• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1047
    ชื่อบทธรรม :- บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่.
    สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ
    ๑.บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อนริย+ปริส
    ๒.บริษัทประเสริฐ (อริย).
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อริย+ปริส
    --ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย,
    นี้ ทุกขนิโรธ,
    นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ;
    บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทไม่ประเสริฐ.

    --ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย,
    นี้ ทุกขนิโรธ,
    นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้;
    บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทประเสริฐ.
    --ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล.
    บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือ บริษัทประเสริฐ (อริย ปริส).-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/67/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/67/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๙๐/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1047
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1047 ชื่อบทธรรม :- บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047 เนื้อความทั้งหมด :- --บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่. สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ ๑.บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย) http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อนริย+ปริส ๒.บริษัทประเสริฐ (อริย). http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=อริย+ปริส --ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทไม่ประเสริฐ. --ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า #บริษัทประเสริฐ. --ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล. บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือ บริษัทประเสริฐ (อริย ปริส).- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. 20/67/290. http://etipitaka.com/read/thai/20/67/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทุก. อํ. ๒๐/๙๐/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1047 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1047 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ
    -(ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่าทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ ภิกษุ ท. ! บริษัท ๒ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่. สองจำพวก อย่างไรเล่า? สองจำพวกคือ บริษัทไม่ประเสริญ (อนริย) บริษัทประเสริฐ (อริย). ภิกษุ ท. ! บริษัทไม่ประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่ไม่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ ; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า บริษัทไม่ประเสริฐ. ภิกษุ ท. ! บริษัทประเสริฐ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในบริษัทใด ในกรณีนี้ ล้วนแต่รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ ทุกขสมุทัย, นี้ ทุกขนิโรธ, นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้; บริษัทนี้ เรากล่าวว่า บริษัทประเสริฐ. ภิกษุ ท. ! บริษัทมี ๒ จำพวกเหล่านี้แล. บริษัทที่เลิศในบรรดาบริษัททั้งสองนี้ คือบริษัทประเสริฐ (อริยปริส).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 676
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง
    ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ
    ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ
    ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค

    #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    สองอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ
    สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง),
    สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง)
    สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง),
    สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง)
    สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 676 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง), สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง), สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    -หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และการประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง) สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง). ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 674
    ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ
    ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์
    เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง,
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ;
    ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ;
    อันนี้เราเรียกว่า
    #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัดศึกษา​ว่ามรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 674 ชื่อบทธรรม :- มรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค ได้แก่ สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ; ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501 http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=674 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=674 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งมัคคอริยสัจ นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำเรื่องมรรค (มี ๒๙ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วยอุทเทศ นิทเทศ ของมรรคอุทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนั่นเอง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การดำรงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ ; อันนี้เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 0 รีวิว
  • ครม.ไฟเขียว “ภูมิธรรม” รักษาการนายกฯ เบอร์หนึ่ง “สุริยะ-พีระพันธุ์-พิชัย-ประเสริฐ” ลำดับถัดมา
    https://www.thai-tai.tv/news/19988/
    .
    #ครม #รักษาการนายก #ภูมิธรรมเวชยชัย #สุริยะจึงรุ่งเรืองกิจ #พีระพันธุ์สาลีรัฐวิภาค #พิชัยชุณหวชิร #ประเสริฐจันทรรวงทอง #การเมืองไทย #คณะรัฐมนตรี #อำนาจนายก
    ครม.ไฟเขียว “ภูมิธรรม” รักษาการนายกฯ เบอร์หนึ่ง “สุริยะ-พีระพันธุ์-พิชัย-ประเสริฐ” ลำดับถัดมา https://www.thai-tai.tv/news/19988/ . #ครม #รักษาการนายก #ภูมิธรรมเวชยชัย #สุริยะจึงรุ่งเรืองกิจ #พีระพันธุ์สาลีรัฐวิภาค #พิชัยชุณหวชิร #ประเสริฐจันทรรวงทอง #การเมืองไทย #คณะรัฐมนตรี #อำนาจนายก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 132 มุมมอง 0 รีวิว
  • ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแต่งตั้งรองนายกฯ 5 คน รักษาราชการแทนแพทองธาร มีอำนาจเต็มทั้งบริหารงาน และอนุมัติงบฯ ส่วนเบอร์สอง สุริยะ ตามมาด้วย พีระพันธุ์-พิชัย-ประเสริฐ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000062750

    #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแต่งตั้งรองนายกฯ 5 คน รักษาราชการแทนแพทองธาร มีอำนาจเต็มทั้งบริหารงาน และอนุมัติงบฯ ส่วนเบอร์สอง สุริยะ ตามมาด้วย พีระพันธุ์-พิชัย-ประเสริฐ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000062750 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1099 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ฝึกหัดศึกษา​อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 673
    ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673
    เนื้อความทั้งหมด :-
    [--อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔
    ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ)
    ]​
    --อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. !
    ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่
    ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง,
    การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง,
    ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงถูกต้อง ;
    นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ #ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=673
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ฝึกหัดศึกษา​อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 673 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673 เนื้อความทั้งหมด :- [--อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ) ]​ --อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่ ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง, การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง, ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงถูกต้อง ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือ #ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .- http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/170/501. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๒๒๘/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=673 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=673 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒
    -อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค ภาค ๔ มีเรื่อง : นิทเทศ ๑๓ ว่าด้วย ข้อความนำมรรค ๒๙ เรื่อง นิทเทศ ๑๔ ว่าด้วย สัมมาทิฏฐิ ๗๗ เรื่อง นิทเทศ ๑๕ ว่าด้วย สัมมาสังกัปปะ ๑๙ เรื่อง นิทเทศ ๑๖ ว่าด้วย สัมมาวาจา ๑๓ เรื่อง นิทเทศ ๑๗ ว่าด้วย สัมมากัมมันตะ ๘ เรื่อง นิทเทศ ๑๘ ว่าด้วย สัมมาอาชีวะ ๑๖ เรื่อง นิทเทศ ๑๙ ว่าด้วย สัมมาวายามะ ๒๖ เรื่อง นิทเทศ ๒๐ ว่าด้วย สัมมาสติ ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ ๕๑ เรื่อง นิทเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปมรรค ๗๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค (มี ๑๐ นิเทศ) อุทเทศแห่งมัคคอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หนทางอันประเสริฐประกอบ ด้วยองค์แปดประการนี้นั่นเอง, ได้แก่ ความเห็นถูกต้อง ความดำริถูกต้อง การพูดจาถูกต้อง การทำการงานถูกต้อง การดำรงชีพถูกต้อง ความพากเพียรถูกต้อง ความระลึกถูกต้อง ความตั้งใจมั่นคงถูกต้อง ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 151 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 670
    ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา
    จึงมี ความดับแห่งสังขาร ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ;
    +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ;
    +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ;
    +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ;
    +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ

    #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501.
    https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47
    ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาในความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 670 ชื่อบทธรรม :- นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 เนื้อความทั้งหมด :- --นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ... --ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ+อวิชฺชา จึงมี ความดับแห่งสังขาร ; +--เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมี ความดับแห่งวิญญาณ ; +--เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมี ความดับแห่งนามรูป ; +--เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมี ความดับแห่งสฬายตนะ ; +--เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี ความดับแห่งผัสสะ ; +--เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี ความดับแห่งเวทนา ; +--เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี ความดับแห่งตัณหา ; +--เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี ความดับแห่งอุปาทาน ; +--เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมี ความดับแห่งภพ ; +--เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมี ความดับแห่งชาติ ; +--เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือของทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=ทุกฺขนิโรโธ+อริยสจฺจํ #ทุกขนิโรธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างไทยอิงสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501. https://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=670 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47&id=670 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=47 ลำดับสาธยายธรรม : 47 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_47.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง)
    -นิโรธอริยสัจ (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชา นั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความ ดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ นั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ความจริงอันประเสริฐ คือความดับไม่เหลือของทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 145 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1036
    ชื่อบทธรรม :- อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์
    --อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน.
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือ
    ความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง
    การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง
    ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง (มชฺฌิมา ปฏิปทา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง
    เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ #นิพพาน.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1036
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง สัทธรรมลำดับที่ : 1036 ชื่อบทธรรม :- อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์ --อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน. --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือ ความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง. --ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ #ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง (มชฺฌิมา ปฏิปทา)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ #นิพพาน.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1036 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1036 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์
    -หมวด ฌ. ว่าด้วย มรรคกับพระพุทธองค์ อริยอัฏฐังคิกมรรค คือมัชฌิมาปฏิปทาที่ตรัสรู้เอง ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่ง ไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพาน. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็น หนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการ คืออะไรเล่า ? คือความเห็นที่ถูกต้อง ความดำริที่ถูกต้อง การพูดจาที่ถูกต้อง การทำการงานที่ถูกต้อง การดำรงชีพที่ถูกต้อง ความพากเพียรที่ถูกต้อง ความรำลึกที่ถูกต้อง ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง. ภิกษุ ท. ! นี้แล คือข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติ ทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความ สงบ เพื่อ ความรู้อันยิ่ง เพื่อ ความตรัสรู้พร้อม เพื่อ นิพพาน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 178 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกิดมารอดอยู่
    รู้คุณอาศัย
    ความดีขวนขวาย
    ให้กรรมอาศัย

    มีธรรมความจริง
    ยิ่งพาขวนขวาย
    ครรลองมุ่งหมาย
    ไร้ทุกข์โทษภัย

    จิตธรรมสูงส่ง
    ทรงคุณมากมาย
    ผุดผ่องเมื่อไร
    ได้สุขแท้จริง

    ยามนี้ยังอยู่
    รู้ธรรมพึ่งพิง
    ให้พร้อมทุกสิ่ง
    ทิ้งเป็นทิ้งตาย

    ทางธรรมประเสริฐ
    เกิดมาขวนขวาย
    ยิ่งทำยิ่งได้
    ให้สว่างจริง

    ขอให้พบธรรมความดี ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    เกิดมารอดอยู่ รู้คุณอาศัย ความดีขวนขวาย ให้กรรมอาศัย มีธรรมความจริง ยิ่งพาขวนขวาย ครรลองมุ่งหมาย ไร้ทุกข์โทษภัย จิตธรรมสูงส่ง ทรงคุณมากมาย ผุดผ่องเมื่อไร ได้สุขแท้จริง ยามนี้ยังอยู่ รู้ธรรมพึ่งพิง ให้พร้อมทุกสิ่ง ทิ้งเป็นทิ้งตาย ทางธรรมประเสริฐ เกิดมาขวนขวาย ยิ่งทำยิ่งได้ ให้สว่างจริง ขอให้พบธรรมความดี ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ประเสริฐ” โต้รมต.โทรคมนาคม ไทยไม่ใช่ ศูนย์กลางแก๊งคอลเซนเตอร์ แต่เป็นกัมพูชา
    https://www.thai-tai.tv/news/19747/
    “ประเสริฐ” โต้รมต.โทรคมนาคม ไทยไม่ใช่ ศูนย์กลางแก๊งคอลเซนเตอร์ แต่เป็นกัมพูชา https://www.thai-tai.tv/news/19747/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ประเสริฐ" ไม่หวั่น "ฮุน เซน" โพสต์ป่วนการเมืองไทย ชี้เป็นการดิสเครดิตไร้สาระ ยันรัฐบาลมั่นคง
    https://www.thai-tai.tv/news/19746/
    "ประเสริฐ" ไม่หวั่น "ฮุน เซน" โพสต์ป่วนการเมืองไทย ชี้เป็นการดิสเครดิตไร้สาระ ยันรัฐบาลมั่นคง https://www.thai-tai.tv/news/19746/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 62 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปฏิบัติการของอิหร่านในการตอบโต้สหรัฐด้วยการโจมตีฐานทัพอากาศสหรัฐในกาตาร์ "อัล-อูเดด" ครังนี้มีชื่อว่า "ข่าวประเสริฐแห่งชัยชนะ" (บาชาเออร์ อัล-ฟัต) Operation "Gospel of Victory" (بشائر الفتح )

    ภาพวิดีโอเผยให้เห็นขีปนาวุธลูกหนึ่งผ่านระบบป้องกันภัยไปได้
    ปฏิบัติการของอิหร่านในการตอบโต้สหรัฐด้วยการโจมตีฐานทัพอากาศสหรัฐในกาตาร์ "อัล-อูเดด" ครังนี้มีชื่อว่า "ข่าวประเสริฐแห่งชัยชนะ" (บาชาเออร์ อัล-ฟัต) Operation "Gospel of Victory" (بشائر الفتح ) ภาพวิดีโอเผยให้เห็นขีปนาวุธลูกหนึ่งผ่านระบบป้องกันภัยไปได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 150 มุมมอง 40 0 รีวิว
  • บูรพาไม่แพ้ Ep.126 : ถึงเวลาสั่งสอน “เขมร” รัฐอันธพาล
    .
    ประเทศไทยสามมารถดำเนินมาตรการตอบโต้กัมพูชาอย่างไรได้บ้าง โดยที่ยังไม่ต้องใช้อาวุธยิงใส่กัน ซึ่งเข้าตามตำราพิชัยสงครามของซุนวู ที่ว่า "รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้งมิใช่วิธีการอันประเสริฐแท้ แต่การได้ชัยชนะโดยไม่ต้องรบเลย จึงจะถือว่าเป็นวิธีอันวิเศษยิ่ง" ......
    .
    คลิกฟัง >> https://www.youtube.com/watch?v=WLm9M3lcS5c
    บูรพาไม่แพ้ Ep.126 : ถึงเวลาสั่งสอน “เขมร” รัฐอันธพาล . ประเทศไทยสามมารถดำเนินมาตรการตอบโต้กัมพูชาอย่างไรได้บ้าง โดยที่ยังไม่ต้องใช้อาวุธยิงใส่กัน ซึ่งเข้าตามตำราพิชัยสงครามของซุนวู ที่ว่า "รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้งมิใช่วิธีการอันประเสริฐแท้ แต่การได้ชัยชนะโดยไม่ต้องรบเลย จึงจะถือว่าเป็นวิธีอันวิเศษยิ่ง" ...... . คลิกฟัง >> https://www.youtube.com/watch?v=WLm9M3lcS5c
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 232 มุมมอง 0 รีวิว
  • แนวโน้ม สงคราม อิสราเอล-อีหร่าน | ทนง ขันทอง - ดร.ประเสริฐ สุขศาสน์กวิน (เชคชะรีฟ ฮาดี)

    https://www.youtube.com/watch?v=_FoBbo2DSuc&list=WL&index=4
    แนวโน้ม สงคราม อิสราเอล-อีหร่าน | ทนง ขันทอง - ดร.ประเสริฐ สุขศาสน์กวิน (เชคชะรีฟ ฮาดี) https://www.youtube.com/watch?v=_FoBbo2DSuc&list=WL&index=4
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ประเสริฐ' ยันพรรคร่วมรัฐบาลจะไม่มีใครถอนตัวเพิ่ม ลั่นพร้อมทำงานหากนายกฯ ให้นั่ง มท.1
    https://www.thai-tai.tv/news/19565/
    'ประเสริฐ' ยันพรรคร่วมรัฐบาลจะไม่มีใครถอนตัวเพิ่ม ลั่นพร้อมทำงานหากนายกฯ ให้นั่ง มท.1 https://www.thai-tai.tv/news/19565/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศีลธรรมความดี
    มีประดับใจ
    ดีงามขวนขวาย
    ให้ธรรมแนบชิด

    ใจดีครรลอง
    ต้องมีสติ
    ธรรมจริงสู่จิต
    สถิตนิรันดร์

    ธรรมหน้าที่งาม
    ความจริงบากบั่น
    จิตรวมตั้งมั่น
    ปัญญานำหนุน

    ทางใจสว่าง
    ทางธรรมเข้าดุลย์
    กุศลผลบุญ
    หนุนให้ประเสริฐ

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์นอกใน

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ศีลธรรมความดี มีประดับใจ ดีงามขวนขวาย ให้ธรรมแนบชิด ใจดีครรลอง ต้องมีสติ ธรรมจริงสู่จิต สถิตนิรันดร์ ธรรมหน้าที่งาม ความจริงบากบั่น จิตรวมตั้งมั่น ปัญญานำหนุน ทางใจสว่าง ทางธรรมเข้าดุลย์ กุศลผลบุญ หนุนให้ประเสริฐ ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์นอกใน นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1025
    ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย
    ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ)
    ดังนี้ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
    เป็นผู้ไกลจากกิเลส
    ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
    เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
    เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
    เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
    เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
    เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม
    เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์”
    ดังนี้.
    อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่
    เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว
    แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ
    เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้,
    ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ;
    ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข;
    จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ)
    เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ;
    เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ
    ได้ว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ
    ที่สอง คือ
    ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สาม คือ
    ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สี่ คือ
    ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ
    ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน
    ที่กล่าวถึงความ
    ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า
    )
    --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.-

    (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า
    แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม)
    หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม
    ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป
    ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ.
    ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า
    กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก
    กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ
    แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา
    จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์
    ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ.
    อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ
    กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ
    เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์.
    แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว
    ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน
    เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์.
    ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ
    ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง
    โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602
    http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก สัทธรรมลำดับที่ : 1025 ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 เนื้อความทั้งหมด :- --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ) ดังนี้ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ ที่สอง คือ ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สาม คือ ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่ คือ ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน ที่กล่าวถึงความ ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.- (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม) หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ. ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์ ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ. อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์. แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์. ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602 http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    -(ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะอันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคอย่างครบถ้วน ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตายก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของจักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์). วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทธอเวจจัปปสาทะ) ดังนี้ว่า “แม้เพราะ เหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือเพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะที่สอง คือ ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สามคือ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่คือ ความมีศีลที่พระอริยเจ้าพอใจ (อริยกันตศีล) ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบนที่กล่าวถึงความ เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 249 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๘ เวลา ๑๙.๒๐ น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทอดพระเนตรการแสดงดนตรีของวงดุริยางค์ราชนาวิกโยธินในสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ ๓ แห่งสหราชอาณาจักร (His Majesty King Charles’ Royal Marines) ณ หอประชุมนวมภูมินทร์ อาคารนวมภูมินทร์ วชิราวุธวิทยาลัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง นายมาร์ก กุดดิง (Mr. Mark Gooding) เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย และคู่สมรส เอกอัครราชทูต ฯ นายเกียรติคุณ ชาติประเสริฐ ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย และภริยา กับผู้แทนสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าหอประชุมนวมภูมินทร์ อาคารนวมภูมินทร์ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางลอเรน โทมัส (Mrs. Lauren Thomas) ภริยารองหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตสถานเอกอัครราชทูต ฯ และนางสาวรีเบคกา ฮิว เคนเนล (Ms. Rebekah Hieu Kennel) ภริยาผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร สถานเอกอัครราชทูต ฯ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๘ เวลา ๑๙.๒๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทอดพระเนตรการแสดงดนตรีของวงดุริยางค์ราชนาวิกโยธินในสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ ๓ แห่งสหราชอาณาจักร (His Majesty King Charles’ Royal Marines) ณ หอประชุมนวมภูมินทร์ อาคารนวมภูมินทร์ วชิราวุธวิทยาลัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง นายมาร์ก กุดดิง (Mr. Mark Gooding) เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย และคู่สมรส เอกอัครราชทูต ฯ นายเกียรติคุณ ชาติประเสริฐ ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย และภริยา กับผู้แทนสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าหอประชุมนวมภูมินทร์ อาคารนวมภูมินทร์ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางลอเรน โทมัส (Mrs. Lauren Thomas) ภริยารองหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตสถานเอกอัครราชทูต ฯ และนางสาวรีเบคกา ฮิว เคนเนล (Ms. Rebekah Hieu Kennel) ภริยาผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร สถานเอกอัครราชทูต ฯ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 262 มุมมอง 0 รีวิว
  • ธรรมะ...ที่มาถึงตอนลำบาก คือของขวัญที่ประเสริฐที่สุด

    ตอนชีวิตสบายดี
    เรามักไม่มองหาที่พึ่งทางใจ
    แต่พอถึงวันลำบาก
    จิตจะเริ่มค้นหา...อะไรสักอย่างที่ทำให้ “อยู่กับทุกข์ได้”

    และสำหรับคนไทย
    บางที “ธรรมะ” นี่แหละ...คือคำตอบที่ง่ายและลึกที่สุด

    เราอาจผ่านความผิดหวัง สูญเสีย เคว้งคว้าง
    แต่เมื่อมาถึงธรรมะ—ที่ทำให้ใจคลาย
    ทำให้ร่างกายไม่เกร็ง ทำให้ใจไม่ดิ้น
    ชีวิตที่เจอสิ่งนั้นเข้าไป...ไม่ว่าจะผ่านอะไรมาก่อน
    ก็นับว่า คุ้มค่าที่ได้เกิดมา

    เพราะการได้เข้าใจธรรมะ
    ไม่ใช่แค่รอดจากทุกข์
    แต่คือการ เปลี่ยนความทุกข์ให้กลายเป็นครู

    🪷 ยังไงก็ขอให้ใจ...ได้เจอธรรมะในเวลาที่ต้องการ
    ขอให้ธรรมะที่คุณเจอ
    ไม่ใช่แค่ความรู้...แต่เป็น “เครื่องอยู่” ของใจ

    #ธรรมะอยู่ตรงนี้
    #ยึดธรรมเป็นที่พึ่ง
    #ตอนลำบากคือเวลาธรรมะทำงาน
    #โพสต์คลายใจ
    🌿 ธรรมะ...ที่มาถึงตอนลำบาก คือของขวัญที่ประเสริฐที่สุด ตอนชีวิตสบายดี เรามักไม่มองหาที่พึ่งทางใจ แต่พอถึงวันลำบาก จิตจะเริ่มค้นหา...อะไรสักอย่างที่ทำให้ “อยู่กับทุกข์ได้” และสำหรับคนไทย บางที “ธรรมะ” นี่แหละ...คือคำตอบที่ง่ายและลึกที่สุด เราอาจผ่านความผิดหวัง สูญเสีย เคว้งคว้าง แต่เมื่อมาถึงธรรมะ—ที่ทำให้ใจคลาย ทำให้ร่างกายไม่เกร็ง ทำให้ใจไม่ดิ้น ชีวิตที่เจอสิ่งนั้นเข้าไป...ไม่ว่าจะผ่านอะไรมาก่อน ก็นับว่า คุ้มค่าที่ได้เกิดมา เพราะการได้เข้าใจธรรมะ ไม่ใช่แค่รอดจากทุกข์ แต่คือการ เปลี่ยนความทุกข์ให้กลายเป็นครู 🪷 ยังไงก็ขอให้ใจ...ได้เจอธรรมะในเวลาที่ต้องการ ขอให้ธรรมะที่คุณเจอ ไม่ใช่แค่ความรู้...แต่เป็น “เครื่องอยู่” ของใจ #ธรรมะอยู่ตรงนี้ #ยึดธรรมเป็นที่พึ่ง #ตอนลำบากคือเวลาธรรมะทำงาน #โพสต์คลายใจ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • สติสำคัญ
    หมั่นเพียรฝึกฝน
    ดับเหตุสับสน
    ด้วยหนทางธรรม

