อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 603
ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
เนื้อความทั้งหมด :-
--ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
--ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
--ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
สี่ประการคือ สมบูรณ์
๑.ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้
เป็นผู้มีการได้จีวร
บิณฑบาต
เสนาสนะ และ
คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
ดังนี้แล.-
[ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
--และ
ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
].
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 603
ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
เนื้อความทั้งหมด :-
--ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
--ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
--ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
สี่ประการคือ สมบูรณ์
๑.ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้
เป็นผู้มีการได้จีวร
บิณฑบาต
เสนาสนะ และ
คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
ดังนี้แล.-
[ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
--และ
ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
].
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 603
ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
เนื้อความทั้งหมด :-
--ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
--ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
--ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
สี่ประการคือ สมบูรณ์
๑.ด้วยวรรณะ
๒.ด้วยพละ
๓.ด้วยชวะ
๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
ภิกษุในกรณีนี้
เป็นผู้มีการได้จีวร
บิณฑบาต
เสนาสนะ และ
คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
ดังนี้แล.-
[ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
--และ
ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
].
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
0 Comments
0 Shares
34 Views
0 Reviews