่า มันยังมีเชื้ออยู่ ?” --วัจฉะ ! สมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น (สัมภเวสีสัตว์), เรากล่าว สัตว์นี้ ว่า มีตัณหานั่นแหละเป็นเชื้อ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/485/?keywords=ตณฺหา เพราะว่า สมัยนั้น #ตัณหาย่อมเป็นเชื้อของสัตว์นั้น แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/399/800. http://etipitaka.com/read/thai/18/399/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๘๕/๘๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/485/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=304 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=303 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรถัดไปทรงแสดงสัญโญชนิยธรรม แทนคำว่า อุปาทานิยธรรม; และในตอนอุปมา ทรงแสดงอุปมาด้วยประทีปน้ำมันลุกโพลงอยู่ได้เพราะอาศัยเชื้อและมีผู้คอยเติม โดยนัยเดียวกับ สูตรข้างบน).
    -(ในสูตรถัดไปทรงแสดงสัญโญชนิยธรรม แทนคำว่า อุปาทานิยธรรม; และในตอนอุปมา ทรงแสดงอุปมาด้วยประทีปน้ำมันลุกโพลงอยู่ได้เพราะอาศัยเชื้อและมีผู้คอยเติม โดยนัยเดียวกับ สูตรข้างบน). ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมีอุปาทาน (เชื้อ) อยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน. วัจฉะ ! เปรียบเหมือนไฟ ที่มีเชื้อ ย่อมโพลงขึ้นได้, ที่ไม่มีเชื้อ ก็โพลงขึ้นไม่ได้, อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น; วัจฉะ ! เราย่อมบัญญัติความบังเกิดขึ้น สำหรับสัตว์ผู้ที่ยังมี อุปาทานอยู่, ไม่ใช่สำหรับสัตว์ผู้ที่ไม่มีอุปาทาน. “พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าสมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล, สมัยนั้น พระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่เปลวไฟนั้น ถ้าถือว่ามันยังมีเชื้ออยู่ ?” วัจฉะ ! สมัยใด เปลวไฟ ถูกลมพัดหลุดปลิวไปไกล, เราย่อมบัญญัติเปลวไฟนั้น ว่า มีลมนั่นแหละเป็นเชื้อ. วัจฉะ ! เพราะว่า สมัยนั้น ลมย่อมเป็นเชื้อของเปลวไฟนั้น. “พระโคดมผู้เจริญ ! ถ้าสมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น, สมัยนั้นพระโคดม ย่อมบัญญัติ ซึ่งอะไร ว่าเป็นเชื้อแก่สัตว์นั้น ถ้าถือว่า มันยังมีเชื้ออยู่ ?” วัจฉะ ! สมัยใด สัตว์ทอดทิ้งกายนี้ และยังไม่บังเกิดขึ้นด้วยกายอื่น (สัมภเวสีสัตว์), เรากล่าว สัตว์นี้ ว่า มีตัณหานั่นแหละเป็นเชื้อ ; เพราะว่า สมัยนั้น ตัณหาย่อมเป็นเชื้อของสัตว์นั้น แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 292
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=292
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    (ทรงแสดงด้วยนันทิ)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ+รูป
    ความเพลินใด ในรูป,
    ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป
    ).
    บุคคลย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งเวทนา... ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสัญญา... ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสังขาร....ฯลฯ
    ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำถึง ย่อมดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ
    เมื่อเพลิดเพลิน พร่ำถึง ดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ+วิญฺญาณ
    ความยินดีย่อมเกิดขึ้น
    ความยินดีในวิญญาณ นั่นเป็นอุปาทาน
    เพราะอุปาทานของบุคคลนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
    เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสและอุปายาส.
    ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้.
    --ภิกษุ​ ท.(ทั้งหลาย)​
    นี่เป็น ความเกิดแห่งรูป
    นี่เป็น ความเกิดแห่งเวทนา
    นี่เป็น ความเกิดแห่งสัญญา
    นี่เป็น ความเกิดแห่งสังขาร
    นี่เป็น ความเกิดแห่งวิญญาณ.
    #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/13/28.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=292
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 292 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=292 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยนันทิ) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ+รูป ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป ). บุคคลย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งเวทนา... ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสัญญา... ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ซึ่งสังขาร....ฯลฯ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำถึง ย่อมดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ เมื่อเพลิดเพลิน พร่ำถึง ดื่มด่ำอยู่ ซึ่งวิญญาณ http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ+วิญฺญาณ ความยินดีย่อมเกิดขึ้น ความยินดีในวิญญาณ นั่นเป็นอุปาทาน เพราะอุปาทานของบุคคลนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัสและอุปายาส. ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้. --ภิกษุ​ ท.(ทั้งหลาย)​ นี่เป็น ความเกิดแห่งรูป นี่เป็น ความเกิดแห่งเวทนา นี่เป็น ความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็น ความเกิดแห่งสังขาร นี่เป็น ความเกิดแห่งวิญญาณ. #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/13/28. http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=292 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -อาการเกิดแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (ทรงแสดงด้วยนันทิ) ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้นเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นพร้อม : ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่งเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกับในกรณีแห่งรูป).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 160 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 289
    ชื่อบทธรรม :- อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ.
    เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ .

    --ภิกษุ ท. !
    นี่เป็นความเกิดแห่งรูป นี่เป็นความเกิดแห่งเวทนา
    นี่เป็นความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็นความเกิดแห่งสังขาร
    นี่เป็นความเกิดแห่งวิญญาณ.
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/18/28.
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=289
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 289 ชื่อบทธรรม :- อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น, http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ . --ภิกษุ ท. ! นี่เป็นความเกิดแห่งรูป นี่เป็นความเกิดแห่งเวทนา นี่เป็นความเกิดแห่งสัญญา นี่เป็นความเกิดแห่งสังขาร นี่เป็นความเกิดแห่งวิญญาณ. แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/18/28. อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=289 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=289 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์
    -อาการทุกข์เกิดขึ้นจากเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! ความเป็นสมุทัยแห่งรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ความเป็นสมุทัยแห่งสังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? และความเป็นสมุทัยแห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลในโลกนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. เขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งรูป. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในรูป ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสัญญา, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขา ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งสังขารทั้งหลาย, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น, ความเพลินใดในสังขารทั้งหลาย ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! เขาย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ. เมื่อเขาเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งวิญญาณ, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใดในวิญญาณ ความเพลินนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 286
    ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;--
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว
    ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ
    ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    +-นี้เรียกว่า #ชรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา
    --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย
    การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต
    จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    นี้ เรียกว่า #มรณะ ;
    ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ
    --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง
    ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย
    ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน
    และอัตตวาทุปาทาน.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส
    --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ
    --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ.
    นี้ เรียกว่า #นาม.
    รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย.
    นี้ เรียกว่า #รูป.
    ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ
    วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย
    และวิญญาณทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร.
    +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร
    --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด
    เป็นความไม่รู้ในทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ,
    เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    ด้วยอาการอย่างนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท สัทธรรมลำดับที่ : 286 ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 เนื้อความทั้งหมด :- --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;-- เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; +-นี้เรียกว่า #ชรา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า #มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า #นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า #รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย ด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18. http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    -วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้เรียกว่า ชรา. ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชรามรณะ. ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชาติ. ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ภพ. ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อุปาทาน. ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ตัณหา. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า เวทนา. ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่าอายตนะหก. ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า นามรูป. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, ละเป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อวิชชา. ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะ อุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 271 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 185
    ชื่อบทธรรม :- ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้
    บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า
    “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา”(อตฺตาติ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=เอโสหมสฺมิ+อตฺตาติ
    ดังนี้.
    แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา.
    เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น.

    (ในกรณีแห่ง
    เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ
    ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณี แห่งรูป
    ).
    --ภิกษุ ท. ! #ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/17/34.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=185
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 185 ชื่อบทธรรม :- ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185 เนื้อความทั้งหมด :- --ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้. --ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา”(อตฺตาติ)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=เอโสหมสฺมิ+อตฺตาติ ดังนี้. แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา. เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณี แห่งรูป ). --ภิกษุ ท. ! #ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/17/34. http://etipitaka.com/read/thai/17/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=185 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน
    -ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้. ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา” ดังนี้. แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา. เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณีแห่งรูป). ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 176
    ชื่อบทธรรม : -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีต
    อนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม
    ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=รูปูปาทานกฺขนฺโธ

    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า #ปัญจุปาทานักขันธ์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/60/?keywords=ปญฺจุปาทานกฺขนฺ
    แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/47/96.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/47/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๙/๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=176
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 176 ชื่อบทธรรม : -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176 เนื้อความทั้งหมด :- --(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ --ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีต อนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=รูปูปาทานกฺขนฺโธ --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า #ปัญจุปาทานักขันธ์ http://etipitaka.com/read/pali/17/60/?keywords=ปญฺจุปาทานกฺขนฺ แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/47/96. http://etipitaka.com/read/thai/17/47/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๙/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=176 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่ แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 175 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 510 มุมมอง 0 รีวิว
  • เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์

    โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ

    สังโยชน์ ๑๐

    ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้
    เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้
    แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ..

    ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก..

    ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด..

    ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง..

    พระโสดาบัน

    ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ
    จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ..

    ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี..

    ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด..

    ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย..

    ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด
    เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน..

    ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ..

    ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ
    ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ..

    ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์..

    ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน..
    คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน..
    เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน..

    พระสกิทาคามี

    ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ..

    ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น
    ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป..

    พระอนาคามี

    ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น..

    ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ
    คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค..

    ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป..

    ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล..

    ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ

    ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา
    เป็นการหวังดี..

    ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล..

    * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล..

    พระอรหันต์

    ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ..

    ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์..

    * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ
    คนเกิดมาแล้วต้องตาย
    ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน..

    ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า..
    ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย..

    ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย
    อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่..

    อรหัตผล
    นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว
    ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา..

    ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ
    เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน..

    ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น
    ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕
    ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา
    สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน..

    * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..."

    ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี )

    สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ 🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷 ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้ เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้ แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ.. ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก.. ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด.. ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง.. ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️ ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ.. ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี.. ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด.. ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย.. ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน.. ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ.. ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ.. ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์.. ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน.. คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน.. เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน.. 💛 พระสกิทาคามี 💛 ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ.. ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป.. 🌹 พระอนาคามี 🌹 ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น.. ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค.. ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป.. ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล.. ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา เป็นการหวังดี.. ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล.. * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล.. 💠 พระอรหันต์ 💠 ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ.. ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์.. * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ คนเกิดมาแล้วต้องตาย ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน.. ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า.. ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย.. ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่.. 💎 อรหัตผล 💎 นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา.. ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน.. ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕ ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน.. * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..." 💐 ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี ) สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1256 มุมมอง 0 รีวิว