• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้ .
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้เถิด.-

    (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ
    ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า )
    ---๑๗/๑๘/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97

    ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด
    อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง
    คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๙๙/๑๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97

    อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ
    อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งสมาธิ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.- (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ) ---๑๗/๑๘/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๙๙/๑๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙ http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654. http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งสมาธิ
    -อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และนี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 138
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ;
    คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ;
    ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี;
    ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ;
    อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.--
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    ....
    -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 138 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี; ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.-- --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. .... -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 170 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    สัทธรรมลำดับที่ : 944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    เนื้อความทั้งหมด :-

    --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.
    ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น,
    และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย,
    เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว)
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ;
    อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล
    ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด
    เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น
    ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา.
    (ในกรณีแห่ง
    อินทรีย์คือหู...
    อินทรีย์คือจมูก...
    อินทรีย์คือลิ้น...
    อินทรีย์คือกาย... และ
    อินทรีย์ คือใจ...
    ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด
    คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง).
    เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง
    ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ
    ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่;
    ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท
    เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง
    ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ
    มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่;
    ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่;
    ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร”
    ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่.
    --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ
    ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว,
    เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง
    ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    เข้าถึง
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน ....
    แล้วแลอยู่.
    (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ).
    --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว
    ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ.
    -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ
    เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์;

    และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ.
    เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ;

    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว.
    เธอ ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง สัทธรรมลำดับที่ : 944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง เนื้อความทั้งหมด :- --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต. ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู... อินทรีย์คือจมูก... อินทรีย์คือลิ้น... อินทรีย์คือกาย... และ อินทรีย์ คือใจ... ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ). --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ. -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76. http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ” จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    -(ข้อความนั้น มีลักษณะแห่ง การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์ อาจจะใช้เป็นคำอธิบายแห่งคำว่า “อุปสุมานุสสติ” แห่งอนุสสติสิบ ได้ดี ดีกว่าที่อธิบายกันอยู่อย่างคลุมเครือ. ยิ่งกว่านั้นยังมีความวิเศษตรงที่ว่า ง่ายสำหรับทุกคนที่จะแยกจิตออกมาเสียจากสิ่งทั้งปวง มากำหนดอยู่เฉพาะสิ่งที่เป็นอสังขตะนี้เพียงสิ่งเดียว ทำให้แสวงหาความสุขหรือความเย็นจากพระนิพพานได้ง่ายขึ้น). ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์ คือใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มีรูปฌานทั้งสี่ เช่นที่หน้า ๑๒๗๘ แห่งหนังสือเล่มนี้). เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสเป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสวักขยญาณ. เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 227 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า
    พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
    จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน
    ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97
    พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน
    คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ
    หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ
    สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ
    สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น,
    ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน
    คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น,
    แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า
    #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ
    ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น
    ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี.

    (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น
    บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม,
    ส่วนคำตอบในสูตรนี้
    ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ.
    และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน
    ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน
    สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น.
    อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง.
    )​

    สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ
    โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว
    ].

    --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งจักษุ (และ) รูป
    ซึ่งโสตะ (และ) เสียง
    ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น
    ซึ่งชิวหา (และ) รส
    ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งอากาสานัญจายตนะ
    ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตน
    ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง
    ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ
    แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ)
    กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ
    ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ;
    แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.-

    *--๑.บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ
    ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘) http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97 พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น. อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. )​ สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว ]. --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจ ซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.- *--๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215. http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    -[ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗) พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้ ๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพานดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้นทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็นอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว]. สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่กระทำในใจซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รสซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. “มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่ กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 214 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    สัทธรรมลำดับที่ : 942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    (โลกุตตรสมาธิ)
    “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ
    ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญา ในลม
    ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า
    “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ
    เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ
    เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    *--๑. บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ
    สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้
    ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญาในลม
    ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว
    สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว
    สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ สัทธรรมลำดับที่ : 942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ ไม่มีวาโยสัญญา ในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. *--๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214. http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. ”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่ สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ารูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 132
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=132
    ชื่อบทธรรม : -รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    ๑--มหาภูตสี่อย่างและรูปที่อาศัยมหาภูตสี่อย่าง​(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม)
    เหล่านั้นด้วย :
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า รูป ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=รูป
    ๒--ความเกิดขึ้น-แห่งรูป มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งอาหาร(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม) ;
    ๓--ความดับไม่เหลือ-แห่งรูป มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งอาหาร(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม);
    ๔--อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเองเป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/113.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๒/๑๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=132
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=132
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ารูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 132 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=132 ชื่อบทธรรม : -รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ๑--มหาภูตสี่อย่างและรูปที่อาศัยมหาภูตสี่อย่าง​(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม) เหล่านั้นด้วย : --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า รูป ; http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=รูป ๒--ความเกิดขึ้น-แห่งรูป มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งอาหาร(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม) ; ๓--ความดับไม่เหลือ-แห่งรูป มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งอาหาร(ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม); ๔--อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเองเป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/113. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๒/๑๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=132 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=132 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    -รูปขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! มหาภูตสี่อย่างและรูปที่อาศัยมหาภูตสี่อย่างเหล่านั้นด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า รูป ; ความเกิดขึ้น แห่งรูป มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งอาหาร ; ความดับไม่เหลือแห่งรูปมีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งอาหาร ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเองเป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 242 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 566
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=566
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี
    ล้วนเป็นของ &​ไม่เที่ยง,
    จักกล่าวไปใย ถึง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า.
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี
    ล้วนเป็นของที่ คงอยู่อย่างนั้นไม่ได้ &​เป็นทุกข์,
    จักกล่าวไปใย ถึง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า.
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี
    ล้วนเป็นของที่ &​ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน,
    จักกล่าวไปใย ถึง
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ผู้มีการสดับแล้ว
    เห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อม &​หมดอาลัยยินดี ใน
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่ได้ล่วงไปแล้ว,
    ย่อม &​ไม่นึกเพลิน เกี่ยวกับ
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่จะมีมา,
    แต่จักเป็นผู้ปฏิบัติ #เพื่อหน่าย #เพื่อคลายออก #เพื่อได้ดับสนิท เสียซึ่ง
    http://etipitaka.com/read/pali/17/25/?keywords=นิโรธาย+ปฏิปนฺโน
    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ที่เป็นปัจจุบันนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/15-6/36-8.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/16/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๕-๖/๓๖-๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/25/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=566
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=566
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
    ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 566 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=566 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน --ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของ &​ไม่เที่ยง, จักกล่าวไปใย ถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. --ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของที่ คงอยู่อย่างนั้นไม่ได้ &​เป็นทุกข์, จักกล่าวไปใย ถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. --ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของที่ &​ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, จักกล่าวไปใย ถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ผู้มีการสดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อม &​หมดอาลัยยินดี ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ได้ล่วงไปแล้ว, ย่อม &​ไม่นึกเพลิน เกี่ยวกับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่จะมีมา, แต่จักเป็นผู้ปฏิบัติ #เพื่อหน่าย #เพื่อคลายออก #เพื่อได้ดับสนิท เสียซึ่ง http://etipitaka.com/read/pali/17/25/?keywords=นิโรธาย+ปฏิปนฺโน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/15-6/36-8. http://etipitaka.com/read/thai/17/16/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๕-๖/๓๖-๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/25/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=566 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=566 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน
    -ผู้ปฏิบัติเพื่อความดับเย็นเป็นนิพพาน ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของ ไม่เที่ยง, จักกล่าวไปใย ถึงรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของที่ คงอยู่อย่างนั้นไม่ได้ เป็นทุกข์, จักกล่าวไปใย ถึงรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. ภิกษุ ท. ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ล่วงไปแล้วก็ดีที่จะมาข้างหน้าก็ดี ล้วนเป็นของที่ ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, จักกล่าวไปใย ถึงรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้เล่า. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ผู้มีการสดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อม หมดอาลัยยินดี ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ได้ล่วงไปแล้ว, ย่อม ไม่นึกเพลิน เกี่ยวกับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่จะมีมา, แต่จัก เป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อหน่าย เพื่อคลายออก เพื่อได้ดับสนิทเสีย ซึ่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นปัจจุบันนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 248 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 565
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    ฉันนั้นก็เหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน
    กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน
    ลาดไปทางนิพพาน
    เทไปทางนิพพาน.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
    ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 565 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302. http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    -ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌานเป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 309 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความรักในสังสารวัฏ

    ในวัฏสงสาร ความรักเป็นเพียงสิ่งลวงที่ดูเหมือนจะให้ความอบอุ่น แต่แท้จริงแล้วกลับเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของ อนิจจัง และ ทุกขัง เพราะไม่ว่าจะสมหวังหรือผิดหวัง ความรักก็มักนำมาซึ่งความยึดมั่น และความยึดมั่นนี้เองที่เป็นต้นเหตุของความทุกข์

    แม้รักแท้ดูเหมือนมั่นคง แต่สุดท้ายก็ต้องพลัดพราก ไม่ว่าจะด้วยความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ หรือความตาย


    ---

    อริยสัจ 4 เบื้องต้น ผ่านอาการ "อกหัก"

    1. ทุกข์
    ทุกข์เกิดขึ้นเพราะการพลัดพรากจากสิ่งที่รัก หรือการไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา
    ทุกข์ในอาการอกหัก คือ ความเศร้า ความว้าเหว่ และการถวิลหาความรักที่จากไป


    2. สมุทัย
    เหตุแห่งทุกข์ คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก)
    เราอยากให้คนรักอยู่กับเรา อยากให้เขาทำให้เรามีความสุข อยากให้ความสัมพันธ์เป็นไปตามที่เราคาดหวัง


    3. นิโรธ
    ความดับทุกข์เกิดจากการปล่อยวาง ยอมรับความจริงว่า ทุกสิ่งไม่เที่ยง
    เมื่อเรามองเห็นทุกข์และสาเหตุอย่างแจ่มชัด เราจะค่อยๆ คลายความยึดติด และพบกับความสงบในใจ


    4. มรรค
    ทางสู่ความดับทุกข์ คือการเจริญ สติ และ สมาธิ

    พิจารณาอารมณ์และความคิดของตนเอง

    ฝึกสังเกตอาการยึดมั่นและปล่อยวาง

    ใช้ปัญญาเห็นว่า ความรักและความทุกข์ทั้งปวงเป็นของชั่วคราว





    ---

    วิธีเจริญสติ เพื่อปล่อยวางความรักที่พลัดพราก

    1. ดูใจตนเอง
    เมื่อเกิดความเศร้า ให้พิจารณาว่าอารมณ์นั้นเป็นเพียง สภาวะของจิต ที่เกิดขึ้นชั่วคราว แล้วมันจะผ่านไป


    2. เห็นอารมณ์ตามจริง
    มองว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น เช่น ความคิดถึงหรือความเศร้า เป็นเพียง "ปรากฏการณ์" ที่จิตปรุงแต่งขึ้น


    3. พิจารณาอนิจจัง
    ความรักที่เคยทำให้สุขใจ สุดท้ายก็กลายเป็นทุกข์ได้ เพราะทุกสิ่งในโลกนี้ล้วนไม่เที่ยง


    4. ฝึกปล่อยวาง

    ยอมรับว่า คนรักที่จากไป ไม่ได้เป็นของเรา

    เห็นว่าความยึดติดนั้นนำมาซึ่งความทุกข์





    ---

    จากความรัก สู่ความวิเวกอันสงบ

    เมื่อเราสามารถปล่อยวางความรักหรือความยึดมั่นได้ จิตใจจะเริ่มรู้สึกเบาสบาย และสงบเย็น นี่คือความสุขที่แท้จริง ความสุขที่ไม่ต้องพึ่งพาใครหรือสิ่งใด

    จงฝึกเห็นความรักในฐานะธรรมชาติที่เกิดขึ้นและดับไป
    จงปลื้มใจในความวิเวก และค้นพบอิสรภาพทางใจแทน

    "เมื่อเราไม่ยึดติดในความรัก เราจะมอบความรักที่แท้จริงให้แก่ตนเองได้"

