• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1059
    ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    ก. เหตุภายใน
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    นี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ
    โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด.
    ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์.

    ข. เหตุภายนอก
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    นี้.
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ
    กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ,
    ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง
    โดยลำดับ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1059 ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 เนื้อความทั้งหมด :- --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195. http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรมอภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจนั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้อภิธรรมอภิวินัยและรวยลาภ). จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง โยนิโสมนสิการ นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำโยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือน อย่าง กัล๎ยาณมิตตตา นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 322
    ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    เนื้อความทั้งหมด :-
    นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย
    --(มี ๑๕ เรื่อง)
    --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑

    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑
    วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑
    สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑

    1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑
    กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑
    เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑

    2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑
    อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑
    เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑

    3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑
    อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑

    4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑
    อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑
    ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑

    5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑
    อุปารัมภจิตตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑
    อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑
    โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑

    6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑
    โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑
    ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑

    7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก
    อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป
    ปมาทะ (ความประมาท) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท
    8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ :
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว.

    8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ;
    7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ;
    6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ;
    5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ;
    4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ;
    3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ;
    2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑;
    1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ;
    +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑
    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.

    (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม
    อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้
    ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 322 ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 เนื้อความทั้งหมด :- นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย --(มี ๑๕ เรื่อง) --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ 1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ 2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ 3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ 4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ 5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ 6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ 7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป ปมาทะ (ความประมาท) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท 8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. 8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; 7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; 6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; 5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; 4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; 3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; 2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑; 1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76. http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๗
    -นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิเกี่ยวกับตัณหา จบ นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย (มี ๑๕ เรื่อง) ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ ปมาทะ (ความประมาท) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้มี อหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. เขาเมื่อเป็นผู้ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งมุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งสักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; เขาเมื่อไม่ละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง

    ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด

    หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ
    พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้  

    มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข
    AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม

    การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม
    AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา  

    สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ
    การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้  

    AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน
    แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)  

    การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก
    AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ  

    หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI
    ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI  

    นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด  

    พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม

    มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม
    แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม

    ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา
    คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง  

    เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม
    ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต  

    ความยึดมั่นถือมั่นและมายา
    แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้  

    ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม
    มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา  

    นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"  

    สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน

    จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:  

    1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว  

    2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง  

    3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น  

    4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา  

    #ลุงเขียนหลานอ่าน
    เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด ☸️☸️ หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้   🤖 มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา   👓 สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้   🙆‍♂️ AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)   🧪 การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ   ☸️ หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI   นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด   พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม ‼️ มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม 👿 ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง   🛣️ เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต   🍷 ความยึดมั่นถือมั่นและมายา แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้   🤥 ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา   นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"   สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:   1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว   2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง   3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น   4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา   #ลุงเขียนหลานอ่าน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 557 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ความอยากรู้ว่า ถ้าไม่ใช่เรา แล้วคืออะไร?”

    ---

    1. จุดที่ติดคือ "อยากรู้ว่าเราคือใคร"

    ความอยากรู้นี้ไม่ใช่ปัญหาในตัวเอง

    แต่ “อุปาทานในความอยากรู้” นั่นเอง ที่เป็นพันธนาการ

    ---

    2. พระพุทธเจ้าสอนให้รู้ว่า...

    ไม่มีสิ่งใดเป็นตัวเรา ตัวเรามีแต่ในความคิด

    “ตัวเรา” เป็นเพียง ภาพหลอนทางอุปาทาน ที่เกิดขึ้นตาม เหตุปัจจัย

    เราไม่ได้หายใจ — แต่ กายหายใจ

    เราไม่ได้โกรธ — แต่ จิตแสดงอาการโทสะ

    เราไม่ได้ทุกข์ — แต่ ขันธ์แสดงอาการรับรู้เวทนา

    ---

    3. วิธีพิจารณาโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ)

    ทุกสิ่งเกิดขึ้น ดับไป ไม่อยู่คง — แม้แต่ความสงสัยก็เช่นกัน

    ความคิด "เราคือใคร" ก็ไม่ใช่ตัวตน เป็นเพียง ความคิดดวงหนึ่ง

    ทุกขณะของการยึดถือ คือขณะของอุปาทาน

    อุปาทานเปลี่ยนแปลงได้ เห็นแล้วคลาย เห็นแล้วปล่อย

    ---

    4. วิธีเจริญสติผ่านความสงสัย

    ไม่ต้องห้ามสงสัย แต่ให้ “รู้ทันความสงสัย”

