• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 696
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ)
    เหล่านั้นเสียละกระมัง ?”
    --มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ;
    แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ;
    และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง
    ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น
    เป็นอย่างไรเล่า ?”
    --มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง #เป็นสกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=สกทาคามี
    มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า
    #เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=โอปปาติโก
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง
    #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า.
    --มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า
    ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?”
    --มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?”
    #อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้นั่นแหละ ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา
    เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/191-192/250-254.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/191/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๙๙-๒๐๐/๒๕๐-๒๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=696
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 696 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ) เหล่านั้นเสียละกระมัง ?” --มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ; แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ; และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” --มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง #เป็นสกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=สกทาคามี มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า #เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=โอปปาติโก มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย http://etipitaka.com/read/pali/9/200/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่. --มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. --มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” --มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น. --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” #อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้นั่นแหละ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/191-192/250-254. http://etipitaka.com/read/thai/9/191/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๙๙-๒๐๐/๒๕๐-๒๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/9/199/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=696 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=696 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. อริยอัฏฐังคิกมรรคมี ๔ รูปแบบ คือ ชนิดที่อาศัยวิเวก วิราคะ นิโรธ และเป็นโวสสัคคปริณามี ๑ ; ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ๑ ; ชนิดที่มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ๑ ; และชนิดที่ลาดเอียงเงื้อมไปสู่นิพพาน ๑.
    -๑. อริยอัฏฐังคิกมรรคมี ๔ รูปแบบ คือ ชนิดที่อาศัยวิเวก วิราคะ นิโรธ และเป็นโวสสัคคปริณามี ๑ ; ชนิดที่มีการนำออกซึ่งราคะ โทสะ โมหะ เป็นปริโยสาน ๑ ; ชนิดที่มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ๑ ; และชนิดที่ลาดเอียงเงื้อมไปสู่นิพพาน ๑. หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ของมรรค อัฏฐังคิกมรรค เป็นปฏิปทาเพื่อความเป็นอริยบุคคลสี่ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติ พรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนา (อันเป็นอิทธิวิธีประการต่าง ๆ) เหล่านั้นเสียละกระมัง ?” มหาลิ ! ภิกษุทั้งหลาย ย่อมประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้งซึ่งสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็หามิได้ ; แต่ธรรมะเหล่าอื่นที่ยิ่งกว่า ประณีตกว่า กว่าสมาธิภาวนาเหล่านั้น ก็มีอยู่ ; และ ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพราะเหตุเพื่อจะทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันยิ่งกว่าประณีตกว่าเหล่านั้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมทั้งหลาย อันยิ่งกว่าประณีตกว่า เหล่านั้น เป็นอย่างไรเล่า ?” มหาลิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็นโสดาบัน เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. มหาลิ ! นี้แล ธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะก็เบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมเทียว เข้าถึงแล้วแลอยู่. มหาลิ ! แม้นี้แล ก็เป็นธรรมที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า. มหาลิ ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล เป็นธรรมยิ่งกว่าประณีตกว่า ที่ภิกษุทั้งหลายพากันประพฤติพรหมจรรย์ในเรา เพื่อกระทำให้แจ้ง. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคมีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยู่หรือ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” มหาลิ ! มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น ?” อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. มหาลิ ! นี้แล มรรค นี้แล ปฏิปทา เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งธรรมเหล่านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 54 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์อันมีเจ็ดประการ(อีกนัยหนึ่ง)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 327
    ชื่อบทธรรม :-สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (เกี่ยวกับเรื่องนี้
    ควรดูหัวข้อว่า “#ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    ประกอบด้วย).
    --สังโยชน์เจ็ด (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ
    อนุนยสัญโญชน์ ๑
    ปฏิฆสัญโญชน์ ๑
    ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑
    มานสัญโญชน์ ๑
    อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑
    มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/8/10.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๘/๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=327
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์อันมีเจ็ดประการ(อีกนัยหนึ่ง)​ สัทธรรมลำดับที่ : 327 ชื่อบทธรรม :-สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327 เนื้อความทั้งหมด :- (เกี่ยวกับเรื่องนี้ ควรดูหัวข้อว่า “#ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” ประกอบด้วย). --สังโยชน์เจ็ด (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑ มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/8/10. http://etipitaka.com/read/thai/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๘/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/8/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=327 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=327 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด”
    -(เกี่ยวกับเรื่องนี้ ควรดูหัวข้อว่า “ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละเพื่อตัดอนุสัยโดยเด็ดขาด” ที่หน้า ๔๓๑ แห่งหนังสือนี้ ประกอบด้วย). (สังโยชน์เจ็ด อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า? เจ็ดอย่างคือ อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๓ มานสัญโญชน์ ๑ อิสสาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความริษยา) ๑ มัจฉริยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความตระหนี่) ๑. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๗ อย่าง-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด
    สัทธรรมลำดับที่ : 326
    ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังโยชน์เจ็ด
    --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ
    ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑
    ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑
    ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑
    ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑
    ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑
    ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑
    ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง
    อนุนยสัญโญชน์ ๑
    ปฏิฆสัญโญชน์ ๑
    ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑
    มานสัญโญชน์ ๑
    ภวราคสัญโญชน์ ๑
    อวิชชาสัญโญชน์ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้
    เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล,
    อนุนยสัญโญชน์ก็ดี
    ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี
    ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี
    มานสัญโญชน์ก็ดี
    ภวราคสัญโญชน์ก็ดี
    อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว
    ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า
    “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์
    #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว”
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด สัทธรรมลำดับที่ : 326 ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 เนื้อความทั้งหมด :- --สังโยชน์เจ็ด --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว” http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9. http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์เจ็ด
    -สังโยชน์เจ็ด ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่าง ถูกต้องแล้ว” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1059
    ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    ก. เหตุภายใน
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    นี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ
    โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด.
    ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์.

    ข. เหตุภายนอก
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    นี้.
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ
    กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ,
    ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง
    โดยลำดับ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1059 ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 เนื้อความทั้งหมด :- --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195. http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรมอภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจนั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้อภิธรรมอภิวินัยและรวยลาภ). จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง โยนิโสมนสิการ นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำโยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือน อย่าง กัล๎ยาณมิตตตา นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 113 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเพื่อสำรอกราคะในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 684
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=684
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามเธอทั้งหลายอย่างนี้ว่า
    “อาวุโส ท.! ท่านทั้งหลายอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม
    เพื่อประโยชน์อะไรกัน?” ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า
    “อาวุโส ท.! เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเพื่อประโยชน์แก่การ
    สำรอกซึ่งราคะ (ราควิราคตฺถํ)”.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=ราควิราคตฺถํ

    [และยังตรัสต่อไปว่า :-
    -เพื่อประโยชน์แก่การ ละสังโยชน์ (สญฺโญชนปหานตฺถํ) ดังนี้ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่การ ถอนอนุสัย (อนุสยสมุคฺฆาตนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่การ กำหนดรู้ความที่สัตว์ ต้องเดินทางไกลด้วยอวิชชา (อทฺธานปริญฺญตถํ) ดังนี้ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่ความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย (อาสวานํ ขยตฺถํ) ดังนี้ ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่การ ทำให้แจ้งซึ่งผลคือวิชชาและวิมุตติ (วิชฺชาวิมุตฺติผลสจฺฉิกิริยตฺถํ) ดังนี้ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่การ รู้การเห็น (ญาณทสฺสนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ;
    -เพื่อประโยชน์แก่การ #ดับเย็นในทิฏธรรมเพราะไม่ยึดมั่น (อนุปาทาปรินิพฺพานตฺถํ) ดังนี้ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/19/34/?keywords=อนุปาทาปรินิพฺพาน
    ].

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “อาวุโส ท. ! มรรคมีหรือ ปฏิปทามีหรือ เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ?”
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว
    พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่เพื่อการ สำรอกซึ่งราคะ.
    --ภิกษุ ท. ! มรรคนั้นเป็นอย่างไร ปฏิปทานั้นเป็นอย่างไร เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ?
    #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง, ได้แก่
    http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ ,
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ,
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ :
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แลปฏิปทา เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ.

    (ขยายความตามท่านพุทธทาส :-
    ข้อความสองย่อหน้าข้างบนนี้ มีต่อท้ายหลักธรรมที่เป็นจุดหมายของ
    พรหมจรรย์ตามรายนามที่กล่าวไว้ข้างบนทุกๆข้อ
    เช่นข้อว่า “เพื่อประโยชน์แก่การละสังโยชน์“ เป็นต้น
    ผู้ศึกษาพึงกำหนดเอาเอง
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/27-29/117-128.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/27/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๓-๓๕/๑๑๗-๑๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=684
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=684
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเพื่อสำรอกราคะในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย สัทธรรมลำดับที่ : 684 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=684 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามเธอทั้งหลายอย่างนี้ว่า “อาวุโส ท.! ท่านทั้งหลายอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม เพื่อประโยชน์อะไรกัน?” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ท.! เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเพื่อประโยชน์แก่การ สำรอกซึ่งราคะ (ราควิราคตฺถํ)”. http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=ราควิราคตฺถํ [และยังตรัสต่อไปว่า :- -เพื่อประโยชน์แก่การ ละสังโยชน์ (สญฺโญชนปหานตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่การ ถอนอนุสัย (อนุสยสมุคฺฆาตนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่การ กำหนดรู้ความที่สัตว์ ต้องเดินทางไกลด้วยอวิชชา (อทฺธานปริญฺญตถํ) ดังนี้ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่ความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย (อาสวานํ ขยตฺถํ) ดังนี้ ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่การ ทำให้แจ้งซึ่งผลคือวิชชาและวิมุตติ (วิชฺชาวิมุตฺติผลสจฺฉิกิริยตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่การ รู้การเห็น (ญาณทสฺสนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; -เพื่อประโยชน์แก่การ #ดับเย็นในทิฏธรรมเพราะไม่ยึดมั่น (อนุปาทาปรินิพฺพานตฺถํ) ดังนี้ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/19/34/?keywords=อนุปาทาปรินิพฺพาน ]. --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “อาวุโส ท. ! มรรคมีหรือ ปฏิปทามีหรือ เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ?” --ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่เพื่อการ สำรอกซึ่งราคะ. --ภิกษุ ท. ! มรรคนั้นเป็นอย่างไร ปฏิปทานั้นเป็นอย่างไร เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ? #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง, ได้แก่ http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ , สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ , สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แลปฏิปทา เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ. (ขยายความตามท่านพุทธทาส :- ข้อความสองย่อหน้าข้างบนนี้ มีต่อท้ายหลักธรรมที่เป็นจุดหมายของ พรหมจรรย์ตามรายนามที่กล่าวไว้ข้างบนทุกๆข้อ เช่นข้อว่า “เพื่อประโยชน์แก่การละสังโยชน์“ เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงกำหนดเอาเอง ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/27-29/117-128. http://etipitaka.com/read/thai/19/27/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๓-๓๕/๑๑๗-๑๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/33/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=684 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=684 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย
    -(คำว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรค ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นดังที่กล่าวข้างบนนั้น ในบางสูตรตรัสว่า เจริญกระทำให้มากซึ่งองค์มรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ - โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ดังนี้ก็มี - ๑๙/๕๒/๒๐๕ ; ในบางสูตรตรัสว่า ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน ดังนี้ก็มี - ๑๙/๕๕/๒๒๐ ; และในบางสูตรตรัสว่า ชนิดที่ ลาดไปสู่นิพพาน เอียงไปสู่นิพพาน เงื้อมไปสู่นิพพาน ดังนี้ก็มี - ๑๙/๕๘/๒๓๖. คำที่ว่า ลาด เอียง เงื้อม ไปทางทิศปราจีนนั้น ในบางสูตรทรงใช้คำว่า ลาด เอียง เงื้อม ไปสู่สมุทร ก็มี - ๑๙/๕๐,๕๔,๕๗,๖๐/๑๙๗,๒๑๒,๒๒๗,๒๔๓). อัฏฐังคิกมรรคในฐานะหนทางให้ถึงจุดหมาย ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามเธอทั้งหลายอย่างนี้ว่า “อาวุโส ท.! ท่านทั้งหลายอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม เพื่อประโยชน์อะไรกัน?” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ท.! เราอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเพื่อประโยชน์แก่การ สำรอกซึ่งราคะ (ราควิราคตฺถํ)”. [และยังมีในสูตรอื่นที่ตรัสว่า :- เพื่อประโยชน์แก่การ ละสังโยชน์ (สญฺโญชนปหานตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่การ ถอนอนุสัย (อนุสยสมุคฺฆาตนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่การ กำหนดรู้ความที่สัตว์ ต้องเดินทางไกลด้วยอวิชชา (อทฺธานปริญฺญตถํ) ดังนี้ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย (อาสวานํ ขยตฺถํ) ดังนี้ ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่การทำให้แจ้งซึ่งผลคือวิชชาและวิมุตติ (วิชฺชาวิมุตฺติผลสจฺฉิกิริยตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่การรู้การเห็น (ญาณทสฺสนตฺถํ) ดังนี้ก็มี ; เพื่อประโยชน์แก่การดับเย็นในทิฏธรรมเพราะไม่ยึดมั่น (อนุปาทาปรินิพฺพานตฺถํ) ดังนี้ก็มี]. ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “อาวุโส ท. ! มรรคมีหรือ ปฏิปทามีหรือ เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ?” ภิกษุ ท. ! เมื่อถูกถามอย่างนี้แล้ว พวกเธอพึงพยากรณ์แก่เขาว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่เพื่อการ สำรอกซึ่งราคะ. ภิกษุ ท. ! มรรคนั้นเป็นอย่างไร ปฏิปทานั้นเป็นอย่างไร เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ ? อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แลปฏิปทา เพื่อการสำรอกซึ่งราคะ. (ข้อความสองย่อหน้าข้างบนนี้ มีต่อท้ายหลักธรรมที่เป็นจุดหมายของ พรหมจรรย์ตามรายนามที่กล่าวไว้ข้างบนทุกๆข้อ เช่นข้อว่า “เพื่อประโยชน์แก่การละสังโยชน์“ เป็นต้นผู้ศึกษาพึงกำหนดเอาเอง).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 244 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 680
    ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ

    ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย
    กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค
    (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ?
    ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน
    เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด
    ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ
    ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม
    ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ
    +--จุนทะ !
    คนบางคน ในกรณีนี้
    เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในโลกนี้
    ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ :
    นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔.

    ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)”
    ดังนี้ ;
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่.
    ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ
    แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด
    เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ
    เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท.
    จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้
    จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
    นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร
    มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย
    บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน
    จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล
    เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด
    ....ฯลฯ....
    เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่
    คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว.
    ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ;
    จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้.
    #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ

    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ”
    เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า
    “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้
    หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ
    ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน
    มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า
    : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
    : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่
    : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่.
    อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง
    เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116
    http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ สัทธรรมลำดับที่ : 680 ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 เนื้อความทั้งหมด :- --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ +--จุนทะ ! คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116 http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    -(ความชุ่มอยู่ในกามสุข เรียกว่ากามสุขัลลิกะ, การประกอบตนอยู่ในกามสุขัลลิกะ เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ; จัดเป็นอันตะฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นข้าศึกแก่มัชฌิมาปฏิปทา) . สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? จุนทะ ! สี่อย่างคือ ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 304 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1037
    ชื่อบทธรรม : -ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1037
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ(ความสำคัญว่าตัวกูของกู)
    --สารีบุตร ! เราจะแสดงธรรมโดยย่อก็ได้
    https://etipitaka.com/read/pali/20/170/?keywords=สารีปุตฺต+ภิกฺขุ
    เราจะแสดงธรรมโดยพิสดารก็ได้
    เราจะแสดงธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดารก็ได้
    แต่ว่าผู้รู้ทั่วถึงธรรมหายาก.
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ถึงเวลาแล้ว
    ข้าแต่พระสุคต ! ถึงเวลาแล้ว ที่พระผู้มีพระภาค
    จะพึงแสดงธรรมโดยย่อบ้าง จะพึงแสดงธรรมโดยพิสดารบ้าง
    จะพึงแสดงธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดารบ้าง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี” .
    --สารีบุตร ! ถ้าอย่างนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการศึกษาอย่างนี้ว่า
    “(ธรรมที่เราแสดงนั้น จะมีดังนี้ว่า :- )
    อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ต้องไม่มี
    ในกายอันประกอบอยู่ด้วยวิญญาณนี้ (นี้อย่างหนึ่ง) ;
    อหังการมมังการมานานุสัย ทั้งหลาย ต้องไม่มี
    ในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก (นี้อย่างหนึ่ง) ;
    เราจักเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว
    อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้ (นี้อีกอย่างหนึ่ง).”
    --สารีบุตร ! เมื่อใด
    อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มี ในกายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้ ก็ดี,
    อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มี ในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก ก็ดี,
    ภิกษุเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว
    อหังการมมังการมานานุสัย ย่อมไม่มี ก็ดี;
    --สารรีบุตร ! เมื่อนั้น ภิกษุนี้ เรากล่าวว่า
    https://etipitaka.com/read/pali/20/171/?keywords=สารีปุตฺต+ภิกฺขุ
    ได้ตัดขาดแล้วซึ่งตัณหา รื้อถอนแล้ว ซึ่งสังโยชน์
    กระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้เพราะรู้ซึ่งมานะโดยชอบ.-

    (ตรัสว่า ทรงแสดงธรรมโดย ๓ ลักษณะ คือ ย่อ พิสดาร ทั้งย่อและพิสดาร
    แล้วก็ทรงแสดงลักษณะแห่งการปฏิบัติไว้ ๓ ลักษณะ คือ
    ทำให้ไม่มีอหังการมมังการ ในกายนี้;
    ไม่มีอหังการมมังการ ในนิมิตภายนอกทั้งปวง;
    และการเข้าอยู่ในเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติที่ ไม่มีอหังการมมังการ.
    +--นี่พอจะเห็นได้ว่า โดยย่อก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในกายนี้,
    โดยพิสดารก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในนิมิตภายนอกทั่วไป,
    ที่ทั้งโดยย่อและพิสดารก็คือ เข้าอยู่ในวิมุตติที่ไม่มีอหังการมมังการ.
    รวมความว่า จะโดยย่อหรือโดยพิสดารหรือทั้งโดยย่อและพิสดาร
    ก็มุ่งไปสู่ความไม่มีแห่งอหังการมมังการด้วยกันทั้งนั้น.
    นี่พอที่จะถือเป็นหลักได้ว่า ข้อปฏิบัติอย่างไรและเท่าไร ระดับไหน ก็ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายอหังการมมังการมานานุสัย (ความสำคัญว่าตัวกูของกู) ด้วยกันทั้งนั้น.
    ในที่นี้ถือว่า #อัฏฐังคิกมรรค จะในระดับไหน ก็ตาม
    ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายเสียซึ่งอหังการมมังการเป็นหลักสำคัญ
    จึงนำข้อความนี้มาใส่ไว้ ในหมวดนี้)

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/127/472.
    https://etipitaka.com/read/thai/20/127/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๗๐/๔๗๒.
    https://etipitaka.com/read/pali/20/170/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1037
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1037
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ สัทธรรมลำดับที่ : 1037 ชื่อบทธรรม : -ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1037 เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ(ความสำคัญว่าตัวกูของกู) --สารีบุตร ! เราจะแสดงธรรมโดยย่อก็ได้ https://etipitaka.com/read/pali/20/170/?keywords=สารีปุตฺต+ภิกฺขุ เราจะแสดงธรรมโดยพิสดารก็ได้ เราจะแสดงธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดารก็ได้ แต่ว่าผู้รู้ทั่วถึงธรรมหายาก. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ถึงเวลาแล้ว ข้าแต่พระสุคต ! ถึงเวลาแล้ว ที่พระผู้มีพระภาค จะพึงแสดงธรรมโดยย่อบ้าง จะพึงแสดงธรรมโดยพิสดารบ้าง จะพึงแสดงธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดารบ้าง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี” . --สารีบุตร ! ถ้าอย่างนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการศึกษาอย่างนี้ว่า “(ธรรมที่เราแสดงนั้น จะมีดังนี้ว่า :- ) อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ต้องไม่มี ในกายอันประกอบอยู่ด้วยวิญญาณนี้ (นี้อย่างหนึ่ง) ; อหังการมมังการมานานุสัย ทั้งหลาย ต้องไม่มี ในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก (นี้อย่างหนึ่ง) ; เราจักเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้ (นี้อีกอย่างหนึ่ง).” --สารีบุตร ! เมื่อใด อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มี ในกายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้ ก็ดี, อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มี ในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก ก็ดี, ภิกษุเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว อหังการมมังการมานานุสัย ย่อมไม่มี ก็ดี; --สารรีบุตร ! เมื่อนั้น ภิกษุนี้ เรากล่าวว่า https://etipitaka.com/read/pali/20/171/?keywords=สารีปุตฺต+ภิกฺขุ ได้ตัดขาดแล้วซึ่งตัณหา รื้อถอนแล้ว ซึ่งสังโยชน์ กระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้เพราะรู้ซึ่งมานะโดยชอบ.- (ตรัสว่า ทรงแสดงธรรมโดย ๓ ลักษณะ คือ ย่อ พิสดาร ทั้งย่อและพิสดาร แล้วก็ทรงแสดงลักษณะแห่งการปฏิบัติไว้ ๓ ลักษณะ คือ ทำให้ไม่มีอหังการมมังการ ในกายนี้; ไม่มีอหังการมมังการ ในนิมิตภายนอกทั้งปวง; และการเข้าอยู่ในเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติที่ ไม่มีอหังการมมังการ. +--นี่พอจะเห็นได้ว่า โดยย่อก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในกายนี้, โดยพิสดารก็คือ ไม่ให้มีอหังการมมังการในนิมิตภายนอกทั่วไป, ที่ทั้งโดยย่อและพิสดารก็คือ เข้าอยู่ในวิมุตติที่ไม่มีอหังการมมังการ. รวมความว่า จะโดยย่อหรือโดยพิสดารหรือทั้งโดยย่อและพิสดาร ก็มุ่งไปสู่ความไม่มีแห่งอหังการมมังการด้วยกันทั้งนั้น. นี่พอที่จะถือเป็นหลักได้ว่า ข้อปฏิบัติอย่างไรและเท่าไร ระดับไหน ก็ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายอหังการมมังการมานานุสัย (ความสำคัญว่าตัวกูของกู) ด้วยกันทั้งนั้น. ในที่นี้ถือว่า #อัฏฐังคิกมรรค จะในระดับไหน ก็ตาม ล้วนแต่มุ่งหมายทำลายเสียซึ่งอหังการมมังการเป็นหลักสำคัญ จึงนำข้อความนี้มาใส่ไว้ ในหมวดนี้) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/127/472. https://etipitaka.com/read/thai/20/127/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๗๐/๔๗๒. https://etipitaka.com/read/pali/20/170/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1037 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1037 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ
    -ทรงกำชับเรื่องการทำลายอหังการมมังการ สารีบุตร ! เราจะแสดงธรรมโดยย่อก็ได้ เราจะแสดงธรรมโดยพิสดารก็ได้ เราจะแสดงธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดาร ก็ได้ แต่ว่าผู้รู้ทั่วถึงธรรมหายาก. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ถึงเวลาแล้ว ข้าแต่พระสุคต ! ถึงเวลาแล้ว ที่พระผู้มีพระภาค จะพึงแสดงธรรมโดยย่อบ้าง จะพึงแสดงธรรมโดยพิสดารบ้าง จะพึงแสดง ธรรมทั้งโดยย่อและโดยพิสดารบ้าง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี” . สารีบุตร ! ถ้าอย่างนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการศึกษาอย่างนี้ว่า “(ธรรมที่เราแสดงนั้น จะมีดังนี้ว่า :- ) อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ต้องไม่มี ในกายอันประกอบอยู่ด้วยวิญญาณนี้ (นี้อย่างหนึ่ง) ; อหังการมมังการมานานุสัย ทั้งหลาย ต้องไม่มีในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก (นี้อย่างหนึ่ง) ; เราจักเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว อหังการมมังการมานานุสัยทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้ (นี้อีกอย่างหนึ่ง).” สารีบุตร ! เมื่อใด อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มีใน กายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้ ก็ดี, อหังการมมังการมานานุสัยของภิกษุ ไม่มี ในนิมิตทั้งหลายทั้งปวงในภายนอก ก็ดี, ภิกษุเข้าถึงแล้วแลอยู่ ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเข้าถึงแล้วแลอยู่ แล้ว อหังการมมังการมานานุสัย ย่อมไม่มี ก็ดี; สารรีบุตร ! เมื่อนั้น ภิกษุนี้ เรากล่าวว่า ได้ตัดขาดแล้วซึ่งตัณหา รื้อถอนแล้ว ซึ่งสังโยชน์ กระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้เพราะรู้ซึ่งมานะโดยชอบ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 665
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี
    ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่
    ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่
    ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ
    ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว
    #จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด)
    http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=เอโก+ปวิเวเก
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่
    จักถือเอาซึ่ง ๑.นิมิตสำหรับจิตได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่
    จักทำ ๒.สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว
    จักทำ ๓.สัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว
    จัก ๔.ละสังโยชน์ทั้งหลายได้
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    +--ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว
    จักทำให้ ๕.#แจ้งซึ่งนิพพานได้
    http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=นิพฺพาน
    ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/339.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๒๗๒/๓๓๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=665
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 665 ชื่อบทธรรม :- ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว #จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด) http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=เอโก+ปวิเวเก ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่ จักถือเอาซึ่ง ๑.นิมิตสำหรับจิตได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่ จักทำ ๒.สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว จักทำ ๓.สัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว จัก ๔.ละสังโยชน์ทั้งหลายได้ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; +--ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว จักทำให้ ๕.#แจ้งซึ่งนิพพานได้ http://etipitaka.com/read/pali/22/473/?keywords=นิพฺพาน ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/339. http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๒๗๒/๓๓๙. http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=665 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=665 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ข้อความที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ดูหนังสือปฏิจจ. โอ. ที่หน้า ๖๐๕-๖๑๑ โดยหัวข้อว่า “ปฏิจจสมุปบาทแห่งปปัจสัญญา ฯ).
    -(ข้อความที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ดูหนังสือปฏิจจ. โอ. ที่หน้า ๖๐๕-๖๑๑ โดยหัวข้อว่า “ปฏิจจสมุปบาทแห่งปปัจสัญญา ฯ). ลำดับปัจจัยแห่งการกระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ไม่มีการระคนด้วยหมู่เป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในการระคนด้วยหมู่ ไม่มีคณะเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในคณะ ไม่ตามประกอบซึ่งความยินดีในคณะแล้ว จักเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวก (ความสงัดถึงที่สุด) ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อเป็นผู้ผู้เดียวยินดียิ่งในปวิเวกอยู่ จักถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อถือเอาซึ่งนิมิตสำหรับจิตได้อยู่ จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นทำสัมมาทิฏฐิได้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นทำสัมมาสมาธิได้บริบูรณ์แล้ว จักละสังโยชน์ทั้งหลายได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ; ครั้นละสังโยชน์ทั้งหลายได้แล้ว จักทำให้แจ้งซึ่งนิพพานได้ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 662
    ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น

    --ก. สุขที่ควรกลัว

    --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ;
    ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.;
    ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.;
    ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.;
    ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย
    อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
    --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง.
    --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น
    นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข,
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว.

    --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง
    +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข.
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว.

    --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
    (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ?
    วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่.
    วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ?
    ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ?
    อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.

    --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย
    เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์
    เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ !
    เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย
    เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ
    โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล
    เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
    --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ?
    “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น สัทธรรมลำดับที่ : 662 ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 เนื้อความทั้งหมด :- --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น --ก. สุขที่ควรกลัว --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.; ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.; ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.; ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง. --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ. --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185. http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ :
    -(นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ : อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเคหสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเนกขัมมสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโทมนัส ละเคหสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเคหสิตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเนกขัมมสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เอกัตตอุเบกขา ละนานัตตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย อตัมมยตา ละเอกัตตอุเบกขา (คู่หนึ่ง). การละความผูกพันในความสุขทุกชั้น ก. สุขที่ควรกลัว อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู....; กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก....; รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น....; โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. อุทายิ ! เหล่านี้แล กามคุณห้าอย่าง. อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า กามสุข มิฬ๎หสุข๑ ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. ข. สุขที่ไม่ควรกลัว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ๑. สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น. เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละ เป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวจตุตถฌานนี้แล ว่าไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งปฐมฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละ เป็นการก้าวล่วงซึ่งปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งทุติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งตติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งตติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ. อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 264 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิถีทางในการบรรถึงวิมุตตธรรมเมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 652
    ชื่อบทธรรม :- เมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=652
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือเดินสมุทรที่มีเครื่องผูกทำด้วยหวาย
    อยู่ในน้ำตลอดหกเดือนแล้ว เขายกขึ้นบกในฤดูหนาว
    เครื่องผูกเหล่านั้นผึ่งอยู่กับลมและแดด ชุ่มแฉะอยู่ด้วยหมอกอันชื้น
    ย่อมยุบตัว เปื่อยพังไปโดยไม่ยากเลย, นี้ ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามประกอบการเจริญภาวนาอยู่
    #สังโยชน์(สญฺโญ)​ทั้งหลาย (ซึ่งเสมือนเครื่องหวายที่อบอยู่กับแดดลมและความชื้น)
    ย่อมระงับลง ๆ กระทั่งสูญเสียไป ฉันนั้นเหมือนกัน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/129/?keywords=สญฺโญชนานิ

    (*--ท่านพุทธทาสอธิบายความว่า
    เป็นที่น่าสังเกตว่า พระพุทธองค์ทรงมีถิ่นฐานอยู่ทางภาคเหนือของอินเดีย ซึ่งดูตามแผนที่แล้ว จะไม่มีโอกาสเกี่ยวข้องกับทะเล แต่ก็ยังทรงทราบเรื่องเรือเดินทะเล, เป็นบุคคลในระดับกษัตริย์ ก็ยังทรงรู้เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ของชาวบ้าน เช่นหวายที่ผูกเรือแพเดินทะเลสิ้นอายุผุพังไปตามฤดูกาลได้ ; แสดงว่าทรงมีพื้นเพแห่งสติปัญญาสมกับที่จะเป็นพระพุทธเจ้าเสียจริงๆ
    --*).

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/126/68.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/98/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๒๖/๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/126/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=652
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=652
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45
    ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิถีทางในการบรรถึงวิมุตตธรรมเมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ สัทธรรมลำดับที่ : 652 ชื่อบทธรรม :- เมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=652 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่อสิ้นสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือเดินสมุทรที่มีเครื่องผูกทำด้วยหวาย อยู่ในน้ำตลอดหกเดือนแล้ว เขายกขึ้นบกในฤดูหนาว เครื่องผูกเหล่านั้นผึ่งอยู่กับลมและแดด ชุ่มแฉะอยู่ด้วยหมอกอันชื้น ย่อมยุบตัว เปื่อยพังไปโดยไม่ยากเลย, นี้ ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามประกอบการเจริญภาวนาอยู่ #สังโยชน์(สญฺโญ)​ทั้งหลาย (ซึ่งเสมือนเครื่องหวายที่อบอยู่กับแดดลมและความชื้น) ย่อมระงับลง ๆ กระทั่งสูญเสียไป ฉันนั้นเหมือนกัน.- http://etipitaka.com/read/pali/23/129/?keywords=สญฺโญชนานิ (*--ท่านพุทธทาสอธิบายความว่า เป็นที่น่าสังเกตว่า พระพุทธองค์ทรงมีถิ่นฐานอยู่ทางภาคเหนือของอินเดีย ซึ่งดูตามแผนที่แล้ว จะไม่มีโอกาสเกี่ยวข้องกับทะเล แต่ก็ยังทรงทราบเรื่องเรือเดินทะเล, เป็นบุคคลในระดับกษัตริย์ ก็ยังทรงรู้เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ของชาวบ้าน เช่นหวายที่ผูกเรือแพเดินทะเลสิ้นอายุผุพังไปตามฤดูกาลได้ ; แสดงว่าทรงมีพื้นเพแห่งสติปัญญาสมกับที่จะเป็นพระพุทธเจ้าเสียจริงๆ --*). #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/126/68. http://etipitaka.com/read/thai/23/98/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๒๖/๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/23/126/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=652 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=652 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45 ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่อสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ
    -เมื่อสังโยชน์เหมือนเครื่องหวายสิ้นอายุ ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือเดินสมุทรที่มีเครื่องผูกทำด้วยหวายอยู่ในน้ำตลอดหกเดือนแล้ว เขายกขึ้นบกในฤดูหนาว เครื่องผูกเหล่านั้นผึ่งอยู่กับลมและแดด ชุ่มแฉะอยู่ด้วยหมอกอันชื้น ย่อมยุบตัว เปื่อยพังไปโดยไม่ยากเลย, นี้ ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามประกอบการเจริญภาวนาอยู่ สังโยชน์ ทั้งหลาย (ซึ่งเสมือนเครื่องหวายที่อบอยู่กับแดดลมและความชื้น) ย่อมระงับลง ๆ กระทั่งสูญเสียไป ฉันนั้นเหมือนกัน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 649
    ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์(สญฺโญชนิเยสุ)​ สองประการเหล่านี้ มีอยู่.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ
    ๑. การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย.
    ๒. การตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่
    ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ;
    เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ
    จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย,
    เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่
    ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ;
    เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ
    จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย,
    เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัญโญชนิยธรรม(สญฺโญชนิเยสุ)สองประการนั้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=649
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 649 ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649 เนื้อความทั้งหมด :- --ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม --ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์(สญฺโญชนิเยสุ)​ สองประการเหล่านี้ มีอยู่. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ ๑. การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. ๒. การตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สัญโญชนิยธรรม(สญฺโญชนิเยสุ)สองประการนั้น.- http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/48/252. http://etipitaka.com/read/thai/20/48/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๖๕/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/20/65/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=649 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=649 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ; กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน.
    -๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ; กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน. ละราคะโทสะโมหะได้ เพราะไม่หลงในสัญโญชนิยธรรม ภิกษุ ท. ! ธรรมสองประการเหล่านี้ มีอยู่. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการ คือ การตามเห็นความเป็นของน่ายินดี ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย และการตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่ายินดีในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่ละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ ; เพราะละไม่ได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงไม่หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผู้ตามเห็นความเป็นของน่าเบื่อหน่าย ในสัญโญชนิยธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ; เพราะละได้ซึ่งราคะ ซึ่งโทสะ ซึ่งโมหะ จึงหลุดพ้นจากชาติ ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ทั้งหลาย, เรากล่าวว่า ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ธรรมสองประการนั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 197 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 433 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 992
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ
    การแสวงหากาม (กาเมสนา)
    การแสวงหาภพ (ภเวสนา)
    การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ...
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ .....
    สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ .....
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้
    ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้
    ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี.
    +--สำหรับคำว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น
    ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ
    เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี.
    +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้
    หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส
    เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ.
    +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา)
    ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น
    สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน
    ได้แก่ : -
    +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา)
    ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน
    คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.
    ]-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด สัทธรรมลำดับที่ : 992 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ..... ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. +--สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : - +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี. ]- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354. http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    -(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็นสัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบ หรือ มิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. -๒๑/๓๐๓/๒๐๖. ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี -๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, และ ทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี - ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบ หรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.) อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึงพรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือกาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วยกาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.]-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 315 มุมมอง 0 รีวิว
  • บางคนที่มีทิฐิว่า..พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานไปแล้วย่อมไม่ปรากฏอีก โดยอ้างพระบาลี "นิพพานัง ปรมังสุญญัง"

    คำว่า สูญ นั้นหมายถึง สูญจากกิเลส

    จิตสูญจากกิเลส จึงจะเข้าพระนิพพานได้ จิตมัวหมอง ไม่รู้ตามความเป็นจริง แปลบาลีผิดจากความหมายพระพุทธองค์ จิตก็หลงทางไปสู่อบายภูมิ เพราะเป็นจิตไม่ฉลาด

    สิ่งที่ไม่มีที่พระนิพพานได้แก่..

    นรก สัตว์ โลก สวรรค์ พรหม

    ธาตุ 4 (ดิน น้ำ ลม ไฟ ) ขันธ์ 5 (รูป-นาม)

    อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ราคะ อุปาทาน บาปกรรม

    อวิชชา สังโยชน์ (กิเลสร้อยรัด 10 อย่าง )

    เกิด แก่ เจ็บ ตาย

    ..สิ่งเหล่านี้ไม่มีในแดนพระนิพพาน

    เราอยู่ในพระพุทธศาสนา จับหลักในคำสอน จับหลักให้จริงก่อน ให้คิดไตร่ตรองก่อน ว่าสิ่งนั้น สิ่งนี้ เป็นจริงไหม แล้วจึงเชื่อ จึงปฏิบัติ

    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
    บางคนที่มีทิฐิว่า..พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานไปแล้วย่อมไม่ปรากฏอีก โดยอ้างพระบาลี "นิพพานัง ปรมังสุญญัง" คำว่า สูญ นั้นหมายถึง สูญจากกิเลส จิตสูญจากกิเลส จึงจะเข้าพระนิพพานได้ จิตมัวหมอง ไม่รู้ตามความเป็นจริง แปลบาลีผิดจากความหมายพระพุทธองค์ จิตก็หลงทางไปสู่อบายภูมิ เพราะเป็นจิตไม่ฉลาด สิ่งที่ไม่มีที่พระนิพพานได้แก่.. นรก สัตว์ โลก สวรรค์ พรหม ธาตุ 4 (ดิน น้ำ ลม ไฟ ) ขันธ์ 5 (รูป-นาม) อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ราคะ อุปาทาน บาปกรรม อวิชชา สังโยชน์ (กิเลสร้อยรัด 10 อย่าง ) เกิด แก่ เจ็บ ตาย ..สิ่งเหล่านี้ไม่มีในแดนพระนิพพาน เราอยู่ในพระพุทธศาสนา จับหลักในคำสอน จับหลักให้จริงก่อน ให้คิดไตร่ตรองก่อน ว่าสิ่งนั้น สิ่งนี้ เป็นจริงไหม แล้วจึงเชื่อ จึงปฏิบัติ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 334 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 983
    ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน.
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย
    --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว,
    สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้
    เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ
    ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
    ย่อม เป็น #สกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา
    มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา
    ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว
    เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 983 ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็น #สกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234. http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 434 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 614
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกปริยายหนึ่ง)
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ
    ตัณหาย่อมดับ.
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.-

    (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน”
    ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92
    เท่านั้น).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 614 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกปริยายหนึ่ง) --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.- (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92 เท่านั้น). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198. http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร].
    -[ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร]. อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่ง ชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 613
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน
    เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 613 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222. http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง วิญญาณย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 285 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 606
    ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :-
    (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ;
    (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ;
    (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ;
    (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ;
    (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ;
    (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ;
    (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว.
    อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย
    และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ
    เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก
    ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 606 ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 เนื้อความทั้งหมด :- --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :- (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15. http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    -(ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า เมื่อบุรุษนั้นกำลังปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์อยู่ วิราคะก็เกิดขึ้นได้ เมื่อเขาเพ่งดูเหตุแห่งความทุกข์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป วิราคะก็ยิ่งเกิดขึ้น จนกระทั่งว่าเขาสามารถละราคะ ในหญิงคือทุกข์นั้นเสียได้. ผู้ที่ยังไม่มีความทุกข์ ก็อย่าไปปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์ขึ้นมาเลย มีความสุขโดยชอบธรรมอยู่แล้วเพียงใด ก็ไม่มัวเมาในความสุขนั้น ก็จะชื่อว่า ไม่เอาความทุกข์มาทับถมตนซึ่งไม่มีความทุกข์อยู่แล้ว และมีวิราคะในความทุกข์ได้ นี้ย่อมเป็นสิ่งที่กระทำได้). ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่าสัทธาเป็นต้นของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แลเรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย. และ สัทธาเป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพ- พานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 525 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 603
    ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
    ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
    ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
    องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
    ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
    --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
    และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
    สี่ประการคือ สมบูรณ์
    ๑.ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
    ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
    มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีการได้จีวร
    บิณฑบาต
    เสนาสนะ และ
    คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
    อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
    ดังนี้แล.-

    [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
    ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
    --และ
    ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
    ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 603 ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 เนื้อความทั้งหมด :- --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ ๑.ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.- [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น. --และ ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗) http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97 ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259. http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    -ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. !ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชช บริขารเป็นปกติ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 396 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 582
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
    ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ
    เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ

    บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้.

    (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ).

    --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน)
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน)
    ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล

    --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้
    ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว
    ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว
    ดังนี้แล.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 582 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)” ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.- #สัมมาทิฏฐิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177. http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    -ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”ดังนี้. บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 319 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    สัทธรรมลำดับที่ : 561
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561
    ชื่อบทธรรม :- ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    ...
    --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้วย่อม
    มีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ธรรม ๕ ประการเป็นไฉนคือ
    ๑.ความสำคัญว่าไม่เที่ยง ๑
    ๒.ความสำคัญว่า​ เป็นทุกข์ใน​ สิ่งไม่เที่ยง ๑
    ๓.ความสำคัญว่า​ เป็นอนัตตาใน​ สิ่งที่เป็นทุกข์ ๑
    ๔.ความสำคัญ ในการละ ๑
    ๕.ความสำคัญ ในความคลายกำหนัด ๑
    --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้วทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ;
    ภิกษุนี้ เรา :-
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว”
    (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ;
    http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=อุกฺขิตฺตปลิโฆ
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้”
    (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้”
    (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้”
    (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน”
    (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีอวิชชาอันละขาดแล้ว
    เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้ว
    เป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีตัณหาอันละขาดแล้ว
    เป็นตัณหามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้ว
    เป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีอัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว
    เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า
    เป็นอริยะ ผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/76/71, 72.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/76/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๖/๗๑, ๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=561
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง สัทธรรมลำดับที่ : 561 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561 ชื่อบทธรรม :- ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง ... --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้วย่อม มีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์ ธรรม ๕ ประการเป็นไฉนคือ ๑.ความสำคัญว่าไม่เที่ยง ๑ ๒.ความสำคัญว่า​ เป็นทุกข์ใน​ สิ่งไม่เที่ยง ๑ ๓.ความสำคัญว่า​ เป็นอนัตตาใน​ สิ่งที่เป็นทุกข์ ๑ ๔.ความสำคัญ ในการละ ๑ ๕.ความสำคัญ ในความคลายกำหนัด ๑ --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้วทำให้มากแล้ว ย่อมมีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ; ภิกษุนี้ เรา :- +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว” (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ; http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=อุกฺขิตฺตปลิโฆ +--เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้” (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้” (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้” (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน” (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีอวิชชาอันละขาดแล้ว เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้ว เป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีตัณหาอันละขาดแล้ว เป็นตัณหามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้ว เป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีอัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า เป็นอริยะ ผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/76/71, 72. http://etipitaka.com/read/thai/22/76/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๖/๗๑, ๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=561 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    -ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ; ภิกษุนี้ เรา : เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว” (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้” (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้” (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้” (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน” (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี อวิชชาอันละขาดแล้ว เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี ชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้วเป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี ตัณหาอันละขาดแล้ว เป็นตัณหามีราก อันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี โอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้วเป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วนถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี อัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็น อริยะผู้ลดธงปลงภาระปราศจากเครื่องผูกพันแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 589 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    สัทธรรมลำดับที่ : 559
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=559
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    เนื้อความทั้งหมด :-

    --ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งดินโดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งดินโดยความเป็นดินแล้ว,
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งดิน (ปฐวึ น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในดิน (ปฐวิยา น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นดิน (ปฐวิโต น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่าดินของเรา (ปฐวิมฺเมติ น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่งซึ่ง ดิน (ปฐวึ นาภินนฺทติ).
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะ ดินเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=ปฐวึ+นาภินนฺทติ

    (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๒ อย่าง คือ
    น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี
    พรหมอาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู
    อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย
    สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ และสิ่งทั้งปวง,
    แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้
    โดยระเบียบแห่งถ้อยคำอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งดิน
    จนกระทั่งถึงกรณีแห่งนิพพาน
    ซึ่งจะได้บรรยายด้วยข้อความเต็มอีกครั้งหนึ่งดังต่อไปนี้ )

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว
    อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว
    มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของตนอันตามถึงแล้ว
    มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ;
    ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญญา) ซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว.
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในนิพพาน (นิพฺพานสฺมึ น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นนิพพาน (นิพฺพานโต น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่านิพพานของเรา (นิพฺพานมฺเมติ น มญฺญติ) ;
    +--ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่ง ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ นาภินนฺทติ).
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะ #นิพพานเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว.-
    http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=นิพฺพานํ+ปริญฺญาตํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/6/4.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/6/?keywords=%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๖/๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=559
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=559
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน) สัทธรรมลำดับที่ : 559 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=559 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน) เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งดินโดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งดินโดยความเป็นดินแล้ว, +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งดิน (ปฐวึ น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในดิน (ปฐวิยา น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นดิน (ปฐวิโต น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่าดินของเรา (ปฐวิมฺเมติ น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่งซึ่ง ดิน (ปฐวึ นาภินนฺทติ). ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะ ดินเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=ปฐวึ+นาภินนฺทติ (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๒ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหมอาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ และสิ่งทั้งปวง, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ โดยระเบียบแห่งถ้อยคำอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งดิน จนกระทั่งถึงกรณีแห่งนิพพาน ซึ่งจะได้บรรยายด้วยข้อความเต็มอีกครั้งหนึ่งดังต่อไปนี้ ) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ; ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญญา) ซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว. +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในนิพพาน (นิพฺพานสฺมึ น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นนิพพาน (นิพฺพานโต น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่านิพพานของเรา (นิพฺพานมฺเมติ น มญฺญติ) ; +--ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่ง ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ นาภินนฺทติ). ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะ #นิพพานเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว.- http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=นิพฺพานํ+ปริญฺญาตํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/6/4. http://etipitaka.com/read/thai/12/6/?keywords=%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๖/๔. http://etipitaka.com/read/pali/12/6/?keywords=%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=559 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=559 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    -ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ (อุปาทาน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งดินโดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งดินโดยความเป็นดินแล้ว, ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งดิน (ปฐวึ น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในดิน (ปฐวิยา น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นดิน (ปฐวิโต น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่าดินของเรา (ปฐวิมฺเมติ น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่งซึ่ง ดิน (ปฐวึ นาภินนฺทติ). ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะดินเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว. (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๒ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหมอาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ และสิ่งทั้งปวง, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้โดยระเบียบแห่งถ้อยคำอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งดิน จนกระทั่งถึงกรณีแห่งนิพพาน ซึ่งจะได้บรรยายด้วยข้อความเต็มอีกครั้งหนึ่งดังต่อไปนี้ :-) ภิกษุ ท. ! ภิกษุใด เป็นพระอรหันต์ มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ต้องทำสำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ของ ตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้ โดยชอบ ; ภิกษุนั้น ย่อมรู้ยิ่งซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ; ครั้นรู้ยิ่ง (อภิญญา) ซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว. ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ในนิพพาน (นิพฺพานสฺมึ น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย โดยความเป็นนิพพาน (นิพฺพานโต น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่สำคัญมั่นหมาย ว่านิพพานของเรา (นิพฺพานมฺเมติ น มญฺญติ) ; ย่อม ไม่เพลินอย่างยิ่ง ซึ่งนิพพาน (นิพฺพานํ นาภินนฺทติ). ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เธอนั้นกำหนดรู้รอบ (ปริญฺญาต) แล้ว.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 730 มุมมอง 0 รีวิว
  • #รวมคำสอนผิด คน…ธรรม (จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด...)

    1. พระอรหันต์ฆ่าตัวตาย ทำการุณยฆาต
    ที่ถูกคือ>> พระอรหันต์ไม่ฆ่าตัวตาย
    สมดังคำที่พระสารีบุตรกล่าวว่า
    เราไม่ยินดีความตาย
    ไม่ปรารถนาความเป็น
    แต่เรารอเวลาแตกดับ (ปรินิพพาน)
    เหมือนลูกจ้างรอค่าจ้างฉะนั้น.
    และการุณยฆาตไม่ใช่การฆ่าตัวเอง

    2. พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้กุศโลบาย
    ที่ถูกคือ>> พระพุทธเจ้าเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ด้วยอุบายเครื่องแนะนำอย่างวิจิตร มีอาฬวกยักษ์เป็นต้น. แม้คำสอนทั้งหมดก็มีอุบายสอน เช่นอุบายเครื่องสงบจิต.

    3. พุทธคุณในพระเครื่องไม่มี
    ที่ถูกคือ>> พุทธคุณในพระเครื่องมีทั้งมีและไม่มี ที่มีเพราะเหตุปัจจัยถึงพร้อม คือ ผู้สวดพระปริตรมีศีล ไม่มีความโลภอยากได้ลาภสักการะ สวดด้วยความอนุเคราะห์ ด้วยศรัทธา บาลีไม่ผิดเพี้ยน ย่อมมีอานุภาพ/ ส่วนที่ไม่มีอานุภาพก็ตรงกันข้ามกัน (ตัวอย่างตั่ง(ที่นั่ง)ที่พระองคุลิมาลนั่งทำสัจกิริยา ก็มีอานุภาพตลอดกัป)

    4. พระปริตรป้องกันภัยไม่ได้
    พระปริตรขัดกับหลักกรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาล
    ที่ถูกคือ >> กรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาลนั้นหมายความว่า “สุขทุกข์ไม่ได้เกิดจากพระผู้สร้าง เช่นพระอิศวรนิรมิต” / พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธพระผู้สร้าง เพราะศาสนาพุทธเป็นศาสนาแห่งเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆหรือใครบันดาล >> พระปริตรเป็นกุศลกรรม ไม่ใช่ใครบันดาล แต่เกิดจากกรรมในปัจจุบัน ที่บุคคลนั้นได้กล่าวสัจจกิริยา หรือ สวดพระปริตร ซึ่งเป็นกุศลที่ให้ผลในปัจจุบัน ตามหลักแห่งกรรม เป็น ทิฐธรรมเวทนียกรรม
    >> และพระปริตรก็มีเหตุปัจจัยอื่นเป็นตัวแปรที่ให้ผลไม่ได้ทุกคน จึงแทนโรงพยาบาลไม่ได้ แต่ผู้มีศรัทธา ไม่ทำกรรมหนัก ไม่สวดด้วยกิเลส และยังไม่หมดอายุขัย พระปริตรย่อมช่วยได้.

    5. สร้างศาลาใหญ่ไว้ให้หมานอนเกาขี้กาก ที่ถูกคือ ทำบุญในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้มีคุณหาประมาณมิได้ ไม่ควรกำหนดว่าเท่านั้นเท่านี้ มีตัวอย่างพระลกุณฏกะ ในอดีตท่านแนะนำชาวบ้านให้สร้างเจดีย์จากใหญ่ให้เหลือเล็กลง ด้วยวิบากกรรมนั้นท่านจึงเกิดมาตัวเล็กเตี้ยเหมือนสามเณร

    6. บวชพระ, บวชตามประเพณี, บวชหน้าไฟ ไม่เป็นการทดแทนบุญคุณพ่อแม่ ที่ถูกคือ>> การบวชแม้ไม่ใช่การทดแทนคุณพ่อแม่สูงสุด แต่ก็เป็นการทดแทนคุณได้ เพราะการบวชทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิต พ่อแม่ได้ทำบุญใส่บาตรพระลูกชายเป็นต้น การทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิตได้ เป็นการทดแทนคุณอย่างหนึ่ง

    7. สัมภเวสี คือช่วงรออัตภาพการเกิด คือเวลาที่กายแตกตายแต่สี่ขันธ์ยังยึดรูปอยู่ยังรู้อยู่เรียกช่วงนี้ว่าสัมภเวสี ที่ถูกคือ >> สัมภเวสี คือ ผู้ที่แสวงหาที่เกิด, ผู้ที่ยังต้องเกิด คือ พระเสขะและปุถุชน ยกเว้นพระอรหันต์ เพราะยังละภวสังโยชน์ยังไม่ได้.
    สัมภเวสี ตามนัยแห่งกำเนิด 4 คือ
    1. เกิดในไข่ (ขณะอยู่ในไข่ เรียกสัมภเวสี ออกจากไข่ได้แล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    2. เกิดในครรภ์ (ขณะอยู่ในรก เรียกสัมภเวสี คลอดออกมาแล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    3. เกิดในเถ้าไคล และ 4. เกิดแบบผุดเกิด
    (ขณะแห่งปฐมจิต เรียกสัมภเวสี
    ขณะแห่งจิตดวงที่สอง ชื่อว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    มาใน : อรรถกถาเมตตสูตร

    8. อมตะธาตุยึดขันธ์ห้า
    ที่ถูกคือ>> อมตะธาตุยึดขันธ์๕ไม่ได้
    เพราะอมตะธาตุคือนิพพาน

    9. โสดาปัตติมรรค ละสังโยชน์ข้อแรก
    โสดาปัตติผล ละสังโยชน์อีกสองข้อ
    ที่ถูกคือ>> โสดาปัตติมัคคจิต เป็นจิตที่ประหาณจิตโลภที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉาสัมปยุตต ๑ ดวง อย่างเด็ดขาด เป็นสมุจเฉทประหาณ รวมประหาณ อกุศลจิต ๕ ดวง เด็ดขาด /โสดาปัตติผลจิต เป็นจิตที่เกิดขึ้นเพื่อเสวยสุขจากการที่โสดาปัตติมรรคญาณได้ทำการประหาณแล้ว

    10. ลอยกระทง ไปขอขมาทำไมแม่น้ำ ไปทะเลาะกับแม่น้ำเหรอจึงต้องขอขมา / วันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน
    ที่ถูกคือ>> การรู้คุณแม่น้ำถือว่าเป็นผู้รู้คุณในสรรพสิ่ง สมดังคำที่พระองค์ตรัสว่า "บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม" ดังนั้นสิ่งที่มีอุปการะแก่ชีวิตเราล้วนมีคุณเพียงแค่เราจะเห็นคุณนั้นหรือไม่ ส่วนน้ำนั้นคนโบราณเห็นว่าใช้น้ำมาทั้งปี ทำไร่ ทำนา ใช้ชำระกายทั้งดื่มกิน เขาก็ระลึกรู้คุณเป็นพิเศษ ก็ถือได้ว่าเขาเป็นคนดีเลยทีเดียว
    / และวันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน ไม่ควรกล่าวอ้างอย่างนั้น เพราะดอกโกมุทบานเป็นเพียงคำขยายของพระจันทร์ เพราะวันนั้นเป็นวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูฝน ดอกโกมุทบานก็บานทั้งฤดูอยู่แล้ว ดอกโกมุทบานเป็นเพียงผู้ร่วมงาน ประธานคือพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึงไม่ควรเอาแขกร่วมงานมาตั้งชื้อวัน

    11. ใครแย้งว่าสอนผิด จะอ้างว่าเขาอิจฉาริษยา
    ที่ถูกคือ>> ผู้ชี้โทษ ไม่ใช่เพราะอิจฉาริษยา แต่เป็นการติเตียนตามธรรม เพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาไม่ให้ใครมาบิดเบือน / ทราบว่าที่คุณพูดเอามาจากสักกปัญหาสูตร
    ท้าวสักกะได้ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “ทำไมสัตว์ทั้งหลายมีความปรารถนาไม่มีเวร ไม่ถูกเบียดเบียนฯลฯ แต่เพราะอะไรพวกเขาจึงยังคงมีเวร ถูกเบียดเบียนอยู่”
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ”เพราะมีอิสสา(ความริษยา) และมัจฉริยะ(ความตระหนี่) สัตว์ทั้งหลายจึงจองเวรกัน เบียดเบียนกัน ซึ่งท่านใช้สูตรนี้มาสอนลูกศิษย์ และลูกศิษย์ก็เที่ยวไปว่าคนเห็นต่างว่าอิจฉาริษยาอาจารย์เขา /ทำไมคุณไม่ใช้สูตรผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์มาสอน.

    ที่สอนถูกก็มี ผิดก็ควรแก้ไข
    หวังว่าท่านจะระวังในการสอนมากขึ้น

    #แค่ผ่านตา แต่ก็อดไม่ได้ที่จะต้องชี้แจง
    >> ผู้เขียน : โลก กะ ธรรม กับม่อน

    Credit : เปรมวดี ก๋งชิน
    #รวมคำสอนผิด คน…ธรรม (จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด...) 1. พระอรหันต์ฆ่าตัวตาย ทำการุณยฆาต❌ ที่ถูกคือ>> พระอรหันต์ไม่ฆ่าตัวตาย สมดังคำที่พระสารีบุตรกล่าวว่า เราไม่ยินดีความตาย ไม่ปรารถนาความเป็น แต่เรารอเวลาแตกดับ (ปรินิพพาน) เหมือนลูกจ้างรอค่าจ้างฉะนั้น. และการุณยฆาตไม่ใช่การฆ่าตัวเอง 2. พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้กุศโลบาย❌ ที่ถูกคือ>> พระพุทธเจ้าเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ด้วยอุบายเครื่องแนะนำอย่างวิจิตร มีอาฬวกยักษ์เป็นต้น. แม้คำสอนทั้งหมดก็มีอุบายสอน เช่นอุบายเครื่องสงบจิต. 3. พุทธคุณในพระเครื่องไม่มี❌ ที่ถูกคือ>> พุทธคุณในพระเครื่องมีทั้งมีและไม่มี ที่มีเพราะเหตุปัจจัยถึงพร้อม คือ ผู้สวดพระปริตรมีศีล ไม่มีความโลภอยากได้ลาภสักการะ สวดด้วยความอนุเคราะห์ ด้วยศรัทธา บาลีไม่ผิดเพี้ยน ย่อมมีอานุภาพ/ ส่วนที่ไม่มีอานุภาพก็ตรงกันข้ามกัน (ตัวอย่างตั่ง(ที่นั่ง)ที่พระองคุลิมาลนั่งทำสัจกิริยา ก็มีอานุภาพตลอดกัป) 4. พระปริตรป้องกันภัยไม่ได้ พระปริตรขัดกับหลักกรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาล❌ ที่ถูกคือ >> กรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาลนั้นหมายความว่า “สุขทุกข์ไม่ได้เกิดจากพระผู้สร้าง เช่นพระอิศวรนิรมิต” / พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธพระผู้สร้าง เพราะศาสนาพุทธเป็นศาสนาแห่งเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆหรือใครบันดาล >> พระปริตรเป็นกุศลกรรม ไม่ใช่ใครบันดาล แต่เกิดจากกรรมในปัจจุบัน ที่บุคคลนั้นได้กล่าวสัจจกิริยา หรือ สวดพระปริตร ซึ่งเป็นกุศลที่ให้ผลในปัจจุบัน ตามหลักแห่งกรรม เป็น ทิฐธรรมเวทนียกรรม >> และพระปริตรก็มีเหตุปัจจัยอื่นเป็นตัวแปรที่ให้ผลไม่ได้ทุกคน จึงแทนโรงพยาบาลไม่ได้ แต่ผู้มีศรัทธา ไม่ทำกรรมหนัก ไม่สวดด้วยกิเลส และยังไม่หมดอายุขัย พระปริตรย่อมช่วยได้. 5. สร้างศาลาใหญ่ไว้ให้หมานอนเกาขี้กาก❌ ที่ถูกคือ ทำบุญในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้มีคุณหาประมาณมิได้ ไม่ควรกำหนดว่าเท่านั้นเท่านี้ มีตัวอย่างพระลกุณฏกะ ในอดีตท่านแนะนำชาวบ้านให้สร้างเจดีย์จากใหญ่ให้เหลือเล็กลง ด้วยวิบากกรรมนั้นท่านจึงเกิดมาตัวเล็กเตี้ยเหมือนสามเณร 6. บวชพระ, บวชตามประเพณี, บวชหน้าไฟ ไม่เป็นการทดแทนบุญคุณพ่อแม่❌ ที่ถูกคือ>> การบวชแม้ไม่ใช่การทดแทนคุณพ่อแม่สูงสุด แต่ก็เป็นการทดแทนคุณได้ เพราะการบวชทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิต พ่อแม่ได้ทำบุญใส่บาตรพระลูกชายเป็นต้น การทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิตได้ เป็นการทดแทนคุณอย่างหนึ่ง 7. สัมภเวสี คือช่วงรออัตภาพการเกิด คือเวลาที่กายแตกตายแต่สี่ขันธ์ยังยึดรูปอยู่ยังรู้อยู่เรียกช่วงนี้ว่าสัมภเวสี❌ ที่ถูกคือ >> สัมภเวสี คือ ผู้ที่แสวงหาที่เกิด, ผู้ที่ยังต้องเกิด คือ พระเสขะและปุถุชน ยกเว้นพระอรหันต์ เพราะยังละภวสังโยชน์ยังไม่ได้. 👉 สัมภเวสี ตามนัยแห่งกำเนิด 4 คือ 1. เกิดในไข่ (ขณะอยู่ในไข่ เรียกสัมภเวสี ออกจากไข่ได้แล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว) 2. เกิดในครรภ์ (ขณะอยู่ในรก เรียกสัมภเวสี คลอดออกมาแล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว) 3. เกิดในเถ้าไคล และ 4. เกิดแบบผุดเกิด (ขณะแห่งปฐมจิต เรียกสัมภเวสี ขณะแห่งจิตดวงที่สอง ชื่อว่าภูต คือเกิดแล้ว) มาใน : อรรถกถาเมตตสูตร 8. อมตะธาตุยึดขันธ์ห้า❌ ที่ถูกคือ>> อมตะธาตุยึดขันธ์๕ไม่ได้ เพราะอมตะธาตุคือนิพพาน 9. โสดาปัตติมรรค ละสังโยชน์ข้อแรก โสดาปัตติผล ละสังโยชน์อีกสองข้อ❌ ที่ถูกคือ>> โสดาปัตติมัคคจิต เป็นจิตที่ประหาณจิตโลภที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉาสัมปยุตต ๑ ดวง อย่างเด็ดขาด เป็นสมุจเฉทประหาณ รวมประหาณ อกุศลจิต ๕ ดวง เด็ดขาด /โสดาปัตติผลจิต เป็นจิตที่เกิดขึ้นเพื่อเสวยสุขจากการที่โสดาปัตติมรรคญาณได้ทำการประหาณแล้ว 10. ลอยกระทง ไปขอขมาทำไมแม่น้ำ ไปทะเลาะกับแม่น้ำเหรอจึงต้องขอขมา / วันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌ ที่ถูกคือ>> การรู้คุณแม่น้ำถือว่าเป็นผู้รู้คุณในสรรพสิ่ง สมดังคำที่พระองค์ตรัสว่า "บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม" ดังนั้นสิ่งที่มีอุปการะแก่ชีวิตเราล้วนมีคุณเพียงแค่เราจะเห็นคุณนั้นหรือไม่ ส่วนน้ำนั้นคนโบราณเห็นว่าใช้น้ำมาทั้งปี ทำไร่ ทำนา ใช้ชำระกายทั้งดื่มกิน เขาก็ระลึกรู้คุณเป็นพิเศษ ก็ถือได้ว่าเขาเป็นคนดีเลยทีเดียว / และวันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌ ไม่ควรกล่าวอ้างอย่างนั้น เพราะดอกโกมุทบานเป็นเพียงคำขยายของพระจันทร์ เพราะวันนั้นเป็นวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูฝน ดอกโกมุทบานก็บานทั้งฤดูอยู่แล้ว ดอกโกมุทบานเป็นเพียงผู้ร่วมงาน ประธานคือพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึงไม่ควรเอาแขกร่วมงานมาตั้งชื้อวัน 11. ใครแย้งว่าสอนผิด จะอ้างว่าเขาอิจฉาริษยา❌ ที่ถูกคือ>> ผู้ชี้โทษ ไม่ใช่เพราะอิจฉาริษยา แต่เป็นการติเตียนตามธรรม เพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาไม่ให้ใครมาบิดเบือน / ทราบว่าที่คุณพูดเอามาจากสักกปัญหาสูตร ท้าวสักกะได้ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “ทำไมสัตว์ทั้งหลายมีความปรารถนาไม่มีเวร ไม่ถูกเบียดเบียนฯลฯ แต่เพราะอะไรพวกเขาจึงยังคงมีเวร ถูกเบียดเบียนอยู่” พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ”เพราะมีอิสสา(ความริษยา) และมัจฉริยะ(ความตระหนี่) สัตว์ทั้งหลายจึงจองเวรกัน เบียดเบียนกัน ซึ่งท่านใช้สูตรนี้มาสอนลูกศิษย์ และลูกศิษย์ก็เที่ยวไปว่าคนเห็นต่างว่าอิจฉาริษยาอาจารย์เขา /ทำไมคุณไม่ใช้สูตรผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์มาสอน. ✍️ที่สอนถูกก็มี ผิดก็ควรแก้ไข หวังว่าท่านจะระวังในการสอนมากขึ้น #แค่ผ่านตา แต่ก็อดไม่ได้ที่จะต้องชี้แจง >> ผู้เขียน : โลก กะ ธรรม กับม่อน Credit : เปรมวดี ก๋งชิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1368 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตตวิเวก ความสงัดใจ ได้แก่การทำจิตให้สงบผ่องใส สงัดจากนิวรณ์ หมายเอาจิตแห่งผู้มีสมาธิและสติ อุปธิวิเวก ความสงัดจากกิเลส ได้แก่นิพพาน คือการระงับอุปธิทั้งปวง (หมายเอาผู้ฝึกฝนทางปัญญา จนเอาชนะกิเลส อนุสัยและสังโยชน์ลงได้
    จิตตวิเวก ความสงัดใจ ได้แก่การทำจิตให้สงบผ่องใส สงัดจากนิวรณ์ หมายเอาจิตแห่งผู้มีสมาธิและสติ อุปธิวิเวก ความสงัดจากกิเลส ได้แก่นิพพาน คือการระงับอุปธิทั้งปวง (หมายเอาผู้ฝึกฝนทางปัญญา จนเอาชนะกิเลส อนุสัยและสังโยชน์ลงได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข้าแต่พุทธเจ้าข้าพเจ้านอบน้อมต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอบน้อมและเชื่อฟังคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและปฏิบัติตามศีล 5 ที่พระองค์ได้บัญญัติไว้สำหรับฆราวาสเพื่อละสังโยชน์ 3 ให้สิ้นเพื่อให้เกิดโสดาปฏิผลปิดประตูอบายภูมิให้สิ้นเพื่อไม่ต้องเกิดในภพกำเนิดสัตว์นรก เปรต อสูรกาย สัตว์เดรัจฉาน
    ข้าแต่พุทธเจ้าข้าพเจ้านอบน้อมต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอบน้อมและเชื่อฟังคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและปฏิบัติตามศีล 5 ที่พระองค์ได้บัญญัติไว้สำหรับฆราวาสเพื่อละสังโยชน์ 3 ให้สิ้นเพื่อให้เกิดโสดาปฏิผลปิดประตูอบายภูมิให้สิ้นเพื่อไม่ต้องเกิดในภพกำเนิดสัตว์นรก เปรต อสูรกาย สัตว์เดรัจฉาน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 210 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts