• แรงงานเขมรลักลอบเข้าไทย เจอจับอ้างถูกรัฐบาลหลอกให้กลับบ้าน
    https://www.thai-tai.tv/news/20215/
    .
    #แรงงานต่างด้าว #ลักลอบเข้าเมือง #ชายแดนไทยกัมพูชา #สระแก้ว #ปอยเปต #ปัญหาเศรษฐกิจ #รัฐบาลกัมพูชา #ค้ามนุษย์ #เว็บพนัน #เตือนภัยออนไลน์
    แรงงานเขมรลักลอบเข้าไทย เจอจับอ้างถูกรัฐบาลหลอกให้กลับบ้าน https://www.thai-tai.tv/news/20215/ . #แรงงานต่างด้าว #ลักลอบเข้าเมือง #ชายแดนไทยกัมพูชา #สระแก้ว #ปอยเปต #ปัญหาเศรษฐกิจ #รัฐบาลกัมพูชา #ค้ามนุษย์ #เว็บพนัน #เตือนภัยออนไลน์
    0 Comments 0 Shares 86 Views 0 Reviews
  • ภาษีทรัมป์ 36% ภาษีกูบินอเมริกา-จ้างล็อบบี้ยิสต์

    รัฐบาลพรรคเพื่อไทยภายใต้การนำของ อุ๊งอิ๊ง-แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไทยล้มเหลวโดยสิ้นเชิง นอกจากโครงการแจกเงิน 10,000 บาทที่ไม่เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจแล้ว สงครามการค้าของสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศว่าจะขึ้นภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% มาตั้งแต่เดือน เม.ย. แต่รัฐบาลกลับสนใจช่วยเหลือ ทักษิณ ชินวัตร บิดานายกรัฐมนตรี ให้นอนในห้องวีไอพีของโรงพยาบาลโดยไม่ต้องติดคุกแม้แต่วันเดียว และการเปิดบ่อนกาสิโนภายใต้โครงการเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์

    ล่าสุดเมื่อวันที่ 8 ก.ค. ตามเวลาในประเทศไทย ประธานาธิบดีทรัมป์ ทำหนังสือถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรักษาราชการนายกรัฐมนตรี (ระบุชื่อ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ) ว่า สหรัฐฯ จะตั้งกำแพงภาษีต่อสินค้านำเข้าจากไทยในอัตรา 36% ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นต้นไป ส่วนจะแก้ไขให้ภาษีขึ้นหรือลง ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายประเทศในอาเซียนเจออัตราแตกต่างกันไป เช่น ลาวและเมียนมา 40% กัมพูชา 36% เท่ากับไทย อินโดนีเซีย 32% มาเลเซีย 25% ส่วนเวียดนามก่อนหน้านี้ตกลงกันที่ 20-40% แลกกับยอมเปิดทางให้สหรัฐฯ ส่งสินค้าเข้าเวียดนามโดยไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร

    สังคมตั้งคำถามไปยังนายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง หัวหน้าทีมไทยแลนด์ ที่ยกโขยงไปเจรจาเรื่องภาษีทรัมป์ที่สหรัฐอเมริกา แล้วปรากฎว่าได้พบเพียงแค่ระดับผู้แทนการค้าสหรัฐฯ เท่านั้น ต่างจากเวียดนามที่นอกจากโต เลิม ผู้นำระดับสูงของเวียดนามโทร.คุยกับทรัมป์โดยตรงแล้ว การเจรจายังคุยกันถึงระดับรัฐมนตรีพาณิชย์สหรัฐฯ พอประธานาธิบดีทรัมป์ยืนกรานอัตราภาษี 36% นายพิชัยถึงกับช็อก บอกว่ามีตกใจบ้างแต่เลยจุดนี้มาแล้ว อ้างว่ายังไม่ได้พิจารณาข้อเสนอใหม่ที่ส่งไปเมื่อวันที่ 6 ก.ค.ซึ่งจะใช้ระยะเวลาที่เหลือจากนี้เจรจาให้ทันก่อนเดดไลน์

    แม้นายพิชัยอ้างว่าไทยยื่นข้อเสนอให้สหรัฐฯ ไม่น้อย ลดภาษีนำเข้าให้กับสินค้าสหรัฐฯ กว่า 90% ของสินค้าที่นำเข้ามาไทย แถมบางรายการภาษี 0% แต่มีประมาณ 10% ที่ไทยให้ไม่ได้ เพราะต้องดูแลผู้ประกอบการในประเทศ และไม่ให้กระทบกับสินค้าประเทศอื่นที่ไทยทำ FTA เอาไว้ แต่ไม่ได้บอกสังคมแน่ชัดว่ามีอะไรบ้าง อีกสิ่งหนึ่งที่สังคมตั้งคำถาม ก่อนหน้านี้นายพิชัยและคณะทีมไทยแลนด์เดินทางไปสหรัฐอเมริกา ใช้งบประมาณมหาศาล อย่างน้อยเครื่องบินชั้นบิสซิเนสคลาส พักที่โรงแรมหรู แถมยังจ้างล็อบบี้ยิสต์ 87.4 ล้านบาท แต่ผลที่ได้กลับบ้านมือเปล่า ถือว่าทำงานคุ้มกับภาษีประชาชนที่จ่ายไปหรือไม่?

    #Newskit
    ภาษีทรัมป์ 36% ภาษีกูบินอเมริกา-จ้างล็อบบี้ยิสต์ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยภายใต้การนำของ อุ๊งอิ๊ง-แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไทยล้มเหลวโดยสิ้นเชิง นอกจากโครงการแจกเงิน 10,000 บาทที่ไม่เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจแล้ว สงครามการค้าของสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศว่าจะขึ้นภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% มาตั้งแต่เดือน เม.ย. แต่รัฐบาลกลับสนใจช่วยเหลือ ทักษิณ ชินวัตร บิดานายกรัฐมนตรี ให้นอนในห้องวีไอพีของโรงพยาบาลโดยไม่ต้องติดคุกแม้แต่วันเดียว และการเปิดบ่อนกาสิโนภายใต้โครงการเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ล่าสุดเมื่อวันที่ 8 ก.ค. ตามเวลาในประเทศไทย ประธานาธิบดีทรัมป์ ทำหนังสือถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรักษาราชการนายกรัฐมนตรี (ระบุชื่อ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ) ว่า สหรัฐฯ จะตั้งกำแพงภาษีต่อสินค้านำเข้าจากไทยในอัตรา 36% ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นต้นไป ส่วนจะแก้ไขให้ภาษีขึ้นหรือลง ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายประเทศในอาเซียนเจออัตราแตกต่างกันไป เช่น ลาวและเมียนมา 40% กัมพูชา 36% เท่ากับไทย อินโดนีเซีย 32% มาเลเซีย 25% ส่วนเวียดนามก่อนหน้านี้ตกลงกันที่ 20-40% แลกกับยอมเปิดทางให้สหรัฐฯ ส่งสินค้าเข้าเวียดนามโดยไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร สังคมตั้งคำถามไปยังนายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง หัวหน้าทีมไทยแลนด์ ที่ยกโขยงไปเจรจาเรื่องภาษีทรัมป์ที่สหรัฐอเมริกา แล้วปรากฎว่าได้พบเพียงแค่ระดับผู้แทนการค้าสหรัฐฯ เท่านั้น ต่างจากเวียดนามที่นอกจากโต เลิม ผู้นำระดับสูงของเวียดนามโทร.คุยกับทรัมป์โดยตรงแล้ว การเจรจายังคุยกันถึงระดับรัฐมนตรีพาณิชย์สหรัฐฯ พอประธานาธิบดีทรัมป์ยืนกรานอัตราภาษี 36% นายพิชัยถึงกับช็อก บอกว่ามีตกใจบ้างแต่เลยจุดนี้มาแล้ว อ้างว่ายังไม่ได้พิจารณาข้อเสนอใหม่ที่ส่งไปเมื่อวันที่ 6 ก.ค.ซึ่งจะใช้ระยะเวลาที่เหลือจากนี้เจรจาให้ทันก่อนเดดไลน์ แม้นายพิชัยอ้างว่าไทยยื่นข้อเสนอให้สหรัฐฯ ไม่น้อย ลดภาษีนำเข้าให้กับสินค้าสหรัฐฯ กว่า 90% ของสินค้าที่นำเข้ามาไทย แถมบางรายการภาษี 0% แต่มีประมาณ 10% ที่ไทยให้ไม่ได้ เพราะต้องดูแลผู้ประกอบการในประเทศ และไม่ให้กระทบกับสินค้าประเทศอื่นที่ไทยทำ FTA เอาไว้ แต่ไม่ได้บอกสังคมแน่ชัดว่ามีอะไรบ้าง อีกสิ่งหนึ่งที่สังคมตั้งคำถาม ก่อนหน้านี้นายพิชัยและคณะทีมไทยแลนด์เดินทางไปสหรัฐอเมริกา ใช้งบประมาณมหาศาล อย่างน้อยเครื่องบินชั้นบิสซิเนสคลาส พักที่โรงแรมหรู แถมยังจ้างล็อบบี้ยิสต์ 87.4 ล้านบาท แต่ผลที่ได้กลับบ้านมือเปล่า ถือว่าทำงานคุ้มกับภาษีประชาชนที่จ่ายไปหรือไม่? #Newskit
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 213 Views 0 Reviews
  • ## นิยายสุดกาว ##
    ..
    ..
    บางที นี่อาจจะเป็นการวางแผนก็ได้...!!!
    .
    คือ รู้ว่าเศรษฐกิจแย่เอาไม่อยู่...
    .
    เลยทำให้ทหารอยากรัฐประหาร...
    .
    พอทหารทำ รัฐประหาร ก็อ้างว่า...
    .
    เพราะ รัฐประหาร เลยแก้ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้...!!!
    .
    เพราะ รัฐประหาร ประชาธิปไตย เลยหยุดชะงัก ถอยหลังลงคลอง...
    ....
    ....
    ทั้งหมดเพราะ ประเทศ ไม่เป็นประชาธิปไตย...!!!
    .
    ทั้งหมดเพราะ ทหาร...!!!
    .
    เขาทางพวก...
    .
    อยาก ทำลายกองทัพ
    อยาก ยกเลิกการเกณฑ์ทหาร
    อยากลด อยากยุบ กองทัพ
    .
    จะได้ออกมาช่วยปั่นต่ออีกว่า...
    .
    ทหารมีไว้ทำไม...???
    ....
    ....
    ส่วนพวกเขาที่ รับมือเศรษฐกิจตกต่ำไม่ไหว...
    .
    ก็ได้ออกมายืนเชิดหน้า มือล้วงกระเป๋า
    อย่างคนนอก...
    .
    โพสโซเชียลมีเดียหล่อๆ ด่าทหาร ว่า เป็นต้นเหตุของการที่ เศรษฐกิจประเทศไทยพัง...
    ...
    ...
    เมื่อหา "แพะ" เจอแล้ว...!!!
    .
    พวกเขาก็ ยังคงยืนหยัด เชิดหน้า หลอกติ่ง หลอกด้อมต่อไปได้...
    .
    นี่หล่ะมั้ง ประเทศไทย...
    .
    ## นิยายสุดกาว ## .. .. บางที นี่อาจจะเป็นการวางแผนก็ได้...!!! . คือ รู้ว่าเศรษฐกิจแย่เอาไม่อยู่... . เลยทำให้ทหารอยากรัฐประหาร... . พอทหารทำ รัฐประหาร ก็อ้างว่า... . เพราะ รัฐประหาร เลยแก้ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้...!!! . เพราะ รัฐประหาร ประชาธิปไตย เลยหยุดชะงัก ถอยหลังลงคลอง... .... .... ทั้งหมดเพราะ ประเทศ ไม่เป็นประชาธิปไตย...!!! . ทั้งหมดเพราะ ทหาร...!!! . เขาทางพวก... . อยาก ทำลายกองทัพ อยาก ยกเลิกการเกณฑ์ทหาร อยากลด อยากยุบ กองทัพ . จะได้ออกมาช่วยปั่นต่ออีกว่า... . ทหารมีไว้ทำไม...??? .... .... ส่วนพวกเขาที่ รับมือเศรษฐกิจตกต่ำไม่ไหว... . ก็ได้ออกมายืนเชิดหน้า มือล้วงกระเป๋า อย่างคนนอก... . โพสโซเชียลมีเดียหล่อๆ ด่าทหาร ว่า เป็นต้นเหตุของการที่ เศรษฐกิจประเทศไทยพัง... ... ... เมื่อหา "แพะ" เจอแล้ว...!!! . พวกเขาก็ ยังคงยืนหยัด เชิดหน้า หลอกติ่ง หลอกด้อมต่อไปได้... . นี่หล่ะมั้ง ประเทศไทย... . 🤣🤣🤣🤣🤣🤣🤣🤣
    0 Comments 0 Shares 234 Views 0 Reviews
  • นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม เผยจุดยืนรัฐบาลไทยต่อความขัดแย้งชายแดนไทย-กัมพูชา ยืนยันใช้กลไก 3 ฝ่าย สภาความมั่นคงแห่งชาติ(สมช.) กองทัพบก และกระทรวงการต่างประเทศ หลีกเลี่ยงความรุนแรง รักษาอธิปไตยของชาติเต็มที่ ส่วนความพยายามดึงเรื่องขึ้นศาลโลก รัฐบาลไม่ตกหลุมพราง ต้องใช้กรอบเอ็มโอยู 2543 หาข้อยุติร่วมกัน โดยจะประชุม JBC ไทย-กัมพูชา วันที่ 14 มิ.ย. นี้ ที่กรุงพนมเปญ ยืนยันไม่ปลดแม่ทัพภาคที่ 2 อย่าเชื่อข่าวปลุกปั่น ความสัมพันธ์กับทหารไม่ขัดแย้ง ทุกอย่างคุยกันได้หมด ยังไม่ถึงเวลาปิดด่าน แม้ทหารกัมพูชาล้ำเขตแดนไทยถึง 200 เมตร ต้องพิจารณาจากแผนที่ ยอมรับ ทหารอึดอัดต่อสถานการณ์ แต่ทุกฝ่ายเข้าใจดีว่านี่คือยุทธศาสตร์เพื่อหลีกเลี่ยงความสูญเสียที่อาจกระทบเอกราชชาติไทย

    -ฉุนถูกจี้ถามกัมพูชาล้ำแดน
    -ไล่กวดภาพ AI
    -แก๊งศูนย์เหรียญตั้งฟรีโซน
    -สารพัดปัญหาเศรษฐกิจไทย
    นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม เผยจุดยืนรัฐบาลไทยต่อความขัดแย้งชายแดนไทย-กัมพูชา ยืนยันใช้กลไก 3 ฝ่าย สภาความมั่นคงแห่งชาติ(สมช.) กองทัพบก และกระทรวงการต่างประเทศ หลีกเลี่ยงความรุนแรง รักษาอธิปไตยของชาติเต็มที่ ส่วนความพยายามดึงเรื่องขึ้นศาลโลก รัฐบาลไม่ตกหลุมพราง ต้องใช้กรอบเอ็มโอยู 2543 หาข้อยุติร่วมกัน โดยจะประชุม JBC ไทย-กัมพูชา วันที่ 14 มิ.ย. นี้ ที่กรุงพนมเปญ ยืนยันไม่ปลดแม่ทัพภาคที่ 2 อย่าเชื่อข่าวปลุกปั่น ความสัมพันธ์กับทหารไม่ขัดแย้ง ทุกอย่างคุยกันได้หมด ยังไม่ถึงเวลาปิดด่าน แม้ทหารกัมพูชาล้ำเขตแดนไทยถึง 200 เมตร ต้องพิจารณาจากแผนที่ ยอมรับ ทหารอึดอัดต่อสถานการณ์ แต่ทุกฝ่ายเข้าใจดีว่านี่คือยุทธศาสตร์เพื่อหลีกเลี่ยงความสูญเสียที่อาจกระทบเอกราชชาติไทย -ฉุนถูกจี้ถามกัมพูชาล้ำแดน -ไล่กวดภาพ AI -แก๊งศูนย์เหรียญตั้งฟรีโซน -สารพัดปัญหาเศรษฐกิจไทย
    Like
    Haha
    Angry
    6
    0 Comments 0 Shares 634 Views 38 0 Reviews
  • “ภูมิธรรม” แถลงผ่านเฟซบุ๊ก ยันหารือสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชากับกองทัพตลอด ปิดด่านจะเกิดปัญหาเศรษฐกิจ กระทบกับชีวิตประชาชน ทำให้ยากต่อการคลี่คลายสถานการณ์ ย้ำกองทัพกับรัฐบาลเป็นเอกภาพ มีพันธะสัญญารักษาความสงบสุขให้ประชาชน

