• วันนี้เรามาคุยถึงเครื่องประดับชนิดหนึ่งในสมัยราชวงศ์ชิงที่ดูจะไม่ค่อยมีใครกล่าวถึง แต่เพื่อนเพจที่ได้ดูละครของยุคสมัยนั้นอย่างเช่น <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> หรือ <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> จะเห็นนางในมีสร้อยประคำผูกไว้ที่คอเสื้อ จริงๆ แล้วมันก็คือสร้อยประคำมือ เรียกว่า ‘สือปาจื่อ’ (十八子)

    ความมีอยู่ว่า
    ... โจวเซิงเฉินเดินออกมาพอดี เห็นสร้อยประคำมือหยก 18 เม็ดบนข้อมือของเธอ ในแววตาปรากฏความแปลกใจแวบหนึ่ง ในระหว่างเดินทางกลับ เขาค่อยเล่าให้ฟังถึงที่มาของสร้อยประคำนี้: “ยาว 28ซม. เม็ดประคำหยกสิบแปดเม็ด” เขาชี้นิ้วไล่ตามเชือกใต้เม็ดปะการังสีแดง “พลอยทัวร์มารีนสีชมพูแกะสลักเป็นดอกไม้ แล้วยังมีเม็ดปะการังและไข่มุก...เป็นของจากสมัยปลายราชวงศ์หมิงต้นราชวงศ์ชิง”...
    - จาก <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (บทความ Storyฯ แปลเองจ้า)

    สร้อยประคำมือที่กล่าวถึงในบทความข้างต้นนั้นมีลูกประคำ 18 เม็ด ซึ่งมีความหมายทางศาสนาพุทธ บ้างก็ว่าหมายถึง 18 อรหันต์ แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ที่ Storyฯ ค้นพบจะบอกว่าหมายถึง 6 ผัสสะซึ่งก็คือ:
    1. จักขุสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางตา คือ ตา+รูป+จักขุวิญญาณ
    2. โสตสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางหู คือ หู+เสียง+โสตวิญญาณ
    3. ฆานสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางจมูก คือ จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ
    4. ชิวหาสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ
    5. กายสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางกาย คือ กาย+โผฏฐัพพะ (เช่น ร้อน เย็น อ่อน แข็ง) +กายวิญญาณ
    6. มโนสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางใจ คือ ใจ+ธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด) +มโนวิญญาณ

    สร้อยประคำมือนี้เดิมมีไว้ใช้ตอนสวดมนต์ ต่อมากลายเป็นเครื่องประดับในสมัยราชวงศ์ชิง การนำมาใช้เป็นเครื่องประดับนี้เริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่แน่ชัด รู้แต่ว่าในสมัยกลางของราชวงศ์ชิงยังไม่มีการกล่าวถึงนัก ต่อมาจึงเห็นจากภาพวาดในช่วงปลายราชวงศ์ชิงว่ามันได้กลายเป็นเครื่องประดับติดกายที่นิยมอย่างมากทั้งในหญิงและชาย (ดูรูปแรก)

    แรกเริ่มใช้กันในวัง แต่มันไม่ใช่เครื่องประดับอย่างเป็นทางการ ดังนั้นจึงใช้ได้ทุกระดับยศและเลือกใช้วัสดุได้หลากหลาย แต่แน่นอนว่ายศยิ่งสูง วัสดุที่ใช้ก็ยิ่งเลอค่า ต่อมาความนิยมนี้แพร่หลายออกมานอกวัง แต่ยังอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอย่างเช่นคนในตระกูลกองธงต่างๆ รูปแบบหรือองค์ประกอบของสร้อยก็มีการแปลงง่ายลงโดยคงไว้ซึ่งส่วนสำคัญของสร้อยประคำเท่านั้น ซึ่งก็คือส่วนที่เรียกว่าเศียรพระพุทธเจ้า เม็ดคั่น และเม็ดหลัก 18 เม็ด (ดูรูปสองบน)

    ตำแหน่งที่แขวนสร้อยประคำมือเป็นเครื่องประดับนั้น หากเป็นเสื้อสาบเฉียงให้ห้อยไว้ทางด้านขวา หากเป็นสาบตรงให้ห้อยไว้ที่กระดุมเม็ดที่สองข้างหน้า

    ใครตามละครเรื่องราวในวังยุคสมัยราชวงศ์ชิงอยู่ลองสังเกตดูนะคะ Storyฯ เห็นอยู่ในหลายเรื่องเลย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.sohu.com/a/491583437_515879
    https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html
    https://m.xing73.com/zt/yiL5Lmo5Q2a5Q_o5p_I6Q2a5rWY5B2Y5.html
    https://kknews.cc/culture/6er9xv.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://new.qq.com/omn/20191012/20191012A0N7RC00.html
    https://www.sohu.com/a/249960097_105772
    https://kknews.cc/collect/q5k3bvb.html
    https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html
    https://www.baanjomyut.com/pratripidok/41.html

    #กระดูกงดงาม #สร้อยประคำมือ #สือปาจื่อ #ผัสสะ #เครื่องแต่งกายสตรีจีนโบราณ #ราชวงศ์ชิง
    วันนี้เรามาคุยถึงเครื่องประดับชนิดหนึ่งในสมัยราชวงศ์ชิงที่ดูจะไม่ค่อยมีใครกล่าวถึง แต่เพื่อนเพจที่ได้ดูละครของยุคสมัยนั้นอย่างเช่น <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> หรือ <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> จะเห็นนางในมีสร้อยประคำผูกไว้ที่คอเสื้อ จริงๆ แล้วมันก็คือสร้อยประคำมือ เรียกว่า ‘สือปาจื่อ’ (十八子) ความมีอยู่ว่า ... โจวเซิงเฉินเดินออกมาพอดี เห็นสร้อยประคำมือหยก 18 เม็ดบนข้อมือของเธอ ในแววตาปรากฏความแปลกใจแวบหนึ่ง ในระหว่างเดินทางกลับ เขาค่อยเล่าให้ฟังถึงที่มาของสร้อยประคำนี้: “ยาว 28ซม. เม็ดประคำหยกสิบแปดเม็ด” เขาชี้นิ้วไล่ตามเชือกใต้เม็ดปะการังสีแดง “พลอยทัวร์มารีนสีชมพูแกะสลักเป็นดอกไม้ แล้วยังมีเม็ดปะการังและไข่มุก...เป็นของจากสมัยปลายราชวงศ์หมิงต้นราชวงศ์ชิง”... - จาก <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (บทความ Storyฯ แปลเองจ้า) สร้อยประคำมือที่กล่าวถึงในบทความข้างต้นนั้นมีลูกประคำ 18 เม็ด ซึ่งมีความหมายทางศาสนาพุทธ บ้างก็ว่าหมายถึง 18 อรหันต์ แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ที่ Storyฯ ค้นพบจะบอกว่าหมายถึง 6 ผัสสะซึ่งก็คือ: 1. จักขุสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางตา คือ ตา+รูป+จักขุวิญญาณ 2. โสตสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางหู คือ หู+เสียง+โสตวิญญาณ 3. ฆานสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางจมูก คือ จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ 4. ชิวหาสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ 5. กายสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางกาย คือ กาย+โผฏฐัพพะ (เช่น ร้อน เย็น อ่อน แข็ง) +กายวิญญาณ 6. มโนสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางใจ คือ ใจ+ธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด) +มโนวิญญาณ สร้อยประคำมือนี้เดิมมีไว้ใช้ตอนสวดมนต์ ต่อมากลายเป็นเครื่องประดับในสมัยราชวงศ์ชิง การนำมาใช้เป็นเครื่องประดับนี้เริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่แน่ชัด รู้แต่ว่าในสมัยกลางของราชวงศ์ชิงยังไม่มีการกล่าวถึงนัก ต่อมาจึงเห็นจากภาพวาดในช่วงปลายราชวงศ์ชิงว่ามันได้กลายเป็นเครื่องประดับติดกายที่นิยมอย่างมากทั้งในหญิงและชาย (ดูรูปแรก) แรกเริ่มใช้กันในวัง แต่มันไม่ใช่เครื่องประดับอย่างเป็นทางการ ดังนั้นจึงใช้ได้ทุกระดับยศและเลือกใช้วัสดุได้หลากหลาย แต่แน่นอนว่ายศยิ่งสูง วัสดุที่ใช้ก็ยิ่งเลอค่า ต่อมาความนิยมนี้แพร่หลายออกมานอกวัง แต่ยังอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอย่างเช่นคนในตระกูลกองธงต่างๆ รูปแบบหรือองค์ประกอบของสร้อยก็มีการแปลงง่ายลงโดยคงไว้ซึ่งส่วนสำคัญของสร้อยประคำเท่านั้น ซึ่งก็คือส่วนที่เรียกว่าเศียรพระพุทธเจ้า เม็ดคั่น และเม็ดหลัก 18 เม็ด (ดูรูปสองบน) ตำแหน่งที่แขวนสร้อยประคำมือเป็นเครื่องประดับนั้น หากเป็นเสื้อสาบเฉียงให้ห้อยไว้ทางด้านขวา หากเป็นสาบตรงให้ห้อยไว้ที่กระดุมเม็ดที่สองข้างหน้า ใครตามละครเรื่องราวในวังยุคสมัยราชวงศ์ชิงอยู่ลองสังเกตดูนะคะ Storyฯ เห็นอยู่ในหลายเรื่องเลย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/491583437_515879 https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html https://m.xing73.com/zt/yiL5Lmo5Q2a5Q_o5p_I6Q2a5rWY5B2Y5.html https://kknews.cc/culture/6er9xv.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://new.qq.com/omn/20191012/20191012A0N7RC00.html https://www.sohu.com/a/249960097_105772 https://kknews.cc/collect/q5k3bvb.html https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html https://www.baanjomyut.com/pratripidok/41.html #กระดูกงดงาม #สร้อยประคำมือ #สือปาจื่อ #ผัสสะ #เครื่องแต่งกายสตรีจีนโบราณ #ราชวงศ์ชิง
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1001
    ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ
    ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :-
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ;
    +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน
    หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น
    เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า
    ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ
    คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ).
    คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต
    มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา;
    ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ )
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น
    แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ
    อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก
    มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน;
    และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ
    อย่างเดียวกับสูตรข้างบน
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 1001 ชื่อบทธรรม :- ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา(ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :- +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูป หรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขาร โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; +--ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=สกฺกายนิโรธคามินี ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่า #การตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์(ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา).- http://etipitaka.com/read/pali/17/56/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+สมนุปสฺสนาติ (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขนิโรธคามิน​ี สมนุปัสสนา นั่นแหละ คือสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทา ในกรณีเช่นนี้ หมายถึง ทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา; ได้แก่ ความเห็นไม่ผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. --ในบาลีแห่งอื่น ( อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๑ ) http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวด คือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับไม่มีตัวตน; และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรข้างบน ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/44/90. http://etipitaka.com/read/thai/17/44/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๕/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/55/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1001 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา
    -(การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : อนภิชฌา และอัพยาบาท คือ สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับสัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค). ข้อปฏิบัติที่เป็นสักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งสักกายะ) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งรูปโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีรูปหรือไม่ตามเห็นซึ่งรูปว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีเวทนา หรือไม่ตามเห็นซึ่งเวทนาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในเวทนา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสัญญา หรือไม่ตามเห็นซึ่งสัญญาว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสัญญา บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งสังขารโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีสังขาร หรือไม่ตามเห็นซึ่งสังขารว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในสังขาร บ้าง ; ย่อม ไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณโดยความเป็นตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีวิญญาณ หรือไม่ตามเห็นซึ่งวิญญาณว่ามีอยู่ในตน หรือไม่ตามเห็นซึ่งตนว่ามีอยู่ในวิญญาณ บ้าง. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้อธิบายว่า ข้อ (ที่กล่าวมาทั้งหมด) นั้น เรียกว่าการตามเห็นอันเป็นเครื่องให้ถึงซึ่งการดับไปแห่งทุกข์ (ทุกฺขนิโรธคามินี สมนุปสฺสนา)-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 632
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. !
    --ถ้าภิกษุ แสดงธรรม
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง #ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้กล่าวซึ่งธรรม(ธมฺมกถิ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมกถิ

    +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว
    เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด
    เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม(ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ

    +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว
    เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด
    เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ;
    ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
    +--“ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ)​” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ
    --
    (ในกรณีแห่ง
    ๒.ชาติ ๓.ภพ ๔.อุปาทาน ๕.ตัณหา ๖.เวทนา ๗.ผัสสะ ๘.สฬายตนะ ๙.นามรูป ๑๐.วิญญาณ ๑๑.สังขาร และ ๑๒.อวิชชา
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง
    ๑.ชราและมรณะ ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้
    ).-

    #ทุุกขมรรค#อริยสัจสึ่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/16/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/16/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=632
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาการปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 632 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! --ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง #ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า +--“ผู้กล่าวซึ่งธรรม(ธมฺมกถิ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมกถิ +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า +--“ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม(ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺ +--ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า +--“ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ)​” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺ -- (ในกรณีแห่ง ๒.ชาติ ๓.ภพ ๔.อุปาทาน ๕.ตัณหา ๖.เวทนา ๗.ผัสสะ ๘.สฬายตนะ ๙.นามรูป ๑๐.วิญญาณ ๑๑.สังขาร และ ๑๒.อวิชชา ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.ชราและมรณะ ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้ ).- #ทุุกขมรรค​ #อริยสัจสึ่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/16/46. http://etipitaka.com/read/thai/16/16/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/16/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=632 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=632 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง)
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ถ้าภิกษุ แสดงธรรม เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่ง ชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้กล่าวซึ่งธรรม” ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ ปฏิบัติแล้ว เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ อยู่ไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นว่า “ผู้ปฏิบัติแล้วซึ่งธรรมตามสมควรแก่ธรรม” ดังนี้. ถ้าภิกษุเป็นผู้ หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ แห่งชราและมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่น ถือมั่น อยู่แล้วไซร้ ; ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ชาติ ภพ อุปาทาน ตัณหา เวทนา ผัสสะ สฬายตนะ นามรูป วิญญาณ สังขาร และ อวิชชา ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ชราและมรณะที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 246
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอาหาร
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี
    อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ
    อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม,
    อาหารที่สอง คือ ผัสสะ,
    อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม),
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา
    อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ;
    ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง.

    --ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ
    และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ?
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้
    +--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีตัณหาเป็นแดนเกิด
    +--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ
    มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด
    +--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ
    มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    +--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ
    มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    +--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ
    มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    +--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ
    มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    +--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ
    มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
    +--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ
    มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด
    สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ
    มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย )
    เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย
    เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
    เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
    เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
    +--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
    ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาที่เกิดแห่งอาหาร สัทธรรมลำดับที่ : 246 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอาหาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอาหาร --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)บ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมฺภเวสี อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา (มโนกรรม), http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=มโนสญฺเจตนา อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. --ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=นิทาน มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=สมุทย มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ชาติ และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=ปภ --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ +--มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด +--ก็ตัณหานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ตัณหามี เวทนาเป็นเหตุ มีเวทนาเป็นที่ตั้งขึ้น มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิด +--ก็เวทนานี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด เวทนามี ผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นที่ตั้งขึ้น มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด +--ก็ผัสสะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด ผัสสะมี สฬายตนะเป็นเหตุ มีสฬายตนะเป็นที่ตั้งขึ้น มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด +--ก็สฬายตนะนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สฬายตนะมี นามรูปเป็นเหตุ มีนามรูปเป็นที่ตั้งขึ้น มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด +--ก็นามรูปนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด นามรูปมี วิญญาณเป็นเหตุ มีวิญญาณเป็นที่ตั้งขึ้น มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด +--ก็วิญญาณนี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด วิญญาณมี สังขารเป็นเหตุ มีสังขารเป็นที่ตั้งขึ้น มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด +--ก็สังขารเหล่านี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเหตุ มีอวิชชาเป็นที่ตั้งขึ้น มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย ) เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะมีสฬายตนะเป็นปีจจัย จึงมีผัสสะ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา +--ดังพรรณนามาฉะนี้ #ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/10/28-29. http://etipitaka.com/read/thai/16/10/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=246 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=246 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอาหาร
    -ที่เกิดแห่งอาหาร ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด (สัมภเวสี)* บ้าง. อาหารสี่อย่างอะไรเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำข้าว หยาบก็ตามละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือมโนสัญเจตนา (มโนกรรม), อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ ; ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิดบ้าง. ภิกษุ ท. ! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน) ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย) ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติกะ) ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด (ปภพ) ? ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 245
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้
    มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีตัณหาเป็นแดนเกิด.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิด ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้
    มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีเวทนาเป็นแดนเกิด.

    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ
    มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด
    มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ
    มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด
    มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ
    มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด
    มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ
    มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด
    มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ
    มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด
    มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ
    มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด
    มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล
    ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น
    ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น
    ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน
    เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว
    เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน สัทธรรมลำดับที่ : 245 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปาทาน --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิด ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีเวทนาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    -ที่เกิดแห่งอุปาทาน ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด. ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีเวทนาเป็นแดนเกิด แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 620
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล
    ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย,
    ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย,
    และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ

    ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย
    เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
    เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว.
    การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี.
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    ฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 620 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคล ย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=อนุเสติ ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/80/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/64/148. http://etipitaka.com/read/thai/16/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=620 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=620 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ก็ถ้าว่า บุคคลย่อม ไม่คิด ถึงสิ่งใดด้วย, ย่อม ไม่ดำริ ถึงสิ่งใดด้วย, และทั้งย่อม ไม่มีใจฝังลงไป (คือไม่มีอนุสัย) ในสิ่งใดด้วย, ในกาลใด ; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ย่อมไม่เป็นอารมณ์ เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณได้เลย เมื่ออารมณ์ ไม่มี. ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี ; เมื่อวิญญาณนั้น ไม่ตั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจริญงอกงามแล้ว. การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 227
    ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท
    หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ;
    ดังนั้นจึงกล่าวว่า
    ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต
    ).
    --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา,
    เพลิดเพลินอยู่กับหู,
    เพลิดเพลินอยู่กับจมูก,
    เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น,
    เพลิดเพลินอยู่กับกาย,
    และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป,
    เพลิดเพลินอยู่กับเสียง,
    เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น,
    เพลิดเพลินอยู่กับรส,
    เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ,
    เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) สัทธรรมลำดับที่ : 227 ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 เนื้อความทั้งหมด :- (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต ). --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20. http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    -(คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต). ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    สัทธรรมลำดับที่ : 226
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
    กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
    ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;
    ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
    หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.
    นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
    ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ;
    #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด
    ).
    --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ
    ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ?
    อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา
    ....
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.
    --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้
    ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) สัทธรรมลำดับที่ : 226 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 เนื้อความทั้งหมด :- (พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; #เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด ). --อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนํ ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=ผสฺสปจฺจยา .... --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วย ผู้อื่นทำให้ด้วย ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น. --ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัย ผัสสะเกิดขึ้น.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/37/87. http://etipitaka.com/read/thai/16/37/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๔๙/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/49/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=226 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=226 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม)
    -(พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ; ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์ หรือการกระทำของบุคคลอื่นใดที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์. นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น ; เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพุทธศาสนา ที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงที่สุด). อุปวาณะ ! เรากล่าวว่า ความทุกข์เป็นสิ่งที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจจสมุปปันนธรรม). ทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นเล่า ? อุปวาณะ ! ทุกข์อาศัยปัจจัยคือผัสสะเกิดขึ้น. .... ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเอง ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ผู้อื่นทำให้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองด้วยผู้อื่นทำให้ด้วยก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น. ทุกข์ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติว่า ตนทำเองก็หามิได้ผู้อื่นทำให้ก็หามิได้ ก็เป็นทุกข์ที่อาศัยผัสสะเกิดขึ้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 193 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 619
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ
    (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าลักษณะของความดับแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 619 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ --ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการ (สฬายตนะ)​นั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ผสฺสายตนานํ เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/12/37. http://etipitaka.com/read/thai/16/12/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๗/๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=619 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=619 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะของความดับแห่งทุกข์
    -ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ ผัคคุนะ ! เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งผัสสายตนะทั้งหลายหกประการนั้นนั่นแหละ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 617
    ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 617 ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    -เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี. ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 616
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:-
    )​
    เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ;
    การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;.
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).

    --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่.
    พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว
    ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :-
    --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ?
    --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ;
    เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ;
    เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้.
    --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 616 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:- )​ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ). --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :- --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164. http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า :-) เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น). โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า : ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? .... ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 234 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 615
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
    “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 615 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252. http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น).
    -(ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น). อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 204 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 613
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน
    เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 613 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222. http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง วิญญาณย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 611
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 611 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18. http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 199 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    สัทธรรมลำดับที่ : 609
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    ...
    --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ
    เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด
    มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย
    ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด
    มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด
    มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน
    --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด
    มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด
    อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ;
    ในกาลนั้น ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน,
    ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ;
    (ทั้งนี้)
    เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา.
    เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ;
    เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด สัทธรรมลำดับที่ : 609 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ... --ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีตัณหาเป็นต้นเหตุมีตัณหาเป็นเหตุเกิด มีตัณหาเป็นกำเนิด มีตัณหาเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ตัณหานี้เล่ามีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุ เกิดมีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? ตัณหามีเวทนาเป็นต้นเหตุ มีเวทนาเป็นเหตุเกิด มีเวทนาเป็นกำเนิด มีเวทนาเป็นแดนเกิน --ภิกษุทั้งหลายเวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนามีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะมีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะมีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูปมีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณมีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุทั้งหลาย สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? #สังขารมีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=อวิชฺชา ... --ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้น ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/12/135/?keywords=ปรินิพฺพายติ เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม.ม.12/134/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม.ม.๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=609 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=609 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสังเขปที่สุด ภิกษุ ท. ! ในกาลใด อวิชชาเป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว วิชชาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ; ในกาลนั้น ภิกษุนั้นย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งกามุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่น ซึ่งทิฏฐุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน, ย่อมไม่ยึดมั่นซึ่งอัตตวาทุปาทาน ; (ทั้งนี้) เพราะการสำรอกเสียได้หมดซึ่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา. เมื่อไม่ยึดมั่นอยู่, ย่อมไม่สะดุ้ง ; เมื่อไม่สะดุ้ง, ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว. เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นผู้หลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 253 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 608
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ;
    การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ)
    ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ;
    เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา
    นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะความดับแห่งชาติ,
    ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ.
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ
    อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม
    ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 608 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้คือ #ความดับแห่งทุกข์. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม (ในกรณีที่เกี่ยวกับ อายตนะภายใน(หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส และ ใจ) ที่เหลือ อีก ๕ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=ทุกฺขสฺส+อตฺถงฺคโม ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้ ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/89/155. http://etipitaka.com/read/thai/18/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/107/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=608 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=608 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม ( แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้คือความดับแห่งทุกข์. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลือ อีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 607
    ชื่อบทธรรม :-อาการดับแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งโลก
    --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ;
    การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ)
    ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ;
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ;
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ;

    เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ.
    ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ​ #ความดับแห่งโลก.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/109/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ
    -
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง
    ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/90/157.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/90/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๘/๑๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=607
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 607 ชื่อบทธรรม :-อาการดับแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งโลก --ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! นี้คือ​ #ความดับแห่งโลก.- http://etipitaka.com/read/pali/18/109/?keywords=โลกสฺส+อตฺถงฺคโมติ - (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/90/157. http://etipitaka.com/read/thai/18/90/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๘/๑๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/108/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=607 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=607 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๑๑ ว่าด้วย ผู้ดับตัณหา--จบ--นิทเทศ ๑๒ ว่าด้วยอาการดับแห่งตัณหา
    -นิทเทศ ๑๑ ว่าด้วย ผู้ดับตัณหา จบ นิทเทศ ๑๒ ว่าด้วยอาการดับแห่งตัณหา มี ๖๑ เรื่อง) อาการดับแห่งโลก ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งโลก เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยตาด้วย รูปด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณขึ้น ; การประจวบพร้อม (แห่งตา + รูป + จักขุวิญญาณ) ทั้ง ๓ อย่างนั้น จึงเกิดมีผัสสะ ; เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดมีตัณหา ; เพราะความดับด้วยความจางคลายไปโดยไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นแหละ จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะความดับแห่งชาติ, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงดับไม่เหลือ. ความดับไม่เหลือแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการ อย่างนี้. ภิกษุ ท. ! นี้คือความดับแห่งโลก. (ในกรณีที่เกี่ยวกับอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ อย่าง ก็มีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีของตาอย่างข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 179 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 164
    ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164

    สัทธรรมลำดับที่ : 165
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ
    สัญเจตนาในเรื่องรูป
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    สัญเจตนาในเรื่องรส
    สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น
    เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
    และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส
    แล.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165

    สัทธรรมลำดับที่ : 166
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    --ภิกษุ ท. !
    +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น,
    +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท
    +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว
    +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166

    สัทธรรมลำดับที่ : 167
    ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา
    คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ,
    และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง ....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 164 ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475. http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164 สัทธรรมลำดับที่ : 165 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ สัญเจตนาในเรื่องรูป สัญเจตนาในเรื่องเสียง สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น สัญเจตนาในเรื่องรส สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491. http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165 สัทธรรมลำดับที่ : 166 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร --ภิกษุ ท. ! +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น, +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ; http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ; -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.- http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122. http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166 สัทธรรมลำดับที่ : 167 ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย, http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง .... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    -สังขารมีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 400 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 157
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
    ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157

    สัทธรรมลำดับที่ : 158
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
    ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ
    นั่นเท่ากับ
    เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
    และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158

    สัทธรรมลำดับที่ : 159
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. !
    สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ;
    สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ,
    อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.-

    อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159

    สัทธรรมลำดับที่ : 160
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
    ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา,
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 157 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157 ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญามีธรรมดาแปรปรวน http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474. http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157 สัทธรรมลำดับที่ : 158 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158 ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่นเท่ากับ เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489. http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158 สัทธรรมลำดับที่ : 159 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ; สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ, อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.- อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59 http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159 สัทธรรมลำดับที่ : 160 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160 ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา. ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา, -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    -สัญญามีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 381 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    สัทธรรมลำดับที่ : 156
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้ นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ)
    เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. !
    สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา
    ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล,
    เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา
    โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา

    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง
    เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา สัทธรรมลำดับที่ : 156 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้ นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูปก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรสก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เป็นอย่างหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เรากล่าวสัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูด ไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 247 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 150
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
    เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

    สัทธรรมลำดับที่ : 151
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
    เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

    สัทธรรมลำดับที่ : 152
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
    อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
    อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
    --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
    --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
    +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
    +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
    +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
    สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
    +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
    +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 384 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผัสสะเป็นปัจจัยเวทนา ๓ ประการ​ ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ.
    สัทธรรมลำดับที่ : 149
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149
    ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดดับแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการเกิดดับแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้
    เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย.
    สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=ผสฺส+เวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา
    สุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ;
    เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น
    สุขเวทนาอันเกิดขึ้น
    เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น
    ย่อมดับไปย่อมระงับไป.

    (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ,
    เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป.
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น :
    เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ
    มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
    อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น,
    #ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/267/?keywords=ผสฺส+เวทนา
    ดังนี้แล.

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. 18/229/389-390.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/229/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=149
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผัสสะเป็นปัจจัยเวทนา ๓ ประการ​ ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ. สัทธรรมลำดับที่ : 149 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดดับแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดดับแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้ เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=ผสฺส+เวทนา --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา สุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น สุขเวทนาอันเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไปย่อมระงับไป. (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป. --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น, #ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ, http://etipitaka.com/read/pali/18/267/?keywords=ผสฺส+เวทนา ดังนี้แล. #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. 18/229/389-390. http://etipitaka.com/read/thai/18/229/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=149 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการเกิดดับแห่งเวทนา
    -อาการเกิดดับแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้ เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา สุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น สุขเวทนา อันเกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไปย่อมระงับไป. (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป. ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น, ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัยนอน เนื่องอยู่ในสันดาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 145
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    --ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น,
    อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น,
    อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น,
    อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น,
    อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น,
    และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ;
    +-ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด)
    นั้น ชื่อว่า ผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=ผสฺส

    +-เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง.
    บุคคลนั้น
    +-เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    +-เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    +-เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง
    ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย,
    อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/517/?keywords=อวิชฺชานุสยํ

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ
    +-ยังละ อนุสัยคือราคะ ในเพราะสุขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังบรรเทา อนุสัยคือปฏิฆะ ในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังถอน อนุสัยคืออวิชชา ในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังละอวิชชาไม่ได้และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว
    จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้
    : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/391/822.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/391/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=145
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัยนอน เนื่องอยู่ในสันดาน สัทธรรมลำดับที่ : 145 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145 ชื่อบทธรรม : -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย --ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น, อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น, อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น, อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น, อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น, และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ; +-ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด) นั้น ชื่อว่า ผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=ผสฺส +-เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. บุคคลนั้น +-เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. +-เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. +-เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย, อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/14/517/?keywords=อวิชฺชานุสยํ --ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ +-ยังละ อนุสัยคือราคะ ในเพราะสุขเวทนาไม่ได้, +-ยังบรรเทา อนุสัยคือปฏิฆะ ในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้, +-ยังถอน อนุสัยคืออวิชชา ในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้, +-ยังละอวิชชาไม่ได้และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้ : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/391/822. http://etipitaka.com/read/thai/14/391/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=145 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น, อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น, อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น, อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น, อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น, และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ; ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด) นั้น ชื่อว่า ผัสสะ. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. บุคคลนั้น เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วยซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย, อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ ยังละอนุสัยคือราคะในเพราะสุขเวทนาไม่ได้, ยังบรรเทาอนุสัยคือปฏิฆะในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้, ยังถอนอนุสัยคืออวิชชาในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้, ยังละอวิชชาไม่ได้ และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้ : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 345 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 138
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ;
    คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ;
    ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี;
    ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ;
    อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.--
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    ....
    -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 138 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี; ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.-- --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. .... -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 402 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 401 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts