อัปเดตล่าสุด
- อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค
สัทธรรมลำดับที่ : 969
ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ
ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง.
http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย
--ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
(มิจฉาปัญญา)มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
(มิจฉาสีลา)มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
(มิจฉาสมาธิ)มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
มิจฉาญาณะ
มิจฉาวิมุตติ.
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค.
--ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
(สัมมาปัญญา)สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
(สัมมาสีลา)สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
(สัมมาสมาธิ)สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
สัมมาญาณะ
สัมมาวิมุตติ.
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.-
(ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง
สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค.
ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก
คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า
สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี,
เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม,
อริยมรรค - อนริยมรรค,
กุศลธรรม - อกุศลธรรม,
ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์,
เป็นธรรม - เป็นอธรรม,
ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ,
เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ,
เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา,
ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส,
มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร,
มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน,
เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ,
เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ,
ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น,
ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ,
ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ,
ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก,
ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง,
ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง,
ดังนี้ก็มี.
--- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔
http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 - http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146.
http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖.
http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน..
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 969 ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 เนื้อความทั้งหมด :- --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (มิจฉาปัญญา)มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ (มิจฉาสีลา)มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ (มิจฉาสมาธิ)มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (สัมมาปัญญา)สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ (สัมมาสีลา)สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ (สัมมาสมาธิ)สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.- (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔ http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 - http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146. http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค-[สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่าสัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑) ตรัสเรียกว่า สัมมาปฏิบัติ ก็มี. อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑) ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียกปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑).เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง]. สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อนริยมรรค. ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อริยมรรค.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิวกรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น! - 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว
เรื่องราวเพิ่มเติม