• อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    สัทธรรมลำดับที่ : 958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้
    ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : -
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา
    ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้
    มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น
    เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล
    ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด;

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย
    ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง
    เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก
    ฉะนั้น
    ).-

    #สัมมาวายามะ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง สัทธรรมลำดับที่ : 958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง เนื้อความทั้งหมด :- --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : - +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น ).- #สัมมาวายามะ​ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51. http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกลไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 150
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
    เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

    สัทธรรมลำดับที่ : 151
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
    เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

    สัทธรรมลำดับที่ : 152
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
    อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
    อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
    --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
    --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
    +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
    +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
    +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
    สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
    +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
    +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 256 มุมมอง 0 รีวิว
  • คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้:

    ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)**
    - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา
    - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ
    - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา
    - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8

    ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)**
    - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4
    - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์
    - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ
    - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง
    - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง
    - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี
    - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ
    - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ

    ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)**
    - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
    - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้
    - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง

    ### 4. **กรรมและวิบาก**
    - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
    - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว

    ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)**
    - **รูป (ร่างกาย)**
    - **เวทนา (ความรู้สึก)**
    - **สัญญา (ความจำ)**
    - **สังขาร (ความคิด)**
    - **วิญญาณ (จิตสำนึก)**

    ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น**
    - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8
    - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ
    - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต

    ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)**
    - **เมตตา (ความรัก)**
    - **กรุณา (ความสงสาร)**
    - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)**
    - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)**

    ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)**
    - **ไม่ทำบาปทั้งปวง**
    - **ทำความดีให้ถึงพร้อม**
    - **ทำจิตใจให้ผ่องใส**

    พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้: ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)** - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8 ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)** - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4 - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)** - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้ - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง ### 4. **กรรมและวิบาก** - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)** - **รูป (ร่างกาย)** - **เวทนา (ความรู้สึก)** - **สัญญา (ความจำ)** - **สังขาร (ความคิด)** - **วิญญาณ (จิตสำนึก)** ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น** - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8 - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)** - **เมตตา (ความรัก)** - **กรุณา (ความสงสาร)** - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)** - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)** ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)** - **ไม่ทำบาปทั้งปวง** - **ทำความดีให้ถึงพร้อม** - **ทำจิตใจให้ผ่องใส** พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 674 มุมมอง 0 รีวิว
  • มรรคมีองค์ 8 มีดังนี้
    1) สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ
    2) สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ
    3) สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ
    4) สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ
    5) สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ
    6) สัมมาวายามะ คือ ความ พยายามชอบ
    7) สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ 8) สัมมาสมาธิ คือ ความตั้งจิตมั่นชอบ
    มรรคมีองค์ 8 มีดังนี้ 1) สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ 2) สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ 3) สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ 4) สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ 5) สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ 6) สัมมาวายามะ คือ ความ พยายามชอบ 7) สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ 8) สัมมาสมาธิ คือ ความตั้งจิตมั่นชอบ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 265 มุมมอง 0 รีวิว