    วันนี้(2 มิ.ย.) นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊ก “Phumtham Wechayachai” ชี้แจงกรณีที่มีกระแสข่าวระบุว่า น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และ นายภูมิธรรม เวชยชัย ได้ขอสั่งเบรกการขอปิดด่านชายแดนกัมพูชาของกองทัพ ทำให้ฝ่ายกองทัพไม่สบายใจ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000051753

    #MGROnline #ชายแดน #ไทยกัมพูชา #ไทย #กัมพูชา
    “ภูมิธรรม” แถลงผ่านเฟซบุ๊ก ยันหารือสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชากับกองทัพตลอด ปิดด่านจะเกิดปัญหาเศรษฐกิจ กระทบกับชีวิตประชาชน ทำให้ยากต่อการคลี่คลายสถานการณ์ ย้ำกองทัพกับรัฐบาลเป็นเอกภาพ มีพันธะสัญญารักษาความสงบสุขให้ประชาชน • วันนี้(2 มิ.ย.) นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊ก “Phumtham Wechayachai” ชี้แจงกรณีที่มีกระแสข่าวระบุว่า น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และ นายภูมิธรรม เวชยชัย ได้ขอสั่งเบรกการขอปิดด่านชายแดนกัมพูชาของกองทัพ ทำให้ฝ่ายกองทัพไม่สบายใจ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000051753 • #MGROnline #ชายแดน #ไทยกัมพูชา #ไทย #กัมพูชา
    0 Comments 0 Shares 228 Views 0 Reviews
  • รมว.ท่องเที่ยวฯ เชื่อรัฐบาลชลอเงินหมื่นดิจิทัล เพื่อไทยสามารถอธิบายกับประชาชนได้ เพราะเป็นแค่การปรับแผนจากปัญหาเศรษฐกิจโลกรุมเร้า

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000046817

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    รมว.ท่องเที่ยวฯ เชื่อรัฐบาลชลอเงินหมื่นดิจิทัล เพื่อไทยสามารถอธิบายกับประชาชนได้ เพราะเป็นแค่การปรับแผนจากปัญหาเศรษฐกิจโลกรุมเร้า อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000046817 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 519 Views 0 Reviews
  • ชนวนปะทุเดือดชายแดนไทย-สปป.ลาว ความสุ่มเสี่ยงความมั่นคงลุ่มแม่น้ำโขงตอนบนที่จะลุกลามรอบไทย

    เสียงปืนลั่นแบบไม่มีปี่มีขลุ่ย และนับเป็นปัญหาเฉพาะในแผ่นดินลาวที่ไม่ได้มีชายแดนติดกับเมียนมาร์ การปะทะเริ่มเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ในฝั่ง สปป.ลาว บริเวณค่ายภูผาหม่น เมืองปากทา แขวงบ่อแก้ว ตรงข้ามอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันกรมทหารพรานที่ 31 และกองกำลังผาเมือง ตรึงกำลังเฝ้าระวัง

    ทั้งแถบชายแดนทยอดปิดแหล่งท่องเที่ยวจุดชมวิวภูชี้ฟ้า ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 68 เป็นต้นไป จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ เพราะฝั่งตรงข้ามมีการใช้อาวุธปืนขนาด 7.62 ใช้สำหรับปืนอาก้า และอาวุธหนักกระทั่งมีเจ้าหน้าทีทหารของสปป.ลาวเสียชีวิต

    ความสุ่มเสี่ยงของสถานการณ์นี้คือจุดเริ่มที่ต้องสืบสาวหาต้นตอต้นเหตุ เพราะพื้นที่สถานการณ์ติดกับชายแดนไทยอย่างมาก

    The Analyzt ขอนำเสนอข้อมูลประกอบความเป็นไปได้ในการวิเคราะห์สถานการณ์นี้ที่จะส่งผลต่อความมั่นคงชายแดนฝั่งตะวันออกของไทยที่ติดกับจังหวัดเชียงราย ที่จะไม่เป็นผลดีต่อภาคเศรษฐกิจ ความมั่นคงในอนาคต

    1. การวิเคราะห์สถานการณ์
    บริบททางประวัติศาสตร์และสาเหตุที่อาจเป็นไปได้:

    สงครามกลางเมืองลาว (พ.ศ. 2502-2518): ในอดีต ลาวตอนเหนือเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบอย่างหนักระหว่างฝ่ายปะเทดลาว (คอมมิวนิสต์) และรัฐบาลราชอาณาจักรลาว โดยมีมหาอำนาจในสงครามเย็น (สหรัฐฯ และสหภาพโซเวีย ศูนย์กลางของการสู้รบอยู่ในพื้นที่เช่น แขวงเชียงขวาง ซึ่งกองพันปะเทดลาวเคยตั้งมั่น. สาเหตุหลักมาจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์ระหว่างคอมมิวนิสต์และฝ่ายโลกเสรี รวมถึงการแทรกแซงจากต่างชาติ เช่น เวียดนามเหนือและสหรัฐฯ

    ความขัดแย้งชาติพันธุ์: ลาวตอนเหนือเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย เช่น ชาวม้ง ลาวสูง และอื่นๆ ซึ่งบางครั้งเกิดความขัดแย้งกับรัฐบาลกลางเนื่องจากความต้องการปกครองตนเองหรือความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม.
    ยาเสพติดและการค้ามนุษย์: พื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน โดยเฉพาะบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ (รอยต่อระหว่างลาว เมียนมา และไทย) เป็นแหล่งผลิตและลักลอบขนส่งยาเสพติด เช่น ไอซ์และยาบ้า ซึ่งอาจนำไปสู่การปะทะระหว่างกลุ่มค้ายาและกองกำลังรัฐบาล

    ข้อพิพาทชายแดน: ความไม่ชัดเจนของเขตแดนในลุ่มแม่น้ำโขงระหว่างลาวและไทยอาจก่อให้เกิดความตึงเครียด โดยเฉพาะในพื้นที่เกาะกลางน้ำ ซึ่งเคยเกิดข้อพิพาทในอดีต.

    อิทธิพลจากเพื่อนบ้าน: สถานการณ์ในเมียนมา เช่น การสู้รบระหว่างกองทัพเมียนมากับกลุ่มชาติพันธุ์ (เช่น KIA, MNDAA) อาจส่งผลกระทบข้ามพรมแดนมายังลาวตอนเหนือ

    กลุ่มกองกำลังที่อาจเกี่ยวข้อง:

    กองทัพประชาชนลาว (LPAF): เป็นกองทัพอย่างเป็นทางการของลาว มีบทบาทในการรักษาความมั่นคงภายในและปกป้องพรมแดน อาจเกี่ยวข้องหากมีการปะทะกับกลุ่มค้ายาหรือกลุ่มกบฏ.

    กลุ่มชาติพันธุ์: เช่น ชาวม้งหรือกลุ่มลาวสูง ซึ่งในอดีตเคยต่อสู้เพื่อปกครองตนเอง อาจยังคงมีความเคลื่อนไหวในระดับเล็กน้อย.

    กลุ่มค้ายาเสพติด: กลุ่มอาชญากรข้ามชาติที่ใช้ลาวตอนเหนือเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติด มักปะทะกับกองกำลังรัฐบาลหรือทหารไทยบริเวณชายแดน.

    กลุ่มกบฏหรือกลุ่มต่อต้านรัฐบาล: แม้ว่าปะเทดลาวจะสิ้นสุดบทบาทในฐานะกองกำลังติดอาวุธหลังสงครามกลางเมือง แต่กลุ่มเล็กๆ ที่ไม่พอใจรัฐบาลอาจยังคงเคลื่อนไหวในพื้นที่ห่างไกล.

    แนวโน้มในอนาคต:
    การปะทะจากยาเสพติด: พื้นที่สามเหลี่ยมทองคำและลุ่มแม่น้ำโขงตอนบนจะยังคงเป็นจุดร้อนของการค้ายา ซึ่งอาจนำไปสู่การปะทะเป็นระยะๆ ระหว่างกองกำลังรัฐบาลและกลุ่มค้ายา.

    ผลกระทบจากเมียนมา: หากสถานการณ์ในเมียนมา (เช่น ปฏิบัติการ 1027 ของกลุ่มพันธมิตร 3 พี่น้อง) ทวีความรุนแรง อาจส่งผลให้กลุ่มชาติพันธุ์หรือผู้ลี้ภัยเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนเข้าสู่ลาว สร้างความตึงเครียดในพื้นที่.

    ความร่วมมือในภูมิภาค: ลาวอาจเพิ่มความร่วมมือกับจีนและไทยในการควบคุมยาเสพติดและความมั่นคงชายแดน ซึ่งอาจลดการปะทะในระยะยาว.

    ข้อพิพาทแม่น้ำโขง: ความขัดแย้งเรื่องเขตแดนในแม่น้ำโขงอาจทวีความรุนแรงหากมีการอ้างสิทธิ์ในเกาะกลางน้ำหรือทรัพยากรในแม่น้ำ.

    ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
    ความเชื่อมโยงด้านพลังงานระหว่างลาวและไทยเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ แต่ปัญหาหนี้สินของลาวและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากเขื่อนอาจเป็นความเสี่ยงในระยะยาว

    รายงานระบุว่าลาวมีหนี้สูงและต้องชำระหนี้ต่อจีน ซึ่งอาจกระทบต่อความสามารถในการผลิตไฟฟ้า Opportunities for Development Cooperation in Lao Strategic Sectors | CSIS. นอกจากนี้ การอพยพแรงงานจากลาวอาจช่วยลดต้นทุนแรงงานในไทย แต่ก็อาจสร้างความตึงเครียดทางสังคม

    ความเชื่อมโยงทางพลังงาน: ลาวถูกเรียกว่า "แบตเตอรี่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" เนื่องจากส่งออกไฟฟ้าจากเขื่อนไฮโดรพาวเวอร์ไปยังไทยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย Energy in Laos - Wikipedia.

    การค้าข้ามพรมแดน: ลาวและไทยมีความเชื่อมโยงผ่านการค้าข้ามพรมแดน โดยเฉพาะสินค้าเกษตรและสินค้าอุปโภคบริโภค หากลาวประสบปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การลดลงของการลงทุนหรือการชะลอตัวของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาจส่งผลให้การค้าข้ามพรมแดนลดลง ซึ่งจะกระทบต่อเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่ชายแดนของไทย เช่น จังหวัดเชียงรายและหนองคาย Laos - The World Factbook

    การปรับตัวของระบบการค้าในภูมิภาคอาจเกิดการปรับเปลี่ยนเส้นทางการค้าและการลงทุนไทยอาจลดการพึ่งพาเส้นทางผ่านลาวไปยังจีน โดยหันไปใช้เส้นทางอื่นมากขึ้นอาจมีการพัฒนาเส้นทางการค้าทางทะเลเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยง

    แรงงานข้ามชาติ: ปัญหาเศรษฐกิจในลาวอาจทำให้มีแรงงานชาวลาวเข้ามาทำงานในไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ซึ่งอาจช่วยลดต้นทุนแรงงานให้กับนายจ้างไทย แต่ในทางกลับกันอาจสร้างความตึงเครียดทางสังคมและแรงกดดันต่อระบบสวัสดิการของไทย BTI 2024 Laos Country Report: BTI 2024.
    ท่าทีของไทยและการประเมินสถานการณ์

    ท่าทีของไทย
    ไทยมีแนวโน้มร่วมมือกับลาวในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ:

    การปราบปรามยาเสพติด: ไทยและลาวมีความร่วมมือกันในการปราบปรามยาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำ เช่น การจัดตั้งจุดตรวจชายแดนร่วมและการลาดตระเวนร่วม Fighting drug trafficking in the Golden Triangle: a UN Resident Coordinator blog | UN News. นอกจากนี้ ไทยยังทำงานร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น UNODC เพื่อลดการลักลอบขนยา Thai authorities and UNODC meet about precursor chemical trafficking in the Golden Triangle - UNODC.

    ความร่วมมือด้านพลังงาน: ไทยยังคงเป็นตลาดหลักในการซื้อไฟฟ้าจากลาว และอาจผลักดันการพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียนร่วมกันเพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Alternative Development Pathways for Thailand’s Sustainable Electricity Trade with Laos • Stimson Center

    การเตรียมพร้อมรับมือ: ไทยควรเพิ่มความเข้มงวดในการป้องกันชายแดน เช่น การติดตั้งกล้องวงจรปิดและเพิ่มกำลังทหารในพื้นที่ชายแดน เพื่อป้องกันผลกระทบจากความไม่สงบในลาว Guide to Investigating Organized Crime in the Golden Triangle — Introduction.

    มิติความมั่นคง: ดูเหมือนว่าปัญหายาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำจะยังคงเป็นความท้าทายหลัก โดยเฉพาะยาเสพติดสังเคราะห์ที่มีการผลิตและลักลอบขนส่งเพิ่มขึ้น รายงานระบุว่ากลุ่มเครือข่ายค้ายาเสพติดสามารถปรับตัวได้รวดเร็ว เช่น การเปลี่ยนเส้นทางผ่านลาวและกลับเข้ามาในไทย Asia's infamous Golden Triangle and the soldiers tracking down the drug smugglers who rule its narcotics trade - ABC News.

    นอกจากนี้ หากสถานการณ์ในเมียนมาทวีความรุนแรง อาจส่งผลให้มีกลุ่มชาติพันธุ์หรือผู้ลี้ภัยเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนมายังไทยเพิ่มขึ้น.

    การค้ายาเสพติด: ดูเหมือนว่าการค้ายาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำจะยังคงเป็นปัญหาที่ยืดเยื้อ โดยเฉพาะยาเสพติดสังเคราะห์ที่มีตลาดเพิ่มขึ้นในภูมิภาค Q&A: The opium surge in Southeast Asia’s ‘Golden Triangle’ | Drugs News | Al Jazeera.

    ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ: ไทยและลาวจะยังคงมีความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะด้านพลังงาน แต่ไทยควรพิจารณาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมจากโครงการเขื่อนในลาวด้วย Locked In – Why Thailand Buys Electricity from Laos | Earth Journalism Network.

    ความมั่นคงชายแดน: ไทยควรเสริมสร้างความร่วมมือกับลาวและประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ เช่น เมียนมาและจีน เพื่อรับมือกับภัยคุกคามทางความมั่นคงข้ามพรมแดน Lao delegation explores renewable energy in Thailand | Partnerships for Infrastructure.

    ข้อสรุป
    สถานการณ์ในลาวตอนเหนือกำลังส่งผลกระทบและจะยังคงส่งผลต่อไทยในหลายมิติ หากประเมินแล้วสถานการณ์ในลาวตอนเหนือมีผลกระทบต่อไทยทั้งด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะจากการค้ายาเสพติดและความเชื่อมโยงด้านพลังงาน ไทยควรเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกันภัยคุกคามข้ามพรมแดนและพิจารณาผลกระทบจากโครงการพัฒนาในลาวอย่างรอบคอบ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ


    การอ้างอิง:
    Laotian Civil War - Wikipedia
    Insurgency in Laos - Wikipedia
    Unprecedented Protests Are Putting Laos in Uncharted Waters | Council on Foreign Relations
    Assessment for Hmong in Laos | Refworld
    Laos | History, Flag, Map, Capital, Population, & Facts | Britannica
    From jungles to suburbs, warlord led Hmong struggle | Reuters
    Apocalypse Laos: The devastating legacy of the ‘Secret War’ | CEPR
    Laos country profile - BBC News
    Violence Flares in Laos | Council on Foreign Relations
    Laos: Latest News and Updates | South China Morning Post
    Collateral Damage: The Legacy of the Secret War in Laos | The Economic Journal | Oxford Academic
    Laos | AP News






    ชนวนปะทุเดือดชายแดนไทย-สปป.ลาว ความสุ่มเสี่ยงความมั่นคงลุ่มแม่น้ำโขงตอนบนที่จะลุกลามรอบไทย เสียงปืนลั่นแบบไม่มีปี่มีขลุ่ย และนับเป็นปัญหาเฉพาะในแผ่นดินลาวที่ไม่ได้มีชายแดนติดกับเมียนมาร์ การปะทะเริ่มเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ในฝั่ง สปป.ลาว บริเวณค่ายภูผาหม่น เมืองปากทา แขวงบ่อแก้ว ตรงข้ามอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันกรมทหารพรานที่ 31 และกองกำลังผาเมือง ตรึงกำลังเฝ้าระวัง ทั้งแถบชายแดนทยอดปิดแหล่งท่องเที่ยวจุดชมวิวภูชี้ฟ้า ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 68 เป็นต้นไป จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ เพราะฝั่งตรงข้ามมีการใช้อาวุธปืนขนาด 7.62 ใช้สำหรับปืนอาก้า และอาวุธหนักกระทั่งมีเจ้าหน้าทีทหารของสปป.ลาวเสียชีวิต ความสุ่มเสี่ยงของสถานการณ์นี้คือจุดเริ่มที่ต้องสืบสาวหาต้นตอต้นเหตุ เพราะพื้นที่สถานการณ์ติดกับชายแดนไทยอย่างมาก The Analyzt ขอนำเสนอข้อมูลประกอบความเป็นไปได้ในการวิเคราะห์สถานการณ์นี้ที่จะส่งผลต่อความมั่นคงชายแดนฝั่งตะวันออกของไทยที่ติดกับจังหวัดเชียงราย ที่จะไม่เป็นผลดีต่อภาคเศรษฐกิจ ความมั่นคงในอนาคต 1. การวิเคราะห์สถานการณ์ บริบททางประวัติศาสตร์และสาเหตุที่อาจเป็นไปได้: สงครามกลางเมืองลาว (พ.ศ. 2502-2518): ในอดีต ลาวตอนเหนือเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบอย่างหนักระหว่างฝ่ายปะเทดลาว (คอมมิวนิสต์) และรัฐบาลราชอาณาจักรลาว โดยมีมหาอำนาจในสงครามเย็น (สหรัฐฯ และสหภาพโซเวีย ศูนย์กลางของการสู้รบอยู่ในพื้นที่เช่น แขวงเชียงขวาง ซึ่งกองพันปะเทดลาวเคยตั้งมั่น. สาเหตุหลักมาจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์ระหว่างคอมมิวนิสต์และฝ่ายโลกเสรี รวมถึงการแทรกแซงจากต่างชาติ เช่น เวียดนามเหนือและสหรัฐฯ ความขัดแย้งชาติพันธุ์: ลาวตอนเหนือเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย เช่น ชาวม้ง ลาวสูง และอื่นๆ ซึ่งบางครั้งเกิดความขัดแย้งกับรัฐบาลกลางเนื่องจากความต้องการปกครองตนเองหรือความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม. ยาเสพติดและการค้ามนุษย์: พื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน โดยเฉพาะบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ (รอยต่อระหว่างลาว เมียนมา และไทย) เป็นแหล่งผลิตและลักลอบขนส่งยาเสพติด เช่น ไอซ์และยาบ้า ซึ่งอาจนำไปสู่การปะทะระหว่างกลุ่มค้ายาและกองกำลังรัฐบาล ข้อพิพาทชายแดน: ความไม่ชัดเจนของเขตแดนในลุ่มแม่น้ำโขงระหว่างลาวและไทยอาจก่อให้เกิดความตึงเครียด โดยเฉพาะในพื้นที่เกาะกลางน้ำ ซึ่งเคยเกิดข้อพิพาทในอดีต. อิทธิพลจากเพื่อนบ้าน: สถานการณ์ในเมียนมา เช่น การสู้รบระหว่างกองทัพเมียนมากับกลุ่มชาติพันธุ์ (เช่น KIA, MNDAA) อาจส่งผลกระทบข้ามพรมแดนมายังลาวตอนเหนือ กลุ่มกองกำลังที่อาจเกี่ยวข้อง: กองทัพประชาชนลาว (LPAF): เป็นกองทัพอย่างเป็นทางการของลาว มีบทบาทในการรักษาความมั่นคงภายในและปกป้องพรมแดน อาจเกี่ยวข้องหากมีการปะทะกับกลุ่มค้ายาหรือกลุ่มกบฏ. กลุ่มชาติพันธุ์: เช่น ชาวม้งหรือกลุ่มลาวสูง ซึ่งในอดีตเคยต่อสู้เพื่อปกครองตนเอง อาจยังคงมีความเคลื่อนไหวในระดับเล็กน้อย. กลุ่มค้ายาเสพติด: กลุ่มอาชญากรข้ามชาติที่ใช้ลาวตอนเหนือเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติด มักปะทะกับกองกำลังรัฐบาลหรือทหารไทยบริเวณชายแดน. กลุ่มกบฏหรือกลุ่มต่อต้านรัฐบาล: แม้ว่าปะเทดลาวจะสิ้นสุดบทบาทในฐานะกองกำลังติดอาวุธหลังสงครามกลางเมือง แต่กลุ่มเล็กๆ ที่ไม่พอใจรัฐบาลอาจยังคงเคลื่อนไหวในพื้นที่ห่างไกล. แนวโน้มในอนาคต: การปะทะจากยาเสพติด: พื้นที่สามเหลี่ยมทองคำและลุ่มแม่น้ำโขงตอนบนจะยังคงเป็นจุดร้อนของการค้ายา ซึ่งอาจนำไปสู่การปะทะเป็นระยะๆ ระหว่างกองกำลังรัฐบาลและกลุ่มค้ายา. ผลกระทบจากเมียนมา: หากสถานการณ์ในเมียนมา (เช่น ปฏิบัติการ 1027 ของกลุ่มพันธมิตร 3 พี่น้อง) ทวีความรุนแรง อาจส่งผลให้กลุ่มชาติพันธุ์หรือผู้ลี้ภัยเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนเข้าสู่ลาว สร้างความตึงเครียดในพื้นที่. ความร่วมมือในภูมิภาค: ลาวอาจเพิ่มความร่วมมือกับจีนและไทยในการควบคุมยาเสพติดและความมั่นคงชายแดน ซึ่งอาจลดการปะทะในระยะยาว. ข้อพิพาทแม่น้ำโขง: ความขัดแย้งเรื่องเขตแดนในแม่น้ำโขงอาจทวีความรุนแรงหากมีการอ้างสิทธิ์ในเกาะกลางน้ำหรือทรัพยากรในแม่น้ำ. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ความเชื่อมโยงด้านพลังงานระหว่างลาวและไทยเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ แต่ปัญหาหนี้สินของลาวและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากเขื่อนอาจเป็นความเสี่ยงในระยะยาว รายงานระบุว่าลาวมีหนี้สูงและต้องชำระหนี้ต่อจีน ซึ่งอาจกระทบต่อความสามารถในการผลิตไฟฟ้า Opportunities for Development Cooperation in Lao Strategic Sectors | CSIS. นอกจากนี้ การอพยพแรงงานจากลาวอาจช่วยลดต้นทุนแรงงานในไทย แต่ก็อาจสร้างความตึงเครียดทางสังคม ความเชื่อมโยงทางพลังงาน: ลาวถูกเรียกว่า "แบตเตอรี่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" เนื่องจากส่งออกไฟฟ้าจากเขื่อนไฮโดรพาวเวอร์ไปยังไทยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย Energy in Laos - Wikipedia. การค้าข้ามพรมแดน: ลาวและไทยมีความเชื่อมโยงผ่านการค้าข้ามพรมแดน โดยเฉพาะสินค้าเกษตรและสินค้าอุปโภคบริโภค หากลาวประสบปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การลดลงของการลงทุนหรือการชะลอตัวของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาจส่งผลให้การค้าข้ามพรมแดนลดลง ซึ่งจะกระทบต่อเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่ชายแดนของไทย เช่น จังหวัดเชียงรายและหนองคาย Laos - The World Factbook การปรับตัวของระบบการค้าในภูมิภาคอาจเกิดการปรับเปลี่ยนเส้นทางการค้าและการลงทุนไทยอาจลดการพึ่งพาเส้นทางผ่านลาวไปยังจีน โดยหันไปใช้เส้นทางอื่นมากขึ้นอาจมีการพัฒนาเส้นทางการค้าทางทะเลเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยง แรงงานข้ามชาติ: ปัญหาเศรษฐกิจในลาวอาจทำให้มีแรงงานชาวลาวเข้ามาทำงานในไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ซึ่งอาจช่วยลดต้นทุนแรงงานให้กับนายจ้างไทย แต่ในทางกลับกันอาจสร้างความตึงเครียดทางสังคมและแรงกดดันต่อระบบสวัสดิการของไทย BTI 2024 Laos Country Report: BTI 2024. ท่าทีของไทยและการประเมินสถานการณ์ ท่าทีของไทย ไทยมีแนวโน้มร่วมมือกับลาวในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ: การปราบปรามยาเสพติด: ไทยและลาวมีความร่วมมือกันในการปราบปรามยาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำ เช่น การจัดตั้งจุดตรวจชายแดนร่วมและการลาดตระเวนร่วม Fighting drug trafficking in the Golden Triangle: a UN Resident Coordinator blog | UN News. นอกจากนี้ ไทยยังทำงานร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น UNODC เพื่อลดการลักลอบขนยา Thai authorities and UNODC meet about precursor chemical trafficking in the Golden Triangle - UNODC. ความร่วมมือด้านพลังงาน: ไทยยังคงเป็นตลาดหลักในการซื้อไฟฟ้าจากลาว และอาจผลักดันการพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียนร่วมกันเพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Alternative Development Pathways for Thailand’s Sustainable Electricity Trade with Laos • Stimson Center การเตรียมพร้อมรับมือ: ไทยควรเพิ่มความเข้มงวดในการป้องกันชายแดน เช่น การติดตั้งกล้องวงจรปิดและเพิ่มกำลังทหารในพื้นที่ชายแดน เพื่อป้องกันผลกระทบจากความไม่สงบในลาว Guide to Investigating Organized Crime in the Golden Triangle — Introduction. มิติความมั่นคง: ดูเหมือนว่าปัญหายาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำจะยังคงเป็นความท้าทายหลัก โดยเฉพาะยาเสพติดสังเคราะห์ที่มีการผลิตและลักลอบขนส่งเพิ่มขึ้น รายงานระบุว่ากลุ่มเครือข่ายค้ายาเสพติดสามารถปรับตัวได้รวดเร็ว เช่น การเปลี่ยนเส้นทางผ่านลาวและกลับเข้ามาในไทย Asia's infamous Golden Triangle and the soldiers tracking down the drug smugglers who rule its narcotics trade - ABC News. นอกจากนี้ หากสถานการณ์ในเมียนมาทวีความรุนแรง อาจส่งผลให้มีกลุ่มชาติพันธุ์หรือผู้ลี้ภัยเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนมายังไทยเพิ่มขึ้น. การค้ายาเสพติด: ดูเหมือนว่าการค้ายาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำจะยังคงเป็นปัญหาที่ยืดเยื้อ โดยเฉพาะยาเสพติดสังเคราะห์ที่มีตลาดเพิ่มขึ้นในภูมิภาค Q&A: The opium surge in Southeast Asia’s ‘Golden Triangle’ | Drugs News | Al Jazeera. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ: ไทยและลาวจะยังคงมีความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะด้านพลังงาน แต่ไทยควรพิจารณาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมจากโครงการเขื่อนในลาวด้วย Locked In – Why Thailand Buys Electricity from Laos | Earth Journalism Network. ความมั่นคงชายแดน: ไทยควรเสริมสร้างความร่วมมือกับลาวและประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ เช่น เมียนมาและจีน เพื่อรับมือกับภัยคุกคามทางความมั่นคงข้ามพรมแดน Lao delegation explores renewable energy in Thailand | Partnerships for Infrastructure. ข้อสรุป สถานการณ์ในลาวตอนเหนือกำลังส่งผลกระทบและจะยังคงส่งผลต่อไทยในหลายมิติ หากประเมินแล้วสถานการณ์ในลาวตอนเหนือมีผลกระทบต่อไทยทั้งด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะจากการค้ายาเสพติดและความเชื่อมโยงด้านพลังงาน ไทยควรเพิ่มความระมัดระวังในการป้องกันภัยคุกคามข้ามพรมแดนและพิจารณาผลกระทบจากโครงการพัฒนาในลาวอย่างรอบคอบ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ การอ้างอิง: Laotian Civil War - Wikipedia Insurgency in Laos - Wikipedia Unprecedented Protests Are Putting Laos in Uncharted Waters | Council on Foreign Relations Assessment for Hmong in Laos | Refworld Laos | History, Flag, Map, Capital, Population, & Facts | Britannica From jungles to suburbs, warlord led Hmong struggle | Reuters Apocalypse Laos: The devastating legacy of the ‘Secret War’ | CEPR Laos country profile - BBC News Violence Flares in Laos | Council on Foreign Relations Laos: Latest News and Updates | South China Morning Post Collateral Damage: The Legacy of the Secret War in Laos | The Economic Journal | Oxford Academic Laos | AP News
    0 Comments 0 Shares 1167 Views 0 Reviews
  • เหลือก io เจ้าพ่อเฟคนิวส์ เที่ยวนี้ไปไกลกว่าเดิม ถึงขั้น BEYOND FAKE NEWS ปั่นกระแสต้าน ม.112 จนทะลุมิติเฟคนิวส์ พยายามปั่นให้ ม.112 เป็นคดีการเมืองยังไม่พอ ปั่นให้ ม.112 เป็นปัญหาเศรษฐกิจได้อีก
    #คิงส์โพธิ์แดง
    เหลือก io เจ้าพ่อเฟคนิวส์ เที่ยวนี้ไปไกลกว่าเดิม ถึงขั้น BEYOND FAKE NEWS ปั่นกระแสต้าน ม.112 จนทะลุมิติเฟคนิวส์ พยายามปั่นให้ ม.112 เป็นคดีการเมืองยังไม่พอ ปั่นให้ ม.112 เป็นปัญหาเศรษฐกิจได้อีก #คิงส์โพธิ์แดง
    0 Comments 0 Shares 186 Views 0 Reviews
  • ขายปาล์มยังซื้อไข่ไม่ได้ “เทพไท” จวก“รัฐบาล”แก้ปัญหาเศรษฐกิจ-ปากท้องเหลว
    https://www.thai-tai.tv/news/18341/
    ขายปาล์มยังซื้อไข่ไม่ได้ “เทพไท” จวก“รัฐบาล”แก้ปัญหาเศรษฐกิจ-ปากท้องเหลว https://www.thai-tai.tv/news/18341/
    0 Comments 0 Shares 73 Views 0 Reviews
  • TDRI เตือนรัฐหยุดแจกเงินดิจิทัล หลังไปไม่ช่วยกระตุ้น ศก. แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน

    (21 มี.ค. 68) ดร.สมชัย จิตสุชน เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน ขณะที่เฟส 3 หนุนทบทวนเงื่อนไขเปิดทางใช้เงินหมื่นซื้อคอร์สอัปสกิล-รีสกิลได้ หวังพัฒนาทักษะคน เตือน รัฐบาลรับมือเศรษฐกิจซบเซา จากปัจจัยภายนอก-ในประเทศ โดยเฉพาะความปั่นป่วนจากสงครามการค้า – หนี้ครัวเรือนสูง ห่วงภาระการคลัง ทำเรตติงประเทศตก

    ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) กล่าวถึงนโยบายเงินดิจิทัลเฟส 3 ที่ให้กับผู้มีอายุ 16-20 ปีว่า มีการคาดการณ์กันว่าในเฟสที่ 3 นี้อาจได้ผลบ้าง เพราะกลุ่มคนที่แจกยังไม่มีรายได้ หรือมีรายได้ที่ไม่มากนัก เมื่อได้เงินมาอาจจะใช้เร็ว แต่เชื่อว่าไม่น่าจะได้ผลมากกว่าเฟส 1 ที่มอบให้กับผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและกลุ่มเปราะบาง อย่างไรก็ตามหากอยากให้ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจจริง ๆ รัฐบาลควรละทิ้งแนวคิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสั้น และมุ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวมากขึ้น และไม่ควรเปิดทางให้นำเงินจำนวนนี้ไปซื้ออะไรก็ได้ แต่ควรกำหนดให้ใช้ไปกับการหาความรู้ อัปสกิล รีสกิล ซึ่งเหมาะสมกับกลุ่มเยาวชนพอดี เพราะเป็นกลุ่มที่กำลังจะเข้าสู่กำลังแรงงานซึ่งอาจจะนำเงินจำนวนนี้ไปเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มเติมให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งแม้จะไม่เห็นผลในระยะสั้นมากนัก แต่ผลในระยะยาวจะดีกว่ากันมากเพราะเป็นการดึงศักยภาพของคนซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจไทยได้ประโยชน์

    สำหรับกรณีที่นายกรัฐมนตรียืนยันว่าทุกคนที่เข้าเงื่อนไขจะได้รับสิทธิทั้งหมดนั้น ดร.สมชัย กล่าวว่า เป็นการทำให้ตรงกับที่หาเสียงไว้ แต่เห็นชัดแล้วว่าการดำเนินโครงการทั้งเฟส 1- 2 รวมทั้งเฟส 3 ที่กำลังจะเกิดขึ้น ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจไม่ดีจริงอย่างที่หาเสียงไว้ จึงควรทบทวน

    “ตอนที่หาเสียงไว้ และตอนที่เป็นรัฐบาลใหม่ ๆ บอกว่าโครงการนี้จะทำให้เศรษฐกิจเฟื่องฟู บางคนบอกจะทำให้ไทยหลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้ด้วยซ้ำ ซึ่งก็ไม่มีคนเชื่อ และวันนี้พิสูจน์แล้วว่าไม่จริง ในเมื่อมันพิสูจน์แล้วว่าไม่จริง ก็ไม่ควรจะเดินหน้าต่อ เรามองว่าเงินนี้นำไปทําอย่างอื่นที่มีประโยชน์ได้มากกว่าเยอะ” ดร.สมชัยระบุ

    เตือนหยุดสุรุ่ยสุร่ายแจกเงินหมื่น แนะใช้งบพัฒนาดิจิทัล อินเทอร์เน็ตฟรี ดึงศักยภาพคน หนุนเศรษฐกิจ ดร.สมชัย กล่าวด้วยว่า นอกจากงบประมาณหลายแสนล้านที่ต้องเสียไปจากการใช้จ่ายที่ไม่มีประสิทธิภาพ ยังมีต้นทุนค่าเสียโอกาสด้วย ซึ่งถือว่าเป็นความสูญเสียที่มากกว่าตัวเงินเสียอีก เพราะอย่าลืมว่าวันนี้ภาคการคลังของไทยอ่อนแอมาก ประเทศไทยมีเงินน้อยลง ประชาชนก็มีเงินน้อยลง เพราะฉะนั้นนำเงินงบประมาณไปใช้ต้องคิดอย่างระมัดระวัง ถ้านำไปใช้ในเรื่องที่ไม่สมควรใช้ จนทำให้เรื่องที่สมควรใช้จะถูกตัดทิ้งไปก็น่าเสียดาย เช่น เรื่องการพัฒนาทักษะของคน การปรับตัวเพื่อรับมือกับวิกฤตโลกร้อน การเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว รวมทั้งระบบสวัสดิการสังคมของไทยก็ยังมีปัญหาในบางจุด และเรื่องของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและดิจิทัล ซึ่งจะทําให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งกันดีขึ้น ทั้งหมดนี้จําเป็นต้องใช้เงินงบประมาณของรัฐบาลในการเดินหน้า แต่อาจถูกชะลอออกไปเพราะเอาเงินมาใช้ในเรื่องที่ไม่สมควรใช้แบบนี้ ดังนั้นไม่สนับสนุนให้รัฐบาลเดินหน้าเงินดิจิทัลในเฟสต่อไปอีก

    “รัฐบาลควรนำงบประมาณไปลงทุนในเรื่องของดิจิทัล ทําอินเทอร์เน็ตฟรี ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งเรื่องนี้จะช่วยได้มาก ในเรื่องของผลิตภาพของประชาชน เพราะเกิดการพัฒนาตัวเองและสร้างรายได้ ผมเชื่อว่ามีอัจฉริยะที่ซ่อนอยู่ตามซอกมุมต่าง ๆ ของประเทศอยู่มาก เพียงแต่ว่าเขาไม่ได้รับโอกาส รัฐบาลก็ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อให้แน่ใจว่าเขาจะได้ใช้ประโยชน์จากศักยภาพที่เขามีอยู่ เรื่องนี้เป็นเรื่องที่น่าทํา แต่คงไม่ได้ทํา ถ้าเกิดว่าต้องมาจ่ายเงินแบบสุรุ่ยสุร่ายแบบนี้ไปเรื่อย ๆ” ดร.สมชัยระบุ

    สงครามการค้าจะทำเศรษฐกิจไทยซบเซา ห่วงภาคการคลังมีปัญหา หนี้รัฐ-ครัวเรือนสูงชนเพดาน ดร.สมชัย ในฐานะอดีตกนง.ยังมีข้อเสนอแนะต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของรัฐบาล ว่า ต้องพยายามแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างมากขึ้น อย่าเน้นระยะสั้น เช่น ดิจิทัลวอลเล็ต กาสิโน พนันออนไลน์ แต่ควรเพิ่มน้ำหนักในกลุ่มมาตรการระยะยาวมากขึ้น และจะต้องเตรียมรับมือกับความยากลําบากที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสงครามการค้าที่คาดว่าจะมาแบบเต็มรูปแบบเมื่อเทียบกับยุคทรัมป์ 1.0 ต้องไม่ลืมว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในหลายปีที่ผ่านมาถูกมองว่าดีเกินไปจนน่าจะมาถึงอาจจะซบเซาลงตามวัฏจักร รวมทั้งเรื่องของสงครามยูเครนในยุโรป อาจส่งผลกระทบต่อไทยในฐานประเทศที่พึ่งพาการส่งออก และท่องเที่ยวมาก ขณะที่ในประเทศเองหนี้ครัวเรือนสูง ความสามารถในการผลิตไม่ได้ดีมากนัก เพราะฉะนั้นจะมีปัจจัยทั้งภายนอกและภายในเข้ามาพร้อมกัน

    “เศรษฐกิจคงซบเซาต่อไป และมองไป 4 ปีถัดไป ภาพก็จะคล้ายกันถ้าไม่ได้มีการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัว และถ้ามีการใช้จ่ายเงินอย่างไม่ระมัดระวังแบบนี้ ภาคการคลังจะมีปัญหา หนี้สาธารณะก็คงจะถึง 70 เปอร์เซ็นต์ต่อจีดีพีภายในไม่กี่ปีนี้ ในขณะที่ภาระการจ่ายหนี้ของรัฐบาล ทั้งดอกเบี้ย และเงินต้น ก็มีสิทธิ์ที่จะขึ้นไปใกล้ ๆ ชน 15 เปอร์เซ็นต์ที่กําหนดในกฎหมาย ทั้งหมดนี้จะทําให้เรตติ้งของภาครัฐไทยแย่ลงในสายตาของบริษัทประเมินเรตติง ซึ่งเป็นผลเสียระยะยาว เพราะว่าหมายถึง ต้นทุนการกู้ยืมของรัฐบาล และจะลามไปถึงภาคเอกชนอาจจะสูงขึ้น ซึ่งก็จะซ้ำเติมเรื่องของเศรษฐกิจเข้าไปอีก” ดร.สมชัยกล่าว

    Cr. #TheStatesTimes
    TDRI เตือนรัฐหยุดแจกเงินดิจิทัล หลังไปไม่ช่วยกระตุ้น ศก. แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน (21 มี.ค. 68) ดร.สมชัย จิตสุชน เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน ขณะที่เฟส 3 หนุนทบทวนเงื่อนไขเปิดทางใช้เงินหมื่นซื้อคอร์สอัปสกิล-รีสกิลได้ หวังพัฒนาทักษะคน เตือน รัฐบาลรับมือเศรษฐกิจซบเซา จากปัจจัยภายนอก-ในประเทศ โดยเฉพาะความปั่นป่วนจากสงครามการค้า – หนี้ครัวเรือนสูง ห่วงภาระการคลัง ทำเรตติงประเทศตก ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) กล่าวถึงนโยบายเงินดิจิทัลเฟส 3 ที่ให้กับผู้มีอายุ 16-20 ปีว่า มีการคาดการณ์กันว่าในเฟสที่ 3 นี้อาจได้ผลบ้าง เพราะกลุ่มคนที่แจกยังไม่มีรายได้ หรือมีรายได้ที่ไม่มากนัก เมื่อได้เงินมาอาจจะใช้เร็ว แต่เชื่อว่าไม่น่าจะได้ผลมากกว่าเฟส 1 ที่มอบให้กับผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและกลุ่มเปราะบาง อย่างไรก็ตามหากอยากให้ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจจริง ๆ รัฐบาลควรละทิ้งแนวคิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสั้น และมุ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวมากขึ้น และไม่ควรเปิดทางให้นำเงินจำนวนนี้ไปซื้ออะไรก็ได้ แต่ควรกำหนดให้ใช้ไปกับการหาความรู้ อัปสกิล รีสกิล ซึ่งเหมาะสมกับกลุ่มเยาวชนพอดี เพราะเป็นกลุ่มที่กำลังจะเข้าสู่กำลังแรงงานซึ่งอาจจะนำเงินจำนวนนี้ไปเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มเติมให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งแม้จะไม่เห็นผลในระยะสั้นมากนัก แต่ผลในระยะยาวจะดีกว่ากันมากเพราะเป็นการดึงศักยภาพของคนซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจไทยได้ประโยชน์ สำหรับกรณีที่นายกรัฐมนตรียืนยันว่าทุกคนที่เข้าเงื่อนไขจะได้รับสิทธิทั้งหมดนั้น ดร.สมชัย กล่าวว่า เป็นการทำให้ตรงกับที่หาเสียงไว้ แต่เห็นชัดแล้วว่าการดำเนินโครงการทั้งเฟส 1- 2 รวมทั้งเฟส 3 ที่กำลังจะเกิดขึ้น ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจไม่ดีจริงอย่างที่หาเสียงไว้ จึงควรทบทวน “ตอนที่หาเสียงไว้ และตอนที่เป็นรัฐบาลใหม่ ๆ บอกว่าโครงการนี้จะทำให้เศรษฐกิจเฟื่องฟู บางคนบอกจะทำให้ไทยหลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้ด้วยซ้ำ ซึ่งก็ไม่มีคนเชื่อ และวันนี้พิสูจน์แล้วว่าไม่จริง ในเมื่อมันพิสูจน์แล้วว่าไม่จริง ก็ไม่ควรจะเดินหน้าต่อ เรามองว่าเงินนี้นำไปทําอย่างอื่นที่มีประโยชน์ได้มากกว่าเยอะ” ดร.สมชัยระบุ เตือนหยุดสุรุ่ยสุร่ายแจกเงินหมื่น แนะใช้งบพัฒนาดิจิทัล อินเทอร์เน็ตฟรี ดึงศักยภาพคน หนุนเศรษฐกิจ ดร.สมชัย กล่าวด้วยว่า นอกจากงบประมาณหลายแสนล้านที่ต้องเสียไปจากการใช้จ่ายที่ไม่มีประสิทธิภาพ ยังมีต้นทุนค่าเสียโอกาสด้วย ซึ่งถือว่าเป็นความสูญเสียที่มากกว่าตัวเงินเสียอีก เพราะอย่าลืมว่าวันนี้ภาคการคลังของไทยอ่อนแอมาก ประเทศไทยมีเงินน้อยลง ประชาชนก็มีเงินน้อยลง เพราะฉะนั้นนำเงินงบประมาณไปใช้ต้องคิดอย่างระมัดระวัง ถ้านำไปใช้ในเรื่องที่ไม่สมควรใช้ จนทำให้เรื่องที่สมควรใช้จะถูกตัดทิ้งไปก็น่าเสียดาย เช่น เรื่องการพัฒนาทักษะของคน การปรับตัวเพื่อรับมือกับวิกฤตโลกร้อน การเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว รวมทั้งระบบสวัสดิการสังคมของไทยก็ยังมีปัญหาในบางจุด และเรื่องของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและดิจิทัล ซึ่งจะทําให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งกันดีขึ้น ทั้งหมดนี้จําเป็นต้องใช้เงินงบประมาณของรัฐบาลในการเดินหน้า แต่อาจถูกชะลอออกไปเพราะเอาเงินมาใช้ในเรื่องที่ไม่สมควรใช้แบบนี้ ดังนั้นไม่สนับสนุนให้รัฐบาลเดินหน้าเงินดิจิทัลในเฟสต่อไปอีก “รัฐบาลควรนำงบประมาณไปลงทุนในเรื่องของดิจิทัล ทําอินเทอร์เน็ตฟรี ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งเรื่องนี้จะช่วยได้มาก ในเรื่องของผลิตภาพของประชาชน เพราะเกิดการพัฒนาตัวเองและสร้างรายได้ ผมเชื่อว่ามีอัจฉริยะที่ซ่อนอยู่ตามซอกมุมต่าง ๆ ของประเทศอยู่มาก เพียงแต่ว่าเขาไม่ได้รับโอกาส รัฐบาลก็ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อให้แน่ใจว่าเขาจะได้ใช้ประโยชน์จากศักยภาพที่เขามีอยู่ เรื่องนี้เป็นเรื่องที่น่าทํา แต่คงไม่ได้ทํา ถ้าเกิดว่าต้องมาจ่ายเงินแบบสุรุ่ยสุร่ายแบบนี้ไปเรื่อย ๆ” ดร.สมชัยระบุ สงครามการค้าจะทำเศรษฐกิจไทยซบเซา ห่วงภาคการคลังมีปัญหา หนี้รัฐ-ครัวเรือนสูงชนเพดาน ดร.สมชัย ในฐานะอดีตกนง.ยังมีข้อเสนอแนะต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของรัฐบาล ว่า ต้องพยายามแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างมากขึ้น อย่าเน้นระยะสั้น เช่น ดิจิทัลวอลเล็ต กาสิโน พนันออนไลน์ แต่ควรเพิ่มน้ำหนักในกลุ่มมาตรการระยะยาวมากขึ้น และจะต้องเตรียมรับมือกับความยากลําบากที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสงครามการค้าที่คาดว่าจะมาแบบเต็มรูปแบบเมื่อเทียบกับยุคทรัมป์ 1.0 ต้องไม่ลืมว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในหลายปีที่ผ่านมาถูกมองว่าดีเกินไปจนน่าจะมาถึงอาจจะซบเซาลงตามวัฏจักร รวมทั้งเรื่องของสงครามยูเครนในยุโรป อาจส่งผลกระทบต่อไทยในฐานประเทศที่พึ่งพาการส่งออก และท่องเที่ยวมาก ขณะที่ในประเทศเองหนี้ครัวเรือนสูง ความสามารถในการผลิตไม่ได้ดีมากนัก เพราะฉะนั้นจะมีปัจจัยทั้งภายนอกและภายในเข้ามาพร้อมกัน “เศรษฐกิจคงซบเซาต่อไป และมองไป 4 ปีถัดไป ภาพก็จะคล้ายกันถ้าไม่ได้มีการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัว และถ้ามีการใช้จ่ายเงินอย่างไม่ระมัดระวังแบบนี้ ภาคการคลังจะมีปัญหา หนี้สาธารณะก็คงจะถึง 70 เปอร์เซ็นต์ต่อจีดีพีภายในไม่กี่ปีนี้ ในขณะที่ภาระการจ่ายหนี้ของรัฐบาล ทั้งดอกเบี้ย และเงินต้น ก็มีสิทธิ์ที่จะขึ้นไปใกล้ ๆ ชน 15 เปอร์เซ็นต์ที่กําหนดในกฎหมาย ทั้งหมดนี้จะทําให้เรตติ้งของภาครัฐไทยแย่ลงในสายตาของบริษัทประเมินเรตติง ซึ่งเป็นผลเสียระยะยาว เพราะว่าหมายถึง ต้นทุนการกู้ยืมของรัฐบาล และจะลามไปถึงภาคเอกชนอาจจะสูงขึ้น ซึ่งก็จะซ้ำเติมเรื่องของเศรษฐกิจเข้าไปอีก” ดร.สมชัยกล่าว Cr. #TheStatesTimes
    0 Comments 0 Shares 1021 Views 0 Reviews
  • หยุดแจกเงินดิจิทัล พิสูจน์แล้วไม่ช่วยเศรษฐกิจ เตือนมองปัญหารอบด้าน
    .
    นอกเหนือไปจากการเปิดประเด็นเกี่ยวกับการผุดนโยบายซื้อหนี้ประชาชนแล้ว โครงการแจกเงินดิจิทัล ก็ยังเป็นหนึ่งในประเด็นที่ยังคงได้รับเสียงวิจารณ์อีกพอสมควร ว่าเฟส 3 ซึ่งมอบให้กับผู้มีอายุ 16-20 ปี อาจได้ผลบ้าง เนื่องจากกลุ่มนี้ยังไม่มีรายได้มากนัก แต่ผลลัพธ์จะไม่ดีกว่าเฟส 1 ที่ให้กลุ่มเปราะบาง ควรเน้นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระยะยาว
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000027066
    หยุดแจกเงินดิจิทัล พิสูจน์แล้วไม่ช่วยเศรษฐกิจ เตือนมองปัญหารอบด้าน . นอกเหนือไปจากการเปิดประเด็นเกี่ยวกับการผุดนโยบายซื้อหนี้ประชาชนแล้ว โครงการแจกเงินดิจิทัล ก็ยังเป็นหนึ่งในประเด็นที่ยังคงได้รับเสียงวิจารณ์อีกพอสมควร ว่าเฟส 3 ซึ่งมอบให้กับผู้มีอายุ 16-20 ปี อาจได้ผลบ้าง เนื่องจากกลุ่มนี้ยังไม่มีรายได้มากนัก แต่ผลลัพธ์จะไม่ดีกว่าเฟส 1 ที่ให้กลุ่มเปราะบาง ควรเน้นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระยะยาว . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000027066
    Like
    Love
    Haha
    Wow
    Angry
    20
    0 Comments 1 Shares 1996 Views 0 Reviews
  • “เศรษฐกิจคงซบเซาต่อไป และมองไป 4 ปีถัดไป ภาพก็จะคล้ายกันถ้าไม่ได้มีการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัว และถ้ามีการใช้จ่ายเงินอย่างไม่ระมัดระวังแบบนี้ ภาคการคลังจะมีปัญหา หนี้สาธารณะก็คงจะถึง 70 เปอร์เซ็นต์ต่อจีดีพีภายในไม่กี่ปีนี้ ในขณะที่ภาระการจ่ายหนี้ของรัฐบาล ทั้งดอกเบี้ย และเงินต้น ก็มีสิทธิ์ที่จะขึ้นไปใกล้ ๆ ชน 15 เปอร์เซ็นต์ ทั้งหมดนี้จะทําให้เรตติ้งของภาครัฐไทยแย่ลง”
    .
    เป็นข้อห่วงใยของดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ต่อการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐ โดยเฉพาะโครงการดิจิทัลวอลเลต ที่ยังคงยืนยันว่าจะมอบเงินหมื่นให้กับทุกคนที่เข้าเงื่อนไขในเฟสต่อไป
    .
    ทีดีอาร์ไอ ชวนอ่าน “สมชัย จิตสุชน”เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน https://tdri.or.th/2025/03/somchai-digital-wallet-opinion/
    “เศรษฐกิจคงซบเซาต่อไป และมองไป 4 ปีถัดไป ภาพก็จะคล้ายกันถ้าไม่ได้มีการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัว และถ้ามีการใช้จ่ายเงินอย่างไม่ระมัดระวังแบบนี้ ภาคการคลังจะมีปัญหา หนี้สาธารณะก็คงจะถึง 70 เปอร์เซ็นต์ต่อจีดีพีภายในไม่กี่ปีนี้ ในขณะที่ภาระการจ่ายหนี้ของรัฐบาล ทั้งดอกเบี้ย และเงินต้น ก็มีสิทธิ์ที่จะขึ้นไปใกล้ ๆ ชน 15 เปอร์เซ็นต์ ทั้งหมดนี้จะทําให้เรตติ้งของภาครัฐไทยแย่ลง” . เป็นข้อห่วงใยของดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ต่อการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐ โดยเฉพาะโครงการดิจิทัลวอลเลต ที่ยังคงยืนยันว่าจะมอบเงินหมื่นให้กับทุกคนที่เข้าเงื่อนไขในเฟสต่อไป . ทีดีอาร์ไอ ชวนอ่าน “สมชัย จิตสุชน”เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน https://tdri.or.th/2025/03/somchai-digital-wallet-opinion/
    TDRI.OR.TH
    "สมชัย จิตสุชน"เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน - TDRI: Thailand Development Research Institute
    ดร.สมชัย จิตสุชน เตือนรัฐ หยุดเดินหน้าโครงการเงินดิจิทัลในเฟสต่อไป แนะใช้งบแก้ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวแทน ขณะที่เฟส 3 หนุนทบทวนเงื่อนไขเปิดทางใช้เงินหมื่นซื้อคอร์สอัพสกิล-รีสกิลได้ หวังพัฒนาทักษะคน เตือน รัฐบาลรับมือเศรษฐกิจซบเซา จากปัจจัยภายนอก-ในประเทศ โดยเฉพาะความปั่นป่วนจากสงครามการค้า – หนี้ครัวเรือนสูง ห่วงภาระการคลัง ทำเรตติ้งประเทศตก
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 468 Views 0 Reviews
  • "ถึงแม้ว่าโลกเกมจะเต็มไปด้วยความสนุกสนานและความหลากหลายของผู้เล่น แต่ในมุมของผู้หญิงที่ทำงานในอุตสาหกรรมนี้ ยังมีปัญหาใหญ่ที่ต้องเผชิญ ผู้หญิงหลายคนเล่าถึงประสบการณ์ที่ถูกล่วงละเมิดหรือไม่ได้รับความเคารพในที่ทำงาน ตัวเลขของผู้หญิงในสายเทคโนโลยียังต่ำมาก แม้จะมีความพยายามเปลี่ยนแปลง เช่น บริษัทใหญ่อย่าง Ubisoft ได้ลงมือปรับปรุงระบบภายใน แต่วิกฤตเศรษฐกิจกลับทำให้ปัญหาใหม่เกิดขึ้น เช่น การลดตำแหน่งงานและการลดงบประมาณสนับสนุนด้านความหลากหลาย เรื่องนี้ยังเป็นความท้าทายใหญ่ที่ต้องแก้ไขต่อไป

    สถิติที่น่าตกใจ:
    - มีการเติบโตของจำนวนผู้หญิงในวงการเกมในฝรั่งเศสจาก 15% ในปี 2018 เป็น 24% ในปี 2023 แต่ในตำแหน่งงานด้านเทคนิค เช่น การออกแบบและเขียนโค้ด ยังคงมีผู้หญิงน้อยกว่า 10%.

    การดำเนินการของบริษัทใหญ่:
    - Ubisoft มีการปรับปรุงด้านทรัพยากรบุคคลและตั้งทีมดูแลพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ขณะที่อดีตผู้บริหารบางรายถูกไล่ออกและอยู่ระหว่างรอการพิจารณาคดี

    ความกังวลในยุคเศรษฐกิจไม่มั่นคง:
    - ปัญหาเศรษฐกิจทำให้บริษัทเกมหลายแห่งลดจำนวนงาน และผู้หญิงที่อยู่ในตำแหน่งล่าง ๆ ขององค์กรมักได้รับผลกระทบก่อน
    - การลดทรัพยากรสำหรับความหลากหลายและความเท่าเทียมกัน (Diversity, Equity, Inclusion: DEI) กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าอาจถอยหลังไปสู่ปัญหาเดิม

    ผลกระทบทางวัฒนธรรม:
    - ผู้หญิงหลายคนไม่กล้าเปิดเผยปัญหาเพราะกลัวเสียชื่อเสียงหรือถูกแบล็กลิสต์ในวงการที่เล็กและเชื่อมโยงกันมาก

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/18/games-industry-still-a-hostile-environment-for-many-women
    "ถึงแม้ว่าโลกเกมจะเต็มไปด้วยความสนุกสนานและความหลากหลายของผู้เล่น แต่ในมุมของผู้หญิงที่ทำงานในอุตสาหกรรมนี้ ยังมีปัญหาใหญ่ที่ต้องเผชิญ ผู้หญิงหลายคนเล่าถึงประสบการณ์ที่ถูกล่วงละเมิดหรือไม่ได้รับความเคารพในที่ทำงาน ตัวเลขของผู้หญิงในสายเทคโนโลยียังต่ำมาก แม้จะมีความพยายามเปลี่ยนแปลง เช่น บริษัทใหญ่อย่าง Ubisoft ได้ลงมือปรับปรุงระบบภายใน แต่วิกฤตเศรษฐกิจกลับทำให้ปัญหาใหม่เกิดขึ้น เช่น การลดตำแหน่งงานและการลดงบประมาณสนับสนุนด้านความหลากหลาย เรื่องนี้ยังเป็นความท้าทายใหญ่ที่ต้องแก้ไขต่อไป สถิติที่น่าตกใจ: - มีการเติบโตของจำนวนผู้หญิงในวงการเกมในฝรั่งเศสจาก 15% ในปี 2018 เป็น 24% ในปี 2023 แต่ในตำแหน่งงานด้านเทคนิค เช่น การออกแบบและเขียนโค้ด ยังคงมีผู้หญิงน้อยกว่า 10%. การดำเนินการของบริษัทใหญ่: - Ubisoft มีการปรับปรุงด้านทรัพยากรบุคคลและตั้งทีมดูแลพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ขณะที่อดีตผู้บริหารบางรายถูกไล่ออกและอยู่ระหว่างรอการพิจารณาคดี ความกังวลในยุคเศรษฐกิจไม่มั่นคง: - ปัญหาเศรษฐกิจทำให้บริษัทเกมหลายแห่งลดจำนวนงาน และผู้หญิงที่อยู่ในตำแหน่งล่าง ๆ ขององค์กรมักได้รับผลกระทบก่อน - การลดทรัพยากรสำหรับความหลากหลายและความเท่าเทียมกัน (Diversity, Equity, Inclusion: DEI) กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าอาจถอยหลังไปสู่ปัญหาเดิม ผลกระทบทางวัฒนธรรม: - ผู้หญิงหลายคนไม่กล้าเปิดเผยปัญหาเพราะกลัวเสียชื่อเสียงหรือถูกแบล็กลิสต์ในวงการที่เล็กและเชื่อมโยงกันมาก https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/18/games-industry-still-a-hostile-environment-for-many-women
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Games industry still a hostile environment for many women
    Five years on from a first wave of harassment scandals that rocked the world of gaming, multiple women working in the industry tell AFP they have seen or experienced sexism in the workplace, fearing economic hardship in the sector will lead to backsliding.
    0 Comments 0 Shares 460 Views 0 Reviews
  • สถานการณ์ของบริษัทเทคโนโลยีสตาร์ทอัพในประเทศฝรั่งเศสดูไม่สู้ดีนัก พวกเขากำลังเผชิญปัญหาอัตราการล้มละลายที่เพิ่มขึ้น สถานการณ์นี้อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของฝรั่งเศสในฐานะผู้นำด้านเทคโนโลยีในยุโรปและหนึ่งในเสาหลักของเศรษฐกิจประเทศ

    ในช่วงเริ่มแรก รัฐบาลของประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล มาครง มีนโยบายสนับสนุนสตาร์ทอัพและผลักดันให้ฝรั่งเศสเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีของยุโรป เช่น การสร้างศูนย์ Station F ในปารีส และการจัดประชุมสุดยอด AI ระดับโลก อย่างไรก็ตาม ปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ซบเซาทำให้บริษัทเทคโนโลยีเหล่านี้เจอกับข้อจำกัดในการเข้าถึงเงินทุน รายงานจาก ScaleX Invest ระบุว่า 10.4% ของบริษัทเทคโนโลยีที่ได้รับการวิเคราะห์อยู่ในความเสี่ยงสูงที่จะล้มละลาย

    ที่น่าสนใจคือ บริษัทที่ล้มละลายไม่ใช่เพียงแค่สตาร์ทอัพเริ่มต้น แต่รวมถึงบริษัทที่ได้รับเงินทุนสูงถึง 32.5 ล้านยูโร ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ว่าสภาพเศรษฐกิจและตลาดเงินทุนที่ตึงตัวมีผลกระทบแม้แต่กับบริษัทที่มีศักยภาพ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/11/french-tech-start-up-bankruptcies-are-increasing-survey-finds
    สถานการณ์ของบริษัทเทคโนโลยีสตาร์ทอัพในประเทศฝรั่งเศสดูไม่สู้ดีนัก พวกเขากำลังเผชิญปัญหาอัตราการล้มละลายที่เพิ่มขึ้น สถานการณ์นี้อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของฝรั่งเศสในฐานะผู้นำด้านเทคโนโลยีในยุโรปและหนึ่งในเสาหลักของเศรษฐกิจประเทศ ในช่วงเริ่มแรก รัฐบาลของประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล มาครง มีนโยบายสนับสนุนสตาร์ทอัพและผลักดันให้ฝรั่งเศสเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีของยุโรป เช่น การสร้างศูนย์ Station F ในปารีส และการจัดประชุมสุดยอด AI ระดับโลก อย่างไรก็ตาม ปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ซบเซาทำให้บริษัทเทคโนโลยีเหล่านี้เจอกับข้อจำกัดในการเข้าถึงเงินทุน รายงานจาก ScaleX Invest ระบุว่า 10.4% ของบริษัทเทคโนโลยีที่ได้รับการวิเคราะห์อยู่ในความเสี่ยงสูงที่จะล้มละลาย ที่น่าสนใจคือ บริษัทที่ล้มละลายไม่ใช่เพียงแค่สตาร์ทอัพเริ่มต้น แต่รวมถึงบริษัทที่ได้รับเงินทุนสูงถึง 32.5 ล้านยูโร ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ว่าสภาพเศรษฐกิจและตลาดเงินทุนที่ตึงตัวมีผลกระทบแม้แต่กับบริษัทที่มีศักยภาพ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/03/11/french-tech-start-up-bankruptcies-are-increasing-survey-finds
    WWW.THESTAR.COM.MY
    French tech start-up bankruptcies are increasing, survey finds
    PARIS (Reuters) - Bankruptcies in France's tech start-up sector are increasing, according to a survey published on Tuesday whose findings could undermine President Emmanuel Macron's image of Paris as a leading European tech hub and key driver of the French economy.
    0 Comments 0 Shares 319 Views 0 Reviews
  • สนธิเล่าเรื่อง : 05-03-68
    วันนี้คุณสนธิจะมาเล่า สงครามยูเครน โดยโดนัลด์ ทรัมป์ก็กำลังจะเข้าแถลงต่อสภาคองเกรสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ , รวมไปถึงสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ปัญหาเศรษฐกิจไทย ความตกต่ำของตลาดหุ้น รวมไปถึงราคาทองคำด้วย
    https://www.youtube.com/watch?v=w5twIWp6lBE

    #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    สนธิเล่าเรื่อง : 05-03-68 วันนี้คุณสนธิจะมาเล่า สงครามยูเครน โดยโดนัลด์ ทรัมป์ก็กำลังจะเข้าแถลงต่อสภาคองเกรสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ , รวมไปถึงสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ปัญหาเศรษฐกิจไทย ความตกต่ำของตลาดหุ้น รวมไปถึงราคาทองคำด้วย https://www.youtube.com/watch?v=w5twIWp6lBE #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    Like
    Love
    Yay
    Haha
    Wow
    64
    18 Comments 1 Shares 4667 Views 1 Reviews
  • สนธิเล่าเรื่อง : 05-03-68
    .
    สวัสดีเช้าวันพุธแฟน ๆ รายการทุกท่าน วันนี้คุณสนธิจะมาเล่า และวิเคราะห์หลายเรื่องให้ฟัง โดยเฉพาะเรื่องราวต่างประเทศ สงครามยูเครน โดยเฉพาะในเวลาเดียวกันกับที่คุณสนธิ Live สดนี้ นายโดนัลด์ ทรัมป์ก็กำลังจะเข้าแถลงต่อสภาคองเกรสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ , รวมไปถึงสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ปัญหาเศรษฐกิจไทย ความตกต่ำของตลาดหุ้น รวมไปถึงราคาทองคำด้วย
    .
    คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=w5twIWp6lBE
    .
    #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    สนธิเล่าเรื่อง : 05-03-68 . สวัสดีเช้าวันพุธแฟน ๆ รายการทุกท่าน วันนี้คุณสนธิจะมาเล่า และวิเคราะห์หลายเรื่องให้ฟัง โดยเฉพาะเรื่องราวต่างประเทศ สงครามยูเครน โดยเฉพาะในเวลาเดียวกันกับที่คุณสนธิ Live สดนี้ นายโดนัลด์ ทรัมป์ก็กำลังจะเข้าแถลงต่อสภาคองเกรสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ , รวมไปถึงสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ปัญหาเศรษฐกิจไทย ความตกต่ำของตลาดหุ้น รวมไปถึงราคาทองคำด้วย . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=w5twIWp6lBE . #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    Like
    6
    1 Comments 0 Shares 622 Views 0 Reviews
  • ชักแม่น้ำแจงเศรษฐกิจไม่โต 'แพทองธาร' อ้างลงทุนน้อย วอนขอความเชื่อมั่น
    .
    ณ จุดนี้ต้องบอกว่าปัจจัยแวดล้อมดูจะไม่เป็นประโยชน์ต่อตัว 'แพทองธาร ชินวัตร' นายกรัฐมนตรี เท่าใดนัก โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ภายหลังตัวเลขเศรษฐกิจของไทยที่ประกาศออกมาไม่ได้เป็นไปอย่างที่รัฐบาลตั้งความหวังเอาไว้ จึงส่งผลต่อมายังตลาดหุ้นของไทยที่ตัวเลขแดงกันเกือบทั้งกระดาน
    .
    ในเรื่องนี้ แพทองธาร อธิบายผ่านรายการ “โอกาสไทยกับนายกแพทองธาร” #EmpoweringThais ตอนหนึ่งว่า อยากพูดเรื่องของเศรษฐกิจมีตัวเลขจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) ซึ่งมีหลายฝ่ายรู้สึกกังวลว่าเศรษฐกิจของเราไม่โต และรั้งท้ายในกลุ่มอาเซียน ซึ่งความจริงแล้วเศรษฐกิจภาพใหญ่ไตรมาส4 ปี 2567 จีดีพีเราขึ้น 3.2% รวมทั้งหมด ทั้งปีจีดีพีขึ้นอยู่ที่ 2.5% แค่ไตรมาส 4 อย่างเดียวขึ้นพอสมควร เกิดจากนโยบายฟรีวีซ่า การลงทุนของภาครัฐ และการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ)
    .
    "แต่มีคำถามว่าทำไมประเทศของเราจีดีพีขึ้นน้อย รั้งท้ายอาเซียน เพราะความจริง 10 กว่าปีที่ผ่านมา เราไม่ค่อยมีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ หากเราไม่ทำให้ธุรกิจก้าวไปข้างหน้า เราจะตามคนอื่นไม่ทัน ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องดันจีดีพีประเทศไทยขึ้นด้วยกัน ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นคนดันต้องใช้ความร่วมมือจากทุกฝ่าย" นายกฯ ระบุ
    .
    "ก็ขอกำลังใจเยอะๆบางทีก็มีท้อบ้าง แต่ว่าไม่ท้อนานแน่นอน สู้ค่ะ ประเทศยังต้องการพัฒนา การผลักดันอีกเยอะ คนยังต้องการการสนับสนุนอีกเยอะ ดิฉันเองวันนี้ที่มีโอกาสเป็นนายกฯทำหน้าที่เต็มที่ที่สุด เพราะฉะนั้นปีแห่งโอกาส ทุกคนต้องมีความหวังและต้องได้รับโอกาสแน่นอน”
    .
    ด้าน ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “6 เดือน รัฐบาลนายกฯ อุ๊งอิ๊ง” จำนวนทั้งสิ้น 1,310 หน่วย โดยเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก
    .
    ส่วนความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก
    .............
    Sondhi X
    ชักแม่น้ำแจงเศรษฐกิจไม่โต 'แพทองธาร' อ้างลงทุนน้อย วอนขอความเชื่อมั่น . ณ จุดนี้ต้องบอกว่าปัจจัยแวดล้อมดูจะไม่เป็นประโยชน์ต่อตัว 'แพทองธาร ชินวัตร' นายกรัฐมนตรี เท่าใดนัก โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ภายหลังตัวเลขเศรษฐกิจของไทยที่ประกาศออกมาไม่ได้เป็นไปอย่างที่รัฐบาลตั้งความหวังเอาไว้ จึงส่งผลต่อมายังตลาดหุ้นของไทยที่ตัวเลขแดงกันเกือบทั้งกระดาน . ในเรื่องนี้ แพทองธาร อธิบายผ่านรายการ “โอกาสไทยกับนายกแพทองธาร” #EmpoweringThais ตอนหนึ่งว่า อยากพูดเรื่องของเศรษฐกิจมีตัวเลขจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) ซึ่งมีหลายฝ่ายรู้สึกกังวลว่าเศรษฐกิจของเราไม่โต และรั้งท้ายในกลุ่มอาเซียน ซึ่งความจริงแล้วเศรษฐกิจภาพใหญ่ไตรมาส4 ปี 2567 จีดีพีเราขึ้น 3.2% รวมทั้งหมด ทั้งปีจีดีพีขึ้นอยู่ที่ 2.5% แค่ไตรมาส 4 อย่างเดียวขึ้นพอสมควร เกิดจากนโยบายฟรีวีซ่า การลงทุนของภาครัฐ และการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) . "แต่มีคำถามว่าทำไมประเทศของเราจีดีพีขึ้นน้อย รั้งท้ายอาเซียน เพราะความจริง 10 กว่าปีที่ผ่านมา เราไม่ค่อยมีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ หากเราไม่ทำให้ธุรกิจก้าวไปข้างหน้า เราจะตามคนอื่นไม่ทัน ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องดันจีดีพีประเทศไทยขึ้นด้วยกัน ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นคนดันต้องใช้ความร่วมมือจากทุกฝ่าย" นายกฯ ระบุ . "ก็ขอกำลังใจเยอะๆบางทีก็มีท้อบ้าง แต่ว่าไม่ท้อนานแน่นอน สู้ค่ะ ประเทศยังต้องการพัฒนา การผลักดันอีกเยอะ คนยังต้องการการสนับสนุนอีกเยอะ ดิฉันเองวันนี้ที่มีโอกาสเป็นนายกฯทำหน้าที่เต็มที่ที่สุด เพราะฉะนั้นปีแห่งโอกาส ทุกคนต้องมีความหวังและต้องได้รับโอกาสแน่นอน” . ด้าน ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “6 เดือน รัฐบาลนายกฯ อุ๊งอิ๊ง” จำนวนทั้งสิ้น 1,310 หน่วย โดยเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก . ส่วนความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก ............. Sondhi X
    Like
    Haha
    Angry
    9
    1 Comments 0 Shares 1747 Views 0 Reviews
  • 27/2/68

    ประวัติอ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    https://youtu.be/ptET6EOeFwo?si=F24iH5N_QJ1sO4-O

    ประวัติ

    เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 (54ปี) กรุงเทพมหานคร ถิ่นพำนัก กรุงเทพมหานคร สัญชาติไทย

    ประวัติการศึกษา

    โรงเรียนอัสสัมชัญ รุ่น 103
    พ.ศ. 2536 : ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    พ.ศ. 2539 : ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
    อาชีพ
    นักเคลื่อนไหวทางการเมือง และ ผู้จัดรายการ

    ปีปฏิบัติงาน

    พ.ศ. 2519 - 2550 : เป็นที่รู้จักจากแกนนำกลุ่ม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2
    โฆษกกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

    พ.ศ. 2549 : การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
    ศาสนา : ศาสนาพุทธ

    บิดามารดา
    นายเจริญ และ นางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์

    ญาติ
    พรรคความหวังใหม่
    โฆษกและแกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2
    สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี และ เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีสถาบันแพทย์แผนบูรณาการและเวชศาสตร์ชะลอวัย มหาวิทยาลัยรังสิตChoawalit Chotwattanaphong [2]อดีตผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง

    ประวัติชีวิต

    นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ

    เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540

    ประวัติทางการเมือง

    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่[3] และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย

    เมื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต

    ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ "วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ" รวมไปถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ "โต๊ะข่าวเช้านี้"

    ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการในเอเอสทีวี (ASTV) คือรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.- 21:30น. ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการอีกด้วย ซึ่งยังทำมาจนถึงปัจจุบัน

    ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ.ศ. 2551 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ยังคงทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวทีอย่างต่อเนื่อง

    นอกเหนือจากรายการที่ เอเอสทีวี แล้ว ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ยังมีรายการ "เวทีเสรี" ที่อออกอากาศ ช่วง 21.00 - 22.00 น. ทาง ทีทีวี ช่อง เอ็มวี1 ด้วย โดยเป็นวิทยากรประจำวันอังคาร ซึ่งปัจจุบันไม่ได้ออกอากาศแล้ว

    ได้รับแต่งตั้งให้เป็นโฆษกกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และเป็นนักวิชาการบนเวทีที่พูดในประเด็นกรณีเขาพระวิหาร เมื่อการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรฯ ชื่อการชุมนุมรวมพลังปกป้องแผ่นดิน พ.ศ. 2554 คู่กับเทพมนตรี ลิมปพยอม

    ในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ปานเทพได้รับการแต่งตั้งให้เป็นแกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2 พร้อมกับ ประพันธ์ คูณมี

    และเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ปานเทพได้ ให้ข้อมูลกับสำนักข่าว เอเอสทีวีผู้จัดการออนไลน์ ว่าอเมริกามีโครงการ H.A.A.R.P. เป็นการยิงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับมายังผิวโลก ทำให้เกิดภัยธรรมชาติต่างๆ ในพื้นที่ตามที่ต้องการได้ เพื่อใช้เป็นอาวุธกำจัดศัตรูแบบใหม่

    ผลงานหนังสือ

    บันทึกลับ 2540
    ประเทศไทยได้รับบทเรียนอะไรจากการปิด 56 สถาบันการเงินเป็นการถาวร
    ผ่าทางตันแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กฟผ.
    บทเรียนขายหุ้นชินคอร์ป ระเบียบ ก.ล.ต. -ภาษี-จริยธรรม
    สงครามจิตวิทยาราคาน้ำมัน
    มหกรรมผลประโยชน์ทับซ้อน
    33 ประเด็นถาม-ตอบ ราชอาณาจักรไทยกำลังจะเสียดินแดน
    คำเตือนสุดท้าย ราชอาณาจักรไทยกำลังจะเสียดินแดน
    cr: http://www.cannhealth.in.th
    : บ้านคนดัง Celebrity Homes 4
    27/2/68 ประวัติอ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ https://youtu.be/ptET6EOeFwo?si=F24iH5N_QJ1sO4-O ประวัติ เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 (54ปี) กรุงเทพมหานคร ถิ่นพำนัก กรุงเทพมหานคร สัญชาติไทย ประวัติการศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญ รุ่น 103 พ.ศ. 2536 : ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2539 : ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา อาชีพ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง และ ผู้จัดรายการ ปีปฏิบัติงาน พ.ศ. 2519 - 2550 : เป็นที่รู้จักจากแกนนำกลุ่ม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2 โฆษกกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พ.ศ. 2549 : การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ศาสนา : ศาสนาพุทธ บิดามารดา นายเจริญ และ นางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ ญาติ พรรคความหวังใหม่ โฆษกและแกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2 สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี และ เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีสถาบันแพทย์แผนบูรณาการและเวชศาสตร์ชะลอวัย มหาวิทยาลัยรังสิต[1][2]อดีตผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง ประวัติชีวิต นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ประวัติทางการเมือง ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่[3] และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย เมื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ "วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ" รวมไปถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ "โต๊ะข่าวเช้านี้" ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการในเอเอสทีวี (ASTV) คือรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.- 21:30น. ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการอีกด้วย ซึ่งยังทำมาจนถึงปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ.ศ. 2551 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ยังคงทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวทีอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากรายการที่ เอเอสทีวี แล้ว ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ยังมีรายการ "เวทีเสรี" ที่อออกอากาศ ช่วง 21.00 - 22.00 น. ทาง ทีทีวี ช่อง เอ็มวี1 ด้วย โดยเป็นวิทยากรประจำวันอังคาร ซึ่งปัจจุบันไม่ได้ออกอากาศแล้ว ได้รับแต่งตั้งให้เป็นโฆษกกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และเป็นนักวิชาการบนเวทีที่พูดในประเด็นกรณีเขาพระวิหาร เมื่อการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรฯ ชื่อการชุมนุมรวมพลังปกป้องแผ่นดิน พ.ศ. 2554 คู่กับเทพมนตรี ลิมปพยอม ในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ปานเทพได้รับการแต่งตั้งให้เป็นแกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2 พร้อมกับ ประพันธ์ คูณมี และเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ปานเทพได้ ให้ข้อมูลกับสำนักข่าว เอเอสทีวีผู้จัดการออนไลน์ ว่าอเมริกามีโครงการ H.A.A.R.P. เป็นการยิงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับมายังผิวโลก ทำให้เกิดภัยธรรมชาติต่างๆ ในพื้นที่ตามที่ต้องการได้ เพื่อใช้เป็นอาวุธกำจัดศัตรูแบบใหม่ ผลงานหนังสือ บันทึกลับ 2540 ประเทศไทยได้รับบทเรียนอะไรจากการปิด 56 สถาบันการเงินเป็นการถาวร ผ่าทางตันแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กฟผ. บทเรียนขายหุ้นชินคอร์ป ระเบียบ ก.ล.ต. -ภาษี-จริยธรรม สงครามจิตวิทยาราคาน้ำมัน มหกรรมผลประโยชน์ทับซ้อน 33 ประเด็นถาม-ตอบ ราชอาณาจักรไทยกำลังจะเสียดินแดน คำเตือนสุดท้าย ราชอาณาจักรไทยกำลังจะเสียดินแดน cr: http://www.cannhealth.in.th : บ้านคนดัง Celebrity Homes 4
    0 Comments 0 Shares 1537 Views 0 Reviews
  • ด่วน!
    ‘ครม.‘ ส่งความเห็นถึง ‘แบงก์ชาติ’ อีกรอบ จี้ กนง.ลดดอกเบี้ย ดันเงินเฟ้อเข้ากรอบ 1-3% หวั่นเงินเฟ้อต่ำเป็นเวลานานแก้ปัญหาเศรษฐกิจยาก!
    #กรุงเทพธุรกิจ
    ด่วน! ‘ครม.‘ ส่งความเห็นถึง ‘แบงก์ชาติ’ อีกรอบ จี้ กนง.ลดดอกเบี้ย ดันเงินเฟ้อเข้ากรอบ 1-3% หวั่นเงินเฟ้อต่ำเป็นเวลานานแก้ปัญหาเศรษฐกิจยาก! #กรุงเทพธุรกิจ
    0 Comments 0 Shares 415 Views 0 Reviews
  • ยูเครนชนะกี่โมง? ย้อนฟัง "ช่อ พรรณิการ์"
    ฟันธงรัสเซียแพ้แน่นอน แพ้ย่อยยับ
    .
    ย้อนฟัง "ช่อ พรรณิการ์" ยอดนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศสายส้ม วิเคราะห์สงครามยูเครนแบบมั่นหน้า ด้วยการฟันธงว่า รัสเซียแพ้แน่นอน แพ้ย่อยยับ ปูตินจะถูกรัฐประหารเงียบ จนชาวเน็ตผู้มาจากอนาคตเข้าไปรุมคอมเมนต์เดือด เตือนความทรงจำ ถามเมื่อไหร่รัสเซียจะแพ้-ยูเครนจะชนะ?
    .
    ในสถานการณ์ทางการเมืองโลกที่ผันผวนภายหลังการยกหูโทรศัพท์พูดคุยกันนานกว่า 90 นาทีระหว่างนายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และ นายวลาดิเมียร์ ปูติน ประธานาธิบดีรัสเซีย เมื่อวันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ 2568 โดยในประเด็นสงครามยูเครนนั้น นายทรัมป์ กล่าวกับผู้สื่อข่าวภายหลังว่า “ถึงเวลาแล้วที่จะยุติสงครามไร้สาระนี้ ซึ่งเต็มไปด้วยการสังหารและการทำลายล้างที่ไม่จำเป็นเลย ขอพระเจ้าอวยพรประชาชนชาวรัสเซียและยูเครน!”
    .
    การเริ่มต้นพูดคุยระหว่าง ทรัมป์และปูติน อันนำมาสู่เหตุการณ์เมื่อ วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 สหรัฐฯ และรัสเซียนำโดย นายมาร์ค รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ นายเซอร์เกย์ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย ซึ่งดำเนินการเปิดโต๊ะการเจรจาเกี่ยวกับยูเครนกันเพียง 2 ฝ่าย อย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกที่กรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย โดยปราศจากตัวแทนของยูเครน และชาติต่าง ๆ ในยุโรปร่วมโต๊ะเลย แม้แต่คนเดียว
    .
    สถานการณ์ดังกล่าวสร้างความเดือดดาลให้กับนายโวโลดิเมียร์ เซเลนสกี ผู้นำยูเครนและผู้นำชาติต่างๆ ในยุโรปอย่างมาก เพราะการเปิดโต๊ะเจรจาดังกล่าวเป็นสัญญาณว่า ยูเครนและยุโรปน่าจะต้องตกเป็นเบี้ยล่าง และพ่ายแพ้ถูกทิ้งไว้ท่ามกลางซากปรักหักพัง รวมถึงปัญหาต่างๆ ที่เข้ารุมเร้าทั้งปัญหาเศรษฐกิจ ค่าครองชีพ การแย่งชิงบีบบังคับเอาทรัพยากรเพื่อชดใช้เงินช่วยเหลือในสงคราม ความวุ่นวายทางการเมืองภายใน รวมไปถึงปัญหาสังคมและผู้อพยพ ฯลฯ
    .
    ในส่วนของผู้ที่ติดตามข่าวสารเรื่องสงครามยูเครนในประเทศไทยส่วนหนึ่ง ได้มีผู้ย้อนไปหยิบยกการวิเคราะห์สถานการณ์สงครามยูเครนเมื่อ 2 ปีที่แล้ว โดย น.ส.พรรณิการ์ วานิช อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อ และโฆษกพรรคอนาคตใหม่ และอดีตเป็นพิธีกรรายการข่าวทางช่องวอยซ์ทีวี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งโฆษกคณะก้าวหน้า ซึ่งเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 หรือเกือบ 3 ปีที่แล้ว ได้วิเคราะห์เรื่องนี้เอาไว้ในยูทูปช่อง คณะก้าวหน้า - Progressive Movement ความยาวกว่า 25 นาที ในหัวเรื่องว่า "ช่อฟันธง! รัสเซียแพ้ย่อยยับ ปูตินชักศึกเข้าบ้าน!" (ลิงก์ >> https://www.youtube.com/watch?v=ytfIw1BHnEM)
    .
    ทั้งนี้ในรายการดังกล่าว "ช่อ พรรณิการ์" แห่งคณะก้าวหน้าได้กล่าวในตอนต้นว่า "ดิฉันขอฟันธง รัสเซียเธอแพ้แน่นอน นับวันแพ้ ทำไมถึงจะแพ้ เป็นเพราะอะไรเกิดอะไรขึ้น เป็นเพราะอะไร?"
    .
    จากนั้น อดีตโฆษกพรรคอนาคตใหม่ได้กล่าววิเคราะห์ต่อว่า สาเหตุที่รัสเซียจะพ่ายแพ้ต่อยูเครนและชาติพันธมิตรยุโรปนั้นมาจาก การบีบบังคับด้วยการใช้มาตรการทางเศรษฐกิจ-การเงินต่อยุโรป
    "มาตรการหลัก ๆ ที่ตอนนี้นำโดยสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ใช้อยู่จริง ๆ คือ มาตรการการเงิน ซึ่งมากไปกว่า มาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจการค้านะ แต่เรียกว่าเป็นการทุบค่าเงินและตัดตอนทางการเงินแบบขนานใหญ่ อย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อนในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา นานาประเทศตัดรัสเซียออกจากระบบการโอนเงินระหว่างประเทศ S.W.I.F.T., ระบบการเงินของธนาคารต่าง ๆ, มีการฟรีซแอสเสท หรือสินทรัพย์ของรัสเซียที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา รวมถึงประกาศไม่ให้มีการค้าขายกับรัสเซีย ..." น.ส.พรรณิการ์กล่าว และวิเคราะห์ต่อว่า นี่เองเป็นสาเหตุที่ค่าเงินรูเบิลของรัสเซียตกต่ำลงอย่างมาก จนแทบจะไม่มีค่า แทบจะกลายเป็นเศษกระดาษ
    .
    นอกจากนี้ ช่อ พรรณิการ์ ยังวิเคราะห์ต่ออย่างออกรสด้วยว่า ความเคลื่อนไหวที่สำคัญที่สุดคือ ท่าทีของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ที่เลือกจะทำตามมาตรการคว่ำบาตรของอียู คือ การอายัดทรัพย์สินของรัสเซียที่อยู่ในแบงก์สวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นมูลค่ากว่า 11,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไม่ใช่แค่การอายัดเฉพาะทรัพย์สินของรัฐ แต่เป็นทรัพย์สินของเอกชน และมหาเศรษฐีต่าง ๆ ของรัสเซียที่เกี่ยวข้องกับนายปูตินด้วยจะเป็นปัจจัยชี้ขายให้รัสเซียและนายปูตินพ่ายแพ้อย่างแน่นอน
    .
    "ดิฉันคิดว่า เมื่อสวิตเซอร์แลนด์ทำขนาดนี้แล้ว ปูตินนับวันแพ้ได้เลยนะคะ" โฆษกคณะก้าวหน้าฟันธง
    .
    ล่วงเลยมาถึงวันนี้ เมื่อทีมงาน Sondhi X กลับไปสำรวจความเห็นของผู้ที่เข้ามาชมคลิปการวิเคราะห์สถานการณ์โลกดังกล่าวของช่อ พรรณิการ์ ทางยูทูปของคณะก้าวหน้าแล้วก็พบว่า มีผู้เข้าไปย้อนดูคลิปดังกล่าวและแสดงความเห็นเป็นจำนวนมาก ยกตัวอย่างเช่น
    • สวัสดีเรามาจากอนาคต 2025 ตอนนี้ทรัมป์กับปูตินเจรจากันแล้วนะเรื่องยูเครนโดยไม่มีไอ้กี้ หรือใช้คำว่าไม่เห็นหัวไอ้กี้ ก็คงไม่ผิดนัก ส่วนไอ้กี้ก็หัวซุกหัวซุนเกาะยุโรปที่เหลืออย่างแนบแน่น จริงแล้วตอนนี้ ยูเครนต้องเลือกปธน.ใหม่แล้วนะ แต่ไอ้กี้ไม่ยอม และไม่ฟังเสียงปชช.เลย โคจรหวงอำนาจเลย ยังไงรบกวนคุณช่อประท้วงแทนปชช.ชาวยูเครนด้วยนะ หรือส่งให้ว่าที่ เลขา UN ด้วยนะครับ
    • เมื่อไรจะแพ้ รออยู่นะคับ
    • ทายแค่ ซ้ายขวายังผิดยังคิดจะมาบริหารประเทศ อายมั้ยส้ม
    • 20-2-2025 ทายผิดจนขนลุก ยูเครนเละโดนรุมทึ้งแบ่งเค้กผลประโยชน์ของชาติ แถมไม่มีสิทธิแม้แต่เข้าร่วมเจรจาสันติภาพเลือกชะตากรรมของชาติตัวเอง
    • ยูเครนชนะยังครับ รอจนเมื่อยแล้ว
    • สรุปทำไมวิเคราะห์ผิดหมดเลย ไม่มีข้อมูลเพียงพอรอบด้าน หรือไม่มีศักยภาพในการวิเคราะห์ ถ้าได้บริหารประเทศวิเคราะห์ผิดแบบนี้แย่แน่นอน
    • สวัสดีเรามาจากอนาคต สภาพ ผิดทุกเรื่องตรงข้ามทุกอย่าง 5555
    • วิเคราะห์มาถึงขนาดนี้ ปัจจุบันคุณเห็นหรือยังใครเป็นคนทำสงคราม นาโต้ทำสงครามกับรัสเซีย ยูเครนเป็นสนามรบ ผู้สนับสนุนหลักคืออเมริกา
    รัสเซียบุกยูเครน ก็เพราะนาโต้ขยายอาณาเขตเข้ามาในยูเครน รัสเซียแค่ป้องกันตนเองจากกลุ่มนาโต้ มีหัวเรือเป็นสหรัฐอเมริกา ตัวตลกยูเครนคือหุ่นเชิด
    • ธงหักหมดแล้ว จากคนเคยเลือกและลาขาด
    .
    สำหรับคลิปการวิเคราะห์ดังกล่าวของช่อ พรรณิการ์ เรื่องสงครามยูเครน นับถึงเวลา 20.00น. ที่ผ่านมาของวันที่ 20 ก.พ. 68 มีผู้เข้าชมแล้วกว่า 1.49 ล้านครั้ง
    ยูเครนชนะกี่โมง? ย้อนฟัง "ช่อ พรรณิการ์" ฟันธงรัสเซียแพ้แน่นอน แพ้ย่อยยับ . ย้อนฟัง "ช่อ พรรณิการ์" ยอดนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศสายส้ม วิเคราะห์สงครามยูเครนแบบมั่นหน้า ด้วยการฟันธงว่า รัสเซียแพ้แน่นอน แพ้ย่อยยับ ปูตินจะถูกรัฐประหารเงียบ จนชาวเน็ตผู้มาจากอนาคตเข้าไปรุมคอมเมนต์เดือด เตือนความทรงจำ ถามเมื่อไหร่รัสเซียจะแพ้-ยูเครนจะชนะ? . ในสถานการณ์ทางการเมืองโลกที่ผันผวนภายหลังการยกหูโทรศัพท์พูดคุยกันนานกว่า 90 นาทีระหว่างนายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และ นายวลาดิเมียร์ ปูติน ประธานาธิบดีรัสเซีย เมื่อวันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ 2568 โดยในประเด็นสงครามยูเครนนั้น นายทรัมป์ กล่าวกับผู้สื่อข่าวภายหลังว่า “ถึงเวลาแล้วที่จะยุติสงครามไร้สาระนี้ ซึ่งเต็มไปด้วยการสังหารและการทำลายล้างที่ไม่จำเป็นเลย ขอพระเจ้าอวยพรประชาชนชาวรัสเซียและยูเครน!” . การเริ่มต้นพูดคุยระหว่าง ทรัมป์และปูติน อันนำมาสู่เหตุการณ์เมื่อ วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 สหรัฐฯ และรัสเซียนำโดย นายมาร์ค รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ นายเซอร์เกย์ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย ซึ่งดำเนินการเปิดโต๊ะการเจรจาเกี่ยวกับยูเครนกันเพียง 2 ฝ่าย อย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกที่กรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย โดยปราศจากตัวแทนของยูเครน และชาติต่าง ๆ ในยุโรปร่วมโต๊ะเลย แม้แต่คนเดียว . สถานการณ์ดังกล่าวสร้างความเดือดดาลให้กับนายโวโลดิเมียร์ เซเลนสกี ผู้นำยูเครนและผู้นำชาติต่างๆ ในยุโรปอย่างมาก เพราะการเปิดโต๊ะเจรจาดังกล่าวเป็นสัญญาณว่า ยูเครนและยุโรปน่าจะต้องตกเป็นเบี้ยล่าง และพ่ายแพ้ถูกทิ้งไว้ท่ามกลางซากปรักหักพัง รวมถึงปัญหาต่างๆ ที่เข้ารุมเร้าทั้งปัญหาเศรษฐกิจ ค่าครองชีพ การแย่งชิงบีบบังคับเอาทรัพยากรเพื่อชดใช้เงินช่วยเหลือในสงคราม ความวุ่นวายทางการเมืองภายใน รวมไปถึงปัญหาสังคมและผู้อพยพ ฯลฯ . ในส่วนของผู้ที่ติดตามข่าวสารเรื่องสงครามยูเครนในประเทศไทยส่วนหนึ่ง ได้มีผู้ย้อนไปหยิบยกการวิเคราะห์สถานการณ์สงครามยูเครนเมื่อ 2 ปีที่แล้ว โดย น.ส.พรรณิการ์ วานิช อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อ และโฆษกพรรคอนาคตใหม่ และอดีตเป็นพิธีกรรายการข่าวทางช่องวอยซ์ทีวี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งโฆษกคณะก้าวหน้า ซึ่งเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 หรือเกือบ 3 ปีที่แล้ว ได้วิเคราะห์เรื่องนี้เอาไว้ในยูทูปช่อง คณะก้าวหน้า - Progressive Movement ความยาวกว่า 25 นาที ในหัวเรื่องว่า "ช่อฟันธง! รัสเซียแพ้ย่อยยับ ปูตินชักศึกเข้าบ้าน!" (ลิงก์ >> https://www.youtube.com/watch?v=ytfIw1BHnEM) . ทั้งนี้ในรายการดังกล่าว "ช่อ พรรณิการ์" แห่งคณะก้าวหน้าได้กล่าวในตอนต้นว่า "ดิฉันขอฟันธง รัสเซียเธอแพ้แน่นอน นับวันแพ้ ทำไมถึงจะแพ้ เป็นเพราะอะไรเกิดอะไรขึ้น เป็นเพราะอะไร?" . จากนั้น อดีตโฆษกพรรคอนาคตใหม่ได้กล่าววิเคราะห์ต่อว่า สาเหตุที่รัสเซียจะพ่ายแพ้ต่อยูเครนและชาติพันธมิตรยุโรปนั้นมาจาก การบีบบังคับด้วยการใช้มาตรการทางเศรษฐกิจ-การเงินต่อยุโรป "มาตรการหลัก ๆ ที่ตอนนี้นำโดยสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ใช้อยู่จริง ๆ คือ มาตรการการเงิน ซึ่งมากไปกว่า มาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจการค้านะ แต่เรียกว่าเป็นการทุบค่าเงินและตัดตอนทางการเงินแบบขนานใหญ่ อย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อนในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา นานาประเทศตัดรัสเซียออกจากระบบการโอนเงินระหว่างประเทศ S.W.I.F.T., ระบบการเงินของธนาคารต่าง ๆ, มีการฟรีซแอสเสท หรือสินทรัพย์ของรัสเซียที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา รวมถึงประกาศไม่ให้มีการค้าขายกับรัสเซีย ..." น.ส.พรรณิการ์กล่าว และวิเคราะห์ต่อว่า นี่เองเป็นสาเหตุที่ค่าเงินรูเบิลของรัสเซียตกต่ำลงอย่างมาก จนแทบจะไม่มีค่า แทบจะกลายเป็นเศษกระดาษ . นอกจากนี้ ช่อ พรรณิการ์ ยังวิเคราะห์ต่ออย่างออกรสด้วยว่า ความเคลื่อนไหวที่สำคัญที่สุดคือ ท่าทีของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ที่เลือกจะทำตามมาตรการคว่ำบาตรของอียู คือ การอายัดทรัพย์สินของรัสเซียที่อยู่ในแบงก์สวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นมูลค่ากว่า 11,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไม่ใช่แค่การอายัดเฉพาะทรัพย์สินของรัฐ แต่เป็นทรัพย์สินของเอกชน และมหาเศรษฐีต่าง ๆ ของรัสเซียที่เกี่ยวข้องกับนายปูตินด้วยจะเป็นปัจจัยชี้ขายให้รัสเซียและนายปูตินพ่ายแพ้อย่างแน่นอน . "ดิฉันคิดว่า เมื่อสวิตเซอร์แลนด์ทำขนาดนี้แล้ว ปูตินนับวันแพ้ได้เลยนะคะ" โฆษกคณะก้าวหน้าฟันธง . ล่วงเลยมาถึงวันนี้ เมื่อทีมงาน Sondhi X กลับไปสำรวจความเห็นของผู้ที่เข้ามาชมคลิปการวิเคราะห์สถานการณ์โลกดังกล่าวของช่อ พรรณิการ์ ทางยูทูปของคณะก้าวหน้าแล้วก็พบว่า มีผู้เข้าไปย้อนดูคลิปดังกล่าวและแสดงความเห็นเป็นจำนวนมาก ยกตัวอย่างเช่น • สวัสดีเรามาจากอนาคต 2025 ตอนนี้ทรัมป์กับปูตินเจรจากันแล้วนะเรื่องยูเครนโดยไม่มีไอ้กี้ หรือใช้คำว่าไม่เห็นหัวไอ้กี้ ก็คงไม่ผิดนัก ส่วนไอ้กี้ก็หัวซุกหัวซุนเกาะยุโรปที่เหลืออย่างแนบแน่น จริงแล้วตอนนี้ ยูเครนต้องเลือกปธน.ใหม่แล้วนะ แต่ไอ้กี้ไม่ยอม และไม่ฟังเสียงปชช.เลย โคจรหวงอำนาจเลย ยังไงรบกวนคุณช่อประท้วงแทนปชช.ชาวยูเครนด้วยนะ หรือส่งให้ว่าที่ เลขา UN ด้วยนะครับ • เมื่อไรจะแพ้ รออยู่นะคับ • ทายแค่ ซ้ายขวายังผิดยังคิดจะมาบริหารประเทศ อายมั้ยส้ม • 20-2-2025 ทายผิดจนขนลุก ยูเครนเละโดนรุมทึ้งแบ่งเค้กผลประโยชน์ของชาติ แถมไม่มีสิทธิแม้แต่เข้าร่วมเจรจาสันติภาพเลือกชะตากรรมของชาติตัวเอง 😂 • ยูเครนชนะยังครับ รอจนเมื่อยแล้ว • สรุปทำไมวิเคราะห์ผิดหมดเลย ไม่มีข้อมูลเพียงพอรอบด้าน หรือไม่มีศักยภาพในการวิเคราะห์ ถ้าได้บริหารประเทศวิเคราะห์ผิดแบบนี้แย่แน่นอน • สวัสดีเรามาจากอนาคต สภาพ ผิดทุกเรื่องตรงข้ามทุกอย่าง 5555 • วิเคราะห์มาถึงขนาดนี้ ปัจจุบันคุณเห็นหรือยังใครเป็นคนทำสงคราม นาโต้ทำสงครามกับรัสเซีย ยูเครนเป็นสนามรบ ผู้สนับสนุนหลักคืออเมริกา รัสเซียบุกยูเครน ก็เพราะนาโต้ขยายอาณาเขตเข้ามาในยูเครน รัสเซียแค่ป้องกันตนเองจากกลุ่มนาโต้ มีหัวเรือเป็นสหรัฐอเมริกา ตัวตลกยูเครนคือหุ่นเชิด • ธงหักหมดแล้ว จากคนเคยเลือกและลาขาด . สำหรับคลิปการวิเคราะห์ดังกล่าวของช่อ พรรณิการ์ เรื่องสงครามยูเครน นับถึงเวลา 20.00น. ที่ผ่านมาของวันที่ 20 ก.พ. 68 มีผู้เข้าชมแล้วกว่า 1.49 ล้านครั้ง
    Haha
    Like
    7
    1 Comments 0 Shares 1379 Views 0 Reviews
  • "หัวจะปวด" คิดได้ไง

