• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 315
    ชื่อบทธรรม :- เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    --ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ
    ๑.ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก).
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=ภวทิฏฺฐิ
    ๒.วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ).
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=วิภวทิฏฺฐิ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ
    เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ.
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิง วิภวทิฏฐิ
    เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ.
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
    ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง
    ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม
    และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้
    มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน
    เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับ ประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี
    มักยินดีในความเนิ่นช้า.
    เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส,
    เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น #ไม่พ้นจากทุกข์.

    [ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม
    ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม
    --
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง
    ย่อมรู้ทั่วถึงความเกิด ความดับคุณ โทษ
    และการถ่ายถอนแห่งทิฏฐิ ๒ อย่างเหล่านี้ ตามความเป็นจริง
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้
    ปราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ปราศจากตัณหา ปราศจากอุปาทาน
    เป็นผู้รู้แจ้ง เป็นผู้ไม่ยินดีและยินร้าย มีความยินดีในความไม่เนิ่นช้า มีความไม่เนิ่นช้าเป็นที่มายินดี
    พวกเขา ย่อมหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ ความโศก ความร่ำไร ทุกข์กาย ทุกข์ใจ
    และความคับแค้นทั้งหลาย
    เรากล่าวว่า #ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์.
    ]​.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/91/155.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๑/๑๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=315
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ สัทธรรมลำดับที่ : 315 ชื่อบทธรรม :- เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315 เนื้อความทั้งหมด :- --เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ --ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ ๑.ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก). http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=ภวทิฏฺฐิ ๒.วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ). http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=วิภวทิฏฺฐิ --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิง วิภวทิฏฐิ เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ. --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้ มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับ ประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี มักยินดีในความเนิ่นช้า. เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส, เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น #ไม่พ้นจากทุกข์. [ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม -- สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ย่อมรู้ทั่วถึงความเกิด ความดับคุณ โทษ และการถ่ายถอนแห่งทิฏฐิ ๒ อย่างเหล่านี้ ตามความเป็นจริง สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้ ปราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ปราศจากตัณหา ปราศจากอุปาทาน เป็นผู้รู้แจ้ง เป็นผู้ไม่ยินดีและยินร้าย มีความยินดีในความไม่เนิ่นช้า มีความไม่เนิ่นช้าเป็นที่มายินดี พวกเขา ย่อมหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ ความโศก ความร่ำไร ทุกข์กาย ทุกข์ใจ และความคับแค้นทั้งหลาย เรากล่าวว่า #ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์. ]​.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/91/155. http://etipitaka.com/read/thai/12/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๑/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/12/131/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=315 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=315 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ
    -เกิดกิเลสและทุกข์เพราะทิฏฐิบวก - ทิฏฐิลบ ภิกษุ ท. ! ทิฏฐิสองอย่างนี้มีอยู่ คือ ภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายบวก). วิภวทิฏฐิ (ทิฏฐิฝ่ายลบ). ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงภวทิฏฐิ เข้าถึง ภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่ภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ วิภวทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด แอบอิงวิภวทิฏฐิ เข้าถึง วิภวทิฏฐิ หยั่งลงสู่วิภวทิฏฐิ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมคัดค้านต่อ ภวทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษต่ำทราม และอุบายเครื่องออกแห่งทิฏฐิทั้งสองนี้ ; สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ผู้ มีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มีตัณหา มีอุปาทาน เป็นผู้ไม่รู้แจ้ง ประเดี๋ยวยอมรับประเดี๋ยวคัดค้าน มีความเนิ่นช้าเป็นที่มายินดี มักยินดีในความเนิ่นช้า. เขาเหล่านั้น ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส, เรากล่าวว่า เขาเหล่านั้น ไม่พ้นจากทุกข์. (ต่อจากนี้ได้ตรัสสมณพราหมณ์พวกตรงกันข้าม ไม่มีทิฏฐิบวก-ทิฏฐิลบ พ้นจากทุกข์ได้ โดยนัยตรงกันข้าม).
    0 Comments 0 Shares 56 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 207 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 674
    ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ
    ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์
    เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง,
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ;
    ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ;
    อันนี้เราเรียกว่า
    #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 674 ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ; ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501 http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 168 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    สัทธรรมลำดับที่ : 1039
    ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ
    สี่อย่างคือ :-
    ทุกขอริยสัจ
    ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ทุกขนิโรธอริยสัจ
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง.

    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่,
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่,
    อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. !
    อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ;
    อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น
    ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้.
    พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง
    ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ;
    ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;”
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี สัทธรรมลำดับที่ : 1039 ชื่อบทธรรม :- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=จตฺตารีมานิ+ภิกฺขเว+อริยสจฺจานิ สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เจริญนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1039 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี
    -(ก่อนแต่จะตรัสเรื่องนี้ ได้ตรัสถึงการที่พระองค์ได้เป็นราชฤาษีในกาลก่อน กล่าวสอนวัตรปฏิบัติที่เป็นไปเพียงเพื่อพรหมโลก ไม่ถึงนิพพาน ก็ยังมีผู้พากันปฏิบัติตาม. ส่วนกัลยาณวัตรนี้เป็นไปเพื่อนิพพาน จึงควรที่คนทั้งหลายจะพึงปฏิบัติตาม. อีกข้อหนึ่ง ที่พวกเราควรจะให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่งนั้น คือข้อที่พวกเราอย่าเป็นพวกสุดท้ายแห่งการประพฤติ กัลยาณวัตรนี้ ตามพระพุทธประสงค์). ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสุจที่ใครๆ ควร รอบรู้ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรละ มีอยู่, อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้ง มีอยู่, อริยสัจที่ใคร ๆ ควรทำให้เกิดมี มีอยู่. ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใครๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรละนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้แจ้งนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ ; อริยสัจที่ใครๆ ควรทำให้เกิดมีนั้น ได้แก่ อริยสัจ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้. พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นเช่นนี้ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ,” ดังนี้ ; ว่า “ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ ;” ดังนี้เถิด.
    0 Comments 0 Shares 155 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 670
    ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา
    จึงมี ความดับแห่งสังขาร ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ;
    +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ;
    +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ

    #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501.
    https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 670 ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 เนื้อความทั้งหมด :- --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ... --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา จึงมี ความดับแห่งสังขาร ; +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ; +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ; +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ; +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ; +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ; +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ; +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ; +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ; +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ; +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501. https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    -นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชา นั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความ ดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 151 Views 0 Reviews
  • เห็นจิตอย่างไร? ต้องเริ่มที่ตรงไหน?
    คำถามนี้ พระพุทธเจ้าทรงตอบไว้แล้ว
    ใน อานาปานสติ และ จิตตานุปัสสนา

    🪷 1. เริ่มจากเห็น “กาย” และ “เวทนา” ให้ชัดก่อน
    เริ่มจากหายใจเข้า...รู้ว่าเข้ายาว
    หายใจออก...รู้ว่าออกสั้น
    รู้ว่าลมหายใจเปลี่ยนไป
    และรู้ว่าขณะนั้น “สุข” หรือ “ทุกข์” แทรกเข้ามาไหม

    รู้กาย – รู้เวทนา – รู้ความต่าง – รู้ปัจจุบัน
    นี่คือการฝึกจิตให้ “ตั้งมั่น” บนฐานที่ไม่คลอนแคลน
    เมื่อจิตมั่นแล้ว...
    “จิต” จะกลายเป็นสิ่งถูกรู้เอง

    🪷 2. เห็นจิตผ่านกิเลส — ราคะ โทสะ โมหะ
    ถ้ามีราคะขึ้นมา → ก็รู้ว่ามีราคะ
    ถ้ามีโทสะขึ้นมา → ก็รู้ว่าโทสะครอบงำ
    ถ้ามีโมหะ หรือความหลง → ก็รู้ว่านี่คือความมืด

    แค่ “รู้ตามจริง” ณ ขณะนั้น
    ไม่ต้องดึง ไม่ต้องดัน
    พอกิเลสดับไป ความโล่งจะเกิด
    สิ่งที่เหลืออยู่ชัดๆ คือ
    “จิตที่ไม่มีราคะ ไม่มีโทสะ ไม่มีโมหะ”
    ตรงนี้แหละ คือประสบการณ์เห็น “จิต”

    🪷 3. เห็นจิตแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
    จิตฟุ้งก็เห็น จิตสงบก็เห็น
    จิตร้ายก็เห็น จิตดีๆก็เห็น
    เห็นไปนานเข้า จะรู้เลยว่า
    ไม่มีจิตดวงไหนเป็นของเราเลยสักดวงเดียว

    จิตเปลี่ยนเพราะ “เหตุ”
    จิตดับเพราะ “เหตุ”
    จิตเกิดใหม่ เพราะ “อีกเหตุ”

    จิตไม่ใช่ตัว ไม่ใช่เรา
    มันแค่ “กระแสความรู้สึก” ที่มีเหตุให้เกิด
    และจะดับไปตามเหตุเท่านั้น

    ที่สุดของการเห็นจิต คือ
    การไม่หลงไปกับจิตใดๆอีก
    ไม่หลงไปกับจิตที่ดี
    ไม่รังเกียจจิตที่แย่
    เห็นหมดว่า “มันไม่ใช่เรา”
    และความทุกข์...
    จะเบาลง อย่างมีเหตุผล อย่างแท้จริง

    #อานาปานสติ
    #จิตตานุปัสสนา
    #เห็นจิตไม่ใช่แค่สงบ
    #เห็นตามจริงไม่ยึดมั่น
    #ทางแห่งอิสรภาพทางใจ
    #ธรรมะเข้าใจง่ายแต่ลึก
    #โพสต์ธรรมะแบบเห็นใจ
    🌿 เห็นจิตอย่างไร? ต้องเริ่มที่ตรงไหน? คำถามนี้ พระพุทธเจ้าทรงตอบไว้แล้ว ใน อานาปานสติ และ จิตตานุปัสสนา 🪷 1. เริ่มจากเห็น “กาย” และ “เวทนา” ให้ชัดก่อน เริ่มจากหายใจเข้า...รู้ว่าเข้ายาว หายใจออก...รู้ว่าออกสั้น รู้ว่าลมหายใจเปลี่ยนไป และรู้ว่าขณะนั้น “สุข” หรือ “ทุกข์” แทรกเข้ามาไหม รู้กาย – รู้เวทนา – รู้ความต่าง – รู้ปัจจุบัน นี่คือการฝึกจิตให้ “ตั้งมั่น” บนฐานที่ไม่คลอนแคลน เมื่อจิตมั่นแล้ว... “จิต” จะกลายเป็นสิ่งถูกรู้เอง 🪷 2. เห็นจิตผ่านกิเลส — ราคะ โทสะ โมหะ ถ้ามีราคะขึ้นมา → ก็รู้ว่ามีราคะ ถ้ามีโทสะขึ้นมา → ก็รู้ว่าโทสะครอบงำ ถ้ามีโมหะ หรือความหลง → ก็รู้ว่านี่คือความมืด แค่ “รู้ตามจริง” ณ ขณะนั้น ไม่ต้องดึง ไม่ต้องดัน พอกิเลสดับไป ความโล่งจะเกิด สิ่งที่เหลืออยู่ชัดๆ คือ “จิตที่ไม่มีราคะ ไม่มีโทสะ ไม่มีโมหะ” ตรงนี้แหละ คือประสบการณ์เห็น “จิต” 🪷 3. เห็นจิตแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จิตฟุ้งก็เห็น จิตสงบก็เห็น จิตร้ายก็เห็น จิตดีๆก็เห็น เห็นไปนานเข้า จะรู้เลยว่า ไม่มีจิตดวงไหนเป็นของเราเลยสักดวงเดียว จิตเปลี่ยนเพราะ “เหตุ” จิตดับเพราะ “เหตุ” จิตเกิดใหม่ เพราะ “อีกเหตุ” จิตไม่ใช่ตัว ไม่ใช่เรา มันแค่ “กระแสความรู้สึก” ที่มีเหตุให้เกิด และจะดับไปตามเหตุเท่านั้น 🌟 ที่สุดของการเห็นจิต คือ การไม่หลงไปกับจิตใดๆอีก ไม่หลงไปกับจิตที่ดี ไม่รังเกียจจิตที่แย่ เห็นหมดว่า “มันไม่ใช่เรา” และความทุกข์... จะเบาลง อย่างมีเหตุผล อย่างแท้จริง #อานาปานสติ #จิตตานุปัสสนา #เห็นจิตไม่ใช่แค่สงบ #เห็นตามจริงไม่ยึดมั่น #ทางแห่งอิสรภาพทางใจ #ธรรมะเข้าใจง่ายแต่ลึก #โพสต์ธรรมะแบบเห็นใจ
    0 Comments 0 Shares 238 Views 0 Reviews
  • อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 286
    ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;--
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว
    ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ
    ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    +-นี้เรียกว่า #ชรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา
    --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย
    การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต
    จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ;
    นี้ เรียกว่า #มรณะ ;
    ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ
    --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง
    ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย
    ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน
    และอัตตวาทุปาทาน.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส
    --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ
    --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ.
    นี้ เรียกว่า #นาม.
    รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย.
    นี้ เรียกว่า #รูป.
    ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ
    วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย
    และวิญญาณทางใจ.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร.
    +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร
    --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด
    เป็นความไม่รู้ในทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์,
    เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์.
    +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ,
    เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ;
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ;
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ;
    เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ;
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย
    ด้วยอาการอย่างนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยบุคคลพึงศึกษาว่าวิภาค(รายละเอียด)​แห่งปฏิจจสมุปบาท สัทธรรมลำดับที่ : 286 ชื่อบทธรรม :- วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 เนื้อความทั้งหมด :- --วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท --ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ;-- เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์(ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย)​ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย --ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; +-นี้เรียกว่า #ชรา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรา --ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า #มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชรามรณะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชรามรณ --ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ชาติ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ชาติ --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ภโว --ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อุปาทาน. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=อุปาทา --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=ตณฺหา --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=เวทนา --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=ผสฺส --ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อายตนะหก(สฬายตนํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สฬายตนํ --ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า #นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า #รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #นามรูป. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=นามรูป --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. +-ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/16/4/?keywords=สงฺขาร --ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, และ เป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. +-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #อวิชชา. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=อวิชฺชา --ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+สมุทโย ด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/2-5/5-18. http://etipitaka.com/read/thai/16/2/?keywords=%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒-๕/๕-๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/2/?keywords=%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=286 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=286 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท
    -วิภาคแห่งปฏิจจสมุปบาท ภิกษุ ท. ! ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! ชรา มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ชรา คือ ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความเสื่อมไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้เรียกว่า ชรา. ภิกษุ ท. ! มรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? มรณะคือ การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์คือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ ; นี้ เรียกว่า มรณะ ; ด้วยเหตุนี้แหละ ชราอันนี้ด้วย มรณะอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชรามรณะ. ภิกษุ ท. ! ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? ชาติ คือ การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตว์เหล่านั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ชาติ. ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภพมีสามเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ภพ. ภิกษุ ท. ! อุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่าง เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และอัตตวาทุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อุปาทาน. ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ และตัณหาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ตัณหา. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนา มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางตา เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางหู เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เวทนาเกิดแต่สัมผัสทางกาย และเวทนาเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า เวทนา. ภิกษุ ท. ! ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งผัสสะ มีหกอย่าง เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา สัมผัสทางหู สัมผัสทางจมูก สัมผัสทางลิ้น สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อายตนะหก เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งอายตนะ มีหกอย่าง เหล่านี้คือ อายตนะคือตา อายตนะคือหู อายตนะคือจมูก อายตนะคือลิ้น อายตนะคือกาย และอายตนะคือใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่าอายตนะหก. ภิกษุ ท. ! นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? นาม คือ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ และมนสิการ. นี้ เรียกว่า นาม. รูป คือ มหาภูตทั้งสี่ด้วยและรูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย. นี้ เรียกว่า รูป. ด้วยเหตุนี้แหละ นามอันนี้ด้วย รูปอันนี้ด้วย. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า นามรูป. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณ มีหกอย่างเหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สังขาร ทั้งหลายเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อวิชชา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความไม่รู้อันใด เป็นความไม่รู้ในทุกข์, เป็นความไม่รู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, เป็นความไม่รู้ในความดับไม่เหลือของทุกข์, ละเป็นไม่รู้ในทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า อวิชชา. ภิกษุ ท. ! ด้วยเหตุนี้แหละ, เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีสังขาร ; เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดมีวิญญาณ ; เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงเกิดมีนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอายตนะหก ; เพราะอายตนะหกเป็นปัจจัย จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีอุปาทาน ; เพราะ อุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 345 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 649
    ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์(สญฺโญชนิเยสุ)​ สองประการเหล่านี้ มีอยู่.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ
    ๑. การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย.
    ๒. การตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่
    ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ;
    เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ
    จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย,
    เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่
    ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ;
    เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ
    จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย,
    เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัญโญชนิยธรรม(สญฺโญชนิเยสุ)สองประการนั้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=649
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 649 ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649 เนื้อความทั้งหมด :- --ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม --ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์(สญฺโญชนิเยสุ)​ สองประการเหล่านี้ มีอยู่. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ ๑. การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. ๒. การตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัญโญชนิยธรรม(สญฺโญชนิเยสุ)สองประการนั้น.- http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252. http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=649 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ; กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน.
    -๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ; กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน. ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม ภิกษุ ท. ! ธรรมสองประการเหล่านี้ มีอยู่. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย และการตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดีในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ; เพราะละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ธรรมสองประการนั้น.
    0 Comments 0 Shares 184 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเรียนรู้อริยสัจสี่ ในอาตนะหก เพื่อความสิ้นทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 282
    ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=282
    เนื้อความทั้งหมด :-
    -- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์(อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง
    ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์.
    สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวงคือ
    (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ
    เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ :- )​
    ---อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) ;
    ---อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ;
    ---วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ;
    ---วิญญาณวิญญาตัพพธรรม หก ประการ
    ( ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยมโนวิญญาณ).

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด
    ไม่ละขาดแล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์.
    --ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลผู้รู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้
    ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวง เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์
    --ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวง คืออะไร ที่บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้
    คลายกำหนัดได้ ละได้ เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์
    สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวงคือ
    (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ
    เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ :-)​
    ---อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) ;
    ---อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ;
    ---วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ;
    ---วิญญาณวิญญาตัพพธรรม หก ประการ
    ( ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยมโนวิญญาณ).

    --ภิกษุ ท !(ทั้งหลาย) บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้
    ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวงนี้แล #เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/25/?keywords=จิตฺตานิ+วิมุจฺ

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/14-17/29-31.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๒ -๒๕/๒๙ -๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=282
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=282
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเรียนรู้อริยสัจสี่ ในอาตนะหก เพื่อความสิ้นทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 282 ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=282 เนื้อความทั้งหมด :- -- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์(อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวงคือ (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ :- )​ ---อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) ; ---อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ; ---วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ; ---วิญญาณวิญญาตัพพธรรม หก ประการ ( ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยมโนวิญญาณ). --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาดแล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. --ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลผู้รู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวง เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ --ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวง คืออะไร ที่บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวงคือ (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ :-)​ ---อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) ; ---อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ; ---วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ; ---วิญญาณวิญญาตัพพธรรม หก ประการ ( ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ ธรรมที่จะพึงรู้แจ้งด้วยมโนวิญญาณ). --ภิกษุ ท !(ทั้งหลาย) บุคคลรู้ยิ่ง กำหนดรู้ คลายกำหนัดได้ ละได้ซึ่งสิ่งทั้งปวงนี้แล #เป็นผู้ควรเพื่อความสิ้นทุกข์ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/25/?keywords=จิตฺตานิ+วิมุจฺ #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/14-17/29-31. http://etipitaka.com/read/thai/18/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๒ -๒๕/๒๙ -๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=282 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=282 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวงคือ (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ :-) อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) ; อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ; วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ; วิญญาณวิญญาตัพพธรรม หก ประการ (จักขุวิญญาณวิญญาตัพพธรรม ฯลฯ มโนวิญญาณวิญญาตัพพธรรม). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาดแล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. (ต่อไปนี้ ทรงแสดงโดย ปฏิปักขนัย ถึงสิ่งทั้งปวงที่เมื่อรู้และละแล้ว เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์ โดยนัยตรงกันข้าม ซึ่งผู้ศึกษาอาจเทียบเคียงได้เอง).
    0 Comments 0 Shares 178 Views 0 Reviews
  • อาริยสาวกพึงศึกษาว่าสิ่งต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 281
    ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=281
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สิ่งต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง
    ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์.
    สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวง คือ
    (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ
    เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ:-
    )
    +--อายตนะภายใน หก ที่ ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน);
    +--อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ;
    +--วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ;
    +--สัมผัส หก ประการ (จักขุสัมผัส ฯลฯ มโนสัมผัส) ;
    +--เวทนา หก ประการ (จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเวทนา).

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง
    ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาดแล้ว
    #ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/21/?keywords=อภพฺโพ+ทุกฺขกฺ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/15/27 -28.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๑/๒๗ -๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=281
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=281
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19
    ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    อาริยสาวกพึงศึกษาว่าสิ่งต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 281 ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=281 เนื้อความทั้งหมด :- --สิ่งต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวง คือ (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ:- ) +--อายตนะภายใน หก ที่ ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน); +--อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ; +--วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ; +--สัมผัส หก ประการ (จักขุสัมผัส ฯลฯ มโนสัมผัส) ; +--เวทนา หก ประการ (จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเวทนา). --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาดแล้ว #ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. http://etipitaka.com/read/pali/18/21/?keywords=อภพฺโพ+ทุกฺขกฺ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/15/27 -28. http://etipitaka.com/read/thai/18/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๑/๒๗ -๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=281 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19&id=281 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=19 ลำดับสาธยายธรรม : 19 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_19.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์
    -สิ่งที่ต้องรู้ ต้องละ เพื่อความสิ้นทุกข์ ภิกษุ ท. ! เมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาด ซึ่งสิ่งทั้งปวง ย่อมไม่เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. สิ่งทั้งปวง อะไรกันเล่า ? สิ่งทั้งปวง คือ (ต่อไปนี้ทรงแสดง ธรรมที่ควรรู้ควรละ เป็นหมวด ๆ ตามหลักแห่งอายตนะหกประการ คือ:-) อายตนะภายใน หก ประการ (จักษุ ฯลฯ มโน) : อายตนะภายนอก หก ประการ (รูป ฯลฯ ธรรมารมณ์) ; วิญญาณ หก ประการ (จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ) ; สัมผัส หก ประการ (จักขุสัมผัส ฯลฯ มโนสัมผัส) ; เวทนา หก ประการ (จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเวทนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสิ่งทั้งปวง ซึ่งเมื่อไม่รู้ยิ่ง ไม่รู้รอบ ไม่คลายกำหนัด ไม่ละขาดแล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์. (ต่อไปนี้ ทรงแสดงโดยปฏิปักขนัย ถึงสิ่งทั้งปวงที่เมื่อรู้และละแล้ว เป็นผู้สมควรเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์ โดยนัยตรงกันข้าม ซึ่งผู้ศึกษาอาจเทียบเคียงได้เอง).
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 174 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุการเกิดขึ้นแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ 279
    ชื่ิอบทธรรม :- การเกิดขึ้นแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=279
    เนื่ิอความทั้งหมด :-
    --การเกิดขึ้นแห่งตัณหา

    --ภิกษุ ท. ! การก่อขึ้นแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ตา ด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น,
    การประจวบพร้อม (แห่งตา+รูป+จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์

    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย หู ด้วย เสียงด้วย จึงเกิดโสตวิญญาณขึ้น.
    การประจวบพร้อม (แห่งหู+เสียง+โสตวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/106/?keywords=ตณฺหา+ทุกฺขสฺส+สมุทโย

    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย จมูก ด้วย กลิ่นด้วย จึงเกิดฆานวิญญาณขึ้น,
    การประจวบพร้อม (แห่งจมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์

    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ลิ้น ด้วย รสด้วย จึงเกิดชิวหาวิญญาณขึ้น,
    การประจวบพร้อม (แห่งลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ;
    นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย กาย ด้วย โผฏฐัพพะด้วย จึงเกิดกายวิญญาณขึ้น,
    การประจวบพร้อม (แห่งกาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ใจ ด้วย ธรรมารมณ์ด้วย จึงเกิดมโนวิญญาณขึ้น,
    การประจวบพร้อม (แห่งใจ+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ,
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา,
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;
    นี้ คือ การขึ้นแห่งทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #การก่อขึ้นแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ตณฺหา+ทุกฺขสฺส+สมุทโย

    #ทักขสมุทัย #อริสสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/154.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๖/๑๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=279
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=279
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุการเกิดขึ้นแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ 279 ชื่ิอบทธรรม :- การเกิดขึ้นแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=279 เนื่ิอความทั้งหมด :- --การเกิดขึ้นแห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! การก่อขึ้นแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ตา ด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งตา+รูป+จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย หู ด้วย เสียงด้วย จึงเกิดโสตวิญญาณขึ้น. การประจวบพร้อม (แห่งหู+เสียง+โสตวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. http://etipitaka.com/read/pali/18/106/?keywords=ตณฺหา+ทุกฺขสฺส+สมุทโย --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย จมูก ด้วย กลิ่นด้วย จึงเกิดฆานวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งจมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ลิ้น ด้วย รสด้วย จึงเกิดชิวหาวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย กาย ด้วย โผฏฐัพพะด้วย จึงเกิดกายวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งกาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ใจ ด้วย ธรรมารมณ์ด้วย จึงเกิดมโนวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งใจ+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น &จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การขึ้นแห่งทุกข์. --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #การก่อขึ้นแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ตณฺหา+ทุกฺขสฺส+สมุทโย #ทักขสมุทัย #อริสสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/154. http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๖/๑๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=279 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=279 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรถัดไป ได้ตรัสอุปมาด้วย มูตร ด้วย น้ำลาย ด้วย หนอง ด้วย โลหิต โดยทำนองเดียวกัน, - ๒๐/๔๖/๒๐๔).
    -(ในสูตรถัดไป ได้ตรัสอุปมาด้วย มูตร ด้วย น้ำลาย ด้วย หนอง ด้วย โลหิต โดยทำนองเดียวกัน, - ๒๐/๔๖/๒๐๔). วิภวตัณหา เรื่องของ วิภวตัณหา ที่เป็นพุทธดำรัสโดยตรง ยังไม่พบที่มา ; ขอนักศึกษาจงทราบ โดยเป็นปฏิปักขนัยของ ภวตัณหา. นิทเทศ ๓ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา จบ นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา (มี ๕ เรื่อง) การเกิดขึ้นแห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! การก่อขึ้นแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ตา ด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งตา+รูป+จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย หู ด้วย เสียงด้วย จึงเกิดโสตวิญญาณขึ้น. การประจวบพร้อม (แห่งหู+เสียง+โสตวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย จมูก ด้วย กลิ่นด้วย จึงเกิดฆานวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งจมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมี ผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ลิ้น ด้วย รสด้วย จึงเกิดชิวหาวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมี ผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมี ตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย กาย ด้วย โผฏฐัพพะด้วย จึงเกิดกายวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งกาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์. ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัย ใจ ด้วย ธรรมารมณ์ด้วย จึงเกิดมโนวิญญาณขึ้น, การประจวบพร้อม (แห่งใจ+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ, เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา, เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; นี้ คือ การขึ้นแห่งทุกข์. ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ การก่อขึ้นแห่งทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 183 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความเพลินอยู่กับอายตนะภายในเท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 259
    ชื่อบทธรรม :- เพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=259
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในจักษุ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในโสตะ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในฆานะ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในชิวหา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในกายะ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดังนี้;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในมนะ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    ดัวนี้;

    ส่วนผู้ใดไม่เพลิดเพลินจักษุ
    ผู้นั้นชื่อว่าไม่ เพลิดเพลินทุกข์
    ผู้ใดไม่เพลิดเพลินทุกข์
    เรากล่าวว่า ผู้นั้นพ้นไปจากทุกข์
    ...ฯลฯ ...
    ผู้ใดไม่เพลิดเพลินใจ ผู้นั้นชื่อว่าไม่เพลิดเพลินทุกข์
    ผู้ใดไม่เพลิดเพลินทุกข์
    เรากล่าวว่า ผู้นั้นพ้นไปจากทุกข์
    ดังนี้.-

    (ในสูตรต่อไป
    ได้ตรัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอกหก
    ซึ่งมีข้อความเหมือนในกรณีแห่ง อายตนะภายในข้างต้นนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออายตนะ).