    ความรักในสังสารวัฏ ในวัฏสงสาร ความรักเป็นเพียงสิ่งลวงที่ดูเหมือนจะให้ความอบอุ่น แต่แท้จริงแล้วกลับเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของ อนิจจัง และ ทุกขัง เพราะไม่ว่าจะสมหวังหรือผิดหวัง ความรักก็มักนำมาซึ่งความยึดมั่น และความยึดมั่นนี้เองที่เป็นต้นเหตุของความทุกข์ แม้รักแท้ดูเหมือนมั่นคง แต่สุดท้ายก็ต้องพลัดพราก ไม่ว่าจะด้วยความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ หรือความตาย --- อริยสัจ 4 เบื้องต้น ผ่านอาการ "อกหัก" 1. ทุกข์ ทุกข์เกิดขึ้นเพราะการพลัดพรากจากสิ่งที่รัก หรือการไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา ทุกข์ในอาการอกหัก คือ ความเศร้า ความว้าเหว่ และการถวิลหาความรักที่จากไป 2. สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก) เราอยากให้คนรักอยู่กับเรา อยากให้เขาทำให้เรามีความสุข อยากให้ความสัมพันธ์เป็นไปตามที่เราคาดหวัง 3. นิโรธ ความดับทุกข์เกิดจากการปล่อยวาง ยอมรับความจริงว่า ทุกสิ่งไม่เที่ยง เมื่อเรามองเห็นทุกข์และสาเหตุอย่างแจ่มชัด เราจะค่อยๆ คลายความยึดติด และพบกับความสงบในใจ 4. มรรค ทางสู่ความดับทุกข์ คือการเจริญ สติ และ สมาธิ พิจารณาอารมณ์และความคิดของตนเอง ฝึกสังเกตอาการยึดมั่นและปล่อยวาง ใช้ปัญญาเห็นว่า ความรักและความทุกข์ทั้งปวงเป็นของชั่วคราว --- วิธีเจริญสติ เพื่อปล่อยวางความรักที่พลัดพราก 1. ดูใจตนเอง เมื่อเกิดความเศร้า ให้พิจารณาว่าอารมณ์นั้นเป็นเพียง สภาวะของจิต ที่เกิดขึ้นชั่วคราว แล้วมันจะผ่านไป 2. เห็นอารมณ์ตามจริง มองว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น เช่น ความคิดถึงหรือความเศร้า เป็นเพียง "ปรากฏการณ์" ที่จิตปรุงแต่งขึ้น 3. พิจารณาอนิจจัง ความรักที่เคยทำให้สุขใจ สุดท้ายก็กลายเป็นทุกข์ได้ เพราะทุกสิ่งในโลกนี้ล้วนไม่เที่ยง 4. ฝึกปล่อยวาง ยอมรับว่า คนรักที่จากไป ไม่ได้เป็นของเรา เห็นว่าความยึดติดนั้นนำมาซึ่งความทุกข์ --- จากความรัก สู่ความวิเวกอันสงบ เมื่อเราสามารถปล่อยวางความรักหรือความยึดมั่นได้ จิตใจจะเริ่มรู้สึกเบาสบาย และสงบเย็น นี่คือความสุขที่แท้จริง ความสุขที่ไม่ต้องพึ่งพาใครหรือสิ่งใด จงฝึกเห็นความรักในฐานะธรรมชาติที่เกิดขึ้นและดับไป จงปลื้มใจในความวิเวก และค้นพบอิสรภาพทางใจแทน "เมื่อเราไม่ยึดติดในความรัก เราจะมอบความรักที่แท้จริงให้แก่ตนเองได้"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 392 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ญาณวัตถุ_๔๔ [๑๑๙] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ญาณวัตถุ ๔๔ เป็นไฉนคือ ความรู้ในชราและมรณะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในความดับแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในชาติ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชาติ ๑ ความรู้ในความดับแห่งชาติ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชาติ ๑ ความรู้ในภพ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งภพ ๑ความรู้ในความดับแห่งภพ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งภพ ๑ ความรู้ในอุปาทาน ๑ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งอุปาทาน ๑ ความรู้ในความดับแห่งอุปาทาน ๑ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งอุปาทาน ๑ ความรู้ในตัณหา ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งตัณหา ๑ ความรู้ในความดับแห่งตัณหา ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งตัณหา ๑ความรู้ในเวทนา ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งเวทนา ๑ ความรู้ในความดับแห่งเวทนา ๑ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งเวทนา ๑ ความรู้ในผัสสะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งผัสสะ ๑ความรู้ในความดับแห่งผัสสะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งผัสสะ ๑ความรู้ในสฬายตนะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสฬายตนะ ๑ ความรู้ในความดับแห่งสฬายตนะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสฬายตนะ ๑ความรู้ในนามรูป ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในความดับแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในวิญญาณ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในความดับแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในสังขารทั้งหลาย ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร ๑ ความรู้ในความดับแห่งสังขาร ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขาร ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลายเหล่านี้เรียกว่า ญาณวัตถุ ๔๔ ฯ [๑๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชราและมรณะเป็นไฉน ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังเหี่ยว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่าชรา ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความทำลาย ความอันตรธาน มฤตยูความตาย กาลกิริยา ความแตกแห่งขันธ์ความทอดทิ้งซากศพ ความขาดแห่งอินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เราเรียกว่ามรณะ ชราและมรณะดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่าชราและมรณะ เพราะชาติเกิด ชราและมรณะจึงเกิดเพราะชาติดับ ชราและมรณะจึงดับ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้เท่านั้น คือความเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ อาชีพชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ความตั้งใจไว้ชอบ ๑ เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงธรรมเป็นที่ดับชราและมรณะ ฯ [๑๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งความดับแห่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะอย่างนี้ นี้ชื่อว่าความรู้ในธรรมของอริยสาวกนั้น อริยสาวกนั้นนำนัยในอดีตและอนาคตไปด้วยธรรมนี้ ซึ่งตนเห็นแล้ว รู้แล้ว ให้ผลไม่มีกำหนดกาล อันตนได้บรรลุแล้วอันตนหยั่งรู้แล้ว สมณะหรือพราหมณ์ในอดีตกาลเหล่าใดเหล่าหนึ่งก็ได้รู้ชราและมรณะ ได้รู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ ได้รู้ความดับแห่งชราและมรณะ ได้รู้ปฏิปทาอันให้ถึง ความดับแห่งชราและมรณะ เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น สมณะหรือพราหมณ์ในอนาคตกาลแม้เหล่าใดเหล่าหนึ่งก็จักรู้ชราและมรณะ จักรู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ จักรู้ความดับแห่งชราและมรณะ จักรู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น นี้ชื่อว่า อันวยญาณของอริยสาวกนั้น ฯ [๑๒๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความรู้ ๒ อย่าง คือธรรมญาณ ๑ อันวยญาณ ๑ เหล่านี้ของอริยสาวก เป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ผุดผ่อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกนี้เราเรียกว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิบ้าง ผู้ถึงพร้อมด้วยทัศนะบ้าง ผู้มาสู่สัทธรรมนี้บ้าง เห็นสัทธรรมนี้บ้าง ประกอบด้วยญาณของพระเสขะบ้าง ประกอบด้วยวิชชาของพระเสขะบ้าง ถึงกระแสแห่งธรรมบ้าง เป็นอริยบุคคลผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง อยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ฯ [๑๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชาติเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภพเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อุปาทานเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ตัณหาเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็เวทนาเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ผัสสะเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สฬายตนะเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็นามรูปเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็วิญญาณเป็นไฉน ...ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สังขารเป็นไฉน ... สังขารมี ๓ คือ กายสังขาร ๑ วจีสังขาร ๑ จิตสังขาร ๑ นี้เรียกว่าสังขาร เพราะอวิชชาเกิด สังขารจึงเกิด เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับอริยมรรคมีองค์ ๘ นี้เท่านั้น คือความเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ อาชีพชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งใจไว้ชอบ ๑ ฯ [๑๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกรู้ชัดสังขารอย่างนี้ รู้ชัดเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขารอย่างนี้ รู้ชัดความดับแห่งสังขารอย่างนี้ รู้ชัดปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขารอย่างนี้นี้ชื่อว่า ความรู้ในธรรมของอริยสาวกนั้น อริยสาวกนั้นย่อมนำนัยในอดีตและอนาคตไปด้วยธรรมนี้ ซึ่งตนเห็นแล้ว รู้แล้วให้ผลไม่มีกำหนดกาล อันตนได้บรรลุแล้ว อันตนหยั่งรู้แล้ว สมณะหรือพราหมณ์ในอดีตกาลเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ก็ได้รู้สังขาร ได้รู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร ได้รู้ความดับแห่งสังขาร ได้รู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขารเหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น สมณะหรือพราหมณ์ในอนาคตกาลแม้เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ก็จักรู้สังขาร จักรู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร จักรู้ความดับแห่งสังขาร จักรู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขาร เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น นี้ชื่อว่า อันวยญาณของอริยสาวกนั้น ฯ [๑๒๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความรู้ ๒ อย่าง คือธรรมญาณ ๑ อันวยญาณ ๑ เหล่านี้ ของอริยสาวก เป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ผุดผ่อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกนี้เราเรียกว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิบ้าง ผู้ถึงพร้อมด้วยทัศนะบ้าง ผู้มาสู่สัทธรรมนี้บ้าง เห็นสัทธรรมนี้บ้าง ประกอบด้วยญาณของพระเสขะบ้าง ประกอบด้วยวิชชาของพระเสขะบ้าง ถึงกระแสแห่งธรรมบ้าง เป็นอริยบุคคลผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง อยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ดังนี้ ฯ จบสูตรที่ ๓พระไตรปิฎก(ฉบับหลวง) E-Tipitakaเล่มที่ ๑๖/๕๓-๕๕/๑๑๙-๑๒๕
    #ญาณวัตถุ_๔๔ [๑๑๙] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ญาณวัตถุ ๔๔ เป็นไฉนคือ ความรู้ในชราและมรณะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในความดับแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ ๑ ความรู้ในชาติ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชาติ ๑ ความรู้ในความดับแห่งชาติ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชาติ ๑ ความรู้ในภพ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งภพ ๑ความรู้ในความดับแห่งภพ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งภพ ๑ ความรู้ในอุปาทาน ๑ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งอุปาทาน ๑ ความรู้ในความดับแห่งอุปาทาน ๑ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งอุปาทาน ๑ ความรู้ในตัณหา ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งตัณหา ๑ ความรู้ในความดับแห่งตัณหา ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งตัณหา ๑ความรู้ในเวทนา ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งเวทนา ๑ ความรู้ในความดับแห่งเวทนา ๑ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งเวทนา ๑ ความรู้ในผัสสะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งผัสสะ ๑ความรู้ในความดับแห่งผัสสะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งผัสสะ ๑ความรู้ในสฬายตนะ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสฬายตนะ ๑ ความรู้ในความดับแห่งสฬายตนะ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสฬายตนะ ๑ความรู้ในนามรูป ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในความดับแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งนามรูป ๑ ความรู้ในวิญญาณ ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในความดับแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ ๑ ความรู้ในสังขารทั้งหลาย ๑ ความรู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร ๑ ความรู้ในความดับแห่งสังขาร ๑ ความรู้ในปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขาร ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลายเหล่านี้เรียกว่า ญาณวัตถุ ๔๔ ฯ [๑๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชราและมรณะเป็นไฉน ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังเหี่ยว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่าชรา ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความทำลาย ความอันตรธาน มฤตยูความตาย กาลกิริยา ความแตกแห่งขันธ์ความทอดทิ้งซากศพ ความขาดแห่งอินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เราเรียกว่ามรณะ ชราและมรณะดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่าชราและมรณะ เพราะชาติเกิด ชราและมรณะจึงเกิดเพราะชาติดับ ชราและมรณะจึงดับ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้เท่านั้น คือความเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ อาชีพชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ความตั้งใจไว้ชอบ ๑ เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงธรรมเป็นที่ดับชราและมรณะ ฯ [๑๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งเหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งความดับแห่งชราและมรณะอย่างนี้ รู้ชัดซึ่งปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะอย่างนี้ นี้ชื่อว่าความรู้ในธรรมของอริยสาวกนั้น อริยสาวกนั้นนำนัยในอดีตและอนาคตไปด้วยธรรมนี้ ซึ่งตนเห็นแล้ว รู้แล้ว ให้ผลไม่มีกำหนดกาล อันตนได้บรรลุแล้วอันตนหยั่งรู้แล้ว สมณะหรือพราหมณ์ในอดีตกาลเหล่าใดเหล่าหนึ่งก็ได้รู้ชราและมรณะ ได้รู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ ได้รู้ความดับแห่งชราและมรณะ ได้รู้ปฏิปทาอันให้ถึง ความดับแห่งชราและมรณะ เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น สมณะหรือพราหมณ์ในอนาคตกาลแม้เหล่าใดเหล่าหนึ่งก็จักรู้ชราและมรณะ จักรู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งชราและมรณะ จักรู้ความดับแห่งชราและมรณะ จักรู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น นี้ชื่อว่า อันวยญาณของอริยสาวกนั้น ฯ [๑๒๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความรู้ ๒ อย่าง คือธรรมญาณ ๑ อันวยญาณ ๑ เหล่านี้ของอริยสาวก เป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ผุดผ่อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกนี้เราเรียกว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิบ้าง ผู้ถึงพร้อมด้วยทัศนะบ้าง ผู้มาสู่สัทธรรมนี้บ้าง เห็นสัทธรรมนี้บ้าง ประกอบด้วยญาณของพระเสขะบ้าง ประกอบด้วยวิชชาของพระเสขะบ้าง ถึงกระแสแห่งธรรมบ้าง เป็นอริยบุคคลผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง อยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ฯ [๑๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชาติเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภพเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อุปาทานเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ตัณหาเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็เวทนาเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ผัสสะเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สฬายตนะเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็นามรูปเป็นไฉน ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็วิญญาณเป็นไฉน ...ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สังขารเป็นไฉน ... สังขารมี ๓ คือ กายสังขาร ๑ วจีสังขาร ๑ จิตสังขาร ๑ นี้เรียกว่าสังขาร เพราะอวิชชาเกิด สังขารจึงเกิด เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับอริยมรรคมีองค์ ๘ นี้เท่านั้น คือความเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ อาชีพชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งใจไว้ชอบ ๑ ฯ [๑๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกรู้ชัดสังขารอย่างนี้ รู้ชัดเหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขารอย่างนี้ รู้ชัดความดับแห่งสังขารอย่างนี้ รู้ชัดปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขารอย่างนี้นี้ชื่อว่า ความรู้ในธรรมของอริยสาวกนั้น อริยสาวกนั้นย่อมนำนัยในอดีตและอนาคตไปด้วยธรรมนี้ ซึ่งตนเห็นแล้ว รู้แล้วให้ผลไม่มีกำหนดกาล อันตนได้บรรลุแล้ว อันตนหยั่งรู้แล้ว สมณะหรือพราหมณ์ในอดีตกาลเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ก็ได้รู้สังขาร ได้รู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร ได้รู้ความดับแห่งสังขาร ได้รู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขารเหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น สมณะหรือพราหมณ์ในอนาคตกาลแม้เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ก็จักรู้สังขาร จักรู้เหตุเป็นแดนเกิดแห่งสังขาร จักรู้ความดับแห่งสังขาร จักรู้ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งสังขาร เหมือนอย่างที่เรารู้ในบัดนี้เหมือนกันทั้งนั้น นี้ชื่อว่า อันวยญาณของอริยสาวกนั้น ฯ [๑๒๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความรู้ ๒ อย่าง คือธรรมญาณ ๑ อันวยญาณ ๑ เหล่านี้ ของอริยสาวก เป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ผุดผ่อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกนี้เราเรียกว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิบ้าง ผู้ถึงพร้อมด้วยทัศนะบ้าง ผู้มาสู่สัทธรรมนี้บ้าง เห็นสัทธรรมนี้บ้าง ประกอบด้วยญาณของพระเสขะบ้าง ประกอบด้วยวิชชาของพระเสขะบ้าง ถึงกระแสแห่งธรรมบ้าง เป็นอริยบุคคลผู้มีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง อยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ดังนี้ ฯ จบสูตรที่ ๓พระไตรปิฎก(ฉบับหลวง) E-Tipitakaเล่มที่ ๑๖/๕๓-๕๕/๑๑๙-๑๒๕
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 527 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า “ศาสนา” เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น

    พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า “อะไร” อะไร” เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา

    พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค” ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย

    พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ


    เรื่อง “กฐิน” ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ ” คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง

    ลักษณะดังกล่าวมานี้ เรียกว่าเป็น “เนื้องอก” ของ พุทธศาสนา ซึ่งมีมากมายหลายร้อยอย่าง จัดเป็นเนื้อ ร้ายชนิดหนึ่งที่งอกออกมาปิดบังเนื้อดีหรือแก่นแท้ของ พุทธศาสนาให้ค่อยๆ เลือนหายไป นิกายต่างๆ ก็เกิดขึ้น

    สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน
    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5/
    ทุกศาสนามีมูลเหตุมาจากความกลัว นับตั้งแต่ กลัวภัยธรรมชาติ จนถึงกลัว เกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส วิธีปฏิบัติเพื่อให้รอดพ้นจากความกลัวนั้นๆ เรียกว่า “ศาสนา” เช่นมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอน เป็นต้น พุทธศาสนา มีมูลมาจากกลัวความเกิด แก่ เจ็บ ตาย หรือ กลัวกิเลส อันเป็นตัวทุกข์หรือเหตุให้เกิดทุกข์วิธีปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ คือ การพิจารณาให้รู้แ เป็นจริงในสิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วยตนเองว่า “อะไร” อะไร” เมื่อเห็นจริงก็ปฏิบัติถูกต่อสิ่งทั้งปวง การปฏิบั ถูกนั่นเองเป็นทางดับทุกข์ การบูชา บวงสรวง อ้อน การรดน้ำมนต์ ตลอดจนการนับถือเทวดา หรือดวง มิใช่ทางดับทุกข์ ตามหลักแห่งพุทธศาสนา พุทธศาสนาดูได้หลายเหลี่ยม เช่นเดียวกับศาสน อื่นๆ ตามแต่สติปัญญาความรู้ความเข้าใจของผู้ดู คัม ของศาสนาต่างๆ หรือพระไตรปิฎกของพระพุทธศาส จึงมีการเพิ่มเติมเข้าไปอีกมาก ตามความเห็นของคน หลัง จนเกินขอบเขต โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา การหลงถือเอาพิธีต่างๆ เล็กๆ น้อยๆ เช่น พิธี วิญญาณของพระพุทธเจ้าเป็นต้นว่าเป็นพุทธศาสนา บางอย่างได้ห่อหุ้มความหมายเดิมให้สาบสูญไป เช่น บวชนาค” ได้มีการทำขวัญนาค มีการฉลองกันใน วชไม่กี่วัน สึกออกมายังเหมือนเดิม การบวชสมัย พระพุทธเจ้า ผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดาแล้วปลีกตัว ออกจากเรือนไปหาพระ การบวชเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ ทางบ้านไม่มีหน้าที่ทำอะไรเลย พิธีที่เพิ่มขึ้นเหล่านั้นไม่ได้ ทำให้ผู้บวชดีขึ้น บางคนฝึกไปแล้วกลับเลวกว่าเก่าก็มี จึงเป็นการทำให้หมดเปลืองทรัพย์ และแรงงานไปเปล่าๆ เรื่อง “กฐิน” ก็เช่นกัน ความมุ่งหมายเดิมมีว่า ให้พระทุกรูปทำจีวรใช้เอง ให้พร้อมเพรียงกัน ทำด้วยมือ ” คนให้หมดความถือตัว โดยให้ลดตัวเองมาเป็นกุลีเท่ากัน หมด แต่เดี๋ยวนี้กฐินกลายเป็นเรื่องมีไว้สำหรับประกอบ พิธีหรูหราหาเงิน เอิกเกริกเฮฮาสนุกสนานพักผ่อนหย่อนใจ โดยไม่ได้รับผลสมความมุ่งหมายอันแท้จริง ลักษณะดังกล่าวมานี้ เรียกว่าเป็น “เนื้องอก” ของ พุทธศาสนา ซึ่งมีมากมายหลายร้อยอย่าง จัดเป็นเนื้อ ร้ายชนิดหนึ่งที่งอกออกมาปิดบังเนื้อดีหรือแก่นแท้ของ พุทธศาสนาให้ค่อยๆ เลือนหายไป นิกายต่างๆ ก็เกิดขึ้น สามารถอ่านต่อที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/2023/03/12/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5/
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1171 มุมมอง 0 รีวิว