    เมื่อรู้ทัน ก็เห็นว่า ความสงสัยเป็นเพียงอาการหนึ่งของจิต

    ความสงสัยเองก็ไม่ใช่ตัวตน

    > "สงสัยก็รู้ว่าสงสัย ไม่ใช่เราเป็นคนสงสัย"

    ---

    5. บทสรุปของการเห็นอนัตตา

    > ไม่มี "เราผู้หลุดพ้น"
    มีแต่ "ธรรมชาติที่พ้นจากความยึดมั่นว่ามีเรา"
    มีแต่จิตที่ปลอดจากอุปาทานชั่วขณะ
    และนั่นคือจุดที่ "จิตรู้อนัตตา" โดยไม่มีใครเป็นผู้รู้
    “ความอยากรู้ว่า ถ้าไม่ใช่เรา แล้วคืออะไร?” --- 1. จุดที่ติดคือ "อยากรู้ว่าเราคือใคร" ความอยากรู้นี้ไม่ใช่ปัญหาในตัวเอง แต่ “อุปาทานในความอยากรู้” นั่นเอง ที่เป็นพันธนาการ --- 2. พระพุทธเจ้าสอนให้รู้ว่า... ไม่มีสิ่งใดเป็นตัวเรา ตัวเรามีแต่ในความคิด “ตัวเรา” เป็นเพียง ภาพหลอนทางอุปาทาน ที่เกิดขึ้นตาม เหตุปัจจัย เราไม่ได้หายใจ — แต่ กายหายใจ เราไม่ได้โกรธ — แต่ จิตแสดงอาการโทสะ เราไม่ได้ทุกข์ — แต่ ขันธ์แสดงอาการรับรู้เวทนา --- 3. วิธีพิจารณาโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ทุกสิ่งเกิดขึ้น ดับไป ไม่อยู่คง — แม้แต่ความสงสัยก็เช่นกัน ความคิด "เราคือใคร" ก็ไม่ใช่ตัวตน เป็นเพียง ความคิดดวงหนึ่ง ทุกขณะของการยึดถือ คือขณะของอุปาทาน อุปาทานเปลี่ยนแปลงได้ เห็นแล้วคลาย เห็นแล้วปล่อย --- 4. วิธีเจริญสติผ่านความสงสัย ไม่ต้องห้ามสงสัย แต่ให้ “รู้ทันความสงสัย” เมื่อรู้ทัน ก็เห็นว่า ความสงสัยเป็นเพียงอาการหนึ่งของจิต ความสงสัยเองก็ไม่ใช่ตัวตน > "สงสัยก็รู้ว่าสงสัย ไม่ใช่เราเป็นคนสงสัย" --- 5. บทสรุปของการเห็นอนัตตา > ไม่มี "เราผู้หลุดพ้น" มีแต่ "ธรรมชาติที่พ้นจากความยึดมั่นว่ามีเรา" มีแต่จิตที่ปลอดจากอุปาทานชั่วขณะ และนั่นคือจุดที่ "จิตรู้อนัตตา" โดยไม่มีใครเป็นผู้รู้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • มรณสติ หมายถึง การระลึกถึงความตายอันจะมีมาถึงตนเป็น ธรรมดา ต้องมีโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยสติสังเวช และญาณ หลักคำสอนของมรณสติมุ่งกระตุ้น เตือนให้ไม่ประมาท ใช้เวลาที่เหลืออยู่ให้เป็นประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อให้วาระสุดท้ายของชีวิต สามารถประคองจิตให้ผ่องใส มีสติ และสงบ
    มรณสติ หมายถึง การระลึกถึงความตายอันจะมีมาถึงตนเป็น ธรรมดา ต้องมีโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยสติสังเวช และญาณ หลักคำสอนของมรณสติมุ่งกระตุ้น เตือนให้ไม่ประมาท ใช้เวลาที่เหลืออยู่ให้เป็นประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อให้วาระสุดท้ายของชีวิต สามารถประคองจิตให้ผ่องใส มีสติ และสงบ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาสนาพุทธมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวงคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทั้งเน้นการศึกษาทำความเข้าใจ การโยนิโสมนสิการด้วยปัญญา และพิสูจน์ทราบข้อเท็จจริง เห็นเหตุผลว่าสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี จนเห็นตามความเป็นจริง ...
    ศาสนาพุทธมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวงคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทั้งเน้นการศึกษาทำความเข้าใจ การโยนิโสมนสิการด้วยปัญญา และพิสูจน์ทราบข้อเท็จจริง เห็นเหตุผลว่าสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี จนเห็นตามความเป็นจริง ...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผลงานชิ้นเอก ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

    เป็นหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา ที่ดีที่สุดในยุคแผ่นดินรัชกาลที่ ๙

    เป็นหนังสือที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้พระไพศาล วิสาโล บวชไม่คิดสึก

    ‘พุทธธรรม’ ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)) คือ หนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต ‘พุทธธรรม’ คือ เล่มที่ท่านเลือก...

    “หนังสือเล่มนี้อาตมาอ่านจบช่วงเข้าพรรษาสมัยที่เป็นฆราวาส เมื่อ พ.ศ. 2525 ตั้งใจว่าอ่านให้ได้วันละ 10 หน้า ก็อ่านได้ทุกวัน พรรษาหนึ่งประมาณ 90 กว่าวัน หนังสือมีความหนาประมาณพันกว่าหน้า อ่านตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายก็พอดี เป็นการฝึกความเพียรและวินัยด้วย บางทีเราเดินทางไปต่างจังหวัดก่อนหน้านั้นวันหนึ่งจะต้องอ่านเพิ่มอีก 10 หน้าเพื่อชดเชยกับวันที่ต้องเดินทาง”

    นอกจากความเพียรในการอ่านแล้ว ช่วงนั้นพระไพศาลซึ่งเป็นเพียงเด็กหนุ่มที่เพิ่งจบมหาวิทยาลัยยังได้รับความเมตตาจากพระราชวรมุนี (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์) อนุญาตให้เข้าพบเป็นประจำทุกเดือน เพื่อสนทนาธรรมสอบถามข้อสงสัยจากหนังสืออีกด้วย

    “อ่านหนังสือแล้วไปถามท่านเราก็ได้ความกระจ่างเยอะ ถือเป็นความโชคดีในฐานะนักอ่าน ยิ่งได้คุยกับท่านยิ่งรู้ว่า ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาล้ำเลิศ ถ้าจัดเรตให้ต้องถือว่าเฟิร์สตเรต อัศจรรย์มาก”

    พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา ที่ได้รับการยอมรับว่าแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างซื่อตรงต่อพระ ไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง นำเสนอหลักการและสาระสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างครบถ้วน และเป็นระบบอย่างชัดเจน พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ผู้เขียนได้ปรับปรุงและขยายความเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นหนังสือเล่มใหญ่หนาเป็นพันหน้า

    “อ่านไปก็อดทึ่งคนเขียนไม่ได้ว่าทั้งฉลาดทั้งมีความเพียรสูง ค้นข้อมูลมามากทีเดียวกว่าจะเขียนได้อย่างนี้ คือไม่ใช่แค่สรุปความย่อความเหมือนหนังสือบางเล่ม แต่เป็นการเขียนขึ้นมาใหม่ โดยมีพระไตรปิฎก เป็นพื้นฐาน นำเสนอด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ด้วยวิธีคิดของคนสมัยใหม่ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่เราจะไม่เจอแบบนี้ในงานเขียนพระพุทธศาสนา บางทีเคยไปเจอหนังสือเกี่ยวกับสาระพระไตรปิฎก เขียนโดยฆราวาสที่เคยบวชพระมาจะเห็นว่าลีลาสไตล์การเขียนแตกต่างกัน บางทีก็แค่ย่อความมาให้เราดู การย่อความก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ท่านเจ้าประคุณทำได้มากกว่านั้น จึงนำมาเสนอใหม่ ด้วยชนิดที่เรียกว่าสามารถจะสื่อสารกับเราด้วยภาษาของเราได้ และพยายามโยงให้เข้าถึงปัญหาสังคมสมัยใหม่โดยใช้มุมมองแบบพุทธ ซึ่งสมควรแล้วที่คนจะพูดว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดในยุครัชกาลที่ 9 และถือว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งของรัตนโกสินทร์”

    อาตมายกให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือดีของชีวิต ประการที่หนึ่งเพราะนำเสนอพุทธธรรมอย่างเป็นระบบและรอบด้านที่สุดภายในเล่มเดียว คือมีหลายท่านพูดถึงพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งแต่พูดเป็นบางแง่ อย่างท่านพุทธทาสก็พูดเป็นบางแง่ เช่น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปัจจยตา แต่เล่มนี้พูดครบทุกแง่อย่างเป็นระบบ ทุกแง่ทุกมุมอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว ขอให้ค้นให้เป็น อาตมาเคยพูดนะว่าหนังสือเล่มนี้มี 3 มิติ ทั้งลึก กว้าง ไกล ลึกคือทำให้เราเข้าใจความจริงที่ลึกซึ้งของตัวเอง และทำให้เราเห็นกว้าง เห็นโลกและสังคมได้อย่างกว้าง เล่มนี้จะพูดถึงสังคมสมัยใหม่ไว้พอสมควร ทำให้เราได้เห็นมิติด้านไกล นั่นคือได้เห็นว่าการสอนพุทธศาสนานี้ผ่านการตีความมายังไงบ้าง ประการต่อมาคือใช้ภาษาที่งดงามสละสลวย ภาษาท่านงดงามมาก และสามารถสื่อได้ตรงใจผู้เขียน แม้ว่าเนื้อหาจะลึกซึ้ง คือทุกวันนี้แม้ตัวเองจะอ่านงานท่านเจ้าประคุณมาเยอะ เวลาจะสื่ออะไรบางอย่าง เรารู้สึกว่าเราจนต่อถ้อยคำ ไม่สามารถจะเขียนให้สุดความคิดได้ แต่หนังสือเล่มนี้ท่านเจ้าประคุณสามารถบรรยายให้สุดความคิดได้ อาตมาคิดว่าเป็นแบบอย่างของงานเขียนในทางศาสนาและงานวิชาการได้ คือมีทั้งอรรถและรส อรรถคือเนื้อหา รสคือรสของภาษา”

    ซึ่งพระไพศาลยอมรับว่าได้รับอิทธิพลจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และท่านพุทธทาส ในการใช้ชีวิตและเขียนหนังสือพอสมควร โดยเฉพาะจากหนังสือพุทธธรรมนั้นมีอิทธิพลต่องานเขียน และการค้นคว้าทางพุทธศาสนาอย่างมาก

    “ถ้ามีเล่มเดียวที่สามารถติดไปได้ในชีวิตก็เล่มนี้แหละ ถึงแม้จะหนักหน่อยก็ตาม อาตมายังรู้สึกเลยนะว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เราภูมิใจที่เป็นคนไทย การที่คุณเป็นคนไทยแล้วได้อ่านหนังสือเล่มนี้ถือว่าโชคดีและคุ้มค่าในการที่ได้เป็นคนไทยแล้ว บางทีเราก็รู้สึกว่าเป็นฝรั่งโชคดีนะ ได้อ่านหนังสือที่ลึกซึ้ง หนังสือเยอะแยะหลากหลาย แต่พุทธธรรมนี่แหละที่ทำให้เราสามารถเป็นที่อิจฉาของฝรั่งได้ เพราะฝรั่งอ่านเล่มนี้ไม่ได้ แต่คนไทยอ่านได้ ฉะนั้นถ้าในแง่ชาวพุทธและในแง่ความเป็นคนไทย หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราภูมิใจและรู้สึกโชคดีที่ได้เป็นคนไทย ที่อ่านภาษาไทยออก”

    และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มีหนังสือพุทธธรรมในครอบครอง แต่ยังไม่เคยเปิดอ่าน พระไพศาลบอกว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เพราะรสชาติของหนังสือเล่มนี้แตกต่างจากหนังสือทั่ว ๆ ไป

    “อ่านแล้วจะทำให้เกิดความพิศวงและความปีติเมื่อได้พบความจริง”
    นั่นคือพุทธธรรม...

    Save เก็บได้เลย... 1360 หน้า อัพเดทล่าสุด เป็นฉบับปรับขยายครับ อ่านวันละ 10 หน้าแป๊บเดี๋ยวก็จบแล้ว
    https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_extended_edition.pdf?fbclid=IwAR1WFAHlZSqoUQa01X13IvZno7o9FgFuHC450ktPmxfQAxLyUtGOl9ndrSY

    ท่านสามารถดาวโหลดเสียงอ่านหนังสือ
    "พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย"
    ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต))

    เสียงอ่านโดย..พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล

    ได้ที่ Link เสียงอ่าน พุทธธรรม
    http://bit.ly/1nZnfef

    Link สำหรับพุทธธรรม ๒๓ บท ตามนี้ครับ

    ๐๑. ขันธ์5
    http://bit.ly/1qih1Xj

    ๐๒. อายตนะ ๖
    http://bit.ly/1Xq7tVe

    ๐๓.ไตรลักษณ์
    http://bit.ly/1VhCuNd

    ๐๔. ปฏิจสุปบาท
    http://bit.ly/1SYJnj1

    ๐๕. กรรม
    http://bit.ly/20u0M6t

    ๐๖. นิพพาน
    http://bit.ly/1Q2AZKF

    ๐๗. ประเภทนิพพาน
    http://bit.ly/1qIMFOI

    ๐๘. สมถะ-วิปัสสนา
    http://bit.ly/1UUvg1A

    ๐๙. หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน
    http://bit.ly/1VLTVUU

    ๑๐. บทสรุปเรื่องนิพพาน
    http://bit.ly/23wfOdI

    ๑๑. บทนำมัชฌิมาปฏิปทา
    http://bit.ly/1S4wT9r

    ๑๒. ปรโตโฆสะที่ดี_กัลยาณมิตร
    http://bit.ly/1S0ftIV

    ๑๓. โยนิโสมนสิการ
    http://bit.ly/1RNTVlX

    ๑๔. ปัญญา
    http://bit.ly/1RNU211

    ๑๕. ศีล
    http://bit.ly/23nRiid

    ๑๖. สมาธิ
    http://bit.ly/1MoRbve

    ๑๗. บทสรุปอริยสัจ
    http://bit.ly/1qihTv3

    ๑๘. โสดาบัน
    http://bit.ly/1MoRfeq

    ๑๙. วินัย
    http://bit.ly/1SYK63G

    ๒๐. ปาฏิหาริย์
    http://bit.ly/1VLUY7z

    ๒๑. ปัญหาแรงจูงใจ
    http://bit.ly/1N3oUKE

    ๒๒. ความสุข ๑ ฉบับแบบแผน
    http://bit.ly/1VLV3rJ

    ๒๓. ความสุข ๒ ฉบับประมวลความ
    http://bit.ly/1SYK9g0

    เครดิต Kanlayanatam
    ผลงานชิ้นเอก ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา ที่ดีที่สุดในยุคแผ่นดินรัชกาลที่ ๙ เป็นหนังสือที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้พระไพศาล วิสาโล บวชไม่คิดสึก ‘พุทธธรรม’ ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)) คือ หนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต ‘พุทธธรรม’ คือ เล่มที่ท่านเลือก... “หนังสือเล่มนี้อาตมาอ่านจบช่วงเข้าพรรษาสมัยที่เป็นฆราวาส เมื่อ พ.ศ. 2525 ตั้งใจว่าอ่านให้ได้วันละ 10 หน้า ก็อ่านได้ทุกวัน พรรษาหนึ่งประมาณ 90 กว่าวัน หนังสือมีความหนาประมาณพันกว่าหน้า อ่านตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายก็พอดี เป็นการฝึกความเพียรและวินัยด้วย บางทีเราเดินทางไปต่างจังหวัดก่อนหน้านั้นวันหนึ่งจะต้องอ่านเพิ่มอีก 10 หน้าเพื่อชดเชยกับวันที่ต้องเดินทาง” นอกจากความเพียรในการอ่านแล้ว ช่วงนั้นพระไพศาลซึ่งเป็นเพียงเด็กหนุ่มที่เพิ่งจบมหาวิทยาลัยยังได้รับความเมตตาจากพระราชวรมุนี (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์) อนุญาตให้เข้าพบเป็นประจำทุกเดือน เพื่อสนทนาธรรมสอบถามข้อสงสัยจากหนังสืออีกด้วย “อ่านหนังสือแล้วไปถามท่านเราก็ได้ความกระจ่างเยอะ ถือเป็นความโชคดีในฐานะนักอ่าน ยิ่งได้คุยกับท่านยิ่งรู้ว่า ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาล้ำเลิศ ถ้าจัดเรตให้ต้องถือว่าเฟิร์สตเรต อัศจรรย์มาก” พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา ที่ได้รับการยอมรับว่าแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างซื่อตรงต่อพระ ไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง นำเสนอหลักการและสาระสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างครบถ้วน และเป็นระบบอย่างชัดเจน พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ผู้เขียนได้ปรับปรุงและขยายความเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นหนังสือเล่มใหญ่หนาเป็นพันหน้า “อ่านไปก็อดทึ่งคนเขียนไม่ได้ว่าทั้งฉลาดทั้งมีความเพียรสูง ค้นข้อมูลมามากทีเดียวกว่าจะเขียนได้อย่างนี้ คือไม่ใช่แค่สรุปความย่อความเหมือนหนังสือบางเล่ม แต่เป็นการเขียนขึ้นมาใหม่ โดยมีพระไตรปิฎก เป็นพื้นฐาน นำเสนอด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ด้วยวิธีคิดของคนสมัยใหม่ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่เราจะไม่เจอแบบนี้ในงานเขียนพระพุทธศาสนา บางทีเคยไปเจอหนังสือเกี่ยวกับสาระพระไตรปิฎก เขียนโดยฆราวาสที่เคยบวชพระมาจะเห็นว่าลีลาสไตล์การเขียนแตกต่างกัน บางทีก็แค่ย่อความมาให้เราดู การย่อความก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ท่านเจ้าประคุณทำได้มากกว่านั้น จึงนำมาเสนอใหม่ ด้วยชนิดที่เรียกว่าสามารถจะสื่อสารกับเราด้วยภาษาของเราได้ และพยายามโยงให้เข้าถึงปัญหาสังคมสมัยใหม่โดยใช้มุมมองแบบพุทธ ซึ่งสมควรแล้วที่คนจะพูดว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดในยุครัชกาลที่ 9 และถือว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งของรัตนโกสินทร์” อาตมายกให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือดีของชีวิต ประการที่หนึ่งเพราะนำเสนอพุทธธรรมอย่างเป็นระบบและรอบด้านที่สุดภายในเล่มเดียว คือมีหลายท่านพูดถึงพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งแต่พูดเป็นบางแง่ อย่างท่านพุทธทาสก็พูดเป็นบางแง่ เช่น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปัจจยตา แต่เล่มนี้พูดครบทุกแง่อย่างเป็นระบบ ทุกแง่ทุกมุมอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว ขอให้ค้นให้เป็น อาตมาเคยพูดนะว่าหนังสือเล่มนี้มี 3 มิติ ทั้งลึก กว้าง ไกล ลึกคือทำให้เราเข้าใจความจริงที่ลึกซึ้งของตัวเอง และทำให้เราเห็นกว้าง เห็นโลกและสังคมได้อย่างกว้าง เล่มนี้จะพูดถึงสังคมสมัยใหม่ไว้พอสมควร ทำให้เราได้เห็นมิติด้านไกล นั่นคือได้เห็นว่าการสอนพุทธศาสนานี้ผ่านการตีความมายังไงบ้าง ประการต่อมาคือใช้ภาษาที่งดงามสละสลวย ภาษาท่านงดงามมาก และสามารถสื่อได้ตรงใจผู้เขียน แม้ว่าเนื้อหาจะลึกซึ้ง คือทุกวันนี้แม้ตัวเองจะอ่านงานท่านเจ้าประคุณมาเยอะ เวลาจะสื่ออะไรบางอย่าง เรารู้สึกว่าเราจนต่อถ้อยคำ ไม่สามารถจะเขียนให้สุดความคิดได้ แต่หนังสือเล่มนี้ท่านเจ้าประคุณสามารถบรรยายให้สุดความคิดได้ อาตมาคิดว่าเป็นแบบอย่างของงานเขียนในทางศาสนาและงานวิชาการได้ คือมีทั้งอรรถและรส อรรถคือเนื้อหา รสคือรสของภาษา” ซึ่งพระไพศาลยอมรับว่าได้รับอิทธิพลจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และท่านพุทธทาส ในการใช้ชีวิตและเขียนหนังสือพอสมควร โดยเฉพาะจากหนังสือพุทธธรรมนั้นมีอิทธิพลต่องานเขียน และการค้นคว้าทางพุทธศาสนาอย่างมาก “ถ้ามีเล่มเดียวที่สามารถติดไปได้ในชีวิตก็เล่มนี้แหละ ถึงแม้จะหนักหน่อยก็ตาม อาตมายังรู้สึกเลยนะว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เราภูมิใจที่เป็นคนไทย การที่คุณเป็นคนไทยแล้วได้อ่านหนังสือเล่มนี้ถือว่าโชคดีและคุ้มค่าในการที่ได้เป็นคนไทยแล้ว บางทีเราก็รู้สึกว่าเป็นฝรั่งโชคดีนะ ได้อ่านหนังสือที่ลึกซึ้ง หนังสือเยอะแยะหลากหลาย แต่พุทธธรรมนี่แหละที่ทำให้เราสามารถเป็นที่อิจฉาของฝรั่งได้ เพราะฝรั่งอ่านเล่มนี้ไม่ได้ แต่คนไทยอ่านได้ ฉะนั้นถ้าในแง่ชาวพุทธและในแง่ความเป็นคนไทย หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราภูมิใจและรู้สึกโชคดีที่ได้เป็นคนไทย ที่อ่านภาษาไทยออก” และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มีหนังสือพุทธธรรมในครอบครอง แต่ยังไม่เคยเปิดอ่าน พระไพศาลบอกว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เพราะรสชาติของหนังสือเล่มนี้แตกต่างจากหนังสือทั่ว ๆ ไป “อ่านแล้วจะทำให้เกิดความพิศวงและความปีติเมื่อได้พบความจริง” นั่นคือพุทธธรรม... Save เก็บได้เลย... 1360 หน้า อัพเดทล่าสุด เป็นฉบับปรับขยายครับ อ่านวันละ 10 หน้าแป๊บเดี๋ยวก็จบแล้ว https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_extended_edition.pdf?fbclid=IwAR1WFAHlZSqoUQa01X13IvZno7o9FgFuHC450ktPmxfQAxLyUtGOl9ndrSY ท่านสามารถดาวโหลดเสียงอ่านหนังสือ "พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย" ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)) เสียงอ่านโดย..พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล ได้ที่ Link เสียงอ่าน พุทธธรรม http://bit.ly/1nZnfef Link สำหรับพุทธธรรม ๒๓ บท ตามนี้ครับ ๐๑. ขันธ์5 http://bit.ly/1qih1Xj ๐๒. อายตนะ ๖ http://bit.ly/1Xq7tVe ๐๓.ไตรลักษณ์ http://bit.ly/1VhCuNd ๐๔. ปฏิจสุปบาท http://bit.ly/1SYJnj1 ๐๕. กรรม http://bit.ly/20u0M6t ๐๖. นิพพาน http://bit.ly/1Q2AZKF ๐๗. ประเภทนิพพาน http://bit.ly/1qIMFOI ๐๘. สมถะ-วิปัสสนา http://bit.ly/1UUvg1A ๐๙. หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน http://bit.ly/1VLTVUU ๑๐. บทสรุปเรื่องนิพพาน http://bit.ly/23wfOdI ๑๑. บทนำมัชฌิมาปฏิปทา http://bit.ly/1S4wT9r ๑๒. ปรโตโฆสะที่ดี_กัลยาณมิตร http://bit.ly/1S0ftIV ๑๓. โยนิโสมนสิการ http://bit.ly/1RNTVlX ๑๔. ปัญญา http://bit.ly/1RNU211 ๑๕. ศีล http://bit.ly/23nRiid ๑๖. สมาธิ http://bit.ly/1MoRbve ๑๗. บทสรุปอริยสัจ http://bit.ly/1qihTv3 ๑๘. โสดาบัน http://bit.ly/1MoRfeq ๑๙. วินัย http://bit.ly/1SYK63G ๒๐. ปาฏิหาริย์ http://bit.ly/1VLUY7z ๒๑. ปัญหาแรงจูงใจ http://bit.ly/1N3oUKE ๒๒. ความสุข ๑ ฉบับแบบแผน http://bit.ly/1VLV3rJ ๒๓. ความสุข ๒ ฉบับประมวลความ http://bit.ly/1SYK9g0 เครดิต Kanlayanatam
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1186 มุมมอง 0 รีวิว
  • "การแยกแยะ"

    ในสังคมปัจจุบัน ท่านได้รับข้อมูลมากมาย
    โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย Platform.

    จากอิทธิพลของ Social Media ที่สามารถเข้าถึงทุกๆ คนนี้
    จึงมีนักสื่อสารมวลชน(ชั่ว)บางกลุ่ม ได้ใช้ช่องทางสื่อสารดังกล่าว
    เพื่อวัตถุประสงค์ในการบิดเบือนข้อมูล ด้วยการสร้างภาพ
    "ความเลว" ให้เป็น "ความดี" รวมทั้งการใส่ร้าย "คนดี".

    ดังน้้น ท่านควรใช้คุณธรรม "โยนิโสมนสิการ"
    เป็นเครื่องมือสำหรับพิจารณาแยกแยะข้อมูลข่าวสาร.

    แล้วท่านจะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน
    อันตั้งอยู่บนความถูกต้อง และเหมาะสมได้ในที่สุด.

    ณรงค์ คนขำ
    21/10/2567
    "การแยกแยะ" ในสังคมปัจจุบัน ท่านได้รับข้อมูลมากมาย โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย Platform. จากอิทธิพลของ Social Media ที่สามารถเข้าถึงทุกๆ คนนี้ จึงมีนักสื่อสารมวลชน(ชั่ว)บางกลุ่ม ได้ใช้ช่องทางสื่อสารดังกล่าว เพื่อวัตถุประสงค์ในการบิดเบือนข้อมูล ด้วยการสร้างภาพ "ความเลว" ให้เป็น "ความดี" รวมทั้งการใส่ร้าย "คนดี". ดังน้้น ท่านควรใช้คุณธรรม "โยนิโสมนสิการ" เป็นเครื่องมือสำหรับพิจารณาแยกแยะข้อมูลข่าวสาร. แล้วท่านจะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน อันตั้งอยู่บนความถูกต้อง และเหมาะสมได้ในที่สุด. ณรงค์ คนขำ 21/10/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • "การแยกแยะ"

    ในสังคมปัจจุบัน ท่านได้รับข้อมูลมากมาย
    โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย Platform.

    จากอิทธิพลของ Social Media ที่สามารถเข้าถึงทุกๆ คนนี้
    จึงมีนักสื่อสารมวลชน(ชั่ว)บางกลุ่ม ได้ใช้ช่องทางสื่อสารดังกล่าว
    เพื่อวัตถุประสงค์ในการบิดเบือนข้อมูล ด้วยการสร้างภาพ
    "ความเลว" ให้เป็น "ความดี" รวมทั้งการใส่ร้าย "คนดี".

    ดังน้้น ท่านควรใช้คุณธรรม "โยนิโสมนสิการ"
    เป็นเครื่องมือสำหรับพิจารณาแยกแยะข้อมูลข่าวสาร.

    แล้วท่านจะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน
    อันตั้งอยู่บนความถูกต้อง และเหมาะสมได้ในที่สุด.

    ณรงค์ คนขำ
    21/10/2567
    "การแยกแยะ" ในสังคมปัจจุบัน ท่านได้รับข้อมูลมากมาย โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย Platform. จากอิทธิพลของ Social Media ที่สามารถเข้าถึงทุกๆ คนนี้ จึงมีนักสื่อสารมวลชน(ชั่ว)บางกลุ่ม ได้ใช้ช่องทางสื่อสารดังกล่าว เพื่อวัตถุประสงค์ในการบิดเบือนข้อมูล ด้วยการสร้างภาพ "ความเลว" ให้เป็น "ความดี" รวมทั้งการใส่ร้าย "คนดี". ดังน้้น ท่านควรใช้คุณธรรม "โยนิโสมนสิการ" เป็นเครื่องมือสำหรับพิจารณาแยกแยะข้อมูลข่าวสาร. แล้วท่านจะสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน อันตั้งอยู่บนความถูกต้อง และเหมาะสมได้ในที่สุด. ณรงค์ คนขำ 21/10/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว