• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่าการ​เจริญสติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 667
    ชื่อบทธรรม :- สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    --ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร
    ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ?

    [หมวดกายานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี;
    [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +-ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=กาเย+กายานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก
    ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดเวทนานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=เวทนาสุ+เวทนานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้าและลมหายใจออก
    ทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดจิตตานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=จิตฺเต+จิตฺตานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว
    ไม่มีสัมปชัญญะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น.

    [หมวดธัมมานุปัสสนา]
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้.
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออกดังนี้ ;
    [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้,
    ย่อมทำในบทศึกษาว่า
    เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=ธมฺเมสุ+ธมฺมานุปสฺสี
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา.
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ
    มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้
    ในสมัยนั้น.

    +--ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล
    ชื่อว่าทำ #สติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ ได้.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐาเน

    #สัมมาวายามะ #สัมมาสติ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/195/289.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/156/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/195/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=667
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่าการ​เจริญสติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 667 ชื่อบทธรรม :- สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667 เนื้อความทั้งหมด :- --สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ? [หมวดกายานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี; [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +-ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=กาเย+กายานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดเวทนานุปัสสนา] --ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=เวทนาสุ+เวทนานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดจิตตานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/196/?keywords=จิตฺเต+จิตฺตานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ไม่มีสัมปชัญญะ. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดธัมมานุปัสสนา] --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออกดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; +--ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า #เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=ธมฺเมสุ+ธมฺมานุปสฺสี มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา. +--ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. +--ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าทำ #สติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ ได้.- http://etipitaka.com/read/pali/14/197/?keywords=จตฺตาโร+สติปฏฺฐาเน #สัมมาวายามะ #สัมมาสติ​ #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/195/289. http://etipitaka.com/read/thai/14/156/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/14/195/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=667 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=667 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
    -(ข้อปฏิบัติระบบนี้ ใช้ได้แม้แก่ผู้ตั้งต้นบำเพ็ญวิมุตติ ; และใช้ได้แก่ผู้บำเพ็ญวิมุตติแล้วแต่ยังไม่สุกรอบ คือเพิ่มข้อปฏิบัติชื่อเดียวกันเหล่านี้ให้ยิ่งขึ้นไป. นับว่าเป็นหลักปฏิบัติที่สำคัญมาก ควรแก่การสนใจอย่างยิ่ง. ธรรมะ ๕ ประการแห่งสูตรนี้เรียกในสูตรนี้ว่า “เครื่องบ่มวิมุตติ” ในสูตรอื่น (นวก. อํ. ๒๓/๓๖๔/๒๐๕) เรียกว่า “ที่ตั้งอาศัยแห่งการเจริญสัมโพธิปักขิยธรรม” ก็มี). สติปัฏฐานบริบูรณ์เพราะอานาปานสติบริบูรณ์ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงทำสติปัฎฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้ ? [หมวดกายานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกยาว ดังนี้ก็ดี; [๒] เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจเข้าสั้น ดังนี้, หรือว่า เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำกายสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ว่าเป็นกายอันหนึ่งๆ ในกายทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดเวทนานุปัสสนา] ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตสังขารให้รำงับอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราย่อมกล่าวการทำในใจเป็นอย่างดีต่อลมหายใจเข้า และลมหายใจออกทั้งหลาย ว่าเป็นเวทนาอันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้น ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดจิตตานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็น ผู้ ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตตั้งมั่นอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำจิตให้ปล่อยอยู่ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะมีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็นสิ่งที่มีได้แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ไม่มีสัมปชัญญะ. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลสมีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. [หมวดธัมมานุปัสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ [๑] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้. ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยงอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๒] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ตามเห็นซึ่งความจางคลาย อยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๓] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลือ อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้า ดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; [๔] ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืน อยู่เป็นประจำ จักหายใจเข้าดังนี้, ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสทั้งหลายของเธอนั้นด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยนั้น. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว อย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าทำสติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ได้.
    0 Comments 0 Shares 211 Views 0 Reviews
  • แค่เห็นหน้าก็รัก...แต่รู้ว่ารักไม่ได้

    หลายคนไม่สบายใจกับการ “แอบรักใครบางคน”
    ทั้งที่ตัวเองไม่ได้พูด ไม่ได้ทำอะไรให้เขาเดือดร้อน
    แค่ใจมันรู้สึก…ก็รู้สึกผิดแล้ว
    กลัวว่า “รักแบบนี้” จะเป็นบาป
    กลัวว่า “คิดแบบนี้” จะทำลายศีล
    กลัวว่า “รู้สึกแบบนี้” จะทำให้เป็นคนไม่ดี

    แต่ในทางธรรม…
    พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ปฏิเสธความรู้สึก
    ท่านสอนให้ รู้เท่าทันมัน

    ราคะไม่ได้ผิดโดยตัวมันเอง
    ความรู้สึกอยากได้ อยากครอบครอง อยากใกล้ชิด
    เป็นเพียงกระแสธรรมชาติของใจมนุษย์
    เราไม่ต้องไปเกลียดมัน ไม่ต้องไปรีบตัดทิ้ง
    แค่ให้ “รู้ว่าเกิด” “รู้ว่ามี” “รู้ว่าเป็นไป”

    เหมือนลมผ่าน
    ไม่ต้องจับ ไม่ต้องผลัก
    ไม่ต้องเอา ไม่ต้องต้าน
    รู้เฉยๆ ว่ามันพัดผ่าน

    เมื่อ “ราคะเกิดขึ้น” ก็แค่รู้ว่าราคะเกิด
    เมื่อ “ราคะหายไป” ก็รู้ว่าราคะหาย
    เมื่อเห็นบ่อยๆ ว่ามันมาแล้วก็ไป
    ใจจะเริ่มเบาลง
    ไม่ใช่เพราะเรา บังคับตัวเองให้ตัดใจได้
    แต่เพราะเรา ไม่ยึด กับมันอีกต่อไป

    เจริญสติในจิตตานุปัสสนา
    คือการเฝ้าดู “ความรู้สึก” ที่เกิดในใจ
    อย่างไม่ตัดสิน ไม่สรุปว่าเลวหรือดี
    ไม่ต้องรู้สึกผิดที่รักใคร
    ไม่ต้องรู้สึกดีที่รักใคร
    ให้รู้ทัน...แล้ววางลง

    แต่ถ้าใจเรายังอยากตัดใจ
    ยังอยากเลิกรู้สึก
    ยังคิดว่า “รักเขาไม่ได้ ต้องเลิกรักให้ได้”
    นั่นแหละ...คือการยึดรูปแบบใหม่
    ยึดในฐานะของ “คนผิด”
    ยึดในฐานะของ “ความรู้สึกไม่เหมาะสม”
    เป็นการลงโทษตัวเองซ้ำๆ
    แทนที่จะ “รู้แล้ววาง”

    แต่ถ้าใจเราเป็นกลางได้เมื่อไหร่
    ใจจะคลายได้เอง
    ไม่จำเป็นต้องตัด
    ไม่จำเป็นต้องบังคับ
    แค่รู้ว่าราคะมา ก็รู้
    ราคะหาย ก็รู้
    ในที่สุดใจจะ ไม่แคร์ว่ามันจะมาอีกไหม

    นี่คือการฝึกปล่อยวางอย่างแท้จริง
    ไม่ต้องฝืน ไม่ต้องอาลัย
    ไม่ต้องรู้สึกผิดกับสิ่งที่ใจรู้สึก

    เพราะเมื่อสติสว่าง
    ใจจะเห็นเองว่า
    ความรักแบบนี้...ก็แค่ผ่านมา และจะผ่านไป
    เหมือนทุกสิ่งในโลกนี้

    #รักได้แต่ไม่ต้องทุกข์
    #ธรรมะเยียวยาหัวใจ
    #เจริญสติอย่างไม่ตัดสิน
    #ความรักกับการปล่อยวาง
    #เห็นราคะเป็นธรรมดา
    #DhammaHealing
    🌱 แค่เห็นหน้าก็รัก...แต่รู้ว่ารักไม่ได้ หลายคนไม่สบายใจกับการ “แอบรักใครบางคน” ทั้งที่ตัวเองไม่ได้พูด ไม่ได้ทำอะไรให้เขาเดือดร้อน แค่ใจมันรู้สึก…ก็รู้สึกผิดแล้ว กลัวว่า “รักแบบนี้” จะเป็นบาป กลัวว่า “คิดแบบนี้” จะทำลายศีล กลัวว่า “รู้สึกแบบนี้” จะทำให้เป็นคนไม่ดี แต่ในทางธรรม… พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ปฏิเสธความรู้สึก ท่านสอนให้ รู้เท่าทันมัน 💔 ราคะไม่ได้ผิดโดยตัวมันเอง ความรู้สึกอยากได้ อยากครอบครอง อยากใกล้ชิด เป็นเพียงกระแสธรรมชาติของใจมนุษย์ เราไม่ต้องไปเกลียดมัน ไม่ต้องไปรีบตัดทิ้ง แค่ให้ “รู้ว่าเกิด” “รู้ว่ามี” “รู้ว่าเป็นไป” 🌬️ เหมือนลมผ่าน ไม่ต้องจับ ไม่ต้องผลัก ไม่ต้องเอา ไม่ต้องต้าน รู้เฉยๆ ว่ามันพัดผ่าน เมื่อ “ราคะเกิดขึ้น” ก็แค่รู้ว่าราคะเกิด เมื่อ “ราคะหายไป” ก็รู้ว่าราคะหาย เมื่อเห็นบ่อยๆ ว่ามันมาแล้วก็ไป ใจจะเริ่มเบาลง ไม่ใช่เพราะเรา บังคับตัวเองให้ตัดใจได้ แต่เพราะเรา ไม่ยึด กับมันอีกต่อไป ☸️ เจริญสติในจิตตานุปัสสนา คือการเฝ้าดู “ความรู้สึก” ที่เกิดในใจ อย่างไม่ตัดสิน ไม่สรุปว่าเลวหรือดี ไม่ต้องรู้สึกผิดที่รักใคร ไม่ต้องรู้สึกดีที่รักใคร ให้รู้ทัน...แล้ววางลง 🔥 แต่ถ้าใจเรายังอยากตัดใจ ยังอยากเลิกรู้สึก ยังคิดว่า “รักเขาไม่ได้ ต้องเลิกรักให้ได้” นั่นแหละ...คือการยึดรูปแบบใหม่ ยึดในฐานะของ “คนผิด” ยึดในฐานะของ “ความรู้สึกไม่เหมาะสม” เป็นการลงโทษตัวเองซ้ำๆ แทนที่จะ “รู้แล้ววาง” 🍃 แต่ถ้าใจเราเป็นกลางได้เมื่อไหร่ ใจจะคลายได้เอง ไม่จำเป็นต้องตัด ไม่จำเป็นต้องบังคับ แค่รู้ว่าราคะมา ก็รู้ ราคะหาย ก็รู้ ในที่สุดใจจะ ไม่แคร์ว่ามันจะมาอีกไหม 💡 นี่คือการฝึกปล่อยวางอย่างแท้จริง ไม่ต้องฝืน ไม่ต้องอาลัย ไม่ต้องรู้สึกผิดกับสิ่งที่ใจรู้สึก เพราะเมื่อสติสว่าง ใจจะเห็นเองว่า ความรักแบบนี้...ก็แค่ผ่านมา และจะผ่านไป เหมือนทุกสิ่งในโลกนี้ #รักได้แต่ไม่ต้องทุกข์ #ธรรมะเยียวยาหัวใจ #เจริญสติอย่างไม่ตัดสิน #ความรักกับการปล่อยวาง #เห็นราคะเป็นธรรมดา #DhammaHealing
    0 Comments 0 Shares 228 Views 0 Reviews
  • เห็นจิตอย่างไร? ต้องเริ่มที่ตรงไหน?
    คำถามนี้ พระพุทธเจ้าทรงตอบไว้แล้ว
    ใน อานาปานสติ และ จิตตานุปัสสนา

    🪷 1. เริ่มจากเห็น “กาย” และ “เวทนา” ให้ชัดก่อน
    เริ่มจากหายใจเข้า...รู้ว่าเข้ายาว
    หายใจออก...รู้ว่าออกสั้น
    รู้ว่าลมหายใจเปลี่ยนไป
    และรู้ว่าขณะนั้น “สุข” หรือ “ทุกข์” แทรกเข้ามาไหม

    รู้กาย – รู้เวทนา – รู้ความต่าง – รู้ปัจจุบัน
    นี่คือการฝึกจิตให้ “ตั้งมั่น” บนฐานที่ไม่คลอนแคลน
    เมื่อจิตมั่นแล้ว...
    “จิต” จะกลายเป็นสิ่งถูกรู้เอง

    🪷 2. เห็นจิตผ่านกิเลส — ราคะ โทสะ โมหะ
    ถ้ามีราคะขึ้นมา → ก็รู้ว่ามีราคะ
    ถ้ามีโทสะขึ้นมา → ก็รู้ว่าโทสะครอบงำ
    ถ้ามีโมหะ หรือความหลง → ก็รู้ว่านี่คือความมืด

    แค่ “รู้ตามจริง” ณ ขณะนั้น
    ไม่ต้องดึง ไม่ต้องดัน
    พอกิเลสดับไป ความโล่งจะเกิด
    สิ่งที่เหลืออยู่ชัดๆ คือ
    “จิตที่ไม่มีราคะ ไม่มีโทสะ ไม่มีโมหะ”
    ตรงนี้แหละ คือประสบการณ์เห็น “จิต”

    🪷 3. เห็นจิตแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
    จิตฟุ้งก็เห็น จิตสงบก็เห็น
    จิตร้ายก็เห็น จิตดีๆก็เห็น
    เห็นไปนานเข้า จะรู้เลยว่า
    ไม่มีจิตดวงไหนเป็นของเราเลยสักดวงเดียว

    จิตเปลี่ยนเพราะ “เหตุ”
    จิตดับเพราะ “เหตุ”
    จิตเกิดใหม่ เพราะ “อีกเหตุ”

    จิตไม่ใช่ตัว ไม่ใช่เรา
    มันแค่ “กระแสความรู้สึก” ที่มีเหตุให้เกิด
    และจะดับไปตามเหตุเท่านั้น

    ที่สุดของการเห็นจิต คือ
    การไม่หลงไปกับจิตใดๆอีก
    ไม่หลงไปกับจิตที่ดี
    ไม่รังเกียจจิตที่แย่
    เห็นหมดว่า “มันไม่ใช่เรา”
    และความทุกข์...
    จะเบาลง อย่างมีเหตุผล อย่างแท้จริง

    #อานาปานสติ
    #จิตตานุปัสสนา
    #เห็นจิตไม่ใช่แค่สงบ
    #เห็นตามจริงไม่ยึดมั่น
    #ทางแห่งอิสรภาพทางใจ
    #ธรรมะเข้าใจง่ายแต่ลึก
    #โพสต์ธรรมะแบบเห็นใจ
    🌿 เห็นจิตอย่างไร? ต้องเริ่มที่ตรงไหน? คำถามนี้ พระพุทธเจ้าทรงตอบไว้แล้ว ใน อานาปานสติ และ จิตตานุปัสสนา 🪷 1. เริ่มจากเห็น “กาย” และ “เวทนา” ให้ชัดก่อน เริ่มจากหายใจเข้า...รู้ว่าเข้ายาว หายใจออก...รู้ว่าออกสั้น รู้ว่าลมหายใจเปลี่ยนไป และรู้ว่าขณะนั้น “สุข” หรือ “ทุกข์” แทรกเข้ามาไหม รู้กาย – รู้เวทนา – รู้ความต่าง – รู้ปัจจุบัน นี่คือการฝึกจิตให้ “ตั้งมั่น” บนฐานที่ไม่คลอนแคลน เมื่อจิตมั่นแล้ว... “จิต” จะกลายเป็นสิ่งถูกรู้เอง 🪷 2. เห็นจิตผ่านกิเลส — ราคะ โทสะ โมหะ ถ้ามีราคะขึ้นมา → ก็รู้ว่ามีราคะ ถ้ามีโทสะขึ้นมา → ก็รู้ว่าโทสะครอบงำ ถ้ามีโมหะ หรือความหลง → ก็รู้ว่านี่คือความมืด แค่ “รู้ตามจริง” ณ ขณะนั้น ไม่ต้องดึง ไม่ต้องดัน พอกิเลสดับไป ความโล่งจะเกิด สิ่งที่เหลืออยู่ชัดๆ คือ “จิตที่ไม่มีราคะ ไม่มีโทสะ ไม่มีโมหะ” ตรงนี้แหละ คือประสบการณ์เห็น “จิต” 🪷 3. เห็นจิตแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จิตฟุ้งก็เห็น จิตสงบก็เห็น จิตร้ายก็เห็น จิตดีๆก็เห็น เห็นไปนานเข้า จะรู้เลยว่า ไม่มีจิตดวงไหนเป็นของเราเลยสักดวงเดียว จิตเปลี่ยนเพราะ “เหตุ” จิตดับเพราะ “เหตุ” จิตเกิดใหม่ เพราะ “อีกเหตุ” จิตไม่ใช่ตัว ไม่ใช่เรา มันแค่ “กระแสความรู้สึก” ที่มีเหตุให้เกิด และจะดับไปตามเหตุเท่านั้น 🌟 ที่สุดของการเห็นจิต คือ การไม่หลงไปกับจิตใดๆอีก ไม่หลงไปกับจิตที่ดี ไม่รังเกียจจิตที่แย่ เห็นหมดว่า “มันไม่ใช่เรา” และความทุกข์... จะเบาลง อย่างมีเหตุผล อย่างแท้จริง #อานาปานสติ #จิตตานุปัสสนา #เห็นจิตไม่ใช่แค่สงบ #เห็นตามจริงไม่ยึดมั่น #ทางแห่งอิสรภาพทางใจ #ธรรมะเข้าใจง่ายแต่ลึก #โพสต์ธรรมะแบบเห็นใจ
    0 Comments 0 Shares 227 Views 0 Reviews
  • สติก่อนคำ! หรือปากก่อนใจ?
    หลายคนมี “อาการปากไว ใจช้า”
    ยังไม่ทันตั้งสติ… ปากก็ไปก่อนแล้ว!
    และที่ร้ายกว่านั้น
    คือพอหลุดคำแรงๆ ออกไปแล้ว
    กลับ “ต้องยิงต่อให้จบ!”
    เหมือนง้างนกแล้ว ก็ต้องลั่นไก

    คำเดียว...พังทั้งสัมพันธ์
    คำเดียว...ทำใจอีกฝ่ายล้มทั้งยืน
    คำเดียว...อาจทำลายศรัทธาที่กว่าจะสร้างใช้เวลาหลายปี

    ---

    แต่ธรรมะไม่ทิ้งใครนะครับ
    แม้จะหลุดแล้ว ก็ใช้ “โทสะ” เป็นครูได้
    แค่คุณ “เจริญสติ” อย่างจริงจัง
    ไม่ใช่แค่รู้ว่า “ฉันโกรธ”
    แต่ รู้ลึกลงไปในโครงสร้างของโทสะ

    ลองเช็กตัวเองเวลาเกิดอารมณ์ร้อน
    คุณเห็น 4 ข้อนี้ แค่ไหน?

    ---

    ข้อที่ 1:
    คุณหลุดคำแรงที่สุดออกมาไหม
    ทั้งที่รู้ว่ามันร้ายแรง?
    ถ้ายับยั้งได้ – นั่นคือ “สติขั้นต้น” เกิดแล้ว

    ข้อที่ 2:
    ตอนกำลังโกรธ รู้ไหมว่ากำลังเป็นยักษ์?
    หรือแค่รู้เบลอๆ รู้ไม่ทัน?
    ถ้ารู้ชัดว่ายักษ์มา – นั่นคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลง

    ข้อที่ 3:
    คุณรู้จุดที่ความขัดเคือง “เริ่มเบาลง” ได้ไหม?
    (ฮินต์: ลมหายใจเริ่มเย็นลง รู้สึกหายใจได้ประณีตขึ้น)

    ข้อที่ 4:
    คุณเห็นไหมว่า…
    จิตก่อนโกรธ กับจิตหลังโกรธ มันเป็น “คนละดวงจิต”?
    ถ้าเห็นได้ – แปลว่าคุณกำลังก้าวเข้าสู่ “จิตตานุปัสสนา” แล้ว

    ---

    โทสะไม่ใช่ศัตรู
    ถ้าเรากล้า “อยู่กับมันอย่างรู้เท่าทัน”
    สติจะค่อยๆ แทรกซึม
    จนคุณเห็นว่า…
    “จิตที่เคยเป็นภูเขาไฟพ่นลาวา”
    สงบลงได้… โดยไม่ต้องฝืน

    นั่นแหละ
    ธรรมชาติของการเจริญสติที่แท้จริง
    ไม่ได้อยู่แค่ในถ้ำ หรือบนหมอนรองนั่ง
    แต่อยู่ใน “ตอนปากกับใจแยกกันทำงาน”
    แล้วคุณ...เลือกฝ่ายไหนดี?

    ---

    อย่าลืมทบทวน 4 ข้อนี้
    หลังมีปากเสียงครั้งหน้า...
    คุณจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

    #เจริญสติในชีวิตจริง
    #โทสะไม่ใช่ศัตรูถ้ารู้ทัน
    #ปากไวใจเร็วต้องฝึกให้ทัน
    #ธรรมะเข้าใจง่าย
    #รู้เท่าทันจิต
    #มองโทสะเป็นครู
    #MindfulConflict
    🧠💥 สติก่อนคำ! หรือปากก่อนใจ? หลายคนมี “อาการปากไว ใจช้า” ยังไม่ทันตั้งสติ… ปากก็ไปก่อนแล้ว! และที่ร้ายกว่านั้น คือพอหลุดคำแรงๆ ออกไปแล้ว กลับ “ต้องยิงต่อให้จบ!” เหมือนง้างนกแล้ว ก็ต้องลั่นไก 😶 คำเดียว...พังทั้งสัมพันธ์ 😮 คำเดียว...ทำใจอีกฝ่ายล้มทั้งยืน 😔 คำเดียว...อาจทำลายศรัทธาที่กว่าจะสร้างใช้เวลาหลายปี --- 📍แต่ธรรมะไม่ทิ้งใครนะครับ แม้จะหลุดแล้ว ก็ใช้ “โทสะ” เป็นครูได้ แค่คุณ “เจริญสติ” อย่างจริงจัง ไม่ใช่แค่รู้ว่า “ฉันโกรธ” แต่ รู้ลึกลงไปในโครงสร้างของโทสะ ลองเช็กตัวเองเวลาเกิดอารมณ์ร้อน คุณเห็น 4 ข้อนี้ แค่ไหน? 👇 --- ✅ ข้อที่ 1: คุณหลุดคำแรงที่สุดออกมาไหม ทั้งที่รู้ว่ามันร้ายแรง? ถ้ายับยั้งได้ – นั่นคือ “สติขั้นต้น” เกิดแล้ว ✅ ข้อที่ 2: ตอนกำลังโกรธ รู้ไหมว่ากำลังเป็นยักษ์? หรือแค่รู้เบลอๆ รู้ไม่ทัน? ถ้ารู้ชัดว่ายักษ์มา – นั่นคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลง ✅ ข้อที่ 3: คุณรู้จุดที่ความขัดเคือง “เริ่มเบาลง” ได้ไหม? (ฮินต์: ลมหายใจเริ่มเย็นลง รู้สึกหายใจได้ประณีตขึ้น) ✅ ข้อที่ 4: คุณเห็นไหมว่า… จิตก่อนโกรธ กับจิตหลังโกรธ มันเป็น “คนละดวงจิต”? ถ้าเห็นได้ – แปลว่าคุณกำลังก้าวเข้าสู่ “จิตตานุปัสสนา” แล้ว --- 🌿 โทสะไม่ใช่ศัตรู ถ้าเรากล้า “อยู่กับมันอย่างรู้เท่าทัน” สติจะค่อยๆ แทรกซึม จนคุณเห็นว่า… “จิตที่เคยเป็นภูเขาไฟพ่นลาวา” สงบลงได้… โดยไม่ต้องฝืน นั่นแหละ ธรรมชาติของการเจริญสติที่แท้จริง ไม่ได้อยู่แค่ในถ้ำ หรือบนหมอนรองนั่ง แต่อยู่ใน “ตอนปากกับใจแยกกันทำงาน” แล้วคุณ...เลือกฝ่ายไหนดี? --- 📌 อย่าลืมทบทวน 4 ข้อนี้ หลังมีปากเสียงครั้งหน้า... คุณจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป 🙏 #เจริญสติในชีวิตจริง #โทสะไม่ใช่ศัตรูถ้ารู้ทัน #ปากไวใจเร็วต้องฝึกให้ทัน #ธรรมะเข้าใจง่าย #รู้เท่าทันจิต #มองโทสะเป็นครู #MindfulConflict
    0 Comments 0 Shares 311 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    สัทธรรมลำดับที่ : 939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส
    ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ
    อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง
    แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !”
    --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ
    โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม
    ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น
    (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว).
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์
    ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์
    ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”.
    --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :-

    (๑ หมวดตระเตรียม)
    --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน;
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.

    (๒ หมวดพรหมวิหาร)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) .

    (๓ หมวดสติปัฏฐาน)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้)
    อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย
    อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
    มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา
    ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส
    มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง
    อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน).

    (๔.หมวดอานิสงส์)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอ
    จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ;
    จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ;
    จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ;
    จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว
    แล.-
    ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ
    สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ
    ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง.
    อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า
    สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี
    และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี
    สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ;
    ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา
    แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ;
    อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง).
    ---
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ สัทธรรมลำดับที่ : 939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :- (๑ หมวดตระเตรียม) --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (๔.หมวดอานิสงส์) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอ จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก. http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว แล.- ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). --- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160. http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    -(ในกรณีแห่งการเจริญธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ และเทวนุสสติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน ผู้ปรารถนาโดยรายละเอียด พึงดูจากที่มาแห่งกรณีนั้นๆ. สิ่งซึ่งอาจจะเป็นที่ประหลาดใจแก่พวกเรา ในที่นี้ ก็คือข้อที่ว่า อนุสสติภาวนานั้นเป็นสิ่งที่อาจเจริญได้ในทุกอิริยาบถ แม้ในขณะที่ผู้ที่เป็นพ่อแม่นอนกกลูกอยู่) . สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า : (๑ หมวดตระเตรียม) “จิตของเรา จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; .ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ๑. ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔. พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง มุทิตาเจโตวิมุตติ และ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับข้างบนนี้) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (หมวดอานิสงส์) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอจักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก แล.
    0 Comments 0 Shares 442 Views 0 Reviews
  • 8 เรื่องราวแห่งพระพุทธประวัติที่สำคัญ สลักขึ้นจากหินอันดากูเพียงก้อนเดียว เป็นงานอัศจรรย์ ที่ช่างสลักจะผิดพลาดไม่ได้เลย ช่างต้องใช้เวลาสลักเป็นอกาลิโก ด้วยมหาสติปัฏฐาน 4 อันมี กาย (กายานุปัสสนา) ความรู้สึก (เวทนานุปัสสนา) การรับรู้ (จิตตานุปัสสนา) สิ่งที่อยู่ในจิต (ธัมมานุปัสสนา)

    Pagan,Pala arts,11-13th century AD.
    8 เรื่องราวแห่งพระพุทธประวัติที่สำคัญ สลักขึ้นจากหินอันดากูเพียงก้อนเดียว เป็นงานอัศจรรย์ ที่ช่างสลักจะผิดพลาดไม่ได้เลย ช่างต้องใช้เวลาสลักเป็นอกาลิโก ด้วยมหาสติปัฏฐาน 4 อันมี กาย (กายานุปัสสนา) ความรู้สึก (เวทนานุปัสสนา) การรับรู้ (จิตตานุปัสสนา) สิ่งที่อยู่ในจิต (ธัมมานุปัสสนา) Pagan,Pala arts,11-13th century AD.
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 221 Views 0 Reviews