• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข
    สัทธรรมลำดับที่ : 679
    ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=679
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข
    --อานนท์ ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ ห้าอย่างอย่างไรเล่า ?
    ห้าอย่างคือ รูปอันพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
    เสียงอันพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ
    กลิ่นอันพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ
    รสอันพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา
    โผฏฐัพพะอันพึงรู้แจ้งด้วยกาย
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด :
    เหล่านี้แล ชื่อว่า #กามคุณ ๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/96/?keywords=กามคุณา
    --อานนท์ ! สุขโสมนัสอันใด อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้ เกิดขึ้น ;
    สุขโสมนัสอันนั้น เรียกว่า #กามสุข.-

    (ความชุ่มอยู่ในกามสุข เรียกว่ากามสุขัลลิกะ,
    การประกอบตนอยู่ในกามสุขัลลิกะ เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ;
    จัดเป็นอันตะฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นข้าศึกแก่มัชฌิมาปฏิปทา
    ) .

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/77/100.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๙๖/๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/96/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=679
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=679
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข สัทธรรมลำดับที่ : 679 ชื่อบทธรรม :- สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=679 เนื้อความทั้งหมด :- --สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข --อานนท์ ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ ห้าอย่างอย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปอันพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงอันพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ กลิ่นอันพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ รสอันพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา โผฏฐัพพะอันพึงรู้แจ้งด้วยกาย อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล ชื่อว่า #กามคุณ ๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/96/?keywords=กามคุณา --อานนท์ ! สุขโสมนัสอันใด อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้ เกิดขึ้น ; สุขโสมนัสอันนั้น เรียกว่า #กามสุข.- (ความชุ่มอยู่ในกามสุข เรียกว่ากามสุขัลลิกะ, การประกอบตนอยู่ในกามสุขัลลิกะ เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ; จัดเป็นอันตะฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นข้าศึกแก่มัชฌิมาปฏิปทา ) . #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/77/100. http://etipitaka.com/read/thai/13/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๙๖/๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/96/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=679 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=679 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข
    -(การปฏิบัติ ๗ ประการนี้ เรียกโดยทั่วไปว่า เมถุนสังโยค แต่เพราะมีลักษณะเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จึงนำมาใส่ไว้ในหมวดนี้). สิ่งที่เรียกว่ากามคุณและกามสุข อานนท์ ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ ห้าอย่างอย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปอันพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงอันพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นอันพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสอันพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะอันพึงรู้แจ้งด้วยกาย อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล ชื่อว่า กามคุณ ๕. อานนท์ ! สุขโสมนัสอันใด อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้ เกิดขึ้น ; สุขโสมนัสอันนั้น เรียกว่า กามสุข.
    0 Comments 0 Shares 95 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
    สัทธรรมลำดับที่ : 677
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    [ตอนอุทเทส]
    --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
    การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
    ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
    ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
    ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
    ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
    ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
    ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
    นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
    (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
    [ตอนนิทเทส]
    --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
    เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
    ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
    อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
    “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
    เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
    และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
    ดังนี้,
    คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
    --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
    “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
    ดังนี้
    --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
    อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
    ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
    ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
    ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
    เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .

    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94

    --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
    อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
    นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
    มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​.
    --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
    “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
    เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
    +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
    เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
    ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
    ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
    ....ฯลฯ....
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
    +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-

    (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
    แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
    ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
    ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
    จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา. สัทธรรมลำดับที่ : 677 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้ --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.) --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​. --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์... ....ฯลฯ.... +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ; ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ; ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.- (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597. http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    -อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และการกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใด. อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลี ติก.อํ.) ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์......ฯลฯ.... (รายละเอียดต่อไปจากนี้ มีอีกมาก ดูจากข้อความในหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค” ที่หน้า ๕๖-๕๘ จนถึงคำว่า ....... เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการลงสู่แม่น้ำเวลาเย็นเป็นครั้งที่สามบ้าง, เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการทำ (กิเลสในกายให้เหือดแห้ง ด้วยวิธีต่างๆ เช่นนี้ ด้วยอาการนี้อยู่). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.
    0 Comments 0 Shares 169 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    สัทธรรมลำดับที่ : 678
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    ๑--พราหมณ์ ! ในกรณีนี้
    ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=พฺรหฺมจารี+ปฏิชานาตีติ
    เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล
    แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม.
    เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๒--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และ
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม.
    เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ...
    ๓--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม.
    แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๔--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝาก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๕--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม
    แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๖--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและ
    ทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม
    แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๗--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอก กับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการสบตาต่อตา กับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการฟังเสียง ของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และ
    ทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึกปลื้มใจด้วยก็ตาม
    แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า
    “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง”
    ดังนี้.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/58/?keywords=เมถุนสญฺโญ

    (การปฏิบัติ ๗ ประการนี้ เรียกโดยทั่วไปว่า เมถุนสังโยค
    แต่เพราะมีลักษณะเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จึงนำมาใส่ไว้ในหมวดนี้
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/50-51/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๕๕-๕๖/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=678
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค สัทธรรมลำดับที่ : 678 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค ๑--พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=พฺรหฺมจารี+ปฏิชานาตีติ เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๒--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และ ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๓--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๔--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝาก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๕--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๖--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและ ทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๗--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอก กับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตา กับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียง ของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และ ทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึกปลื้มใจด้วยก็ตาม แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง” ดังนี้. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.- http://etipitaka.com/read/pali/23/58/?keywords=เมถุนสญฺโญ (การปฏิบัติ ๗ ประการนี้ เรียกโดยทั่วไปว่า เมถุนสังโยค แต่เพราะมีลักษณะเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จึงนำมาใส่ไว้ในหมวดนี้ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/50-51/47. http://etipitaka.com/read/thai/23/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๕๕-๕๖/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=678 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    -(อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา). ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝา ก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึก ปลื้มใจด้วยก็ตาม แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง” ดังนี้. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ...
    0 Comments 0 Shares 116 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 676
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง
    ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ
    ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ
    ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค

    #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    สองอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ
    สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง),
    สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง)
    สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง),
    สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง)
    สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 676 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง), สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง), สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    -หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และการประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง) สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง). ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร-
    0 Comments 0 Shares 211 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 662
    ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น

    --ก. สุขที่ควรกลัว

    --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ;
    ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.;
    ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.;
    ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.;
    ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย
    อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด.
    --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง.
    --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น
    นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข,
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว.

    --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง
    +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข.
    เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว.

    --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
    (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ?
    วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่.
    วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ?
    ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.
    อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ?
    อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่,
    อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่
    ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว.

    --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน

    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    --อุทายิ !
    เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย
    เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน
    เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์
    เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น.
    --อุทายิ !
    เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย
    เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ
    โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ)
    เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย.
    ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ?
    --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น.
    --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล
    เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
    --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ?
    “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46
    ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าการละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น สัทธรรมลำดับที่ : 662 ชื่อบทธรรม :- การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 เนื้อความทั้งหมด :- --การละความผูกพันในความสุข ทุกชั้น --ก. สุขที่ควรกลัว --อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑. รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; ๒. เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู...ฯลฯ.; ๓. กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก...ฯลฯ.; ๔. รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น...ฯลฯ.; ๕. โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. --อุทายิ ! เหล่านี้แล $กามคุณห้าอย่าง. --อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า #กามสุข มิฬ๎หสุข ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. --ข. สุขที่ไม่ควรกลัว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ +--สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; +--เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง +--เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; +--เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง $จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า #เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. --ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม (สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น.)​เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวใน $ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &จตุตถฌาน นี้แลว่า #ไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. --ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง $ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. --อุทายิ ! เรากล่าว &ปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ปฐมฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง $ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ปฐมฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง ทุติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง $ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &ทุติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้ &ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง ตติยฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &ตติยฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง $อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่ง &จตุตถฌานนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากาสานัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง $วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากาสานัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง วิญญาณัญจายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง $อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &วิญญาณัญจายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง อากิญจัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &อากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง &อากิญจัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? --อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง #สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. --อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่ง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ. --อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/189-192/182-185. http://etipitaka.com/read/thai/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๘๙-๑๙๒/๑๘๒-๑๘๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/189/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=662 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46&id=662 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=46 ลำดับสาธยายธรรม : 46 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_46.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ :
    -(นี้แสดงว่า การอาศัยทางอย่างหนึ่งละทางอย่างหนึ่งเสียนั้น เป็นนิโรธอย่างหนึ่ง ๆ ซึ่งควรจะมองให้เห็นว่าเป็นนิโรธ ๗ ขั้นตอน ดังนี้คือ : อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเคหสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโสมนัส ละเนกขัมมสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตโทมนัส ละเคหสิตโทมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเคหสิตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย เนกขัมมสิตอุเบกขา ละเนกขัมมสิตโสมนัส คู่หนึ่ง ; อาศัย เอกัตตอุเบกขา ละนานัตตอุเบกขา คู่หนึ่ง ; อาศัย อตัมมยตา ละเอกัตตอุเบกขา (คู่หนึ่ง). การละความผูกพันในความสุขทุกชั้น ก. สุขที่ควรกลัว อุทายิ ! กามคุณ ห้าอย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยตา อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ; เสียงทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยหู....; กลิ่นทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยจมูก....; รสทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยลิ้น....; โผฏฐัพพะทั้งหลายที่จะพึงรู้สึกได้ด้วยผิวกาย อันเป็นโผฏฐัพพะที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด. อุทายิ ! เหล่านี้แล กามคุณห้าอย่าง. อุทายิ ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณห้าเหล่านี้เกิดขึ้น นี้เรากล่าวว่า กามสุข มิฬ๎หสุข๑ ปุถุชนสุข อนริยสุข, เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ไม่ควรเสพ ไม่ควรมี ไม่ควรทำให้มาก และควรกลัว. ข. สุขที่ไม่ควรกลัว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้เรากล่าวว่า เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุขสัมโพธิสุข. เรากล่าวว่า สุขนั้นบุคคล ควรเสพ ควรเจริญ ควรทำให้มาก และไม่ควรกลัว. ค. สุขที่ยังหวั่นไหวและไม่หวั่นไหว อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ๑. สุขไม่สะอาด มีสุขเกิดทางท่อปัสสาวะเป็นต้น. เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น ? วิตกวิจารในปฐมฌานนั้นนั่นเอง ที่ยังไม่ดับ มีอยู่. วิตกวิจารนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว ในทุติยฌานนั้น ? ปีติสุขในทุติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, ปีติสุขนั้นนั่นแหละเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนี้แล ว่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. อะไรเล่าอยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น ? อุเบกขาสุขในตติยฌานนั้นนั่นเองที่ยังไม่ดับ มีอยู่, อุเบกขาสุขนั้นนั่นแหละ เป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหวในตติยฌานนั้น. อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวจตุตถฌานนี้แล ว่าไม่อยู่ในวิสัยแห่งความหวั่นไหว. ง. การละความผูกพันในรูปฌานและอรูปฌาน อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. อุทายิ ! เรากล่าวปฐมฌานนี้แล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งปฐมฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. นี้แหละ เป็นการก้าวล่วงซึ่งปฐมฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ทุติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งทุติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งทุติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้ตติยฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งตติยฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งตติยฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้จตุตถฌานนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งรูปสัญญาทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญาทั้งหลาย เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาทั้งหลาย เป็นผู้เข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงซึ่งจตุตถฌานนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากาสานัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากาสานัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้วิญญาณัญจายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเป็นผู้เข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งวิญญาณัญจายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้อากิญจัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งอากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งอากิญจัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! เรากล่าวแม้เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นแล ว่าสิ่งไม่ควร (จะพอใจ) เรากล่าวว่าจงละเสีย เรากล่าวว่าจงก้าวล่วงเสีย. ก็ อะไรเล่า เป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ? อุทายิ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. นี้แหละเป็นการก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น. อุทายิ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล เรากล่าวการละแม้ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ. อุทายิ ! เธอเห็นบ้างไหม ซึ่งสังโยชน์น้อยใหญ่นั้น ที่เราไม่กล่าวว่าต้องละ ? “ข้อนั้น ไม่มีเลย พระเจ้าข้า !”-
    0 Comments 0 Shares 209 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 658
    ชื่อบทธรรม :- อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้ เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่
    ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย
    ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ;
    ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่.
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ;

    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่,
    ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย
    ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ;
    +--อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว
    คือ เวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่.
    +--อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่.
    ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ปฏิฆานุสโย
    ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา.
    +--อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม
    รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข.
    เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่,
    ราคานุสัย อันใด อันเกิดจากสุขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ราคานุสโย
    ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น.
    +--อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา
    ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้
    ซึ่งรสอร่อย
    ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง.
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น
    ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้
    ซึ่งรสอร่อย
    ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่,
    อวิชชานุสัย อันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=อวิชฺชานุสโย
    อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น.
    +--อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น.

    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า
    เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ;
    เรากล่าวว่า #เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/223/370.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/223/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๕๗/๓๗๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=658
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45
    ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 658 ชื่อบทธรรม :- อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658 เนื้อความทั้งหมด :- --อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้ เมื่อเสวยทุกขเวทนา --ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ; ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่, ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ; +--อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่. +--อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่. ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ปฏิฆานุสโย ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา. +--อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข. เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่, ราคานุสัย อันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ราคานุสโย ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น. +--อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง. +--เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่, อวิชชานุสัย อันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=อวิชฺชานุสโย อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น. +--อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ; เรากล่าวว่า #เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/223/370. http://etipitaka.com/read/thai/18/223/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๕๗/๓๗๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=658 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45 ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    -อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ; ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือเวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่, ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ; อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือเวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่. อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่. ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา, ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา. อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข. เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่, ราคานุสัยอันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น. อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่, อวิชชานุสัยอันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา, อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น. อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ; เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 177 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาไวพจน์(คำแทนชื่อ)​ของกาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 270
    ชื่อบทธรรม : -ไวพจน์ของกาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไวพจน์ของกาม
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากภัย
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากโรค
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากหัวฝี
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากลูกศร
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเครื่องข้อง
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเปือกตม
    ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากครรภ์
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย,
    ดังนี้.
    ภัย ทุกข์ โรค หัวฝี ลูกศร ความข้อง เปือกตม และ การอยู่ในครรภ์
    นี้เรียกว่า กามที่ปุถุชนข้องอยู่แล้ว
    อันกามสุขครอบงำแล้ว #ย่อมไปเพื่อกำเนิดอีก ก็เพราะ
    ภิกษุมีความเพียร ยินดีด้วยสัมปชัญญะ (สมฺปชญฺญํ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/23/299/?keywords=สมฺปชญฺญํ
    ภิกษุเห็นปานนี้นั้น ก้าวล่วงทางหมุนเวียนที่ข้ามได้ยากนี้ได้แล้ว
    ย่อมพิจารณา เห็นหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงชาติและชรา ดิ้นรนอยู่
    ดังนี้แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/227/146.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/227/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๒๙๘/๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/298/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=270
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาไวพจน์(คำแทนชื่อ)​ของกาม สัทธรรมลำดับที่ : 270 ชื่อบทธรรม : -ไวพจน์ของกาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270 เนื้อความทั้งหมด :- --ไวพจน์ของกาม --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากภัย ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากโรค ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากหัวฝี ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากลูกศร ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเครื่องข้อง ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเปือกตม ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากครรภ์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย, ดังนี้. ภัย ทุกข์ โรค หัวฝี ลูกศร ความข้อง เปือกตม และ การอยู่ในครรภ์ นี้เรียกว่า กามที่ปุถุชนข้องอยู่แล้ว อันกามสุขครอบงำแล้ว #ย่อมไปเพื่อกำเนิดอีก ก็เพราะ ภิกษุมีความเพียร ยินดีด้วยสัมปชัญญะ (สมฺปชญฺญํ)​ http://etipitaka.com/read/pali/23/299/?keywords=สมฺปชญฺญํ ภิกษุเห็นปานนี้นั้น ก้าวล่วงทางหมุนเวียนที่ข้ามได้ยากนี้ได้แล้ว ย่อมพิจารณา เห็นหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงชาติและชรา ดิ้นรนอยู่ ดังนี้แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/227/146. http://etipitaka.com/read/thai/23/227/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๒๙๘/๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/23/298/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=270 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไวพจน์ของกาม
    -ไวพจน์ของกาม ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากภัย ทั้งที่ เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากโรค ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากหัวฝี ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกาม ราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากลูกศร ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้วด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากเครื่องข้อง ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลาย ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้วด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากเปือกตม ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากครรภ์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 312 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นเครื่องผูก
    สัทธรรมลำดับที่ : 252
    ชื่อบทธรรม :- กามเป็นเครื่องผูก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเป็นเครื่องผูก
    --เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม,
    ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=กามสุขํ
    +--ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว
    +--ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และ
    +--ความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย,
    ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น
    ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้
    #ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/98/353.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/98/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๑๒/๓๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=252
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นเครื่องผูก สัทธรรมลำดับที่ : 252 ชื่อบทธรรม :- กามเป็นเครื่องผูก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเป็นเครื่องผูก --เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม, ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย. http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=กามสุขํ +--ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว +--ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และ +--ความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย, ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้ #ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/98/353. http://etipitaka.com/read/thai/15/98/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๑๒/๓๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/112/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=252 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=252 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเป็นเครื่องผูก
    -กามเป็นเครื่องผูก เครื่องผูกอันใด เกิดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้ และเกิดแต่หญ้าปัพพชะก็ตาม, ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่กล่าวเครื่องผูกอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงเลย. ส่วนความยินดีของบุคคลผู้ยินดีแล้ว ในตุ้มหูแก้วมณีเป็นต้นด้วย และความเยื่อใยในบุตรและภรรยาด้วย, ผู้มีปัญญาทั้งหลายกล่าวความยินดีและเยื่อใยอันนั้น ว่าเป็นเครื่องผูกอันมั่นคงที่จะฉุดสัตว์ลงสู่ที่ต่ำได้โดยแท้ ซึ่งผูกไว้หย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก แล.
    0 Comments 0 Shares 205 Views 0 Reviews
  • มารบันเทพ

    พญามาร เป็นเทพยิ่งใหญ่ระดับสูงสุดแห่งชั้นกามาวจรหรือ เทวดาชั้นที่ 5 ชื่อว่า “ปรนิมมิตวสวัตดี” ท่านชื่อว่า “วัสสวัสดี เทวปุตตมาร” คนไทยมักเรียกว่าพญามาร ท่านเป็นมารที่หล่อขั้น เทพแน่นอน เพราะท่านเป็นทั้งเทพทั้งมาร คำว่า “มาร” แปลว่า นิมิต แห่งความขัดข้อง คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งคนไว้ มิให้พ้นจาก อ้านาจครอบงำาของตน ให้ห่วงหน้าพะวงหลังติดอยู่ในกามสุข ไม่อาจเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ได้

    ซึ่งมารตนนี้เคยมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายครั้ง พระองค์ได้เล่าให้ พระอานนท์ฟัง ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค สรุปว่า

    สมัยที่พระพุทธเจ้ายังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ กำลังหนีออกจาก เมืองกบิลพัสดุเพื่อบรรพชา มาเชื่อว่าวัสสวัดดีมาร ได้เข้ามาห้ามมิให้ ออกมหาภิเนษกรมณ์ แต่พระโพธิสัตว์ได้ปฏิเสธและขับไล่มารไปเสีย

    ต่อมา เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งบนโพธิบัลลังก์ ก่อนจะตรัสรู้ พญามารได้นำเสนามารไปรบกวน แต่ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่ทศบารมี ของพระโพธิสัตว์

    อีกครั้งหนึ่ง สมัยที่ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ณ ต้นอชปาลนิโครธ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่อุรุเวลาเสนานิคม

    สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้

    https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%95-6/
    มารบันเทพ พญามาร เป็นเทพยิ่งใหญ่ระดับสูงสุดแห่งชั้นกามาวจรหรือ เทวดาชั้นที่ 5 ชื่อว่า “ปรนิมมิตวสวัตดี” ท่านชื่อว่า “วัสสวัสดี เทวปุตตมาร” คนไทยมักเรียกว่าพญามาร ท่านเป็นมารที่หล่อขั้น เทพแน่นอน เพราะท่านเป็นทั้งเทพทั้งมาร คำว่า “มาร” แปลว่า นิมิต แห่งความขัดข้อง คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งคนไว้ มิให้พ้นจาก อ้านาจครอบงำาของตน ให้ห่วงหน้าพะวงหลังติดอยู่ในกามสุข ไม่อาจเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ได้ ซึ่งมารตนนี้เคยมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายครั้ง พระองค์ได้เล่าให้ พระอานนท์ฟัง ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค สรุปว่า สมัยที่พระพุทธเจ้ายังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ กำลังหนีออกจาก เมืองกบิลพัสดุเพื่อบรรพชา มาเชื่อว่าวัสสวัดดีมาร ได้เข้ามาห้ามมิให้ ออกมหาภิเนษกรมณ์ แต่พระโพธิสัตว์ได้ปฏิเสธและขับไล่มารไปเสีย ต่อมา เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งบนโพธิบัลลังก์ ก่อนจะตรัสรู้ พญามารได้นำเสนามารไปรบกวน แต่ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่ทศบารมี ของพระโพธิสัตว์ อีกครั้งหนึ่ง สมัยที่ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ณ ต้นอชปาลนิโครธ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่อุรุเวลาเสนานิคม สามารถอ่านต่อที่เว็บไซต์พระนิพพานได้ https://www.thenirvanalive.com/2023/03/10/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%95-6/
    0 Comments 0 Shares 907 Views 0 Reviews