อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อริยมรรครวมอยู่ในฐานแห่ง พรหมจรรย์และกัลยาณวัตร
สัทธรรมลำดับที่ : 1038
ชื่อบทธรรม :- อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038
เนื้อความทั้งหมด :-
--อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา(#โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง;
ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก
โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน.
https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน
เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก.
เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี
เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย?
ธรรมเหล่านั้น คือ (โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
+--สติปัฏฐานสี่(๔) สัมมัปปธานสี่(๔) อิทธิบาทสี่(๔)= (๑๒)
+--อินทรีย์ห้า(๕) พละห้า(๕)= (๑๐)
+--โพชฌงค์เจ็ด(๗) อริยมรรคมีองค์แปด(๘)=(๑๕)
https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ
ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง
อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก
โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน;
https://etipitaka.com/read/pali/10/141/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน
เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล
เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.

---ไทย มหา. ที. 10/99/107.
https://etipitaka.com/read/pali/10/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97
---บาลี​ มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗.
https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97

(อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้)​
--อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้
เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
--อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ?
นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ
https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
--อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ
โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้
https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=กลฺยาณํ+วตฺตํ
: เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.
--อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ;
บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย.
--อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ
โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้
: เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.-

#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/324/463.
https://etipitaka.com/read/thai/13/324/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93
ศึกษา​เพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1038
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อริยมรรครวมอยู่ในฐานแห่ง พรหมจรรย์และกัลยาณวัตร สัทธรรมลำดับที่ : 1038 ชื่อบทธรรม :- อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา(#โพธิปักขิยธรรม ๓๗) --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง; ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน. https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=พฺรหฺมจริยํ ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก. เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. --ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย? ธรรมเหล่านั้น คือ (โพธิปักขิยธรรม ๓๗) +--สติปัฏฐานสี่(๔) สัมมัปปธานสี่(๔) อิทธิบาทสี่(๔)= (๑๒) +--อินทรีย์ห้า(๕) พละห้า(๕)= (๑๐) +--โพชฌงค์เจ็ด(๗) อริยมรรคมีองค์แปด(๘)=(๑๕) https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา-พฺรหฺมจริยํ) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน; https://etipitaka.com/read/pali/10/141/?keywords=พฺรหฺมจริยํ และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ---ไทย มหา. ที. 10/99/107. https://etipitaka.com/read/pali/10/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 ---บาลี​ มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗. https://etipitaka.com/read/pali/10/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 (อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้)​ --อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้ เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ? นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=กลฺยาณํ+วตฺตํ : เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย. --อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ; บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย. --อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/324/463. https://etipitaka.com/read/thai/13/324/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. https://etipitaka.com/read/pali/13/427/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1038 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1038 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา--(โพธิปักขิยธรรม ๓๗)
-(ตรัสว่า ทรงแสดงธรรมโดย ๓ ลักษณะ คือย่อ พิสดาร ทั้งย่อและพิสดาร แล้วก็ทรงแสดงลักษณะแห่งการปฏิบัติไว้ ๓ ลักษณะ คือทำให้ไม่มีอหังการมมังการ ในกายนี้; ไม่มีอหังการมมังการ ในนิมิตภายนอกทั้งปวง; และการเข้าอยู่ในเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติที่ ไม่มีอหังการมมังการ. นี่พอจะเห็นได้ว่า โดยย่อก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในกายนี้, โดยพิสดารก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในนิมิตภายนอกทั่วไป, ที่ทั้งโดยย่อและพิสดารก็คือเข้าอยู่ในวิมุตติที่ไม่มีอหังการมมังการ. รวมความว่า จะโดยย่อหรือโดยพิสดารหรือทั้งโดยย่อ และพิสดาร ก็มุ่งไปสู่ความไม่มีแห่งอหังการมมังการด้วยกันทั้งนั้น. นี่พอที่จะถือเป็นหลักได้ว่า ข้อปฏิบัติอย่างไรและเท่าไร ระดับไหน ก็ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายอหังการมมังการมานานุสัย (ความสำคัญว่าตัวกู – ของกู) ด้วยกันทั้งนั้น. ในที่นี้ถือว่า อัฏฐังคิกมรรค จะในระดับไหน ก็ตาม ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายเสียซึ่งอหังการมมังการเป็นหลักสำคัญ จึงนำข้อความนี้มาใส่ไว้ ในหมวดนี้). อริยมรรครวมอยู่ในพรหมจรรย์ที่ทรงฝากไว้กับพวกเรา (โพธิปักขิยธรรม ๓๗) ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใดที่เราแสดงแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง; ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่พรหมจรรย์ (คือศาสนา) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน. ข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ โลก. เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ภิกษุ ท.! ธรรมเหล่าไหนเล่า ที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งพวกเธอควรเรียนเอาให้ดี . . . . ฯลฯ . . . . เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย? ธรรมเหล่านั้น คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ อินทรีย์ห้า พละห้า โพชฌงค์เจ็ด อริยมรรคมีองค์แปด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ธรรมที่เราแสดงแล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง อันพวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี พึงเสพให้ทั่ว พึงเจริญ ทำให้มาก โดยอาการที่ พรหมจรรย์ (ศาสนา) นี้ จักมั่นคง ตั้งอยู่ได้ตลอดกาลนาน; และข้อนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. – มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗. อัฏฐังคิกมรรคในฐานกัลยาณวัตรที่ทรงฝากไว้ อานนท์ ! ก็ กัลยาณวัตรอันเราตั้งไว้ในกาลนี้ นี้ เป็นไปเพื่อความ เบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับ เพื่อความสงบระงับ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. อานนท์ ! กัลยาณวัตรนี้ เป็นอย่างไรเล่า ? นี้คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ่ อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการ ที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลาย อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย. อานนท์ ! ความขากสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด ; บุรุษนั้นชื่อว่าบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย. อานนท์ ! เกี่ยวกับกัลยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ย้ำ) กะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ : เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.
0 Comments 0 Shares 13 Views 0 Reviews