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -สฬา. สํ. 18/11/19.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สฬา. สํ. ๑๘/๑๖/๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=259
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=259
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความเพลินอยู่กับอายตนะภายในเท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 259 ชื่อบทธรรม :- เพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=259 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในจักษุ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในโสตะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในฆานะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในชิวหา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในกายะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในมนะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดัวนี้; ส่วนผู้ใดไม่เพลิดเพลินจักษุ ผู้นั้นชื่อว่าไม่ เพลิดเพลินทุกข์ ผู้ใดไม่เพลิดเพลินทุกข์ เรากล่าวว่า ผู้นั้นพ้นไปจากทุกข์ ...ฯลฯ ... ผู้ใดไม่เพลิดเพลินใจ ผู้นั้นชื่อว่าไม่เพลิดเพลินทุกข์ ผู้ใดไม่เพลิดเพลินทุกข์ เรากล่าวว่า ผู้นั้นพ้นไปจากทุกข์ ดังนี้.- (ในสูตรต่อไป ได้ตรัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอกหก ซึ่งมีข้อความเหมือนในกรณีแห่ง อายตนะภายในข้างต้นนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออายตนะ). #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -สฬา. สํ. 18/11/19. http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สฬา. สํ. ๑๘/๑๖/๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=259 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=259 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์
    -เพลินอยู่กับอายตนะภายใน เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในจักษุ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในโสตะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในฆานะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในชิวหา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในกายะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในมนะ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 163 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 236
    ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด
    เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    ได้แก่
    ตัณหาในกาม
    ตัณหาในความมีความเป็น
    ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ;
    นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 236 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 เนื้อความทั้งหมด :- --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๓
    -นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ จบ ภาค ๑ ว่าด้วยทุกขอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ จบ คำชี้ชวนวิงวอน ____________ ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ โว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร.สํ. - สฬา.สํ.) ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ภาค ๒ มีเรื่อง :- นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา ๕ เรื่อง นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ ๓๑ เรื่อง นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฎฐิที่เกี่ยวกับตัณหา ๘ เรื่อง นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย ๑๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ (มี ๓ นิทเทศ) __________ อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 225 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    สัทธรรมลำดับที่ : 235
    ชื่อบทธรรม :- ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :-
    ๑. ทุกขอริยสัจ
    ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ
    ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ และ
    ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่.
    .. ฯลฯ..
    ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์.
    .. ฯลฯ..
    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย
    พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ
    .. ฯลฯ..
    ดังนี้เถิด.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=235
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ สัทธรรมลำดับที่ : 235 ชื่อบทธรรม :- ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :- ๑. ทุกขอริยสัจ ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ และ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อริยสัจสี่อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่. .. ฯลฯ.. ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์. .. ฯลฯ.. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์เป็นเช่นนี้ ๆ .. ฯลฯ.. ดังนี้เถิด.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/432/1709. http://etipitaka.com/read/thai/19/432/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๖/๑๗๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/546/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=235 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=235 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    -ทุกขอริยสัจเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ ภิกษุ ท. ! อริยสัจมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่าง คือ :- ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ และทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อริยสัจสี่อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในบรรดาอริยสัจสี่อย่างเหล่านี้, อริยสัจที่ใครๆควรรอบรู้ มีอยู่. .... ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! อริยสัจที่ใคร ๆ ควรรอบรู้นั้น ได้แก่ อริยสัจคือ ทุกข์. .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย พึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามที่เป็นจริง ว่า ‘ทุกข์ เป็นเช่นนี้ ๆ.....’ ดังนี้เถิด.
    0 Comments 0 Shares 163 Views 0 Reviews
  • การศึกษาของอริยสาวกในพระสมณะโคดมเพื่อรอบรู้ทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 233
    ชื่อบทธรรม :- ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=233
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกผู้ถือลัทธิศาสนาอื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “ผู้มีอายุ ! ท่านประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม
    เพื่อประโยชน์อะไรเล่า ?
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก เหล่านั้นว่า
    “ผู้มีอายุ ! เราประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกเหล่านั้น จะพึงถามต่อไปว่า
    “ผู้มีอายุ ! ก็ทุกข์ซึ่งท่านอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม
    เพื่อจะรอบรู้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้อีกแล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชกเหล่านั้นต่อไปว่า

    “+--ผู้มีอายุ !
    ตา เป็นทุกข์.
    +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้ตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น.
    รูป เป็นทุกข์.
    +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้รูป ซึ่งเป็นทุกข์นั้น.
    ความรู้แจ้งทางตา เป็นทุกข์.
    +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค
    ก็เพื่อรอบรู้ความรู้แจ้งทางตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น.
    สัมผัสทางตา เป็นทุกข์
    +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค
    ก็เพื่อรอบรู้สัมผัสทางตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นทุกข์.
    +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้เวทนาเช่นนั้น ซึ่งเป็นทุกข์นั้น.
    +--ผู้มีอายุ ! เราอยู่ #ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคนี้ก็เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์”
    ดังนี้.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ
    อายตนะภายใน ภายนอก วิญญาณ สัมผัส และ เวทนา
    อีก ๕ หมวดนั้น ก็ตรัสทำนองเดียวกับหมวดแรกนี้
    ).
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว
    จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก ผู้ถือลัทธิศาสนาอื่นเหล่านั้น ด้วยอาการอย่างนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/141/238.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/141/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๒/๒๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=233
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=233
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    การศึกษาของอริยสาวกในพระสมณะโคดมเพื่อรอบรู้ทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 233 ชื่อบทธรรม :- ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=233 เนื้อความทั้งหมด :- --ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกผู้ถือลัทธิศาสนาอื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “ผู้มีอายุ ! ท่านประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม เพื่อประโยชน์อะไรเล่า ? ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก เหล่านั้นว่า “ผู้มีอายุ ! เราประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกเหล่านั้น จะพึงถามต่อไปว่า “ผู้มีอายุ ! ก็ทุกข์ซึ่งท่านอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม เพื่อจะรอบรู้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้อีกแล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชกเหล่านั้นต่อไปว่า “+--ผู้มีอายุ ! ตา เป็นทุกข์. +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้ตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. รูป เป็นทุกข์. +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้รูป ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. ความรู้แจ้งทางตา เป็นทุกข์. +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้ความรู้แจ้งทางตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. สัมผัสทางตา เป็นทุกข์ +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้สัมผัสทางตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นทุกข์. +--เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้เวทนาเช่นนั้น ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. +--ผู้มีอายุ ! เราอยู่ #ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคนี้ก็เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์” ดังนี้. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ อายตนะภายใน ภายนอก วิญญาณ สัมผัส และ เวทนา อีก ๕ หมวดนั้น ก็ตรัสทำนองเดียวกับหมวดแรกนี้ ). --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก ผู้ถือลัทธิศาสนาอื่นเหล่านั้น ด้วยอาการอย่างนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/141/238. http://etipitaka.com/read/thai/18/141/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๒/๒๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=233 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=233 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์
    -ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อรอบรู้ทุกข์ ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกผู้ถือลัทธิศาสนาอื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “ผู้มีอายุ ! ท่านประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม เพื่อประโยชน์อะไรเล่า ? ดังนี้. ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก เหล่านั้นว่า “ผู้มีอายุ ! เราประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพาชกเหล่านั้น จะพึงถามต่อไปว่า “ผู้มีอายุ ! ก็ทุกข์ซึ่งท่านอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณะโคดม เพื่อจะรอบรู้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถามอย่างนี้อีกแล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชกเหล่านั้นต่อไปว่า “ผู้มีอายุ ! ตา เป็นทุกข์. เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้ตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. รูป เป็นทุกข์. เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้รูป ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. ความรู้แจ้งทางตา เป็นทุกข์. เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคก็เพื่อรอบรู้ความรู้แจ้งทางตา ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. สัมผัสทางตา เป็นทุกข์ เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้สัมผัสทางตา ซึ่งเป็น ทุกข์นั้น, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นทุกข์. เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ก็เพื่อรอบรู้เวทนาเช่นนั้น ซึ่งเป็นทุกข์นั้น. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายใน ภายนอก วิญญาณ สัมผัส และ เวทนา อีก ๕ หมวดนั้น ก็ตรัสทำนองเดียวกับหมวดแรกนี้). ผู้มีอายุ ! เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคนี้ก็เพื่อรอบรู้ซึ่งทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว จะต้องตอบแก่พวกปริพาชก ผู้ถือลัทธิศาสนาอื่นเหล่านั้น ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 155 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอายตนะภายในหกเป็น ทุกขอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 228
    ชื่อบทธรรม :- อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=228
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ควรจะกล่าวว่าได้แก่ #อายตนะภายในหก.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/535/?keywords=อายตนานีติสฺส
    อายตนะภายในหกเหล่าไหนเล่า ? หกคือ
    ๑. จักขุอายตนะ - ตา
    ๒. โสตะอายตนะ - หู
    ๓. ฆานะอายตนะ - จมูก
    ๔. ชิวหาอายตนะ - ลิ้น
    ๕. กายะอายตนะ - ผิวกาย
    ๖. มนะอายตนะ. -ใจ
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/423/1685.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/423/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๕/๑๖๘๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/535/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=228
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=228
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอายตนะภายในหกเป็น ทุกขอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 228 ชื่อบทธรรม :- อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=228 เนื้อความทั้งหมด :- --อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ #อายตนะภายในหก. http://etipitaka.com/read/pali/19/535/?keywords=อายตนานีติสฺส อายตนะภายในหกเหล่าไหนเล่า ? หกคือ ๑. จักขุอายตนะ - ตา ๒. โสตะอายตนะ - หู ๓. ฆานะอายตนะ - จมูก ๔. ชิวหาอายตนะ - ลิ้น ๕. กายะอายตนะ - ผิวกาย ๖. มนะอายตนะ. -ใจ --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/423/1685. http://etipitaka.com/read/thai/19/423/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๕/๑๖๘๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/535/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=228 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=228 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ
    -อายตนะหกเป็นทุกขอริยสัจ ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อายตนะภายในหก. อายตนะภายในหกเหล่าไหนเล่า ? หกคือ จักขุอายตนะ โสตะอายตนะ ฆานะอายตนะ ชิวหาอายตนะ กายะอายตนะ มนะอายตนะ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือ ทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 175 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 227
    ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท
    หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ;
    ดังนั้นจึงกล่าวว่า
    ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต
    ).
    --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา,
    เพลิดเพลินอยู่กับหู,
    เพลิดเพลินอยู่กับจมูก,
    เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น,
    เพลิดเพลินอยู่กับกาย,
    และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป,
    เพลิดเพลินอยู่กับเสียง,
    เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น,
    เพลิดเพลินอยู่กับรส,
    เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ,
    เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) สัทธรรมลำดับที่ : 227 ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 เนื้อความทั้งหมด :- (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต ). --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20. http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    -(คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต). ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 245 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    สัทธรรมลำดับที่ : 226
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
    กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
    ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;
    ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
    หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.
    นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
    ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ;
    #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด
    ).
    --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ
    ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ?
    อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา
    ....
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) สัทธรรมลำดับที่ : 226 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 เนื้อความทั้งหมด :- (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด ). --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา .... --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87. http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    -(พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด). อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือผัสสะเกิดขึ้น. .... ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วยผู้อื่นทำให้ด้วยก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    0 Comments 0 Shares 288 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 223
    ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
    เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ สัทธรรมลำดับที่ : 223 ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 เนื้อความทั้งหมด :- --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์. เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218. http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    -เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ แล.
    0 Comments 0 Shares 307 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 217
    ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า.
    อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ?
    อุปาทานขันธ์ห้าคือ
    รูปูปาทานขันธ์
    เวทนูปาทานขันธ์
    สัญญูปาทานขันธ์
    สังขารูปาทานขันธ์
    วิญญาญูปาทานขันธ์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217

    สัทธรรมลำดับที่ : 218
    ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์.
    อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าคือ
    อุปาทานขันธ์คือ รูป,
    อุปาทานขันธ์คือ เวทนา,
    อุปาทานขันธ์คือสัญญา,
    อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ
    อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ .
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.-

    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218

    สัทธรรมลำดับที่ : 219
    ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?”
    --ราธะ !
    รูป แล เป็นทุกข์,
    เวทนา เป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขาร ท. เป็นทุกข์,
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย
    แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 217 ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217 สัทธรรมลำดับที่ : 218 ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์. อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ อุปาทานขันธ์คือ รูป, อุปาทานขันธ์คือ เวทนา, อุปาทานขันธ์คือสัญญา, อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ . +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.- อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280. http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218 สัทธรรมลำดับที่ : 219 ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! รูป แล เป็นทุกข์, เวทนา เป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขาร ท. เป็นทุกข์, วิญญาณ เป็นทุกข์. --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381. http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    -ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 252 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 371 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 213
    ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง,
    พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ไม่เที่ยง,
    เวทนา ไม่เที่ยง,
    สัญญา ไม่เที่ยง,
    สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ
    วิญญาณ ไม่เที่ยง.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213

    สัทธรรมลำดับที่ : 214
    ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูปเป็นทุกข์,
    เวทนาเป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214

    สัทธรรมลำดับที่ : 215
    ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นอนัตตา,
    เวทนา เป็นอนัตตา,
    สัญญา เป็นอนัตตา,
    สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ
    วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 213 ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 เนื้อความทั้งหมด :- --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ วิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213 สัทธรรมลำดับที่ : 214 ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า เนื้อความทั้งหมด :- ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ? --ภิกษุ ท. ! รูปเป็นทุกข์, เวทนาเป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ วิญญาณ เป็นทุกข์. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214 สัทธรรมลำดับที่ : 215 ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ เนื้อความทั้งหมด :- --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ? --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, เวทนา เป็นอนัตตา, สัญญา เป็นอนัตตา, สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ วิญญาณ เป็นอนัตตา. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    -ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และวิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.
    0 Comments 0 Shares 248 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 212
    ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป,
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 212 ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 เนื้อความทั้งหมด :- --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64. http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    -เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 222 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 608
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ;
    การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ)
    ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา
    นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะความดับแห่งชาติ,
    ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ.
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ
    อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม
    ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 608 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม (ในกรณีที่เกี่ยวกับ อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้ ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155. http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้คือความดับแห่งทุกข์. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลือ อีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).
    0 Comments 0 Shares 271 Views 0 Reviews
  • เห็นทุกข์ตามความจริง – เปลี่ยนมุมมอง เปลี่ยนชีวิต
    ---

    1. ความเข้าใจเดิม:

    ทุกคนมักรู้สึกว่า “ฉันเหนื่อย” หรือ “ฉันทุกข์”

    มีความยึดมั่นว่าตัวตนเป็นผู้รับทุกข์โดยตรง

    ---

    2. มุมมองใหม่ตามพุทธศาสนา:

    > “กายใจเป็นทุกข์” ไม่ใช่ “ตัวตนเป็นทุกข์”

    เปลี่ยนจากมุมมองแบบยึดถือเป็น “ฉัน”

    มาเป็นมุมมองแบบเห็นตามความเป็นจริงว่า
    ทุกข์เป็นเพียงสภาวะ ไม่ใช่เจ้าของ

    ---

    3. วิธีฝึกให้เห็นกายใจเป็นทุกข์:

    เริ่มจากการ พิจารณาลมหายใจ
    เช่น สังเกตลมหายใจเข้าออก
    ดูว่ามีความไม่เที่ยง ไม่แน่นอน สั้นบ้าง ยาวบ้าง
    บังคับไม่ได้เลย

    แล้วต่อยอดไปเห็น

    กายเคลื่อนไหวตลอด ไม่มีท่าไหนถาวร

    ใจผันแปร อารมณ์ ความคิด ความจำ
    เปลี่ยนอยู่ตลอด ไม่มีความเที่ยง

    ---

    4. ผลที่เกิดขึ้นจากการเห็นตามจริง:

    ค่อยๆ ถอนความรู้สึกว่า “ตัวเราเป็นทุกข์”

    เหลือเพียงการเห็นว่า “กายใจนี้เป็นทุกข์”

    ใจจะเบาขึ้น ปล่อยวางง่ายขึ้น และเริ่มเข้าถึงอิสรภาพจากทุกข์

    ---

    5. ข้อสำคัญ:

    ไม่จำเป็นต้องบวช ไม่จำเป็นต้องสิ้นกิเลสทันที

    แค่เปลี่ยนมุมมอง ก็สามารถมีชีวิตที่ เบาสบายกว่าเดิม

    ไม่ใช่เพราะไม่มีทุกข์ แต่เพราะไม่ยึดว่าตนเองเป็นทุกข์อีกต่อไป

    ---

    Essence สั้นๆ:

    “เมื่อเห็นว่าไม่มีสิ่งใดเที่ยงในกายใจ
    คุณจะเลิกคิดว่ามีใครทุกข์
    และเริ่มเข้าใจว่าทุกข์...เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นเท่านั้น”
    เห็นทุกข์ตามความจริง – เปลี่ยนมุมมอง เปลี่ยนชีวิต --- 1. ความเข้าใจเดิม: ทุกคนมักรู้สึกว่า “ฉันเหนื่อย” หรือ “ฉันทุกข์” มีความยึดมั่นว่าตัวตนเป็นผู้รับทุกข์โดยตรง --- 2. มุมมองใหม่ตามพุทธศาสนา: > “กายใจเป็นทุกข์” ไม่ใช่ “ตัวตนเป็นทุกข์” เปลี่ยนจากมุมมองแบบยึดถือเป็น “ฉัน” มาเป็นมุมมองแบบเห็นตามความเป็นจริงว่า ทุกข์เป็นเพียงสภาวะ ไม่ใช่เจ้าของ --- 3. วิธีฝึกให้เห็นกายใจเป็นทุกข์: เริ่มจากการ พิจารณาลมหายใจ เช่น สังเกตลมหายใจเข้าออก ดูว่ามีความไม่เที่ยง ไม่แน่นอน สั้นบ้าง ยาวบ้าง บังคับไม่ได้เลย แล้วต่อยอดไปเห็น กายเคลื่อนไหวตลอด ไม่มีท่าไหนถาวร ใจผันแปร อารมณ์ ความคิด ความจำ เปลี่ยนอยู่ตลอด ไม่มีความเที่ยง --- 4. ผลที่เกิดขึ้นจากการเห็นตามจริง: ค่อยๆ ถอนความรู้สึกว่า “ตัวเราเป็นทุกข์” เหลือเพียงการเห็นว่า “กายใจนี้เป็นทุกข์” ใจจะเบาขึ้น ปล่อยวางง่ายขึ้น และเริ่มเข้าถึงอิสรภาพจากทุกข์ --- 5. ข้อสำคัญ: ไม่จำเป็นต้องบวช ไม่จำเป็นต้องสิ้นกิเลสทันที แค่เปลี่ยนมุมมอง ก็สามารถมีชีวิตที่ เบาสบายกว่าเดิม ไม่ใช่เพราะไม่มีทุกข์ แต่เพราะไม่ยึดว่าตนเองเป็นทุกข์อีกต่อไป --- Essence สั้นๆ: “เมื่อเห็นว่าไม่มีสิ่งใดเที่ยงในกายใจ คุณจะเลิกคิดว่ามีใครทุกข์ และเริ่มเข้าใจว่าทุกข์...เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นเท่านั้น”
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 372 Views 0 Reviews
More Results