    ต้องแก้รัฐธรรมนูญ แล้วปัญหาเศรษฐกิจจะแก้ได้
    "หัวจะปวด" คิดได้ไง ต้องแก้รัฐธรรมนูญ แล้วปัญหาเศรษฐกิจจะแก้ได้
    Haha
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 229 Views 0 Reviews
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 Comments 0 Shares 1181 Views 0 Reviews
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 Comments 0 Shares 1110 Views 0 Reviews
  • ออนแทรีโอของแคนาดาตัดสินใจที่จะยกเลิกสัญญามูลค่า 100 ล้านดอลลาร์แคนาดากับบริษัท Starlink ของอีลอน มัสก์ การตัดสินใจนี้เป็นการตอบโต้ภาษีที่สหรัฐฯ กำหนดขึ้นมาใหม่จากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์

    ภาษีใหม่ของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของแคนาดา โดยมีแผนที่จะเก็บภาษี 25% สำหรับสินค้านำเข้าจากแคนาดาทั้งหมด ยกเว้นน้ำมันที่ต้องเสียภาษี 10% มาตรการเหล่านี้จะทำให้เศรษฐกิจแคนาดาเข้าสู่ภาวะถดถอยหากยังคงดำเนินต่อไป โดยบริษัทในสหรัฐฯ จะสูญเสียรายได้หลายพันล้านดอลลาร์และมีเพียงโดนัลด์ ทรัมป์ ที่จะต้องรับผิดชอบ

    จัสติน ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดาประกาศว่าจะเก็บภาษี 25% จากสินค้าสหรัฐฯ มูลค่า 155 พันล้านดอลลาร์แคนาดา เพื่อตอบโต้ หากมาตรการภาษียังคงดำเนินต่อไป แคนาดาอาจตกลงเจรจากับสหรัฐฯ แต่ไม่มีการคาดหวังว่าจะได้ยืดหยุ่นเหมือนที่ได้รับการยืดหยุ่นชั่วคราวจากเม็กซิโก

    การตัดสินใจของออนแทรีโอแสดงให้เห็นถึงความท้าทายในระดับนานาชาติที่เกิดขึ้นจากการกำหนดภาษีและการตอบโต้ซึ่งกันและกัน โดยบริษัทในสหรัฐฯ และแคนาดาต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจและการเมืองที่ซับซ้อน

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/04/ontario-cancels-starlink-contract-in-latest-canadian-tariffs-protest
    ออนแทรีโอของแคนาดาตัดสินใจที่จะยกเลิกสัญญามูลค่า 100 ล้านดอลลาร์แคนาดากับบริษัท Starlink ของอีลอน มัสก์ การตัดสินใจนี้เป็นการตอบโต้ภาษีที่สหรัฐฯ กำหนดขึ้นมาใหม่จากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ภาษีใหม่ของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของแคนาดา โดยมีแผนที่จะเก็บภาษี 25% สำหรับสินค้านำเข้าจากแคนาดาทั้งหมด ยกเว้นน้ำมันที่ต้องเสียภาษี 10% มาตรการเหล่านี้จะทำให้เศรษฐกิจแคนาดาเข้าสู่ภาวะถดถอยหากยังคงดำเนินต่อไป โดยบริษัทในสหรัฐฯ จะสูญเสียรายได้หลายพันล้านดอลลาร์และมีเพียงโดนัลด์ ทรัมป์ ที่จะต้องรับผิดชอบ จัสติน ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดาประกาศว่าจะเก็บภาษี 25% จากสินค้าสหรัฐฯ มูลค่า 155 พันล้านดอลลาร์แคนาดา เพื่อตอบโต้ หากมาตรการภาษียังคงดำเนินต่อไป แคนาดาอาจตกลงเจรจากับสหรัฐฯ แต่ไม่มีการคาดหวังว่าจะได้ยืดหยุ่นเหมือนที่ได้รับการยืดหยุ่นชั่วคราวจากเม็กซิโก การตัดสินใจของออนแทรีโอแสดงให้เห็นถึงความท้าทายในระดับนานาชาติที่เกิดขึ้นจากการกำหนดภาษีและการตอบโต้ซึ่งกันและกัน โดยบริษัทในสหรัฐฯ และแคนาดาต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจและการเมืองที่ซับซ้อน https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/02/04/ontario-cancels-starlink-contract-in-latest-canadian-tariffs-protest
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Ontario cancels Starlink contract in latest Canadian tariffs protest
    OTTAWA (Reuters) - The Canadian province of Ontario on Monday announced it was cancelling a C$100 million ($68.12 million) contract with Elon Musk's Starlink, the latest retaliatory move against tariffs announced by U.S. President Donald Trump.
    0 Comments 0 Shares 422 Views 0 Reviews
  • ปูตินกังวลเกี่ยวกับปัญหาจากสภาพเศรษฐกิจภายในรัสเซียที่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ทรัมป์กำลังเพิ่มแรงกดดันต่อรัสเซียให้ยุติสงครามกับยูเครน ด้วยการขู่ว่าจะคว่ำบาตรครั้งใหม่

    สื่อยังรายงานอีกว่า ปูตินพอใจกับผลลัพธ์ของเป้าหมายหลักในปฏิบัติการพิเศษทางทหาร ซึ่งเรียกได้ว่าบรรลุผลแล้วในขณะนี้ ซึ่งรวมไปถึงการควบคุมดินแดนที่เชื่อมโยงรัสเซียแผ่นดินใหญ่กับไครเมีย และการทำให้กองทัพยูเครนอ่อนแอลง ซึ่งอาจจะยอมตัดสินใจเข้าสู่การเจรจา

    ปัญหาเศรษฐกิจของรัสเซียมาจากการใช้จ่ายด้านการทหาร เงินเฟ้อ และอัตราดอกเบี้ยที่สูง
    ปูตินกังวลเกี่ยวกับปัญหาจากสภาพเศรษฐกิจภายในรัสเซียที่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ทรัมป์กำลังเพิ่มแรงกดดันต่อรัสเซียให้ยุติสงครามกับยูเครน ด้วยการขู่ว่าจะคว่ำบาตรครั้งใหม่ สื่อยังรายงานอีกว่า ปูตินพอใจกับผลลัพธ์ของเป้าหมายหลักในปฏิบัติการพิเศษทางทหาร ซึ่งเรียกได้ว่าบรรลุผลแล้วในขณะนี้ ซึ่งรวมไปถึงการควบคุมดินแดนที่เชื่อมโยงรัสเซียแผ่นดินใหญ่กับไครเมีย และการทำให้กองทัพยูเครนอ่อนแอลง ซึ่งอาจจะยอมตัดสินใจเข้าสู่การเจรจา ปัญหาเศรษฐกิจของรัสเซียมาจากการใช้จ่ายด้านการทหาร เงินเฟ้อ และอัตราดอกเบี้ยที่สูง
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 305 Views 0 Reviews
More Results