    ธรรมจริงประเสริฐ
    เชิดชูน้อมนำ
    มีกุศลกรรม
    ศีลธรรมเหตุดี

    ทางธรรมจริงแท้
    แพ้ภัยไม่มี
    ใช้พาชีวี
    ดีกรรมการงาน

    ธรรมจริงอาศัย
    ไม่จำกัดกาล
    ธรรมเมื่อชำนาญ
    งานจิตจับได้

    ธรรมจริงประสาน
    งานนอกงานใน
    ดำเนินขวนขวาย
    ให้เป็นหนึ่งเดียว

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    สติสำคัญ หมั่นเพียรฝึกฝน ดับเหตุสับสน ด้วยหนทางธรรม ธรรมจริงประเสริฐ เชิดชูน้อมนำ มีกุศลกรรม ศีลธรรมเหตุดี ทางธรรมจริงแท้ แพ้ภัยไม่มี ใช้พาชีวี ดีกรรมการงาน ธรรมจริงอาศัย ไม่จำกัดกาล ธรรมเมื่อชำนาญ งานจิตจับได้ ธรรมจริงประสาน งานนอกงานใน ดำเนินขวนขวาย ให้เป็นหนึ่งเดียว ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • 2/3
    Anthony Fauci แอนโทนี เฟาชี และผองพวก ไม่กล้ามาดีเบตไม่กล้าเอาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาเปิดเผย คำถาม คือ สาธารณสุขไทย เป็นแบบ เฟาชีไหม?https://open.substack.com/pub/atapol616246/p/anthony-fauci?utm_campaign=post&utm_medium=web&timestamp=15.8
    https://rumble.com/v1ze4d0-covid-19-vaccines-what-they-are-how-they-work-and-possible-causes-of-injuri.html
    https://atapol616246.substack.com/p/anthony-fauci
    ไฟเซอร์ไม่เคยทดสอบว่า mRNA gene therapy ของตน สามารถป้องกันการติดเชื้อ กันการแพร่เชื้อ สร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้หรือไม่!!!
    https://t.me/DrAtapolFC/299
    https://atapol616246.substack.com/p/mrna-gene-therapy
    รอดูว่า พวกที่ชอบอ้างว่า ตนเป็นนักวิชาการ จะกล้ามาคุยแบบที่นักวิชาการจริงๆ เขาทำกันไหม?
    https://open.substack.com/pub/atapol616246/p/ff9?utm_campaign=post&utm_medium=web&timestamp=4.6
    https://atapol616246.substack.com/p/ff9
    ภูมิคุ้มกันผิดปกติจาก mRNA วัคซีน
    https://t.me/DrAtapolFC/301
    https://atapol616246.substack.com/p/mrna-30b
    ภูมิคุ้มกันผิดปกติจาก mRNA วัคซีน VAIDS
    https://t.me/DrAtapolFC/306
    https://atapol616246.substack.com/p/mrna-vaids
    Excess death ของคนไทย พุ่งไม่หยุด
    https://t.me/DrAtapolFC/310
    https://atapol616246.substack.com/p/excess-death-669
    คำถาม ทางวิชาการ เกี่ยวกับเภสัชวิทยา ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายช่วยตอบ (๑)
    https://t.me/DrAtapolFC/317
    https://atapol616246.substack.com/p/e47
    Excess death เป็นปัญหาของคนไทย และเป็นปัญหาของหลายประเทศทั่วโลกที่ระดม ฉีดวัคซีน mRNA หรือ ชื่อจริงว่า ยาฉีดยีนไวรัส
    https://t.me/DrAtapolFC/318
    https://atapol616246.substack.com/p/excess-death-mrna
    คำถาม ทางวิชาการ เกี่ยวกับเภสัชวิทยา ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายช่วยตอบ (๒)
    https://t.me/DrAtapolFC/323
    https://atapol616246.substack.com/p/c70
    Delusion "หลงผิด" เป็นอาการทางจิตอย่างนึง
    อาการหลงผิดเป็นอย่างไร?
    https://t.me/DrAtapolFC/327
    https://atapol616246.substack.com/p/delusion
    โควิดเป็นฝีมือมนุษย์
    https://t.me/DrAtapolFC/332
    https://atapol616246.substack.com/p/b9c
    การทดลองในสัตว์ทดลองพบความผิดปกติมากมายภายหลังได้ยาฉีดของ ไฟเซอร์
    https://t.me/DrAtapolFC/340
    https://atapol616246.substack.com/p/a67
    ความกลัวน่ากลัวกว่าโควิด
    https://t.me/DrAtapolFC/341
    https://atapol616246.substack.com/p/bb6
    รัฐบาลอิสราเอลกำลังถูกฟ้อง คนอิสราเอลตื่นรู้เรื่องพิษจากวัคซีน
    https://t.me/DrAtapolFC/346
    https://atapol616246.substack.com/p/d8c
    ทฤษฎีสมคบคิด conspiracy theory
    https://t.me/DrAtapolFC/347
    https://atapol616246.substack.com/p/conspiracy-theory
    cognitive dissonance "การรับรู้​ไม่ลงรอย
    https://t.me/DrAtapolFC/350
    https://atapol616246.substack.com/p/cognitive-dissonance
    รวบรวมคลิปหมออรรถพล
    https://t.me/DrAtapolFC/355
    วันที่ 18 ก.ย.2564 รายการรู้ทันพลังงานไทย โดยกลุ่ม ผีเสื้อกระพือปีก ตอนพิเศษ ข้อเท็จจริงที่ควรรู้เรื่อง ภูมิคุ้มกัน วิทยากร อ.นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,นพ.ศิริโรจน์ กิตติสารพงษ์,ม.ล.รุ่งคุณ กิติยากร
    https://rumble.com/vmr3i3-38215803.html
    วันที่ 30 ก.ย.2564 เสวนาออนไลน์และแถลงการณ์ เสรีภาพในการรับ/ไม่รับ วัคซีนต้าน โควิด 19 บนความรับผิดชอบ ศ.นพ.อมร เปรมกมล,นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,นพ.ทีปทัศน์ ชุณหสวัสดิกุล,พท.ป.วิพุธ สันติวาณิช,คุณธวัชชัย โตสิตระกูล,มล.รุ่งคุณ กิติยากร ผู้ดำเนินรายการ ดร.กฤษฎา บุญชัย,คุณนคร ลิมปคุปตถาวร
    https://www.youtube.com/watch?v=EpdTD7G6pCU
    ระหว่างวันที่ 24-31 ม.ค.2565 ดร.ณัฏฐพบธรรม(วู้ดดี้)และคณะจากกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ปั่นจักรยานจากเชียงใหม่มากรุงเทพฯ เพื่อยื่นหนังสือพร้อม นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และหม่อมโจ้ ม.ล.รุ่งคุณ กิติยากร และประชาชนต่อกระทรวงศึกษาฯ ครั้งเริ่มมีการฉีดในเด็ก https://www.facebook.com/105105782022345/posts/126941879838735/ https://photos.app.goo.gl/zfpHX8iSDYXD26fh7
    วันที่ 11 มี.ค.2565 คุณหมออรรถพล ดร.ณัฏฐพบธรรม คุณอดิเทพ คุณวรเชษฐ์ (วงสไมล์บัพพาโล่)พร้อมกับกลุ่มผู้ต่อต้านวัคซีนทดลอง ไปยื่นหนังสือที่กระทรวงสาธารณสุข https://photos.app.goo.gl/qukmJK5xiaiJE9ij7 เพื่อขอความเป็นธรรมให้แก่ผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจากวัคซีนทดลอง หลังจากนั้นก็มีการทยอยส่งหนังสือถึงหน่วยงานต่างๆ อาทิ จดหมายเปิดผนึก ถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา https://cmhealthlibertyrights.blogspot.com/2022/04/email-paisarnpomgmail.html จดหมายเปิดผนึกถึงประชาชนคนไทย และผู้มีอำนาจใน ศคบ https://cmhealthlibertyrights.blogspot.com/2022/05/blog-post_61.html
    วันที่ 17 เม.ย.2565 แพทย์ไทยลงชื่อ30ท่าน คือแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการรักษาผู้ที่ติดเชื้อโkวิd-19 ด้วยยาผสมผสาน 4 ตัว Combination Drugs อันได้แก่ 1. ยา Ivermectin 2.ยา Fluoxetine 3.ยา Niclosamide 4.ยา Doxycycline 5.วิตามิน ดี 6.วิตามิน ซี 7.สังกะสี 8. NAC 9.แอสไพริน 10.famotidine 11.วิตามิน เอ 12. Quecertin (หอมแดง) 13. ฟ้าทะลายโจร 14. ขิง 15. กระชาย
    สนับสนุนให้เพื่อนๆแพทย์ที่เคารพทั้งหลายมีทางเลือกในการดูแลรักษาพี่น้องประชาชนชาวไทยด้วยการใช้ยารักษาโรคอื่นๆ (เดิม) ที่ได้ผ่านการศึกษาวิจัย เพื่อนำมาใช้ใหม่ Repurposed Drugs ในการรักษาโkวิd-19 เป็นยาราคาถูกที่หมดสิทธิบัตรไปแล้ว Off-patent Drugs เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ผลข้างเคียงน้อย ซึ่งทั้งหมดนี้ผ่านการรักษามาเป็นจำนวนมากแล้ว โดยอ้างอิงผลการวิจัยและคนไข้จริงๆ ทำให้คนไข้หายได้เร็วและไม่เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆตามมา https://c19early.com/
    รายชื่อแพทย์เรียงตามลำดับตามอักษร มีดังต่อไปนี้
    หมายเหตุ : ลงชื่อ นพ. พญ. ชื่อ-นามสกุล แพทย์สาขาหรือประสบการณ์ ที่ทำงานอดีตหรือปัจจุบัน จังหวัด
    1. นพ.กฤษณ์ติพัฒณ์ พิริยกรเจริญกิจ กุมารแพทย์
    2. นพ.กฤษดา จงสกุล เวชศาสตร์ครอบครัว นนทบุรี
    3. นพ.โกวิท ยงวานิชจิต
    4. พญ.จันทนา พงศ์สงวนสิน อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ
    5. พญ.จันทร์จิรา ชัชวาลา รังสีแพทย์ กรุงเทพฯ
    6. นพ.จิตจำลอง หะริณสุต อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ
    7. นพ.ชัยยศ คุณานุสนธิ์ แพทย์ระบาดวิทยา นนทบุรี
    8. นพ.ทวีชัย พิตรปรีชา โสต-ศอ-นาสิกแพทย์ กรุงเทพฯ
    9. นพ.ธนะรัตน์ ลยางกูร กุมารแพทย์ (ใช้ในการป้องกัน)
    10. นพ.ธีรเดช ตังเดชะหิรัญ อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ
    11. ศ.นพ.ธีรวัฒน์ เหมะจุฑา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    12. นพ.พิศิษฐ์ เจนดิษฐการ อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ
    13. นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ แพทย์ เวชศาสตร์ป้องกัน จังหวัดน่าน
    14. นพ. พุทธพจน์ สรรพกิจจำนง แพทย์โรงพยาบาลเอกชน อยุธยา
    15. นพ.ภูษณุ ธนาพรสังสุทธิ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    16. นพ.มาโนช อาภรณ์สุวรรณ กุมารแพทย์ บุรีรัมย์
    17. พญ.ลลิดา เกษมสุวรรณ โสต-ศอ-นาสิกแพทย์ กรุงเทพฯ
    18.พญ.วัชรา ริ้วไพบูลย์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู กรุงเทพฯ
    19. นพ.วัฒนา รังสราญนนท์ ศัลยกรรมทั่วไป รพ.บางไผ่ กทม.
    20. นพ.วีรชัย ลดาคม แพทย์เอกชน กรุงเทพฯ
    21. พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร กุมารแพทย์ กรุงเทพฯ
    22. นพ.สมภพ อิทธิอาวัชกุล สูติแพทย์ อรัญประเทศ
    23. นพ.สายัณห์ ผลประเสริฐ สูตินรีแพทย์ อ.หล่มศักดิ์ จ.เพชรบูรณ์
    24. นพ.สุทัศน์ วาณิชเสนี จักษุแพทย์ นครศรีธรรมราช
    25. นพ.สุเทพ ลิ้มสุขนิรันดร์ จักษุแพทย์ กาญจนบุรี
    26. นพ.สุนทร ศรีปรัชญาอนันต์ กรุงเทพฯ
    27. พญ.อรสา ชวาลภาฤทธิ์ รังสีแพทย์ กรุงเทพฯ
    28. พญ.อัจฉรา รังสราญนนท์ แพทย์ห้วงเวลา ศูนย์บริการสาธารณสุข 30 วัดเจ้าอาม สำนักอนามัย กทม.
    29. น.พ. อลงกรณ์ ชุตินันท์ ประสาทศัลยแพทย์ จ.ชลบุรี
    30. นพ อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    https://www.facebook.com/105105782022345/posts/146820267850896/
    วันที่ 20 พ.ค.2565 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และประชาชนบุกช่อง 3 เพื่อเอาข้อมูลบ.ไฟzerแพ้คดีจำใจเปิดเผยข้อมูลด้านเสียของยาฉีด มีนักข่าวมารับเรื่องเพียงเท่านั้นเรื่องก็เงียบไป
    https://rumble.com/v15flrb--.-3.html https://odysee.com/@EE:8/CH3PfizerReports:9 https://rookon.com/read-blog/130 ต่อมาช่อง news1 สนใจและเชิญอาจารย์หมอออกรายการคนเคาะข่าว https://t.me/ThaiPitaksithData/867
    วันที่ 11 ก.ค.2565 องค์กรภาคีเครือข่ายผู้ประกอบการวิทยุกระจายเสียงภาคประชาชนแห่งประเทศไทย รายการประเด็นโดนใจ หัวข้อ"ฉีดวัคซีนตอนนี้ดีหรือไม่ " ดำเนินรายการโดย ชาลี นพวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ร่วมรายการ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=620043739211127&id=100004085020749
    วันที่ 30 ก.ค.2565 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,พญ.ชนิฎา ศิริประภารัตน์,ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา,ทพ.วัลลภ ธีรเวชกุล,ลุงโฉลก สัมพันธารักษ์,ทนายเกิดผล แก้วเกิด,โค๊ชนาตาลี,อดิเทพ จาวลาห์,บรรยงก์ วิสุทธิ์,ภัทนรินทร์ ผลพฤกษาและผู้กล้าหลายๆท่าน จัดงานสัมมนา โควิด ทางรอดที่ปลอดภัย ครั้งที่ 1 ปลุกคนไทยให้เข้าถึงความรู้และทางรอด
    คลิปที่ 1-14 https://t.me/ThaiPitaksithData/1117 คลิปที่15-20 https://t.me/ThaiPitaksithData/1801 หรือ https://docs.google.com/document/d/1bWenIBiboQgE5WnvM6_Tqn-PP90w45wF6C3b-LFcmxw/edit?usp=sharing
    วันที่ 13 ก.ย.2565 จส ๑๐๐ สัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง เรื่องวัคซีนโควิด-19 https://atapol616246.substack.com/p/100?sd=pf
    วันที่ 29 ม.ค.2566 ช่อง 3 นำคลิปสัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ออกรายงานข่าว 3มิติ
    https://t.me/clipcovid19/274
    https://www.youtube.com/live/vEiTffjxaVk?si=EQ9bjfPjI2D_W1L7
    วันที่ 14 ก.พ. 2566 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง อ.ประจำคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมสนทนาในรายการ "คนเคาะข่าว" ออกอากาศทาง SONDHI APP ในหัวข้อ "ฉีดอะไรเข้าไปในร่างกาย? เรื่องที่วงในการแพทย์รู้ แต่พูดไม่ได้" https://rumble.com/v29lyme-137073542.htmlฉีดอะไรเข้าไปในร่างกาย?
    วันที่ 20 เม.ย. 2566 นายแพทย์อรรถพร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ร่วมรายการสภากาแฟเวทีชาวบ้าน 200466 ช่อง News1 เกี่ยวกับความจริงของโควิดระลอกใหม่ เพื่อให้คนไทยไม่ต้องตื่นกล้ว และ การยื่นหนังสือถึงกรรมการยา และผู้มีส่วนรับผิดชอบต่าง ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่นำมาฉีดให้คนไทย เกี่ยวกับการระงับการอนุมัติฉุกเฉินของ วัคซีน mRna https://www.youtube.com/live/T0COteCvRRQ?feature=share
    วันที่ 6 มิ.ย.2566 รายการสยามไทยอัปเดต ช่อง 13 สยามไทย สถานีข่าว ได้จัดเสวนาหัวข้อ “ล้างสุขภาพ : ผลข้างเคียงวัคซีนโควิด" โดยมีวิทยากรดังรายนามต่อไปนี้
    •• พระมหาขวัญชัย อคฺคชโย เจ้าอาวาส วัดคีรีวงก์ จ.ชุมพร
    •• นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    •• แพทย์แผนไทย(เวชกรรมไทย) เกริกพันธ์ นิลประกอบกุล ประจำคลินิกแพทย์แผนไทย หทัยนเรศวร์ จ.ราชบุรี / ทีมพอรักษา เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ผู้ดำเนินรายการ ขจรศักดิ์ เชาว์เจริญรัตน์
    ช่วงที่ 1 https://fb.watch/k-6IORwHvd/
    ช่วงที่ 2 https://fb.watch/k-6NKAbcjN/
    วันที่ 14 ก.ค.2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ได้เชิญ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง นพ.มนตรี เศรษฐบุตร ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา คุณอดิเทพ จาวลาห์ ดร.ศรีวิชัย ศรีสุวรรณ ดร.ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และผู้กล้าหาญมากมายร่วมกันจัดงานเสวนา เรื่อง “คนไทยขอคัดค้านสนธิสัญญาทาส WHO Treaty” เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสนธิสัญญาดังกล่าว และรวมตัวกันมอบรายชื่อคนไทยที่คัดค้านสนธิสัญญา WHO Treaty นี้ โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ภาค คือ
    ภาคเช้า งานสัมนาจัดที่วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี
    ภาคบ่าย ร่วมกันยื่นรายชื่อเพื่อหยุดสนธิสัญญาทาสของ WHO ที่กระทรวงสาธารณสุข
    https://t.me/stopWHOTreatyinthai
    วันที่ 1 พ.ย.2566 คุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ตัวแทนกลุ่มฯยื่นหนังสือ(ข้อมูลต่างๆ) ถึง รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    โพสของคุณหมออรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=10212579857448066&id=1732997516&sfnsn=mo&mibextid=RUbZ1f
    รวมภาพและคลิปกิจกรรม 1 พ.ย.2566
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4006
    มีต่อ
    2/3 ✍️Anthony Fauci แอนโทนี เฟาชี และผองพวก ไม่กล้ามาดีเบตไม่กล้าเอาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาเปิดเผย คำถาม คือ สาธารณสุขไทย เป็นแบบ เฟาชีไหม?https://open.substack.com/pub/atapol616246/p/anthony-fauci?utm_campaign=post&utm_medium=web&timestamp=15.8 https://rumble.com/v1ze4d0-covid-19-vaccines-what-they-are-how-they-work-and-possible-causes-of-injuri.html https://atapol616246.substack.com/p/anthony-fauci ✍️ไฟเซอร์ไม่เคยทดสอบว่า mRNA gene therapy ของตน สามารถป้องกันการติดเชื้อ กันการแพร่เชื้อ สร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้หรือไม่!!! https://t.me/DrAtapolFC/299 https://atapol616246.substack.com/p/mrna-gene-therapy ✍️รอดูว่า พวกที่ชอบอ้างว่า ตนเป็นนักวิชาการ จะกล้ามาคุยแบบที่นักวิชาการจริงๆ เขาทำกันไหม? https://open.substack.com/pub/atapol616246/p/ff9?utm_campaign=post&utm_medium=web&timestamp=4.6 https://atapol616246.substack.com/p/ff9 ✍️ภูมิคุ้มกันผิดปกติจาก mRNA วัคซีน https://t.me/DrAtapolFC/301 https://atapol616246.substack.com/p/mrna-30b ✍️ภูมิคุ้มกันผิดปกติจาก mRNA วัคซีน VAIDS https://t.me/DrAtapolFC/306 https://atapol616246.substack.com/p/mrna-vaids ✍️Excess death ของคนไทย พุ่งไม่หยุด https://t.me/DrAtapolFC/310 https://atapol616246.substack.com/p/excess-death-669 ✍️คำถาม ทางวิชาการ เกี่ยวกับเภสัชวิทยา ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายช่วยตอบ (๑) https://t.me/DrAtapolFC/317 https://atapol616246.substack.com/p/e47 ✍️Excess death เป็นปัญหาของคนไทย และเป็นปัญหาของหลายประเทศทั่วโลกที่ระดม ฉีดวัคซีน mRNA หรือ ชื่อจริงว่า ยาฉีดยีนไวรัส https://t.me/DrAtapolFC/318 https://atapol616246.substack.com/p/excess-death-mrna ✍️คำถาม ทางวิชาการ เกี่ยวกับเภสัชวิทยา ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายช่วยตอบ (๒) https://t.me/DrAtapolFC/323 https://atapol616246.substack.com/p/c70 ✍️Delusion "หลงผิด" เป็นอาการทางจิตอย่างนึง อาการหลงผิดเป็นอย่างไร? https://t.me/DrAtapolFC/327 https://atapol616246.substack.com/p/delusion ✍️โควิดเป็นฝีมือมนุษย์ https://t.me/DrAtapolFC/332 https://atapol616246.substack.com/p/b9c ✍️การทดลองในสัตว์ทดลองพบความผิดปกติมากมายภายหลังได้ยาฉีดของ ไฟเซอร์ https://t.me/DrAtapolFC/340 https://atapol616246.substack.com/p/a67 ✍️ความกลัวน่ากลัวกว่าโควิด https://t.me/DrAtapolFC/341 https://atapol616246.substack.com/p/bb6 ✍️รัฐบาลอิสราเอลกำลังถูกฟ้อง คนอิสราเอลตื่นรู้เรื่องพิษจากวัคซีน https://t.me/DrAtapolFC/346 https://atapol616246.substack.com/p/d8c ✍️ทฤษฎีสมคบคิด conspiracy theory https://t.me/DrAtapolFC/347 https://atapol616246.substack.com/p/conspiracy-theory ✍️cognitive dissonance "การรับรู้​ไม่ลงรอย https://t.me/DrAtapolFC/350 https://atapol616246.substack.com/p/cognitive-dissonance ✍️รวบรวมคลิปหมออรรถพล https://t.me/DrAtapolFC/355 ✍️วันที่ 18 ก.ย.2564 รายการรู้ทันพลังงานไทย โดยกลุ่ม ผีเสื้อกระพือปีก ตอนพิเศษ ข้อเท็จจริงที่ควรรู้เรื่อง ภูมิคุ้มกัน วิทยากร อ.นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,นพ.ศิริโรจน์ กิตติสารพงษ์,ม.ล.รุ่งคุณ กิติยากร https://rumble.com/vmr3i3-38215803.html ✍️วันที่ 30 ก.ย.2564 เสวนาออนไลน์และแถลงการณ์ เสรีภาพในการรับ/ไม่รับ วัคซีนต้าน โควิด 19 บนความรับผิดชอบ ศ.นพ.อมร เปรมกมล,นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,นพ.ทีปทัศน์ ชุณหสวัสดิกุล,พท.ป.วิพุธ สันติวาณิช,คุณธวัชชัย โตสิตระกูล,มล.รุ่งคุณ กิติยากร ผู้ดำเนินรายการ ดร.กฤษฎา บุญชัย,คุณนคร ลิมปคุปตถาวร https://www.youtube.com/watch?v=EpdTD7G6pCU ✍️ระหว่างวันที่ 24-31 ม.ค.2565 ดร.ณัฏฐพบธรรม(วู้ดดี้)และคณะจากกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ปั่นจักรยานจากเชียงใหม่มากรุงเทพฯ เพื่อยื่นหนังสือพร้อม นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และหม่อมโจ้ ม.ล.รุ่งคุณ กิติยากร และประชาชนต่อกระทรวงศึกษาฯ ครั้งเริ่มมีการฉีดในเด็ก https://www.facebook.com/105105782022345/posts/126941879838735/ https://photos.app.goo.gl/zfpHX8iSDYXD26fh7 ✍️วันที่ 11 มี.ค.2565 คุณหมออรรถพล ดร.ณัฏฐพบธรรม คุณอดิเทพ คุณวรเชษฐ์ (วงสไมล์บัพพาโล่)พร้อมกับกลุ่มผู้ต่อต้านวัคซีนทดลอง ไปยื่นหนังสือที่กระทรวงสาธารณสุข https://photos.app.goo.gl/qukmJK5xiaiJE9ij7 เพื่อขอความเป็นธรรมให้แก่ผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจากวัคซีนทดลอง หลังจากนั้นก็มีการทยอยส่งหนังสือถึงหน่วยงานต่างๆ อาทิ จดหมายเปิดผนึก ถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา https://cmhealthlibertyrights.blogspot.com/2022/04/email-paisarnpomgmail.html จดหมายเปิดผนึกถึงประชาชนคนไทย และผู้มีอำนาจใน ศคบ https://cmhealthlibertyrights.blogspot.com/2022/05/blog-post_61.html ✍️วันที่ 17 เม.ย.2565 แพทย์ไทยลงชื่อ30ท่าน คือแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการรักษาผู้ที่ติดเชื้อโkวิd-19 ด้วยยาผสมผสาน 4 ตัว Combination Drugs อันได้แก่ 1. ยา Ivermectin 2.ยา Fluoxetine 3.ยา Niclosamide 4.ยา Doxycycline 5.วิตามิน ดี 6.วิตามิน ซี 7.สังกะสี 8. NAC 9.แอสไพริน 10.famotidine 11.วิตามิน เอ 12. Quecertin (หอมแดง) 13. ฟ้าทะลายโจร 14. ขิง 15. กระชาย สนับสนุนให้เพื่อนๆแพทย์ที่เคารพทั้งหลายมีทางเลือกในการดูแลรักษาพี่น้องประชาชนชาวไทยด้วยการใช้ยารักษาโรคอื่นๆ (เดิม) ที่ได้ผ่านการศึกษาวิจัย เพื่อนำมาใช้ใหม่ Repurposed Drugs ในการรักษาโkวิd-19 เป็นยาราคาถูกที่หมดสิทธิบัตรไปแล้ว Off-patent Drugs เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ผลข้างเคียงน้อย ซึ่งทั้งหมดนี้ผ่านการรักษามาเป็นจำนวนมากแล้ว โดยอ้างอิงผลการวิจัยและคนไข้จริงๆ ทำให้คนไข้หายได้เร็วและไม่เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆตามมา https://c19early.com/ รายชื่อแพทย์เรียงตามลำดับตามอักษร มีดังต่อไปนี้ หมายเหตุ : ลงชื่อ นพ. พญ. ชื่อ-นามสกุล แพทย์สาขาหรือประสบการณ์ ที่ทำงานอดีตหรือปัจจุบัน จังหวัด 1. นพ.กฤษณ์ติพัฒณ์ พิริยกรเจริญกิจ กุมารแพทย์ 2. นพ.กฤษดา จงสกุล เวชศาสตร์ครอบครัว นนทบุรี 3. นพ.โกวิท ยงวานิชจิต 4. พญ.จันทนา พงศ์สงวนสิน อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ 5. พญ.จันทร์จิรา ชัชวาลา รังสีแพทย์ กรุงเทพฯ 6. นพ.จิตจำลอง หะริณสุต อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ 7. นพ.ชัยยศ คุณานุสนธิ์ แพทย์ระบาดวิทยา นนทบุรี 8. นพ.ทวีชัย พิตรปรีชา โสต-ศอ-นาสิกแพทย์ กรุงเทพฯ 9. นพ.ธนะรัตน์ ลยางกูร กุมารแพทย์ (ใช้ในการป้องกัน) 10. นพ.ธีรเดช ตังเดชะหิรัญ อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ 11. ศ.นพ.ธีรวัฒน์ เหมะจุฑา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12. นพ.พิศิษฐ์ เจนดิษฐการ อายุรแพทย์ กรุงเทพฯ 13. นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ แพทย์ เวชศาสตร์ป้องกัน จังหวัดน่าน 14. นพ. พุทธพจน์ สรรพกิจจำนง แพทย์โรงพยาบาลเอกชน อยุธยา 15. นพ.ภูษณุ ธนาพรสังสุทธิ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 16. นพ.มาโนช อาภรณ์สุวรรณ กุมารแพทย์ บุรีรัมย์ 17. พญ.ลลิดา เกษมสุวรรณ โสต-ศอ-นาสิกแพทย์ กรุงเทพฯ 18.พญ.วัชรา ริ้วไพบูลย์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู กรุงเทพฯ 19. นพ.วัฒนา รังสราญนนท์ ศัลยกรรมทั่วไป รพ.บางไผ่ กทม. 20. นพ.วีรชัย ลดาคม แพทย์เอกชน กรุงเทพฯ 21. พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร กุมารแพทย์ กรุงเทพฯ 22. นพ.สมภพ อิทธิอาวัชกุล สูติแพทย์ อรัญประเทศ 23. นพ.สายัณห์ ผลประเสริฐ สูตินรีแพทย์ อ.หล่มศักดิ์ จ.เพชรบูรณ์ 24. นพ.สุทัศน์ วาณิชเสนี จักษุแพทย์ นครศรีธรรมราช 25. นพ.สุเทพ ลิ้มสุขนิรันดร์ จักษุแพทย์ กาญจนบุรี 26. นพ.สุนทร ศรีปรัชญาอนันต์ กรุงเทพฯ 27. พญ.อรสา ชวาลภาฤทธิ์ รังสีแพทย์ กรุงเทพฯ 28. พญ.อัจฉรา รังสราญนนท์ แพทย์ห้วงเวลา ศูนย์บริการสาธารณสุข 30 วัดเจ้าอาม สำนักอนามัย กทม. 29. น.พ. อลงกรณ์ ชุตินันท์ ประสาทศัลยแพทย์ จ.ชลบุรี 30. นพ อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง https://www.facebook.com/105105782022345/posts/146820267850896/ ✍️วันที่ 20 พ.ค.2565 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และประชาชนบุกช่อง 3 เพื่อเอาข้อมูลบ.ไฟzerแพ้คดีจำใจเปิดเผยข้อมูลด้านเสียของยาฉีด มีนักข่าวมารับเรื่องเพียงเท่านั้นเรื่องก็เงียบไป https://rumble.com/v15flrb--.-3.html https://odysee.com/@EE:8/CH3PfizerReports:9 https://rookon.com/read-blog/130 ต่อมาช่อง news1 สนใจและเชิญอาจารย์หมอออกรายการคนเคาะข่าว https://t.me/ThaiPitaksithData/867 ✍️ วันที่ 11 ก.ค.2565 องค์กรภาคีเครือข่ายผู้ประกอบการวิทยุกระจายเสียงภาคประชาชนแห่งประเทศไทย รายการประเด็นโดนใจ หัวข้อ"ฉีดวัคซีนตอนนี้ดีหรือไม่ " ดำเนินรายการโดย ชาลี นพวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ร่วมรายการ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=620043739211127&id=100004085020749 ✍️วันที่ 30 ก.ค.2565 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง,พญ.ชนิฎา ศิริประภารัตน์,ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา,ทพ.วัลลภ ธีรเวชกุล,ลุงโฉลก สัมพันธารักษ์,ทนายเกิดผล แก้วเกิด,โค๊ชนาตาลี,อดิเทพ จาวลาห์,บรรยงก์ วิสุทธิ์,ภัทนรินทร์ ผลพฤกษาและผู้กล้าหลายๆท่าน จัดงานสัมมนา โควิด ทางรอดที่ปลอดภัย ครั้งที่ 1 ปลุกคนไทยให้เข้าถึงความรู้และทางรอด คลิปที่ 1-14 https://t.me/ThaiPitaksithData/1117 คลิปที่15-20 https://t.me/ThaiPitaksithData/1801 หรือ https://docs.google.com/document/d/1bWenIBiboQgE5WnvM6_Tqn-PP90w45wF6C3b-LFcmxw/edit?usp=sharing ✍️วันที่ 13 ก.ย.2565 จส ๑๐๐ สัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง เรื่องวัคซีนโควิด-19 https://atapol616246.substack.com/p/100?sd=pf ✍️วันที่ 29 ม.ค.2566 ช่อง 3 นำคลิปสัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ออกรายงานข่าว 3มิติ https://t.me/clipcovid19/274 https://www.youtube.com/live/vEiTffjxaVk?si=EQ9bjfPjI2D_W1L7 ✍️วันที่ 14 ก.พ. 2566 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง อ.ประจำคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมสนทนาในรายการ "คนเคาะข่าว" ออกอากาศทาง SONDHI APP ในหัวข้อ "ฉีดอะไรเข้าไปในร่างกาย? เรื่องที่วงในการแพทย์รู้ แต่พูดไม่ได้" https://rumble.com/v29lyme-137073542.htmlฉีดอะไรเข้าไปในร่างกาย? ✍️วันที่ 20 เม.ย. 2566 นายแพทย์อรรถพร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ร่วมรายการสภากาแฟเวทีชาวบ้าน 200466 ช่อง News1 เกี่ยวกับความจริงของโควิดระลอกใหม่ เพื่อให้คนไทยไม่ต้องตื่นกล้ว และ การยื่นหนังสือถึงกรรมการยา และผู้มีส่วนรับผิดชอบต่าง ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่นำมาฉีดให้คนไทย เกี่ยวกับการระงับการอนุมัติฉุกเฉินของ วัคซีน mRna https://www.youtube.com/live/T0COteCvRRQ?feature=share ✍️วันที่ 6 มิ.ย.2566 รายการสยามไทยอัปเดต ช่อง 13 สยามไทย สถานีข่าว ได้จัดเสวนาหัวข้อ “ล้างสุขภาพ : ผลข้างเคียงวัคซีนโควิด" โดยมีวิทยากรดังรายนามต่อไปนี้ •• พระมหาขวัญชัย อคฺคชโย เจ้าอาวาส วัดคีรีวงก์ จ.ชุมพร •• นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย •• แพทย์แผนไทย(เวชกรรมไทย) เกริกพันธ์ นิลประกอบกุล ประจำคลินิกแพทย์แผนไทย หทัยนเรศวร์ จ.ราชบุรี / ทีมพอรักษา เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ผู้ดำเนินรายการ ขจรศักดิ์ เชาว์เจริญรัตน์ ช่วงที่ 1 https://fb.watch/k-6IORwHvd/ ช่วงที่ 2 https://fb.watch/k-6NKAbcjN/ ✍️วันที่ 14 ก.ค.2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ได้เชิญ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง นพ.มนตรี เศรษฐบุตร ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา คุณอดิเทพ จาวลาห์ ดร.ศรีวิชัย ศรีสุวรรณ ดร.ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และผู้กล้าหาญมากมายร่วมกันจัดงานเสวนา เรื่อง “คนไทยขอคัดค้านสนธิสัญญาทาส WHO Treaty” เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสนธิสัญญาดังกล่าว และรวมตัวกันมอบรายชื่อคนไทยที่คัดค้านสนธิสัญญา WHO Treaty นี้ โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคเช้า งานสัมนาจัดที่วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี ภาคบ่าย ร่วมกันยื่นรายชื่อเพื่อหยุดสนธิสัญญาทาสของ WHO ที่กระทรวงสาธารณสุข https://t.me/stopWHOTreatyinthai ✍️วันที่ 1 พ.ย.2566 คุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ตัวแทนกลุ่มฯยื่นหนังสือ(ข้อมูลต่างๆ) ถึง รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสของคุณหมออรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=10212579857448066&id=1732997516&sfnsn=mo&mibextid=RUbZ1f รวมภาพและคลิปกิจกรรม 1 พ.ย.2566 https://t.me/ThaiPitaksithData/4006 มีต่อ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 647 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป
    สัทธรรมลำดับที่ : 1015
    ชื่อบทธรรม :- อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1015
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาชนบททางทิศใต้ มีพิธีกรรม ชื่อโธวนะ(พิธีเครื่องชำระบาป)​.
    ในพิธีกรรมนั้น มีข้าว มีน้ำ มีของเคี้ยว ของบริโภค มีของควรลิ้ม ของควรดื่ม
    มีการฟ้อน การขับ และการประโคม.
    --ภิกษุ ท. ! พิธีกรรม ชื่อโธวนะ นั้น มีอยู่ มิใช่เรากล่าวว่าไม่มี
    แต่ว่าพิธีกรรมชื่อโธวนะนั้น เป็นของต่ำ
    เป็นของ ชาวบ้าน ควรแก่บุถุชน
    ไมใช่ของอารยชน ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
    ไม่เป็นไปพร้อมเพื่อความหน่ายทุกข์
    เพื่อความคลายกำหนัด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม
    และนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง #โธวนะอันประเสริฐ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/232/?keywords=อริยํ+โธวนํ
    ที่เป็นไปพร้อมเพื่อ ความหน่ายทุกข์โดยส่วนเดียว
    เพื่อเป็นความคลายกำหนด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม
    และนิพพาน
    เป็นโธวนะที่เมื่อสัตว์
    ผู้มีความเกิดเป็น ธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความเกิด,
    ผู้มีความแก่เป็นธรรมดาได้ อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความแก่,
    ผู้มีความตายเป็นธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความตาย,
    ผู้มีความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจได้อาศัยแล้ว
    ย่อมหลุดพ้นจากความโศก ความ ร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/232/?keywords=อริยํ+โธวนํ
    พวกเธอจงฟังคำนั้น จงทำในใจให้ดี เราจักกล่าว.
    (ต่อจากนั้น ทรงแสดงอเสขธรรม ๑๐ ประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ
    ).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/185/107
    http://etipitaka.com/read/thai/24/185/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๑/๑๐๗
    http://etipitaka.com/read/pali/24/231/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1015
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87
    ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป สัทธรรมลำดับที่ : 1015 ชื่อบทธรรม :- อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1015 เนื้อความทั้งหมด :- --อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาชนบททางทิศใต้ มีพิธีกรรม ชื่อโธวนะ(พิธีเครื่องชำระบาป)​. ในพิธีกรรมนั้น มีข้าว มีน้ำ มีของเคี้ยว ของบริโภค มีของควรลิ้ม ของควรดื่ม มีการฟ้อน การขับ และการประโคม. --ภิกษุ ท. ! พิธีกรรม ชื่อโธวนะ นั้น มีอยู่ มิใช่เรากล่าวว่าไม่มี แต่ว่าพิธีกรรมชื่อโธวนะนั้น เป็นของต่ำ เป็นของ ชาวบ้าน ควรแก่บุถุชน ไมใช่ของอารยชน ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปพร้อมเพื่อความหน่ายทุกข์ เพื่อความคลายกำหนัด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม และนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง #โธวนะอันประเสริฐ http://etipitaka.com/read/pali/24/232/?keywords=อริยํ+โธวนํ ที่เป็นไปพร้อมเพื่อ ความหน่ายทุกข์โดยส่วนเดียว เพื่อเป็นความคลายกำหนด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม และนิพพาน เป็นโธวนะที่เมื่อสัตว์ ผู้มีความเกิดเป็น ธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความเกิด, ผู้มีความแก่เป็นธรรมดาได้ อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความแก่, ผู้มีความตายเป็นธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความตาย, ผู้มีความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความโศก ความ ร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ. http://etipitaka.com/read/pali/24/232/?keywords=อริยํ+โธวนํ พวกเธอจงฟังคำนั้น จงทำในใจให้ดี เราจักกล่าว. (ต่อจากนั้น ทรงแสดงอเสขธรรม ๑๐ ประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ ).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/185/107 http://etipitaka.com/read/thai/24/185/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๑/๑๐๗ http://etipitaka.com/read/pali/24/231/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87&id=1015 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=87 ลำดับสาธยายธรรม : 87 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_87.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป
    -อเสขธรรมสิบ ในฐานะพิธีเครื่องชำระบาป ภิกษุ ท. ! ในบรรดาชนบททางทิศใต้ มีพิธีกรรม ชื่อโธวนะ. ในพิธีกรรมนั้น มีข้าว มีน้ำ มีของเคี้ยว ของบริโภค มีของควรลิ้ม ของควรดื่ม มีการฟ้อน การขับ และการประโคม. ภิกษุ ท. ! พิธีกรรมชื่อโธวนะนั้น มีอยู่ มิใช่เรากล่าวว่าไม่มี แต่ว่าพิธีกรรมชื่อโธวนะนั้น เป็นของต่ำ เป็นของ ชาวบ้าน ควรแก่บุถุชน ไมใช่ของอารยชน ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็น ไปพร้อมเพื่อความหน่ายทุกข์ เพื่อความคลายกำหนัด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม และนิพพาน. ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง โธวนะอันประเสริฐ ที่เป็นไปพร้อมเพื่อ ความหน่ายทุกข์โดยส่วนเดียว เพื่อเป็นความคลายกำหนด ความดับ ความรำงับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม และนิพพาน เป็นโธวนะที่เมื่อสัตว์ผู้มีความเกิดเป็น ธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความเกิด, ผู้มีความแก่เป็นธรรมดาได้ อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความแก่, ผู้มีความตายเป็นธรรมดาได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความตาย, ผู้มีความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจได้อาศัยแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความโศก ความ ร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ. พวกเธอจงฟังคำนั้น จงทำในใจให้ดี เราจักกล่าว. (ต่อจากนั้น ทรงแสดงอเสขธรรม ๑๐ ประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 232 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าที่ตั้งอาศัยเกิดแห่งตัณหาเรียกว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 280
    ชื่อบทธรรม :- ฐานที่เกิดแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=280
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฐานที่เกิดแห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานั้น เมื่อจะเกิดย่อมเกิดขึ้น ณ ที่ไหน ?
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ณ ที่ไหน ?
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งใด มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ?
    --ภิกษุ ท. !
    ตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    หู มีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก,
    จมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    กาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    ใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้นๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    เสียง ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    กลิ่น ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    รส ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    โผฏฐัพพะ ทั้งหลายมีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก, และ
    ธรรมารมณ์ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    วิญญาณ ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    วิญญาณ ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    วิญญาณ ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    วิญญาณ ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    วิญญาณ ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    วิญญาณ ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    สัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้นๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    ความหมายรู้ ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความหมายรู้ ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความหมายรู้ ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความหมายรู้ ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความหมายรู้ใน โผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    ความหมายรู้ ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ
    --ภิกษุ ท. !
    ความคิดนึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความคิดนึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความคิดนึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความคิดนึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความคิดนึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    ความคิดนึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    ตัณหา ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ตัณหา ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ตัณหา ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ตัณหา ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ตัณหา ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    ตัณหา ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็น​ ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    ความตริตรึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ
    ความตริตรึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. !
    ความตริตรอง ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรอง ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรอง ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรอง ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรอง ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก,
    ความตริตรองในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ;
    ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ,
    เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ.

    --ภิกษุ ท. !
    เมื่อตัณหาจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ
    นั้นละ #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุที่เกิดทุกข์(ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ)​http://etipitaka.com/read/pali/10/345/?keywords=ทุกฺขสมุทโย+อริยสจฺจํ
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/229/297.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/229/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๓๔๓/๒๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=280
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=280
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าที่ตั้งอาศัยเกิดแห่งตัณหาเรียกว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 280 ชื่อบทธรรม :- ฐานที่เกิดแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=280 เนื้อความทั้งหมด :- --ฐานที่เกิดแห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! ตัณหานั้น เมื่อจะเกิดย่อมเกิดขึ้น ณ ที่ไหน ? เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ณ ที่ไหน ? --ภิกษุ ท. ! สิ่งใด มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ? --ภิกษุ ท. ! ตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, หู มีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก, จมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, กาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้นๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! รูป ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เสียง ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, กลิ่น ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, รส ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, โผฏฐัพพะ ทั้งหลายมีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ วิญญาณ ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ สัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้นๆ. --ภิกษุ ท. ! ความหมายรู้ ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ใน โผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ความหมายรู้ ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ --ภิกษุ ท. ! ความคิดนึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ความคิดนึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! ตัณหา ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ตัณหา ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็น​ ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! ความตริตรึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ความตริตรึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! ความตริตรอง ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรองในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! เมื่อตัณหาจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ นั้นละ #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุที่เกิดทุกข์(ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ)​http://etipitaka.com/read/pali/10/345/?keywords=ทุกฺขสมุทโย+อริยสจฺจํ ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/229/297. http://etipitaka.com/read/thai/10/229/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๓๔๓/๒๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/10/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=280 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=280 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฐานที่เกิดแห่งตัณหา
    -ฐานที่เกิดแห่งตัณหา (สี่อย่าง) ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น แก่ภิกษุใน อารมณ์ใด ๆ ก็ตาม มีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ : ภิกษุ ท. ! ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น แก่ภิกษุ เพราะจีวรเป็น เหตุ บ้าง ; ภิกษุ ท. ! ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น แก่ภิกษุ เพราะอาหารบิณฑบาตเป็นเหตุ บ้าง ; ภิกษุ ท. ! ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น แก่ภิกษุ เพราะเสนาสนะเป็นเหตุ บ้าง ; ภิกษุ ท. ! ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น แก่ภิกษุ เพราะความได้เป็นหรือไม่ได้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้เป็นเหตุ บ้าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ การเกิดขึ้นแห่งตัณหา เมื่อจะเกิดย่อมเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในอารมณ์ใด ๆ ก็ตาม มีสี่อย่าง แล. จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๒/๙; จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๕/๒๕๗. ที่ตั้งอาศัยเกิดแห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! ตัณหานั้น เมื่อจะเกิดย่อมเกิดขึ้น ณ ที่ไหน ? เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ณ ที่ไหน ? ภิกษุ ท. ! สิ่งใด มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ? ภิกษุ ท. ! ตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, หู มีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก, จมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดี ในโลก, กาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และ ใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้นๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! รูป ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เสียง ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, กลิ่น ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, รส ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, โผฏฐัพพะ ทั้งหลายมีภาวะเป็นที่รัก ที่ยินดีในโลก, และธรรมารมณ์ทั้งหลาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, วิญญาณ ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และวิญญาณ ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และสัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางตา มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางหู มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางจมูก มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางลิ้น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, เวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางกาย มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และเวทนาเกิดแต่สัมผัส ทางใจ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้นๆ. ภิกษุ ท. ! ความหมายรู้ ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความหมายรู้ใน โผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และความหมายรู้ ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ ภิกษุ ท. ! ความคิดนึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความคิดนึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และความคิดนึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! ตัณหา ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ตัณหา ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และตัณหา ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! ความตริตรึก ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรึก ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, และความตริตรึก ในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! ความตริตรอง ในรูป มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในเสียง มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในกลิ่น มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในรส มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรอง ในโผฏฐัพพะ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก, ความตริตรองในธรรมารมณ์ มีภาวะเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ; ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น ๆ, เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ในสิ่งนั้น ๆ. ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 154 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ๓ มิถุนายน ๒๕๖๘ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า“อภิลักขิตสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาของ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ได้เวียนมาบรรจบอีกคำรบหนึ่ง อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอถวายพระพร ให้ทรงพระกำลังแกล้วกล้า ในอันที่พิทักษ์รักษาประเทศชาติ พระบวรพุทธศาสนา และสนองพระบรมราโชบายของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้พระราชสวามี ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์โดยพร้อมพรั่ง สมดั่งพระราชปรารถนาทุกประการ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงพิสูจน์พระองค์ให้เป็นที่ประจักษ์แก่พสกนิกรทั่วหน้า และมหาชนชาวโลก ว่าทรงมั่นคงในพระราชสัตยาธิษฐาน ในอันที่จะทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดพระราชจริยวัตร พระราชกรณียกิจ และพระราชปณิธานของสมเด็จบรมบพิตร สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ด้วยความจงรักภักดีต่อพระบรมราชจักรีวงศ์ จึงทรงดำรงพระองค์เป็นราชนารี ผู้มีพระราชอัธยาศัยประณีต ทรงเลือกเฟ้นคุณธรรมอันแยบคายหลายสถาน เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัย ให้ทรงสามารถรักษาพระกายสุจริต และพระวจีสุจริต พอประมาณเหมาะสม มิมากเกินไป มิน้อยเกินไป เป็นดุลยภาวะอันสงบ สุขุม สอดคล้องกับสถานการณ์ มิทรงไว้อย่างวางพระยศ แต่ก็สดใส สมสง่า ปรากฏเป็นความชื่นบานแก่ผู้ได้เฝ้าชมพระบารมี ในที่ทุกสถานและในกาลทุกเมื่อ การที่ทรงเพียรหมั่นขยัน รอบคอบ และจัดการพระราชกิจจานุกิจ ราชการในพระองค์ ตลอดจนราชการแผ่นดินโดยเรียบร้อยเช่นนี้ ช่วยเสริมส่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระราชสวามี ผู้ทรงดำรงพระราชสถานะพระประมุขของชาติ และอัครศาสนูปถัมภก ให้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ได้อย่างราบรื่นบริบูรณ์ สมด้วยพระพุทธานุศาสนี ที่ว่าอุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ สุสํวิหิตกมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส.แปลความว่า “ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงานเรียบร้อย. จึงควรอยู่ในราชการ.” ด้วยประการฉะนี้ ด้วยเดชะแห่งสัจจวาจา และอานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย พร้อมด้วยพระราชกุศลธรรมจริยาทุกสถาน โปรดอภิบาลรักษาสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงพระเจริญด้วยจตุรพิธพรชัย เสด็จสถิตเป็นมิ่งขวัญอันมงคล ของมหาชนนิกรทั่วหน้า ตลอดกาลนาน เทอญ.”
    เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ๓ มิถุนายน ๒๕๖๘ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า“อภิลักขิตสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาของ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ได้เวียนมาบรรจบอีกคำรบหนึ่ง อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอถวายพระพร ให้ทรงพระกำลังแกล้วกล้า ในอันที่พิทักษ์รักษาประเทศชาติ พระบวรพุทธศาสนา และสนองพระบรมราโชบายของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้พระราชสวามี ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์โดยพร้อมพรั่ง สมดั่งพระราชปรารถนาทุกประการ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงพิสูจน์พระองค์ให้เป็นที่ประจักษ์แก่พสกนิกรทั่วหน้า และมหาชนชาวโลก ว่าทรงมั่นคงในพระราชสัตยาธิษฐาน ในอันที่จะทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดพระราชจริยวัตร พระราชกรณียกิจ และพระราชปณิธานของสมเด็จบรมบพิตร สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ด้วยความจงรักภักดีต่อพระบรมราชจักรีวงศ์ จึงทรงดำรงพระองค์เป็นราชนารี ผู้มีพระราชอัธยาศัยประณีต ทรงเลือกเฟ้นคุณธรรมอันแยบคายหลายสถาน เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัย ให้ทรงสามารถรักษาพระกายสุจริต และพระวจีสุจริต พอประมาณเหมาะสม มิมากเกินไป มิน้อยเกินไป เป็นดุลยภาวะอันสงบ สุขุม สอดคล้องกับสถานการณ์ มิทรงไว้อย่างวางพระยศ แต่ก็สดใส สมสง่า ปรากฏเป็นความชื่นบานแก่ผู้ได้เฝ้าชมพระบารมี ในที่ทุกสถานและในกาลทุกเมื่อ การที่ทรงเพียรหมั่นขยัน รอบคอบ และจัดการพระราชกิจจานุกิจ ราชการในพระองค์ ตลอดจนราชการแผ่นดินโดยเรียบร้อยเช่นนี้ ช่วยเสริมส่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระราชสวามี ผู้ทรงดำรงพระราชสถานะพระประมุขของชาติ และอัครศาสนูปถัมภก ให้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ได้อย่างราบรื่นบริบูรณ์ สมด้วยพระพุทธานุศาสนี ที่ว่าอุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ สุสํวิหิตกมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส.แปลความว่า “ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงานเรียบร้อย. จึงควรอยู่ในราชการ.” ด้วยประการฉะนี้ ด้วยเดชะแห่งสัจจวาจา และอานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย พร้อมด้วยพระราชกุศลธรรมจริยาทุกสถาน โปรดอภิบาลรักษาสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงพระเจริญด้วยจตุรพิธพรชัย เสด็จสถิตเป็นมิ่งขวัญอันมงคล ของมหาชนนิกรทั่วหน้า ตลอดกาลนาน เทอญ.”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts