• ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช.
    .
    ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย
    .
    สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต
    .
    ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา
    .
    ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
    .
    ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ
    .
    ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล
    .
    ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
    .
    ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ
    .
    ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6
    .
    สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้
    .
    ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป
    ..............
    Sondhi X
    ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช. . ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย . สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต . ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา . ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข . ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ . ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล . ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา . ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ . ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 . สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้ . ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป .............. Sondhi X
    Sad
    Like
    4
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1180 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตั้ง “กิตติรัตน์” นั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ “นายกฯอิ๊งค์” เสี่ยงหลุด ซ้ำรอยเศรษฐา.“ธีระชัย” ฟันธง “กิตติรัตน์” ขาดคุณสมบัติ ไม่สามารถนั่ง “ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ” เหตุ “ที่ปรึกษาของนายก” ถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เพราะงานที่ทำไม่ใช่เรื่องส่วนตัวของนายกฯเศรษฐา และเบิกค่าใช้จ่ายจากสำนักนายกฯ เตือน นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯทั้งที่มีปัญหา เป็นเรื่องมิบังควร โป๊ะแตก ! “เสี่ยนิด” พูดเอง “โต้ง” ขาดคุณสมบัติ ด้าน “รศ.ดร.เจษฎ์” แจง หากมีผู้ร้อง “อุ๊งอิ๊งค์” อาจหลุดจากเก้าอี้นายกฯ เหมือนกรณีที่ “เศรษฐา” แต่งตั้ง พิชิต ชื่นบาน ลือสะพัด “เรืองไกร” เตรียมร้องเอาผิดคนเสนอชื่อ.หนึ่งในประเด็นร้อนขณะนี้ก็คือเรื่องการแต่งตั้ง “ประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย” หรือประธานบอร์ดแบงก์ชาติ ซึ่งมีกระแสข่าวยืนยันว่าในการประชุมคณะกรรมการคัดเลือกฯ เมื่อวันที่ 11 พ.ย.2567 ที่ผ่านมา คณะกรรมการตัดสินใจเลือก “โต้ง-กิตติรัตน์ ณ ระนอง” อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง ตัวเต็งจากพรรคเพื่อไทย ให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว ท่ามกลางเสียงคัดค้านจากหลายฝ่าย ด้วยเกรงว่าจะเป็นการส่งคนจากฝั่งการเมืองเข้าไปแทรกแซงการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่สำคัญยังมีการทักท้วงว่านายกิตติรัตน์ขาดคุณสมบัติ เนื่องจากนายเขาเคยเป็น “ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี” นายเศรษฐา ทวีสิน โดยเพิ่งพ้นจากตำแหน่งมาไม่ถึง 1 ปี.แต่ทางด้าน นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ในฐานะประธานที่ทำหน้าที่คัดเลือกประธานบอร์ดและกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ระบุว่า ตำแหน่งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ถือเป็นตำแหน่งทางการเมือง แต่ตำแหน่งของกิตติรัตน์คือ “ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี” ถือเป็นตำแหน่งส่วนตัว ซึ่งมิได้เป็นคุณสมบัติต้องห้ามในการเป็นประธานบอร์ดแบงก์ชาติ.ขณะนี้สถานการณ์จึงยังอึมครึม คือเป็นการแต่งตั้งโดยไม่มีการประกาศรายชื่อ และจะเสนอรายชื่อดังกล่าวให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรับทราบ ในวันที่ 19 พ.ย. 2567 เพื่อเสนอเข้าคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป.ส่วนว่า นายกิตติรัตน์ จะขาดคุณสมบัติหรือไม่ ? และหากขาดคุณสมบัติจะมีผลอย่างไรตามมา ? คงต้องไปฟังความเห็นจากผู้รู้.อ่านเพิ่มเติม>>https://mgronline.com/specialscoop/detail/9670000109902.#กิตติรัตน์ณระนอง #นั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ #แบงก์ชาติ
    ตั้ง “กิตติรัตน์” นั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ “นายกฯอิ๊งค์” เสี่ยงหลุด ซ้ำรอยเศรษฐา.“ธีระชัย” ฟันธง “กิตติรัตน์” ขาดคุณสมบัติ ไม่สามารถนั่ง “ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ” เหตุ “ที่ปรึกษาของนายก” ถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เพราะงานที่ทำไม่ใช่เรื่องส่วนตัวของนายกฯเศรษฐา และเบิกค่าใช้จ่ายจากสำนักนายกฯ เตือน นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯทั้งที่มีปัญหา เป็นเรื่องมิบังควร โป๊ะแตก ! “เสี่ยนิด” พูดเอง “โต้ง” ขาดคุณสมบัติ ด้าน “รศ.ดร.เจษฎ์” แจง หากมีผู้ร้อง “อุ๊งอิ๊งค์” อาจหลุดจากเก้าอี้นายกฯ เหมือนกรณีที่ “เศรษฐา” แต่งตั้ง พิชิต ชื่นบาน ลือสะพัด “เรืองไกร” เตรียมร้องเอาผิดคนเสนอชื่อ.หนึ่งในประเด็นร้อนขณะนี้ก็คือเรื่องการแต่งตั้ง “ประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย” หรือประธานบอร์ดแบงก์ชาติ ซึ่งมีกระแสข่าวยืนยันว่าในการประชุมคณะกรรมการคัดเลือกฯ เมื่อวันที่ 11 พ.ย.2567 ที่ผ่านมา คณะกรรมการตัดสินใจเลือก “โต้ง-กิตติรัตน์ ณ ระนอง” อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง ตัวเต็งจากพรรคเพื่อไทย ให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว ท่ามกลางเสียงคัดค้านจากหลายฝ่าย ด้วยเกรงว่าจะเป็นการส่งคนจากฝั่งการเมืองเข้าไปแทรกแซงการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่สำคัญยังมีการทักท้วงว่านายกิตติรัตน์ขาดคุณสมบัติ เนื่องจากนายเขาเคยเป็น “ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี” นายเศรษฐา ทวีสิน โดยเพิ่งพ้นจากตำแหน่งมาไม่ถึง 1 ปี.แต่ทางด้าน นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ในฐานะประธานที่ทำหน้าที่คัดเลือกประธานบอร์ดและกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ระบุว่า ตำแหน่งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ถือเป็นตำแหน่งทางการเมือง แต่ตำแหน่งของกิตติรัตน์คือ “ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี” ถือเป็นตำแหน่งส่วนตัว ซึ่งมิได้เป็นคุณสมบัติต้องห้ามในการเป็นประธานบอร์ดแบงก์ชาติ.ขณะนี้สถานการณ์จึงยังอึมครึม คือเป็นการแต่งตั้งโดยไม่มีการประกาศรายชื่อ และจะเสนอรายชื่อดังกล่าวให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรับทราบ ในวันที่ 19 พ.ย. 2567 เพื่อเสนอเข้าคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป.ส่วนว่า นายกิตติรัตน์ จะขาดคุณสมบัติหรือไม่ ? และหากขาดคุณสมบัติจะมีผลอย่างไรตามมา ? คงต้องไปฟังความเห็นจากผู้รู้.อ่านเพิ่มเติม>>https://mgronline.com/specialscoop/detail/9670000109902.#กิตติรัตน์ณระนอง #นั่งประธานบอร์ดแบงก์ชาติ #แบงก์ชาติ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 375 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣️ ตั้งสี่ยโต้ง ส่อทำรัฐบาลล่ม นายกฯอิ๊ง และครม. หลุดทั้งยวง เพราะโต้งถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เคยเป็นประธานคณะที่ปรึกษาของอดีตนายกฯ เศรษฐา
    #7ดอกจิก
    ♣️ ตั้งสี่ยโต้ง ส่อทำรัฐบาลล่ม นายกฯอิ๊ง และครม. หลุดทั้งยวง เพราะโต้งถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เคยเป็นประธานคณะที่ปรึกษาของอดีตนายกฯ เศรษฐา #7ดอกจิก
    Haha
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 369 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'เจ๊ไฝ‘ มิชลิน 1 ดาว เขย่า 'ซอฟต์พาวเวอร์' ถึงเวลารัฐบาลต้องตาสว่าง
    .
    แม้'ภิญญา จุนสุตะ' หรือที่รู้จักกันในชื่อ 'เจ๊ไฝ' จะยืนยันว่ายังไม่คิดรีไทร์จากวงการอาหารในปี 2568 ตามที่มีข่าวออกมาก่อนหน้านี้ แต่ในถ้อยคำหนึ่งของการสัมภาษณ์จากเจ๊ไฝนั้นก็ยอมรับส่วนหนึ่งว่ามีความคิดที่ว่านั้นเช่นกัน
    .
    "เรื่องราวเกิดจากไปช่วยยูเอ็นหาเงินช่วยผู้ลี้ภัย ซึ่งเป็นงานใหญ่และมีทูตมาเยอะ โดยสิ่งแรกที่เขามาถามว่าอายุ 80 ปี แล้วยังไม่เลิกอีกเหรอ ก็ตอบไปแค่ว่า มันก็มีโครงการอยู่ในใจ มันก็เลยกลายเป็นเรื่องบานปลาย ที่บอกว่าจะเลิกนี่เลิกไม่ได้หรอก ยังมีงานที่ต่างประเทศรออยู่อีกเยอะ อย่างที่ฝรั่งเศสก็ยังต้องไป แล้วจะเลิกได้ยังไง มันยังติดพันกันอยู่" คำยืนยันจากเจ๊ไฝ
    .
    อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าเจ๊ไฝจะยืนหน้าเตาทำอาหารต่อไป หรือหันหลังบอกลาวงการ ต้องยอมรับว่ามีผลต่อแวดวงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทยพอสมควร ถึงขนาดที่แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ต้องออกมาให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นกันเลยทีเดียว ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่าพลังซอฟต์พาวเวอร์ที่แฝงอยู่ในตัวของเจ๊ไฝนั้นมีความสำคัญมากแค่ไหน
    .
    กรณีของเจ๊ไฝนั้นถึงตอนนี้จะยังไม่รีไทร์ แต่ด้วยวัยเลยหลัก 80 ปีเข้าไปแล้ว หากจะประกาศวางมือก็คงไม่ได้เป็นเรื่องผิดปกติแต่อย่างใด และอาจดูเป็นเรื่องตลกกับคำถามที่ว่ารัฐบาลมีแผนรองรับในอนาคตอย่างไรหากเจ๊ไฝเจ้าของรางวัลมิชลิน 1 ดาว 7 ปีติดต่อกันประกาศวางมือในอนาคต
    .
    ทั้งนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าเจ๊ไฝเป็นหนึ่งในร้านอาหารที่เป็นแรงดึงดูดระดับซอฟต์พาวเวอร์ไทยที่ทำให้นักท่องเที่ยวและคนดังระดับโลกเดินทางมายังประเทศไทย ความนิยมในร้านเจ๊ไฝนั้นทำให้วงการอุตสาหกรรมผู้ประกอบการร้านอาหารไทยได้รับอานิสงส์ไปด้วย แต่ปัจจุบันด้วยสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ทำให้ต้นทุนของผู้ประกอบการร้านอาหารสูงขึ้น ส่งผลให้ร้านอาหารไทยหลายร้านที่ไม่ได้ยืนอยู่จุดเดียวกับเจ๊ไฝล้มหายตายจากไปเป็นจำนวนมาก
    .
    โดยนอกเหนือไปจากต้นทุนการผลิตอาหารที่สูงขึ้นแล้ว พบว่าอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญ คือ ทายาทที่จะมาสืบทอดกิจการต่อจากบรรพบุรุษ ซึ่งกรณีเจ๊ไฝก็เช่นเดียวกันที่ธุรกิจไม่ได้ส่งต่อไปยังทายาท ร้านอาหารชื่อดังระดับตำนานหลายร้านกำลังเผชิญกับปัญหานี้ หากคนรุ่นปัจจุบันที่ทำอยู่ไม่สามารถแบกภาระทั้งด้านต้นทุนและสังขารต่อไป ตำนานก็คงต้องปิดตัวลงเช่นกัน
    .
    'ร้านอาหาร' เมื่อเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวแล้ว จึงไม่ได้เป็นเพียงแค่สถานที่สำหรับบำบัดความหิวเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการเสพงานศิลป์และเรื่องราวเบื้องหลังของจานอาหารเหล่านั้นด้วย ซึ่งถือเป็นเรื่องนามธรรมที่สร้างสามารถมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เหมือนกับที่ทุกวันนี้ได้เห็นนักท่องเที่ยวต่างศาสนาต่อแถวเข้าชมพุทธสถานหลายแห่งในประเทศไทยปีละหลายล้านคน ตรงนี้เองที่เรียกว่าซอฟต์พาวเวอร์ อันเป็นแรงดึงดูดให้หลายคนอยากเข้ามาประเทศไทย
    .
    อย่างที่ทราบกันดีว่าธุรกิจร้านอาหาร ถือเป็นธุรกิจที่เกิดขึ้นได้ง่าย แต่การรักษาธุรกิจให้ตลอดรอดฝั่งนั้นทำได้ยาก หลายกิจการที่ยืนหยัดอยู่บนเส้นทางนี้ได้ก็เลือดตาแทบกระเด็น ขณะที่ ภาครัฐเองก็ไม่ได้มีแนวทางที่ชัดเจนในจะช่วยให้ต้นทุนของธุรกิจนี้ลดลง
    .
    หรือสติปัญญาของรัฐบาลต่อนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ จะมีแค่เพียงการตั้งคณะกรรมการ 2 ชุดล่าสุด คือ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ โดยมี นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และ คณะกรรมการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ ที่มี นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รองประธานคณะที่ปรึกษาด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งมารับตำแหน่งเดิมที่นางสาวแพทองธารเคยทำงานในสมัยรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน เท่านั้น
    ..............
    Sondhi X
    'เจ๊ไฝ‘ มิชลิน 1 ดาว เขย่า 'ซอฟต์พาวเวอร์' ถึงเวลารัฐบาลต้องตาสว่าง . แม้'ภิญญา จุนสุตะ' หรือที่รู้จักกันในชื่อ 'เจ๊ไฝ' จะยืนยันว่ายังไม่คิดรีไทร์จากวงการอาหารในปี 2568 ตามที่มีข่าวออกมาก่อนหน้านี้ แต่ในถ้อยคำหนึ่งของการสัมภาษณ์จากเจ๊ไฝนั้นก็ยอมรับส่วนหนึ่งว่ามีความคิดที่ว่านั้นเช่นกัน . "เรื่องราวเกิดจากไปช่วยยูเอ็นหาเงินช่วยผู้ลี้ภัย ซึ่งเป็นงานใหญ่และมีทูตมาเยอะ โดยสิ่งแรกที่เขามาถามว่าอายุ 80 ปี แล้วยังไม่เลิกอีกเหรอ ก็ตอบไปแค่ว่า มันก็มีโครงการอยู่ในใจ มันก็เลยกลายเป็นเรื่องบานปลาย ที่บอกว่าจะเลิกนี่เลิกไม่ได้หรอก ยังมีงานที่ต่างประเทศรออยู่อีกเยอะ อย่างที่ฝรั่งเศสก็ยังต้องไป แล้วจะเลิกได้ยังไง มันยังติดพันกันอยู่" คำยืนยันจากเจ๊ไฝ . อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าเจ๊ไฝจะยืนหน้าเตาทำอาหารต่อไป หรือหันหลังบอกลาวงการ ต้องยอมรับว่ามีผลต่อแวดวงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทยพอสมควร ถึงขนาดที่แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ต้องออกมาให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นกันเลยทีเดียว ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่าพลังซอฟต์พาวเวอร์ที่แฝงอยู่ในตัวของเจ๊ไฝนั้นมีความสำคัญมากแค่ไหน . กรณีของเจ๊ไฝนั้นถึงตอนนี้จะยังไม่รีไทร์ แต่ด้วยวัยเลยหลัก 80 ปีเข้าไปแล้ว หากจะประกาศวางมือก็คงไม่ได้เป็นเรื่องผิดปกติแต่อย่างใด และอาจดูเป็นเรื่องตลกกับคำถามที่ว่ารัฐบาลมีแผนรองรับในอนาคตอย่างไรหากเจ๊ไฝเจ้าของรางวัลมิชลิน 1 ดาว 7 ปีติดต่อกันประกาศวางมือในอนาคต . ทั้งนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าเจ๊ไฝเป็นหนึ่งในร้านอาหารที่เป็นแรงดึงดูดระดับซอฟต์พาวเวอร์ไทยที่ทำให้นักท่องเที่ยวและคนดังระดับโลกเดินทางมายังประเทศไทย ความนิยมในร้านเจ๊ไฝนั้นทำให้วงการอุตสาหกรรมผู้ประกอบการร้านอาหารไทยได้รับอานิสงส์ไปด้วย แต่ปัจจุบันด้วยสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ทำให้ต้นทุนของผู้ประกอบการร้านอาหารสูงขึ้น ส่งผลให้ร้านอาหารไทยหลายร้านที่ไม่ได้ยืนอยู่จุดเดียวกับเจ๊ไฝล้มหายตายจากไปเป็นจำนวนมาก . โดยนอกเหนือไปจากต้นทุนการผลิตอาหารที่สูงขึ้นแล้ว พบว่าอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญ คือ ทายาทที่จะมาสืบทอดกิจการต่อจากบรรพบุรุษ ซึ่งกรณีเจ๊ไฝก็เช่นเดียวกันที่ธุรกิจไม่ได้ส่งต่อไปยังทายาท ร้านอาหารชื่อดังระดับตำนานหลายร้านกำลังเผชิญกับปัญหานี้ หากคนรุ่นปัจจุบันที่ทำอยู่ไม่สามารถแบกภาระทั้งด้านต้นทุนและสังขารต่อไป ตำนานก็คงต้องปิดตัวลงเช่นกัน . 'ร้านอาหาร' เมื่อเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวแล้ว จึงไม่ได้เป็นเพียงแค่สถานที่สำหรับบำบัดความหิวเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการเสพงานศิลป์และเรื่องราวเบื้องหลังของจานอาหารเหล่านั้นด้วย ซึ่งถือเป็นเรื่องนามธรรมที่สร้างสามารถมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เหมือนกับที่ทุกวันนี้ได้เห็นนักท่องเที่ยวต่างศาสนาต่อแถวเข้าชมพุทธสถานหลายแห่งในประเทศไทยปีละหลายล้านคน ตรงนี้เองที่เรียกว่าซอฟต์พาวเวอร์ อันเป็นแรงดึงดูดให้หลายคนอยากเข้ามาประเทศไทย . อย่างที่ทราบกันดีว่าธุรกิจร้านอาหาร ถือเป็นธุรกิจที่เกิดขึ้นได้ง่าย แต่การรักษาธุรกิจให้ตลอดรอดฝั่งนั้นทำได้ยาก หลายกิจการที่ยืนหยัดอยู่บนเส้นทางนี้ได้ก็เลือดตาแทบกระเด็น ขณะที่ ภาครัฐเองก็ไม่ได้มีแนวทางที่ชัดเจนในจะช่วยให้ต้นทุนของธุรกิจนี้ลดลง . หรือสติปัญญาของรัฐบาลต่อนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ จะมีแค่เพียงการตั้งคณะกรรมการ 2 ชุดล่าสุด คือ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ โดยมี นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และ คณะกรรมการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ ที่มี นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รองประธานคณะที่ปรึกษาด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งมารับตำแหน่งเดิมที่นางสาวแพทองธารเคยทำงานในสมัยรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน เท่านั้น .............. Sondhi X
    Like
    Yay
    11
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1029 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลรัฐธรรมนูญมีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุด ขอทราบการดำเนินการ-รวบรวมหลักฐาน ตามคำร้อง "ธีรยุทธ " ปม "ทักษิณ-เพื่อไทย" ล้มล้างการปกครองฯ ภายใน 15 วัน

    22 ตุลาคม .2567- ศาลรัฐธรรมนูญประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ หนึ่งในนั้นเป็นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 (เรื่องพิจารณาที่ 36/2567)

    นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธธรรมนูญ วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 3) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 6 ประเด็น ดังนี้

    ประเด็นที่ 1 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้ถูกร้องที่ 1 ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำ ทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต

    ประเด็นที่ 2 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา

    ประเด็นที่ 3 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 ร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิมที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธธธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

    ประเด็นที่ 4 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการแทนผู้ถูกร้องที่ 2 โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของผู้ถูกร้องที่ 1

    ประเด็นที่ 5 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 มีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล

    ประเด็นที่ 6 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 นำนโยบายของผู้ถูกร้องที่ 1 ที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา

    ผู้ร้องยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดเมื่อวันที่ 24 ก.ย.2567 ขอให้อัยการสูงสุดร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องทั้งสองเลิกการกระทำ แต่อัยการสูงสุดมิได้ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคสาม ผู้ร้องจึงยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญญเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 1 เลิกกระทำการดังกล่าวและให้ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกยินยอมให้ผู้ถูกร้องที่ 1 ใช้เป็นเครื่องมือกระทำการดังกล่าว

    ผลการพิจารณา ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า เพื่อประโยชน์แก่การพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญว่าจะรับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัยหรือไม่ ในชั้นนี้ ให้มีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุดเพื่อขอทราบว่าได้ดำเนินการตามคำร้องของผู้ร้องไปแล้วอย่างไร และรวบรวมพยานหลักฐานได้เพียงใด โดยให้จัดส่งต่อศาลรัฐธรรมนูญภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/AQ6ESAWFP4idRqEr/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ศาลรัฐธรรมนูญมีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุด ขอทราบการดำเนินการ-รวบรวมหลักฐาน ตามคำร้อง "ธีรยุทธ " ปม "ทักษิณ-เพื่อไทย" ล้มล้างการปกครองฯ ภายใน 15 วัน 22 ตุลาคม .2567- ศาลรัฐธรรมนูญประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ หนึ่งในนั้นเป็นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 (เรื่องพิจารณาที่ 36/2567) นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธธรรมนูญ วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 3) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 6 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้ถูกร้องที่ 1 ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำ ทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต ประเด็นที่ 2 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา ประเด็นที่ 3 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 ร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิมที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธธธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นที่ 4 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการแทนผู้ถูกร้องที่ 2 โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของผู้ถูกร้องที่ 1 ประเด็นที่ 5 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 มีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล ประเด็นที่ 6 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 นำนโยบายของผู้ถูกร้องที่ 1 ที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา ผู้ร้องยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดเมื่อวันที่ 24 ก.ย.2567 ขอให้อัยการสูงสุดร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องทั้งสองเลิกการกระทำ แต่อัยการสูงสุดมิได้ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคสาม ผู้ร้องจึงยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญญเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 1 เลิกกระทำการดังกล่าวและให้ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกยินยอมให้ผู้ถูกร้องที่ 1 ใช้เป็นเครื่องมือกระทำการดังกล่าว ผลการพิจารณา ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า เพื่อประโยชน์แก่การพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญว่าจะรับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัยหรือไม่ ในชั้นนี้ ให้มีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุดเพื่อขอทราบว่าได้ดำเนินการตามคำร้องของผู้ร้องไปแล้วอย่างไร และรวบรวมพยานหลักฐานได้เพียงใด โดยให้จัดส่งต่อศาลรัฐธรรมนูญภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ ที่มา https://www.facebook.com/share/p/AQ6ESAWFP4idRqEr/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 570 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทักษิณ พท.มีเสียว คดีล้มล้าง ยุบพรรค ศาล รธน.ขอเคลียร์ อสส. ก่อน 15 วัน
    .
    วันนี้ (22ต.ค.) ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการอภิปรายในคำร้องที่นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 โดยกล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาล ตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้ถูกร้องที่ 1 ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษ จำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำ ทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต
    .
    ประเด็นที่ 2 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตย ทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา
    .
    ประเด็นที่ 3 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 ร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิมที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้าง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
    .
    ประเด็นที่ 4 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการแทนผู้ถูกร้องที่ 2 โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่น ที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมนตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของผู้ถูกร้องที่ 1
    .
    ประเด็นที่ 5 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 มีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล
    .
    ประเด็นที่ 6 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 นำนโยบายของผู้ถูกร้องที่ 1 ที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
    .
    โดยนายธีรยุทธได้ยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 67 ขอให้อัยการสูงสุดร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องทั้งสองเลิกการกระทำ แต่อัยการสูงสุดมิได้ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคสาม นายธีรยุทธจึงยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 1 เลิกกระทำการดังกล่าว และให้ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกยินยอมให้ผู้ถูกร้องที่ 1 ใช้เป็นเครื่องมือกระทำการดังกล่าว
    .
    ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า เพื่อประโยชน์แก่การพิจารณาของ ศาลรัฐธรรมนูญว่าจะรับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัยหรือไม่ ในชั้นนี้ ให้มีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุดเพื่อขอทราบว่า ได้ดำเนินการตามคำร้องของนายธีรยุทธไปแล้วอย่างไร และรวบรวมพยานหลักฐานได้เพียงใด โดยให้จัดส่งต่อศาลรัฐธรรมนูญภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ
    ..............
    Sondhi X
    ทักษิณ พท.มีเสียว คดีล้มล้าง ยุบพรรค ศาล รธน.ขอเคลียร์ อสส. ก่อน 15 วัน . วันนี้ (22ต.ค.) ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการอภิปรายในคำร้องที่นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 โดยกล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาล ตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้ถูกร้องที่ 1 ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษ จำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำ ทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต . ประเด็นที่ 2 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตย ทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา . ประเด็นที่ 3 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 ร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิมที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้าง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข . ประเด็นที่ 4 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการแทนผู้ถูกร้องที่ 2 โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่น ที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมนตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของผู้ถูกร้องที่ 1 . ประเด็นที่ 5 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 มีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล . ประเด็นที่ 6 ผู้ถูกร้องที่ 1 สั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 2 นำนโยบายของผู้ถูกร้องที่ 1 ที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา . โดยนายธีรยุทธได้ยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 67 ขอให้อัยการสูงสุดร้องขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องทั้งสองเลิกการกระทำ แต่อัยการสูงสุดมิได้ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคสาม นายธีรยุทธจึงยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้ผู้ถูกร้องที่ 1 เลิกกระทำการดังกล่าว และให้ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกยินยอมให้ผู้ถูกร้องที่ 1 ใช้เป็นเครื่องมือกระทำการดังกล่าว . ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า เพื่อประโยชน์แก่การพิจารณาของ ศาลรัฐธรรมนูญว่าจะรับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัยหรือไม่ ในชั้นนี้ ให้มีหนังสือแจ้งอัยการสูงสุดเพื่อขอทราบว่า ได้ดำเนินการตามคำร้องของนายธีรยุทธไปแล้วอย่างไร และรวบรวมพยานหลักฐานได้เพียงใด โดยให้จัดส่งต่อศาลรัฐธรรมนูญภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ .............. Sondhi X
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 962 มุมมอง 0 รีวิว
  • มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์ ประกอบด้วย

    1. นายชาติพงษ์ จีระพันธุ์ อัยการอาวุโส เป็นประธานกรรมการ
    2.พล.ต.ท.ธัชชัย ปิตะนีละบุตร ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นกรรมการ
    3. นายนิรันต์ ยั่งยืน รองอธิบดีอัยการ สำนักงานคุ้มครองสิทธิ และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน เป็นกรรมการ
    4.นายกฤช เอื้อวงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (น.ส.จิราพร สินธุไพร) เป็นกรรมการ
    5. พ.ต.ต.จตุพล บงกชมาศ ผู้อำนวยการกองปฏิบัติการคดีพิเศษภาค กรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นกรรมการ
    6. นายวิทยา นีติธรรม ผู้อำนวยการกองกฎหมาย สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เป็นกรรมการ
    7. นายปวริศ ผุดผ่อง คณะที่ปรึกษาของรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นกรรมการ
    8 นายวิสุทธิ์ ฉัตรานุฉัตร ผู้อำนวยการสำนักกฎหมายและระเบียบกลาง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เลขานุการ

    โดยให้คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงมีหน้าที่และอำนาจ ดังนี้
    ข้อ 1.ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยเชิญผู้บริหาร พนักงานเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน
    คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำหรือให้ข้อเท็จจริงและมีอำนาจ
    เรียกเอกสารใด ๆ จากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือหน่วยงานใด ๆ เพื่อประกอบ
    การพิจารณา และให้รายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อเสนอแนะต่อรองนายกรัฐมนตรี
    (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง) และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
    ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้ออกคำสั่ง ในกรณีจำเป็นรองนายกรัฐมนตรี (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง)
    อาจมีคำสั่งให้ขยายระยะเวลาออกไปได้อีกตามที่เห็นสมควร
    ข้อ 2.คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ รวมทั้งผู้ช่วยเลขานุการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเพียงเท่าที่จำเป็นเพื่อพิจารณาศึกษาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้

    ข้อ 3.ให้คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการที่แต่งตั้งตามคำสั่งนี้ได้รับเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนตามที่กระทรวงการคลังกำหนด โดยให้เบิกจ่ายจากสำนักนายกรัฐมนตรี
    ข้อ 4 ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับนายชาติพงษ์ จีระพันธุ ถูกตั้งขึ้นมาเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง เคยเป็นอดีตรองอัยการสูงสุด มีชื่อเสียงเรื่องปราบการทุจริตคอร์รัปชัน มีประสบการณ์มากมาย เคยเป็นรองอธิบดีอัยการคดีพิเศษ ,เเละอธิบดีอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นหัวหน้าคณะทำงานที่คุมคดีสำคัญของสำนักงานคดีพิเศษหลายคดี ,คดีนิติบุคคล ฟิลิป มอร์ริส นำเข้าบุหรี่โดยหลีกเลี่ยงภาษีศุลกากร ซึ่งขณะนี้มีกรณีพิพาท ระหว่างประเทศไทยกับประเทศฟิลิปปินส์ ในเรื่องนี้ที่องค์การการค้าโลก หรือดับเบิลยูทีโอ,คดีทุจริตสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น ซึ่งเกี่ยวพันถึงคดีทุจริตฟอกเงินเครือข่ายวัดธรรมกาย ,คดีธนาคารกรุงไทย ปล่อยกู้ กลุ่มบริษัทกฤษดามหานคร ,คดีทุจริตการฟอกเงินในโครงการบ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน ,เคยเป็นกรรมการสอบวินัยร้ายแรงนายเนตร นาคสุข อดีตรองอัยการสูงสุด กรณีสั่งไม่ฟ้องคดีลูกนักธุรกิจชื่อดังขับรถชนคนตาย

    ล่าสุดช่วงที่ นายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรีเคย มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายกรณีการเข้าค้นบ้านพักอดีตรองผบ.ตร.ด้วย

    #Thaitimes
    มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์ ประกอบด้วย 1. นายชาติพงษ์ จีระพันธุ์ อัยการอาวุโส เป็นประธานกรรมการ 2.พล.ต.ท.ธัชชัย ปิตะนีละบุตร ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นกรรมการ 3. นายนิรันต์ ยั่งยืน รองอธิบดีอัยการ สำนักงานคุ้มครองสิทธิ และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน เป็นกรรมการ 4.นายกฤช เอื้อวงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (น.ส.จิราพร สินธุไพร) เป็นกรรมการ 5. พ.ต.ต.จตุพล บงกชมาศ ผู้อำนวยการกองปฏิบัติการคดีพิเศษภาค กรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นกรรมการ 6. นายวิทยา นีติธรรม ผู้อำนวยการกองกฎหมาย สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เป็นกรรมการ 7. นายปวริศ ผุดผ่อง คณะที่ปรึกษาของรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นกรรมการ 8 นายวิสุทธิ์ ฉัตรานุฉัตร ผู้อำนวยการสำนักกฎหมายและระเบียบกลาง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เลขานุการ โดยให้คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงมีหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ข้อ 1.ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยเชิญผู้บริหาร พนักงานเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำหรือให้ข้อเท็จจริงและมีอำนาจ เรียกเอกสารใด ๆ จากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือหน่วยงานใด ๆ เพื่อประกอบ การพิจารณา และให้รายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อเสนอแนะต่อรองนายกรัฐมนตรี (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง) และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้ออกคำสั่ง ในกรณีจำเป็นรองนายกรัฐมนตรี (นายประเสริฐ จันทรรวงทอง) อาจมีคำสั่งให้ขยายระยะเวลาออกไปได้อีกตามที่เห็นสมควร ข้อ 2.คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ รวมทั้งผู้ช่วยเลขานุการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเพียงเท่าที่จำเป็นเพื่อพิจารณาศึกษาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ ข้อ 3.ให้คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการที่แต่งตั้งตามคำสั่งนี้ได้รับเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนตามที่กระทรวงการคลังกำหนด โดยให้เบิกจ่ายจากสำนักนายกรัฐมนตรี ข้อ 4 ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับนายชาติพงษ์ จีระพันธุ ถูกตั้งขึ้นมาเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง เคยเป็นอดีตรองอัยการสูงสุด มีชื่อเสียงเรื่องปราบการทุจริตคอร์รัปชัน มีประสบการณ์มากมาย เคยเป็นรองอธิบดีอัยการคดีพิเศษ ,เเละอธิบดีอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นหัวหน้าคณะทำงานที่คุมคดีสำคัญของสำนักงานคดีพิเศษหลายคดี ,คดีนิติบุคคล ฟิลิป มอร์ริส นำเข้าบุหรี่โดยหลีกเลี่ยงภาษีศุลกากร ซึ่งขณะนี้มีกรณีพิพาท ระหว่างประเทศไทยกับประเทศฟิลิปปินส์ ในเรื่องนี้ที่องค์การการค้าโลก หรือดับเบิลยูทีโอ,คดีทุจริตสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น ซึ่งเกี่ยวพันถึงคดีทุจริตฟอกเงินเครือข่ายวัดธรรมกาย ,คดีธนาคารกรุงไทย ปล่อยกู้ กลุ่มบริษัทกฤษดามหานคร ,คดีทุจริตการฟอกเงินในโครงการบ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน ,เคยเป็นกรรมการสอบวินัยร้ายแรงนายเนตร นาคสุข อดีตรองอัยการสูงสุด กรณีสั่งไม่ฟ้องคดีลูกนักธุรกิจชื่อดังขับรถชนคนตาย ล่าสุดช่วงที่ นายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรีเคย มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายกรณีการเข้าค้นบ้านพักอดีตรองผบ.ตร.ด้วย #Thaitimes
    สำนักนายกฯ ตั้ง ‘ชาติพงษ์’ อดีตรอง อสส.นั่ง ปธ.สอบข้อเท็จจริงคดี ‘ดิไอคอน’ จ่ายส่วยเทวดาเป็นค่าคุ้มครอง มีอำนาจเรียกสอบ-เอกสาร จาก สคบ.หน่วยงานเกี่ยวข้อง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000099909

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 400 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เพื่อนรักหักเหลี่ยมโโฉดด
    การมาของเต้น กับตำแหน่งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี
    แม้จะไม่ได้เป็นข้าราชการการเมือง แต่ก็ถือว่ามีความเท่ห์ไม่น้อย
    แต่การมาครั้งนี้ ไม่ได้มาแบบไร้เหตุผล
    เราย้อนกลับไปเมื่อปี 2566 วันที่พรรคเพื่อไทย
    ลงชิงสส.ทั่วประเทศ โดยเต้น ได้ทำหน้าที่เป็นหัวหอกในการปราศรัยทั่วประเทศ มีทั้งการสาปส่งสองลุง ไปถึงการไล่หนักอนุทินแห่งภูมิใจไทย
    กับยุทการ ไล่หนูตีงูวววเห่า ซึ่งเมื่อพรรคเพื่อไทยซึ่งเป็นอันดับที่สอง รองจากพรรคส้มเน่า โดยส้มเน่าไม่มีใครคบ และไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ เพราะมัวแต่จะล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย์ โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กับมุกเดิมๆ คือการลดทอนพระราชอำนาจ ทั้งๆที่ประชาชน ยังสามารถป้องกันเกียรติตนเองได้เมื่อถูกหมิ่น แต่กลับดึงดันให้สถาบันถูกให้ร้ายได้ โดยไม่ให้เกิดโทษกับผู้กระทำการ
    -นั่นจึงเป็นที่มาของการตั้งขั้วอำนาจ เพื่อไทย และสองลุง ซึ่งนอกจากหมอชลน่าน ที่ต้องยอมเอาตำแหน่งหัวหน้าพรรคเข้าแลก ยอมออกจากตำแหน่ง เต้นก็ถือว่า ปราศรัยแบบไม่เกรงใจลุงและอาหนูเลย ก็เป็นอันต้องลาจาก ไร้ตำแหน่ง จนน้ำตาคลอ ลั่นว่า จบแล้วกับเพื่อไทย
    -แต่ด้วยชีวิตที่อยู่ได้ ด้วยพื้นที่เวที กับการมีแสงทางการเมือง เต้นตัดสินใจนานแล้ว ตั้งแต่สมัยนายกเศรษฐาว่า อยากกลับมาช่วยเพื่อไทย ยอมลดศักดิ์ศรีของตนเอง เพราะรู้สึกเดียวดายเมื่อไม่มีแสงไฟสาดส่อง
    -เมื่อนายใหญ่กลับมา เต้น จึงได้ขอพื้นที่สื่อ ว่าตนเองพร้อมรับข้าวน่าวววมาใช้ในร้าน มั่นใจอาหย่อยแดรกด้าย ซึ่งก็ได้ใจนายใหญ่ไปไม่น้อย เพื่อปูทางให้นายเก่า นั่นคือยิ่งลักษณ์ ได้กลับมาสู่ประเทศไทย
    -ทักษิณเอง ก็ชอบที่จะตอบแทนบุญคุณคนที่เคยถวายตัวช่วยเหลือตน แต่มีนัยทางการเมือง ต้องสมเหตุสมผล จึงได้ดัน เต้น เข้าสู่การเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลลูกสาว
    ซึ่ง ที่มาก็คือ ดึงเต้นปะทะตู่จตุพร
    เพราะตั้งแต่ก่อนที่โทนี่จะกลับมา จนถึงปัจจุบัน ตู่จตุพรและทนายนกเขา มีการรุกไล่โทนี่ และรัฐบาลมาโดยตลอด ตั้งแต่ความผิดปกติในชั้น 14 ซึ่งหลายวาระ ก็ทำเอาโทนี่เซ แซดๆๆๆ ไปเหมือนกัน
    -ดังนั้น เรื่องการปะทะฝึปาก เรียกว่า ต่างรู้มือกัน ก็จะเป็นใครไม่ได้ นั่นก็คือ เต้น ณัฐวุฒินี่แหละ ที่จะทำให้ตู่ต้องเสียเวลาในการแก้เกมส์ ลดทอนเวลาในการรุกไล่รัฐบาล
    -เพราะการบ่มเพาะข้อมูล และการรวมพลังกับผู้ที่มองเห็นจุดปัญหาที่เกิดจากทักษิณเอง ก็ดูจะมีปริมาณมากขึ้น ยังไม่รวมถึงสนธิลิ้มทองกุล ที่เอ่ยเปรยๆว่า จะมีการลงถนน ซึ่งโทนี่เคยผ่านประสบการณ์นี้มาแล้ว ว่ามันพังทุกรอบ ไม่ว่าจะเป็นสมัยตนเอง สมัยสมชาย สมัย สมัคร หรือแม้กระทั่งสมัยน้องสาวที่ชื่อยิ่งลักษณ์ ต่างจบทางการเมืองจากการลงถนนของประชาชนทั้งสิ้น
    -ดังนั้นในภาวะนี้ จึงเป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้เต้น เข้ามาขวางตู่ไว้อีกทางหนึ่ง แม้ว่าเต้นเอง จะมีภาพจำระหว่างนักข่าว ที่ไม่สามารถตอบคำถามกรณีจำนำข้าวได้ และรัฐมนตรีบุญทรง ที่นั่้งอยู่ข้างๆเต้นในวันนั้นตอนนี้ก็ยังอยู่ในซักเต แต่ด้วยความหน้าาาด้าน หน้าาาาทน ก็อยากจะกลับมา ให้ทำอะไรก็ต้องทำ
    -แต่เต้น ด้วยวัยวุฒิ และประสบการณ์ เอาเข้าจริงๆ ก็ยังห่างกับตู่อยู่หลายขุม และถือว่า ตู่ จตุพร ก็ได้ต้อนรับน้องใหม่ น้องเต้น ด้วยการตั้งคำถามที่ทำให้เต้นต้องสะดุ้ง นั่นคือ เงินบริจาค ราวๆ 42 ล.บ อยู่ที่ไหน ในสมัยการชุมนุม นปช. ซึ่งตู่ ยังระบุอีกว่า ทั้งก่อนและหลังการชุมนุมในวันนั้น เต้นนี่แหละใช้จ่ายโดยไม่เคยชี้แจง และยอดสุดท้ายคือ 42 ล.บ มันอยู่ตรงไหน
    -ซึ่งแม้กระทั่งวันนี้ เต้นเอง ก็ยังไม่มีการตอบคำถามนี้แต่อย่างใด หรือการลงทุนธุรกิจและร้านอาหารของเต้นที่บ้านเกิด จะมาจากเงินบริจาคนปช. ณ วันนั้น ใช่หรือไม่ เป็นสิ่งที่เต้น ต้องอธิบาย ให้สังคม โดยเฉพาะชาว นปช. เสื้อแดง ได้รับรู้ โดยเร็ว มิเช่นนั้น เต้น อาจได้เป็นที่ปรึกษานายกเพียงแค่ในนาม แต่จะไม่ได้รับการยอมรับจากแฟนคลับเพื่อไทย
    #คิงส์โพธิ์ดำ รายงาน
    #เพื่อนรักหักเหลี่ยมโโฉดด การมาของเต้น กับตำแหน่งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี แม้จะไม่ได้เป็นข้าราชการการเมือง แต่ก็ถือว่ามีความเท่ห์ไม่น้อย แต่การมาครั้งนี้ ไม่ได้มาแบบไร้เหตุผล เราย้อนกลับไปเมื่อปี 2566 วันที่พรรคเพื่อไทย ลงชิงสส.ทั่วประเทศ โดยเต้น ได้ทำหน้าที่เป็นหัวหอกในการปราศรัยทั่วประเทศ มีทั้งการสาปส่งสองลุง ไปถึงการไล่หนักอนุทินแห่งภูมิใจไทย กับยุทการ ไล่หนูตีงูวววเห่า ซึ่งเมื่อพรรคเพื่อไทยซึ่งเป็นอันดับที่สอง รองจากพรรคส้มเน่า โดยส้มเน่าไม่มีใครคบ และไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ เพราะมัวแต่จะล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย์ โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กับมุกเดิมๆ คือการลดทอนพระราชอำนาจ ทั้งๆที่ประชาชน ยังสามารถป้องกันเกียรติตนเองได้เมื่อถูกหมิ่น แต่กลับดึงดันให้สถาบันถูกให้ร้ายได้ โดยไม่ให้เกิดโทษกับผู้กระทำการ -นั่นจึงเป็นที่มาของการตั้งขั้วอำนาจ เพื่อไทย และสองลุง ซึ่งนอกจากหมอชลน่าน ที่ต้องยอมเอาตำแหน่งหัวหน้าพรรคเข้าแลก ยอมออกจากตำแหน่ง เต้นก็ถือว่า ปราศรัยแบบไม่เกรงใจลุงและอาหนูเลย ก็เป็นอันต้องลาจาก ไร้ตำแหน่ง จนน้ำตาคลอ ลั่นว่า จบแล้วกับเพื่อไทย -แต่ด้วยชีวิตที่อยู่ได้ ด้วยพื้นที่เวที กับการมีแสงทางการเมือง เต้นตัดสินใจนานแล้ว ตั้งแต่สมัยนายกเศรษฐาว่า อยากกลับมาช่วยเพื่อไทย ยอมลดศักดิ์ศรีของตนเอง เพราะรู้สึกเดียวดายเมื่อไม่มีแสงไฟสาดส่อง -เมื่อนายใหญ่กลับมา เต้น จึงได้ขอพื้นที่สื่อ ว่าตนเองพร้อมรับข้าวน่าวววมาใช้ในร้าน มั่นใจอาหย่อยแดรกด้าย ซึ่งก็ได้ใจนายใหญ่ไปไม่น้อย เพื่อปูทางให้นายเก่า นั่นคือยิ่งลักษณ์ ได้กลับมาสู่ประเทศไทย -ทักษิณเอง ก็ชอบที่จะตอบแทนบุญคุณคนที่เคยถวายตัวช่วยเหลือตน แต่มีนัยทางการเมือง ต้องสมเหตุสมผล จึงได้ดัน เต้น เข้าสู่การเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลลูกสาว ซึ่ง ที่มาก็คือ ดึงเต้นปะทะตู่จตุพร เพราะตั้งแต่ก่อนที่โทนี่จะกลับมา จนถึงปัจจุบัน ตู่จตุพรและทนายนกเขา มีการรุกไล่โทนี่ และรัฐบาลมาโดยตลอด ตั้งแต่ความผิดปกติในชั้น 14 ซึ่งหลายวาระ ก็ทำเอาโทนี่เซ แซดๆๆๆ ไปเหมือนกัน -ดังนั้น เรื่องการปะทะฝึปาก เรียกว่า ต่างรู้มือกัน ก็จะเป็นใครไม่ได้ นั่นก็คือ เต้น ณัฐวุฒินี่แหละ ที่จะทำให้ตู่ต้องเสียเวลาในการแก้เกมส์ ลดทอนเวลาในการรุกไล่รัฐบาล -เพราะการบ่มเพาะข้อมูล และการรวมพลังกับผู้ที่มองเห็นจุดปัญหาที่เกิดจากทักษิณเอง ก็ดูจะมีปริมาณมากขึ้น ยังไม่รวมถึงสนธิลิ้มทองกุล ที่เอ่ยเปรยๆว่า จะมีการลงถนน ซึ่งโทนี่เคยผ่านประสบการณ์นี้มาแล้ว ว่ามันพังทุกรอบ ไม่ว่าจะเป็นสมัยตนเอง สมัยสมชาย สมัย สมัคร หรือแม้กระทั่งสมัยน้องสาวที่ชื่อยิ่งลักษณ์ ต่างจบทางการเมืองจากการลงถนนของประชาชนทั้งสิ้น -ดังนั้นในภาวะนี้ จึงเป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้เต้น เข้ามาขวางตู่ไว้อีกทางหนึ่ง แม้ว่าเต้นเอง จะมีภาพจำระหว่างนักข่าว ที่ไม่สามารถตอบคำถามกรณีจำนำข้าวได้ และรัฐมนตรีบุญทรง ที่นั่้งอยู่ข้างๆเต้นในวันนั้นตอนนี้ก็ยังอยู่ในซักเต แต่ด้วยความหน้าาาด้าน หน้าาาาทน ก็อยากจะกลับมา ให้ทำอะไรก็ต้องทำ -แต่เต้น ด้วยวัยวุฒิ และประสบการณ์ เอาเข้าจริงๆ ก็ยังห่างกับตู่อยู่หลายขุม และถือว่า ตู่ จตุพร ก็ได้ต้อนรับน้องใหม่ น้องเต้น ด้วยการตั้งคำถามที่ทำให้เต้นต้องสะดุ้ง นั่นคือ เงินบริจาค ราวๆ 42 ล.บ อยู่ที่ไหน ในสมัยการชุมนุม นปช. ซึ่งตู่ ยังระบุอีกว่า ทั้งก่อนและหลังการชุมนุมในวันนั้น เต้นนี่แหละใช้จ่ายโดยไม่เคยชี้แจง และยอดสุดท้ายคือ 42 ล.บ มันอยู่ตรงไหน -ซึ่งแม้กระทั่งวันนี้ เต้นเอง ก็ยังไม่มีการตอบคำถามนี้แต่อย่างใด หรือการลงทุนธุรกิจและร้านอาหารของเต้นที่บ้านเกิด จะมาจากเงินบริจาคนปช. ณ วันนั้น ใช่หรือไม่ เป็นสิ่งที่เต้น ต้องอธิบาย ให้สังคม โดยเฉพาะชาว นปช. เสื้อแดง ได้รับรู้ โดยเร็ว มิเช่นนั้น เต้น อาจได้เป็นที่ปรึกษานายกเพียงแค่ในนาม แต่จะไม่ได้รับการยอมรับจากแฟนคลับเพื่อไทย #คิงส์โพธิ์ดำ รายงาน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 588 มุมมอง 0 รีวิว
  • “บิ๊กอ้วน” มอง ไม่เป็นปัญหา ปมนายกฯ ตั้ง “ณัฐวุฒิ” นั่งที่ปรึกษาฯ หลัง “เรืองไกร” ร้องอาจเข้าข่ายเดียวกับกรณี “เศรษฐา” บอกจับไปร้องทุกเรื่องบริหารประเทศยาก ปชช.อยากหลุดจากวิกฤต

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000096021

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “บิ๊กอ้วน” มอง ไม่เป็นปัญหา ปมนายกฯ ตั้ง “ณัฐวุฒิ” นั่งที่ปรึกษาฯ หลัง “เรืองไกร” ร้องอาจเข้าข่ายเดียวกับกรณี “เศรษฐา” บอกจับไปร้องทุกเรื่องบริหารประเทศยาก ปชช.อยากหลุดจากวิกฤต อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000096021 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Sad
    36
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1930 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภารกิจที่ปรึกษานายกฯ คืออะไร ระหว่าง ไปแข่งฟุตซอลโลกรุ่น60ปี หรือทีมบาสชายอาวุโส เยอะเกินจนไม่มีงานเหลือให้นายกฯ ได้ทำ โดยเดือนกันยาน ก็ตั้งที่ปรึกษานายกฯ ไปแล้ว 5 คน นำโดย พันธุ์ศักดิ์หูกระต่าย, หมอเลี๊ยบ, อาจารย์ธงทอง, พงษ์เทพ, ดร.ศุภวุฒิ เมื่อวานก็เพิ่งตั้ง ไอ่เต้นน้ำมันก๊าซ และอดีตปลัดธีระพงษ์ มาวันนี้ ตั้งที่ปรึกษาอีก 5 คน นำโดยปู่ชัยเกษม, เทวัญน้องสุวัจน์, ยุทธพงศ์ รองหน.เพื่อไทย, สงคราม รมต.ยุคลุงสมชาติ และจักรพงษ์ ที่ปรึกษายุคเศรษฐา
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    ภารกิจที่ปรึกษานายกฯ คืออะไร ระหว่าง ไปแข่งฟุตซอลโลกรุ่น60ปี หรือทีมบาสชายอาวุโส เยอะเกินจนไม่มีงานเหลือให้นายกฯ ได้ทำ โดยเดือนกันยาน ก็ตั้งที่ปรึกษานายกฯ ไปแล้ว 5 คน นำโดย พันธุ์ศักดิ์หูกระต่าย, หมอเลี๊ยบ, อาจารย์ธงทอง, พงษ์เทพ, ดร.ศุภวุฒิ เมื่อวานก็เพิ่งตั้ง ไอ่เต้นน้ำมันก๊าซ และอดีตปลัดธีระพงษ์ มาวันนี้ ตั้งที่ปรึกษาอีก 5 คน นำโดยปู่ชัยเกษม, เทวัญน้องสุวัจน์, ยุทธพงศ์ รองหน.เพื่อไทย, สงคราม รมต.ยุคลุงสมชาติ และจักรพงษ์ ที่ปรึกษายุคเศรษฐา #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    Haha
    Wow
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 840 มุมมอง 0 รีวิว
  • ที่ประชุม ก.ตร. มีมติเอกฉันท์ เลือก "พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์" เป็น ผบ.ตร.คนที่ 15
    .
    วันนี้ (7 ต.ค.) ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(ตร.) น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานประชุมคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ(ก.ตร.) วาระพิเศษพิจารณาแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.)
    .
    โดยมีการเสนอชื่อ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (รอง ผบ.ตร.) อาวุโสลำดับ 1 ขึ้นเป็น ผบ.ตร. จากผู้ที่มีชื่อเข้าข่ายได้รับการแต่งตั้ง 3 คน ได้แก่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ รอง ผบ.ตร. อาวุโส ลำดับ 1 ,พล.ต.อ.ไกรบุญ ทรวดทรง จเรตำรวจแห่งชาติ อาวุโสลำดับ 2 และ พล.ต.อ.ธนา ชูวงศ์ รอง ผบ.ตร. อาวุโสลำดับ 3
    .
    ขั้นตอนการเสนอชื่อคัดเลือกผู้เข้ามาดำรงตำแหน่ง ผบ.ตร. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ปี 2565 มาตรา 78 ระบุว่าให้นายกรัฐมนตรีคัดเลือกรายชื่อเสนอ ก.ตร. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยก่อนการพิจารณาวาระ เสนอชื่อ ผบ.ตร. จะมีการแสดงผลงานของ รองผบ.ตร. ทุกท่านที่อยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับการเสนอชื่อเป็น ผบ.ตร.
    .
    ก่อนเชิญ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ,พล.ต.อ.ไกรบุญ และ พล.ต.อ.ธนา ออกจากห้องประชุม เนื่องจากถือว่ามีส่วนได้เสีย องค์ประชุมมีเพียง 1.น.ส.แพทองธาร ประธาน 2.น.ส.อ้อนฟ้า เวชชาชีวะ เลขาธิการ ก.พ.ร. 3.นายปิยะวัฒน์ ศิวะรักษ์ เลขาธิการ ก.พ. ในฐานะก.ตร. โดยตำแหน่ง 4.พล.ต.อ.มนู เมฆหมอก 5.พล.ต.อ.เอก อังสนานนท์ 6. พล.ต.อ.วินัย ทองสอง 7. นายฉัตรชัย พรหมเลิศ 8.รองศาสตราจารย์ประทิต สันติประภพ 9.ศาสตราจารย์ศุภชัย ยาวะประภาษ และ10. พล.ต ท ประจวบ วงศ์สุข ผู้ช่วย ผบ.ตร รรท.รอง ผบ.ตร
    เวลาประมาณ 15.30 น. ที่ประชุมมีมติเอกฉันท์เห็นชอบให้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ เป็น ผบ.ตร. คนที่ 15
    .
    พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ชื่อเล่น "ต่าย" เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2508 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จ.ราชบุรี เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 25 รุ่นเดียวกับร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่น 41 รุ่นเดียวกับ พล.ต.ท.ภาณุรัตน์ หลักบุญ เลขาธิการ ป.ป.ส. พล.ต.ท.กรไชย คล้ายคลึง พล.ต.ท.อัคราเดช พิมลศรี ผู้ช่วย ผบ.ตร.
    .
    พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เริ่มต้นรับราชการตำรวจ ในตำแหน่ง รองสารวัตรสอบสวน สภ.อ.เมืองระยอง และค่อยๆ เติบโตในหน้าที่การงาน โดยดำรงตำแหน่งสำคัญ อาทิ ผู้กำกับการ 6และ8 กองบังคับการตำรวจทางหลวง ผู้กำกับการ 6 กองบังคับการตำรวจน้ำ ผู้กำกับการ 3 ตำรวจท่องเที่ยว ก่อนขยับเป็นรองผู้บังคับการตำรวจทางหลวง รองผู้บังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ก้าวติดยศ พล.ต.ต.ในตำแหน่งเลขานุการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ก่อนโยกเป็นผู้บังคับการตำรวจสันติบาล 1 ขยับขึ้นรองจเรตำรวจ (สบ7) ก่อนโยกเป็น รองผู้บัญชาการสำนักงานกำลังพล จากนั้นขยับติดยศ พล.ต.ท.ในตำแหน่ง ผบช.ประจำสำนักงาน ผบ.ตร. ก่อนโยกเป็น ผบช.ภ.8 จากนั้นขยับขึ้นผู้ช่วย ผบ.ตร. และขยับติดยศพล.ต.อ.ครั้งแรก ในตำแหน่ง รอง ผบ.ตร.รับผิดชอบงานบริหาร ควบตำแหน่งหัวหน้าศูนย์ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
    .
    ปัจจุบัน พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ดำรงตำแหน่ง รอง ผบ.ตร.รับผิดชอบงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ควบตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ปราบปรามการลักลอบตัดไม้ ทำลายป่า ทรัพยากรธรรมชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศปทส.ตร.) และศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศอ.ปส.ตร.)
    .
    นอกจากนี้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เคยเป็นนายเวร พล.ต.อ.ธวัชชัย ภัยลี้ สมัยดำรงตำแหน่งผู้ช่วย ผบ.ตร. และเป็นหัวหน้าสำนักงานของ พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข สมัยดำรงตำแหน่งผบ.ตร. นอกจากนี้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ยังขึ้นมารักษาราชการแทนตำแหน่ง ผบ.ตร. ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี หลังพล.ต.อ.ต่อศักดิ์ ถูกย้ายไปปฏิบัติราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2567 ล่าสุดน.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งให้พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ รักษาราชการแทน ผบ.ตร. หลังจากพล.ต.อ.ต่อศักดิ์ เกษียณอายุราชการ โดยให้มีผล 1 ต.ค.นี้
    .
    พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เป็นคนอัธยาศัยดี เป็นที่รักของเพื่อนร่วมรุ่นและผู้ใต้บังคับบัญชา เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นหลังก้าวขึ้นมารักษาราชการแทนผบ.ตร. สามารถทำงานตอบสนองนโยบายรัฐบาลด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะด้านการปราบปรามยาเสพติด พนันออนไลน์ รวมทั้งปัญหาแก๊งคอลเซ็นเตอร์และการฉ้อโกงออนไลน์ จนได้รับคำชมจากนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
    ..............
    Sondhi X
    ที่ประชุม ก.ตร. มีมติเอกฉันท์ เลือก "พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์" เป็น ผบ.ตร.คนที่ 15 . วันนี้ (7 ต.ค.) ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(ตร.) น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานประชุมคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ(ก.ตร.) วาระพิเศษพิจารณาแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) . โดยมีการเสนอชื่อ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (รอง ผบ.ตร.) อาวุโสลำดับ 1 ขึ้นเป็น ผบ.ตร. จากผู้ที่มีชื่อเข้าข่ายได้รับการแต่งตั้ง 3 คน ได้แก่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ รอง ผบ.ตร. อาวุโส ลำดับ 1 ,พล.ต.อ.ไกรบุญ ทรวดทรง จเรตำรวจแห่งชาติ อาวุโสลำดับ 2 และ พล.ต.อ.ธนา ชูวงศ์ รอง ผบ.ตร. อาวุโสลำดับ 3 . ขั้นตอนการเสนอชื่อคัดเลือกผู้เข้ามาดำรงตำแหน่ง ผบ.ตร. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ปี 2565 มาตรา 78 ระบุว่าให้นายกรัฐมนตรีคัดเลือกรายชื่อเสนอ ก.ตร. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยก่อนการพิจารณาวาระ เสนอชื่อ ผบ.ตร. จะมีการแสดงผลงานของ รองผบ.ตร. ทุกท่านที่อยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับการเสนอชื่อเป็น ผบ.ตร. . ก่อนเชิญ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ,พล.ต.อ.ไกรบุญ และ พล.ต.อ.ธนา ออกจากห้องประชุม เนื่องจากถือว่ามีส่วนได้เสีย องค์ประชุมมีเพียง 1.น.ส.แพทองธาร ประธาน 2.น.ส.อ้อนฟ้า เวชชาชีวะ เลขาธิการ ก.พ.ร. 3.นายปิยะวัฒน์ ศิวะรักษ์ เลขาธิการ ก.พ. ในฐานะก.ตร. โดยตำแหน่ง 4.พล.ต.อ.มนู เมฆหมอก 5.พล.ต.อ.เอก อังสนานนท์ 6. พล.ต.อ.วินัย ทองสอง 7. นายฉัตรชัย พรหมเลิศ 8.รองศาสตราจารย์ประทิต สันติประภพ 9.ศาสตราจารย์ศุภชัย ยาวะประภาษ และ10. พล.ต ท ประจวบ วงศ์สุข ผู้ช่วย ผบ.ตร รรท.รอง ผบ.ตร เวลาประมาณ 15.30 น. ที่ประชุมมีมติเอกฉันท์เห็นชอบให้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ เป็น ผบ.ตร. คนที่ 15 . พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ชื่อเล่น "ต่าย" เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2508 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จ.ราชบุรี เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 25 รุ่นเดียวกับร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่น 41 รุ่นเดียวกับ พล.ต.ท.ภาณุรัตน์ หลักบุญ เลขาธิการ ป.ป.ส. พล.ต.ท.กรไชย คล้ายคลึง พล.ต.ท.อัคราเดช พิมลศรี ผู้ช่วย ผบ.ตร. . พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เริ่มต้นรับราชการตำรวจ ในตำแหน่ง รองสารวัตรสอบสวน สภ.อ.เมืองระยอง และค่อยๆ เติบโตในหน้าที่การงาน โดยดำรงตำแหน่งสำคัญ อาทิ ผู้กำกับการ 6และ8 กองบังคับการตำรวจทางหลวง ผู้กำกับการ 6 กองบังคับการตำรวจน้ำ ผู้กำกับการ 3 ตำรวจท่องเที่ยว ก่อนขยับเป็นรองผู้บังคับการตำรวจทางหลวง รองผู้บังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ก้าวติดยศ พล.ต.ต.ในตำแหน่งเลขานุการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ก่อนโยกเป็นผู้บังคับการตำรวจสันติบาล 1 ขยับขึ้นรองจเรตำรวจ (สบ7) ก่อนโยกเป็น รองผู้บัญชาการสำนักงานกำลังพล จากนั้นขยับติดยศ พล.ต.ท.ในตำแหน่ง ผบช.ประจำสำนักงาน ผบ.ตร. ก่อนโยกเป็น ผบช.ภ.8 จากนั้นขยับขึ้นผู้ช่วย ผบ.ตร. และขยับติดยศพล.ต.อ.ครั้งแรก ในตำแหน่ง รอง ผบ.ตร.รับผิดชอบงานบริหาร ควบตำแหน่งหัวหน้าศูนย์ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ . ปัจจุบัน พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ดำรงตำแหน่ง รอง ผบ.ตร.รับผิดชอบงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ควบตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ปราบปรามการลักลอบตัดไม้ ทำลายป่า ทรัพยากรธรรมชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศปทส.ตร.) และศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศอ.ปส.ตร.) . นอกจากนี้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เคยเป็นนายเวร พล.ต.อ.ธวัชชัย ภัยลี้ สมัยดำรงตำแหน่งผู้ช่วย ผบ.ตร. และเป็นหัวหน้าสำนักงานของ พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข สมัยดำรงตำแหน่งผบ.ตร. นอกจากนี้ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ ยังขึ้นมารักษาราชการแทนตำแหน่ง ผบ.ตร. ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี หลังพล.ต.อ.ต่อศักดิ์ ถูกย้ายไปปฏิบัติราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2567 ล่าสุดน.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลงนามคำสั่งให้พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ รักษาราชการแทน ผบ.ตร. หลังจากพล.ต.อ.ต่อศักดิ์ เกษียณอายุราชการ โดยให้มีผล 1 ต.ค.นี้ . พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ เป็นคนอัธยาศัยดี เป็นที่รักของเพื่อนร่วมรุ่นและผู้ใต้บังคับบัญชา เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นหลังก้าวขึ้นมารักษาราชการแทนผบ.ตร. สามารถทำงานตอบสนองนโยบายรัฐบาลด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะด้านการปราบปรามยาเสพติด พนันออนไลน์ รวมทั้งปัญหาแก๊งคอลเซ็นเตอร์และการฉ้อโกงออนไลน์ จนได้รับคำชมจากนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น .............. Sondhi X
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 856 มุมมอง 0 รีวิว
  • เรื่องนี้ชักสนุกเข้มข้น
    เรื่องมีอยู่ว่า
    เสรีพิศุทธิ์ขอเข้าพบโทนี่ ที่ชั้น 14
    ย้ำอีกทีว่า เสรีขอเข้าพบ เพราะโทนี่ส่งไฟล์ยกเลิกร้องเรียนนายกเศรษฐามาให้เซ็น
    แต่เสรี ดึงเช็ง อยากไปใกล้ชิดทบทวนความหลัง
    โทนี่รู้ ก็เลยออกปาก "ผมเป็นหนี้บุญคุณพี่เสรีเยอะมาก"
    เคลิ้มสิครับ ตามประสาคนหมดวาสนา
    สิ่งเดียวที่เสรีอยากทำ เมื่อได้คุมตร.คือช่วยสุรเชษฐ์
    เรื่องสุรเชษฐ์ยอมจ่ายเท่าไหร่ไม่อั้น
    ถ้าเสรีดึงกลับเข้าราชการได้
    เรื่องนี้โทนี่ก็รุ้
    พอกลับจากชั้น 14 ไม่นานก็ถึงวันโหวตนายกอิ๊ง
    โทนี่ก็โทรมาให้ไปช่วยโหวต ซึ่งวันนั้น
    เสรี หัวหน้าพรรคที่มีสส.คนเดียว ก็ไปยิ้มแย้ม
    แถมแถลงร่วมด้วยนะ พร้อมสนับสนุนอิ๊งทุกอย่าง
    แต่เมื่อเริ่มแบ่งสรรปันส่วนเรื่องเก้าอี้รมต.
    ซึ่งเสรีก็เตรียมคำพูดไว้หมด
    แต่ก็มีแต่พรรคโน้น พรรคนี้ ถูกเรียกไปคุย
    เสรีชักไม่ไว้วางใจ จึงไปหาอ้วนภูมิธรรมในฐานะ
    ผจก.จัดตั้ง รบ. และพูดไปตรงๆแบบที่เค้าไม่ได้ถาม
    ภูมิธรรม พี่อยากคุมตร. คุมความมั่นคง
    ภูมิธรรมก็ตอบทันทีว่า คุยแล้วพี่เสรี
    เค้า(หมายถึงโทนี่) จะคุมเอง โดยใช้ชื่ออิ๊งเป็นร่างทรง
    ในวันนี้ เสรี ถึงกับปรี๊ดแตกว่าโทนี่หักเหลี่ยมตัวเอง
    แต่ๆๆๆ ที่ไหนได้ คุมตร.แบบตรงตัวคือรมตมหาดไทย
    อ้วนขอโทนี่ไว้แล้ว ไม่ใช่โทนี่จะคุมเอง
    เพิ่งจะโป๊ะแตกวันนี้แหละ ตอนเปิดชื่อว่าที่รมต.บางส่วน
    สรุป อ้วนอยากเป็นบิ๊กอ้วนนี่เอง
    ชอบเสือเฒ่าหักเหลี่ยมกัน
    ดูน่าเอ็นดูดี ฮ่าๆๆๆ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    เรื่องนี้ชักสนุกเข้มข้น เรื่องมีอยู่ว่า เสรีพิศุทธิ์ขอเข้าพบโทนี่ ที่ชั้น 14 ย้ำอีกทีว่า เสรีขอเข้าพบ เพราะโทนี่ส่งไฟล์ยกเลิกร้องเรียนนายกเศรษฐามาให้เซ็น แต่เสรี ดึงเช็ง อยากไปใกล้ชิดทบทวนความหลัง โทนี่รู้ ก็เลยออกปาก "ผมเป็นหนี้บุญคุณพี่เสรีเยอะมาก" เคลิ้มสิครับ ตามประสาคนหมดวาสนา สิ่งเดียวที่เสรีอยากทำ เมื่อได้คุมตร.คือช่วยสุรเชษฐ์ เรื่องสุรเชษฐ์ยอมจ่ายเท่าไหร่ไม่อั้น ถ้าเสรีดึงกลับเข้าราชการได้ เรื่องนี้โทนี่ก็รุ้ พอกลับจากชั้น 14 ไม่นานก็ถึงวันโหวตนายกอิ๊ง โทนี่ก็โทรมาให้ไปช่วยโหวต ซึ่งวันนั้น เสรี หัวหน้าพรรคที่มีสส.คนเดียว ก็ไปยิ้มแย้ม แถมแถลงร่วมด้วยนะ พร้อมสนับสนุนอิ๊งทุกอย่าง แต่เมื่อเริ่มแบ่งสรรปันส่วนเรื่องเก้าอี้รมต. ซึ่งเสรีก็เตรียมคำพูดไว้หมด แต่ก็มีแต่พรรคโน้น พรรคนี้ ถูกเรียกไปคุย เสรีชักไม่ไว้วางใจ จึงไปหาอ้วนภูมิธรรมในฐานะ ผจก.จัดตั้ง รบ. และพูดไปตรงๆแบบที่เค้าไม่ได้ถาม ภูมิธรรม พี่อยากคุมตร. คุมความมั่นคง ภูมิธรรมก็ตอบทันทีว่า คุยแล้วพี่เสรี เค้า(หมายถึงโทนี่) จะคุมเอง โดยใช้ชื่ออิ๊งเป็นร่างทรง ในวันนี้ เสรี ถึงกับปรี๊ดแตกว่าโทนี่หักเหลี่ยมตัวเอง แต่ๆๆๆ ที่ไหนได้ คุมตร.แบบตรงตัวคือรมตมหาดไทย อ้วนขอโทนี่ไว้แล้ว ไม่ใช่โทนี่จะคุมเอง เพิ่งจะโป๊ะแตกวันนี้แหละ ตอนเปิดชื่อว่าที่รมต.บางส่วน สรุป อ้วนอยากเป็นบิ๊กอ้วนนี่เอง ชอบเสือเฒ่าหักเหลี่ยมกัน ดูน่าเอ็นดูดี ฮ่าๆๆๆ #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 524 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไม่แปลกหรอกถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย:

    ๑.ผมสนับสนุนพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ทำรัฐประหาร เพราะช่วงนั้น คุณทักษิณ ชินวัตรโกงชาติโกงแผ่นดินมากมายแล้วกฎหมายบ้านเมืองเอาผิดไม่ได้

    คุณทักษิณคุมทหาร คุมตำรวจ คุมอัยการ คุมกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด เมื่อกฎหมายเอาผิดคุณทักษิณไม่ได้ ประชาชนก็ออกถนน กลายเป็นกลุ่มเสื้อเหลือง พอเห็นเสื้อเหลืองออกถนน คุณทักษิณก็สร้างมวลชนเสื้อแดงมาต่อต้าน ถึงขั้นเผาศาลากลางจังหวัดด้วย

    เมื่อประชาธิปไตยเดินหน้าไม่ได้ ทหารก็จำเป็นต้องทำรัฐประหาร ผมมองว่าการทำรัฐประหารเป็นการผ่าทางตันและนำหลักนิติธรรมนิติรัฐกลับมา

    ถ้าพรรคประชาชนหรือนักการเมืองพรรคนี้ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ก็เป็นเรื่องของท่าน อเมริกาทำรัฐประหารในประเทศอื่นๆ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดตนเองเป็นประจำ เช่น ที่ปากีสถาน บังกลาเทศ ตอนนี้ กำลังหาทางทำที่บราซิลและเวเนซุเอล่า ทำไมคนไทยจะทำไม่ได้บ้างละครับ เพื่อให้ประเทศชาติมีความมั่นคงกลับคืนมา?

    รัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ก็ทำโครงการดีๆ หลายเรื่อง เอาคนเก่งมาทำงาน สร้างถนนหนทางในต่างจังหวัดดีขึ้นจนผิดหูผิดตา เศรษฐกิจไม่ดี ท่านก็มีเป๋าตังค์หรือโครงการคนละครึ่งช่วยเหลือประชาชน

    ข้อสำคัญ ไม่มีใครสงสัยในความภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของท่าน และอีกข้อคือท่านไม่มีประเด็นด่างพร้อยเรื่องทุจริต อย่างน้อยก็ไม่มีใครเอาผิดท่านได้

    จึงไม่แปลกหรอกที่ประชาชนไทยจำนวนมากจะคิดถึงท่านพลเอกประยุทธ์ แม้ท่านจะหมดอำนาจจากรัฐบาลไปแล้ว

    ๒.ปัญหาก็คือพอทำรัฐประหารได้อำนาจมา พลเอกประยุทธ์ไม่ได้ตั้งใจหาทางแก้กฎหมายด้านความมั่นคงหลายๆ ด้านให้รัดกุมยิ่งขึ้น เช่น

    ไม่ออกกฎหมายกวาดล้าง NGOs ที่แทรกแซงการเมืองภายในประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการคนที่ไลฟ์สดคุยกับนักโทษที่หลบหนีไปต่างประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการสื่อโซเชียลมิเดียที่หมิ่นประมาทต่อสถาบันกษัตริย์เหมือนรัฐบาลประเทศอื่นๆ หลายปรเทศ ไม่ออกกฎหมายควบคุมสื่อโซเชียลมิเดียที่โฆษณาบ่อนพนันเป็นอาจิณ ฯลฯ คุณทักษิณจึงไลฟ์สดเข้าประเทศไทย หาเสียงได้อย่างสบายๆ ต่างชาติก็ยังใช้ NGOs ปลุกระดมประชาชนช่วยพรรคฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสบายๆ เหมือนเดิม

    ในขณะที่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์หันไปเน้นสร้างถนนและรถไฟฟ้ามากมายหลายเส้นสายแทน

    ผมเคยวิจารณ์ว่าแค่สร้างรถไฟทางคู่ให้ครอบคลุมทั่วประเทศก็พอแล้ว หันไปเน้นขุดคลองส่งน้ำในชนบทภาคอีสานและภาคอื่นๆ อย่างทั่วถึงจะดีกว่า ประชาชนจะได้อยู่ดีกินดีมากยิ่งขึ้นเพราะรายได้ประชาชนยังมีไม่มาก ถ้าสร้างรถไฟฟ้าหลายเส้นสายแล้วประชาชนไม่มีเงินนั่ง จะเจ๊งเอาได้

    ตอนนี้ก็มีข่าวว่าเริ่มเป็นปัญหาคือรถไฟฟ้าหลายเส้นทางก่อหนี้สิ้นมากขึ้นแล้ว เพราะค่ารถไฟฟ้าแพง คนส่วนใหญ่ไม่มีกำลังจะไปนั่ง

    แถมรัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ยังเปิดทาง ปล่อยคุณยิ่งลักษณ์ให้หลบหนีไปต่างประเทศอย่างสะดวกสบายอีกด้วย

    ๓.ต่อมา พอมีการเลือกตั้งใหม่ พรรคท่านพลเอกประยุทธ์พ่ายแพ้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง ก็มีดีลพาคุณทักษิณ ชินวัตรกลับบ้าน มีการเสนออภัยโทษคุณทักษิณ ชินวัตร โดยพลเอกประยุทธ์ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชการโองการ มีวุฒิสมาชิกสายพลเอกประยุทธ์โหวตให้คุณเศรษฐาเป็นนายก

    แล้วคุณทักษิณ ชินวัตรก็กลับประเทศไทย และทำผิดกติกา ไม่ยอมเข้าคุกแม้แต่วันเดียว เป็นการทำลายระบบนิติธรรมนิติรัฐ คุณทักษิณกลายเป็นผู้กว้างขวางนอกรัฐธรรมนูญหรืออภิสิทธิ์ชนในสังคมไทยขึ้นมา

    ตอนนี้ คุณทักษิณซึ่งเป็นนักโทษหนีคดีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการจัดตั้งรัฐบาล เป็นผู้นัดพบนักการเมืองพรรคต่างๆ ไปพบ แล้วเอาลูกตัวเองเป็นนายิการัฐมนตรี

    จะแปลกอะไรถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย?


    ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
    ไม่แปลกหรอกถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย: ๑.ผมสนับสนุนพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ทำรัฐประหาร เพราะช่วงนั้น คุณทักษิณ ชินวัตรโกงชาติโกงแผ่นดินมากมายแล้วกฎหมายบ้านเมืองเอาผิดไม่ได้ คุณทักษิณคุมทหาร คุมตำรวจ คุมอัยการ คุมกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด เมื่อกฎหมายเอาผิดคุณทักษิณไม่ได้ ประชาชนก็ออกถนน กลายเป็นกลุ่มเสื้อเหลือง พอเห็นเสื้อเหลืองออกถนน คุณทักษิณก็สร้างมวลชนเสื้อแดงมาต่อต้าน ถึงขั้นเผาศาลากลางจังหวัดด้วย เมื่อประชาธิปไตยเดินหน้าไม่ได้ ทหารก็จำเป็นต้องทำรัฐประหาร ผมมองว่าการทำรัฐประหารเป็นการผ่าทางตันและนำหลักนิติธรรมนิติรัฐกลับมา ถ้าพรรคประชาชนหรือนักการเมืองพรรคนี้ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ก็เป็นเรื่องของท่าน อเมริกาทำรัฐประหารในประเทศอื่นๆ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดตนเองเป็นประจำ เช่น ที่ปากีสถาน บังกลาเทศ ตอนนี้ กำลังหาทางทำที่บราซิลและเวเนซุเอล่า ทำไมคนไทยจะทำไม่ได้บ้างละครับ เพื่อให้ประเทศชาติมีความมั่นคงกลับคืนมา? รัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ก็ทำโครงการดีๆ หลายเรื่อง เอาคนเก่งมาทำงาน สร้างถนนหนทางในต่างจังหวัดดีขึ้นจนผิดหูผิดตา เศรษฐกิจไม่ดี ท่านก็มีเป๋าตังค์หรือโครงการคนละครึ่งช่วยเหลือประชาชน ข้อสำคัญ ไม่มีใครสงสัยในความภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของท่าน และอีกข้อคือท่านไม่มีประเด็นด่างพร้อยเรื่องทุจริต อย่างน้อยก็ไม่มีใครเอาผิดท่านได้ จึงไม่แปลกหรอกที่ประชาชนไทยจำนวนมากจะคิดถึงท่านพลเอกประยุทธ์ แม้ท่านจะหมดอำนาจจากรัฐบาลไปแล้ว ๒.ปัญหาก็คือพอทำรัฐประหารได้อำนาจมา พลเอกประยุทธ์ไม่ได้ตั้งใจหาทางแก้กฎหมายด้านความมั่นคงหลายๆ ด้านให้รัดกุมยิ่งขึ้น เช่น ไม่ออกกฎหมายกวาดล้าง NGOs ที่แทรกแซงการเมืองภายในประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการคนที่ไลฟ์สดคุยกับนักโทษที่หลบหนีไปต่างประเทศ ไม่ออกกฎหมายจัดการสื่อโซเชียลมิเดียที่หมิ่นประมาทต่อสถาบันกษัตริย์เหมือนรัฐบาลประเทศอื่นๆ หลายปรเทศ ไม่ออกกฎหมายควบคุมสื่อโซเชียลมิเดียที่โฆษณาบ่อนพนันเป็นอาจิณ ฯลฯ คุณทักษิณจึงไลฟ์สดเข้าประเทศไทย หาเสียงได้อย่างสบายๆ ต่างชาติก็ยังใช้ NGOs ปลุกระดมประชาชนช่วยพรรคฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสบายๆ เหมือนเดิม ในขณะที่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์หันไปเน้นสร้างถนนและรถไฟฟ้ามากมายหลายเส้นสายแทน ผมเคยวิจารณ์ว่าแค่สร้างรถไฟทางคู่ให้ครอบคลุมทั่วประเทศก็พอแล้ว หันไปเน้นขุดคลองส่งน้ำในชนบทภาคอีสานและภาคอื่นๆ อย่างทั่วถึงจะดีกว่า ประชาชนจะได้อยู่ดีกินดีมากยิ่งขึ้นเพราะรายได้ประชาชนยังมีไม่มาก ถ้าสร้างรถไฟฟ้าหลายเส้นสายแล้วประชาชนไม่มีเงินนั่ง จะเจ๊งเอาได้ ตอนนี้ก็มีข่าวว่าเริ่มเป็นปัญหาคือรถไฟฟ้าหลายเส้นทางก่อหนี้สิ้นมากขึ้นแล้ว เพราะค่ารถไฟฟ้าแพง คนส่วนใหญ่ไม่มีกำลังจะไปนั่ง แถมรัฐบาลท่านพลเอกประยุทธ์ยังเปิดทาง ปล่อยคุณยิ่งลักษณ์ให้หลบหนีไปต่างประเทศอย่างสะดวกสบายอีกด้วย ๓.ต่อมา พอมีการเลือกตั้งใหม่ พรรคท่านพลเอกประยุทธ์พ่ายแพ้เสียงข้างมากในการเลือกตั้ง ก็มีดีลพาคุณทักษิณ ชินวัตรกลับบ้าน มีการเสนออภัยโทษคุณทักษิณ ชินวัตร โดยพลเอกประยุทธ์ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชการโองการ มีวุฒิสมาชิกสายพลเอกประยุทธ์โหวตให้คุณเศรษฐาเป็นนายก แล้วคุณทักษิณ ชินวัตรก็กลับประเทศไทย และทำผิดกติกา ไม่ยอมเข้าคุกแม้แต่วันเดียว เป็นการทำลายระบบนิติธรรมนิติรัฐ คุณทักษิณกลายเป็นผู้กว้างขวางนอกรัฐธรรมนูญหรืออภิสิทธิ์ชนในสังคมไทยขึ้นมา ตอนนี้ คุณทักษิณซึ่งเป็นนักโทษหนีคดีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการจัดตั้งรัฐบาล เป็นผู้นัดพบนักการเมืองพรรคต่างๆ ไปพบ แล้วเอาลูกตัวเองเป็นนายิการัฐมนตรี จะแปลกอะไรถ้าคุณทักษิณจะหลุดคดี ๑๑๒ ด้วย? ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 538 มุมมอง 0 รีวิว
  • 29 สิงหาคม 2567-พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย แถลงปมทักษิณตั้งนายกฯ

    “ คุณเศรษฐาไปตั้งนักโทษเป็นรัฐมนตรี แต่ปัจจุบัน นักโทษมันตั้งนายกรัฐมนตรีเสียเอง แล้วผมจะอยู่ร่วมได้ยังไง ... คุณอุ๊งอิ๊ง แพทองธารจะไปบริหารตรงนี้ ไม่มีหรอก เป็นการบริหารโดยพ่อทั้งนั้น"
    .
    ที่มา : Facebook คุยทุกเรื่องกับสนธิ https://www.facebook.com/sondhitalk/videos/1179302280041631/

    #Thaitimes
    29 สิงหาคม 2567-พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย แถลงปมทักษิณตั้งนายกฯ “ คุณเศรษฐาไปตั้งนักโทษเป็นรัฐมนตรี แต่ปัจจุบัน นักโทษมันตั้งนายกรัฐมนตรีเสียเอง แล้วผมจะอยู่ร่วมได้ยังไง ... คุณอุ๊งอิ๊ง แพทองธารจะไปบริหารตรงนี้ ไม่มีหรอก เป็นการบริหารโดยพ่อทั้งนั้น" . ที่มา : Facebook คุยทุกเรื่องกับสนธิ https://www.facebook.com/sondhitalk/videos/1179302280041631/ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Love
    Sad
    15
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1496 มุมมอง 0 รีวิว
  • "คุณเศรษฐาไปตั้งนักโทษเป็นรัฐมนตรี แต่ปัจจุบัน นักโทษมันตั้งนายกรัฐมนตรีเสียเอง แล้วผมจะอยู่ร่วมได้ยังไง ... คุณอุ๊งอิ๊ง แพทองธารจะไปบริหารตรงนี้ ไม่มีหรอก เป็นการบริหารโดยพ่อทั้งนั้น" --- พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย วันที่ 29 ส.ค 2567
    .
    ชม Live ผ่าน Facebook >> https://www.facebook.com/sondhitalk/videos/1179302280041631/
    "คุณเศรษฐาไปตั้งนักโทษเป็นรัฐมนตรี แต่ปัจจุบัน นักโทษมันตั้งนายกรัฐมนตรีเสียเอง แล้วผมจะอยู่ร่วมได้ยังไง ... คุณอุ๊งอิ๊ง แพทองธารจะไปบริหารตรงนี้ ไม่มีหรอก เป็นการบริหารโดยพ่อทั้งนั้น" --- พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย วันที่ 29 ส.ค 2567 . ชม Live ผ่าน Facebook >> https://www.facebook.com/sondhitalk/videos/1179302280041631/
    Like
    Haha
    9
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 994 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชวนกรีดดีลฟ้า-แดง "คนรุ่นใหม่หาประโยชน์"

    การประชุมคณะกรรมการบริหารและ สส. พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 29 ส.ค. มีเพียงวาระเดียว คือการเข้าร่วมรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย (พท.) ตามที่นายสรวงศ์ เทียนทอง เลขาธิการพรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือเชิญแก่นายเดชอิศม์ ขาวทอง สส.สงขลา และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ท่ามกลางกระแสข่าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า มีความพยายามร่วมรัฐบาลของนายเฉลิมชัย ศรีอ่อน หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ โดยมีเก้าอี้ 1 รัฐมนตรี และ 1 รัฐมนตรีช่วยรออยู่

    เป็นที่ทราบกันดีว่า พรรคประชาธิปัตย์ กับพรรคการเมืองของนายทักษิณ ชินวัตร ต่อสู้ทางการเมืองมานานกว่า 23 ปี ตั้งแต่พรรคไทยรักไทย พรรคพลังประชาชน และพรรคเพื่อไทย ผ่านความขัดแย้งทั้งในสภาและนอกสภาในการชุมนุมกลุ่ม กปปส.

    แต่สัญญาณในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มต้นมาตั้งแต่ปีที่แล้ว (2566) นายเดชอิศม์เดินทางไปพบนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ฮ่องกง ก่อนที่นายทักษิณกลับมารับโทษที่ประเทศไทย ทีแรกปฎิเสธไม่พูดถึง ตอนหลังยอมรับไปเจอกันจริง และเห็นว่าพรรคประชาธิปัตย์ควรร่วมรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายพรรค กระทั่งการโหวตเลือกนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี พบว่ามี สส.ปชป. 16 คน นำโดยนายเดชอิศม์ โหวตสวนมติพรรค หนุนนายเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรี

    แต่ในการโหวตเลือก น.ส.แพทองธาร ครั้งล่าสุด สส.ปชป. 25 คน งดออกเสียง ตามมติพรรคที่ออกมาก่อนหน้านี้ แต่ทั้งนี้ สส.ปชป. กลุ่มนายเฉลิมชัย 21 คน สนใจที่จะเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยอยู่แล้ว มีเพียง 4 สส. ที่ไม่ยอม ได้แก่ นายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ และนายสรรเพชร บุญญามณี สส.สงขลา แต่ก็ไม่อาจต้านทานกลุ่มนายเฉลิมชัยซึ่งเป็นเสียงข้างมากได้

    นายเดชอิศม์ อ้างว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีความขัดแย้ง มีแต่ความรัก ความเข้าใจ และการให้อภัยกัน ต้องเข้าใจว่าเหตุการณ์เมื่อ 20-30 ปีที่ผ่านมา กับปัจจุบันไม่เหมือนกัน ปัญหาของประเทศ แนวคิด การพัฒนาประเทศ ไม่เหมือนกัน ดังนั้น พอถึงเวลาที่เราพูดคุยกันได้ ที่เรารักกัน เป็นสิ่งที่ดีงาม ส่วนที่นายชวนคัดค้านนั้น ก่อนหน้านี้อาจมีความคิดเห็นเป็นสองฝ่าย แต่เมื่อมีมติของพรรคก็ต้องปฏิบัติตาม จากนี้ถ้ามีคนในพรรคโหวตแตกต่างจากมติของพรรคคงทำเช่นนั้นไม่ได้

    ส่วนนายสรวงศ์ กล่าวว่า พรรคเพื่อไทยได้พูดคุยกับนายเฉลิมชัยและนายเดชอิศม์ เมื่อวันที่ 27 ส.ค. ว่าจะยื่นหนังสืออย่างเป็นทางการให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารประเทศ และเป็นรัฐบาลร่วมกัน ส่วนโควตารัฐมนตรีเป็นเรื่องของนายกรัฐมนตรีตนไม่ขอก้าวล่วง ส่วนความขัดแย้งระหว่างสองพรรค เมื่อก่อนก็คือเมื่อก่อน แต่ปัจจุบันมั่นใจว่าในสภาฯ ทุกคน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและประเทศชาติไปได้ด้วยดี

    "ไม่มี สส.พรรคเพื่อไทยคัดค้าน ขอให้นำคำสัมภาษณ์ของนายเดชอิศม์เป็นที่ตั้ง ว่าประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ ทุกอย่างผ่านไปแล้ว ประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ พรรคของพวกเราร่วมต่อสู้กันมานาน แต่วันนี้มาถึงคนรุ่นใหม่ ที่มาดูแลพรรค ส่วนอุดมการณ์ทางการเมือง ก็เป็นเรื่องของอุดมการณ์ ส่วนแนวทางการทำงานเราไปด้วยกันได้แน่นอน"

    นายสรวงศ์ กล่าวว่า ในอดีตอุดมการณ์ทางการเมืองของเพื่อไทย และประชาธิปัตย์ ไม่เหมือนกันเลย แต่วันนี้คนรุ่นใหม่เข้ามาบริหารพรรค หัวหน้าทั้ง 2 พรรค รวมถึงเลขาฯ และสมาชิกพรรคทุกคน มุ่งหน้าไปในทิศทางเดียวกันว่า ปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ต้องได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น เพราะประเทศชาติถอยหลังไปมาก ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องเดินหน้าร่วมกัน อะไรไม่เข้าใจกันหรือความขัดแย้งต้องทิ้งไว้ข้างหลัง

    ส่วนข้อกล่าวหาว่า พรรคเพื่อไทยตระบัดสัตย์นั้น นายสรวงศ์ กล่าวว่า คำนี้ฮิตเหลือเกิน ก็แล้วแต่ ทุกอย่างมองกันที่ผลงาน ต่อจากนี้ไปอีก 3 ปี ตนขออย่างเดียวให้โอกาสนายกฯ และ ครม.ชุดใหม่ได้ทำงาน ถ้าทำอะไรผิด หรือไม่ดีค่อยร้องเรียน ไม่ใช่ออกมาพูดเพียงอย่างเดียว ขอให้ดูที่ผลงาน ส่วนที่นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ ยื่นร้องเรียนกรณีซุกหุ้นของ น.ส.แพทองธาร มีทีมกฎหมายดูอยู่แล้ว และคิดว่าจะไม่เป็นประเด็น

    อย่างไรก็ตาม นายชวน หลีกภัย สส.บัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า ส่วนตัวขอยืนยันในจุดยืนเดิม ไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ที่มีตั้งแต่วันแรกที่การตั้งรัฐบาลชุด ของนายเศรษฐา ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง เพราะไม่สามารถทรยศประชาชนได้ ซึ่งตนเป็นคนขอร้องประชาชนไม่ให้เลือกพรรคไทยรักไทย พรรคเพื่อไทย ไม่ใช่เพราะความขัดแย้งส่วนตัว แต่เป็นเพราะพรรคเหล่านั้น ประกาศชัดเจนที่จะพัฒนาจังหวัดที่เลือกเขาก่อน ส่วนจังหวัดอื่นไว้ทีหลัง

    "วิธีเหล่านี้เราไม่เคยเห็นมาก่อน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา 90 ปี ไม่เคยมีรัฐบาลชุดไหน ไม่ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากการยึดอำนาจ ยิ่งพรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล จะให้ความเป็นธรรมกับทุกภาคอย่างยุติธรรม โดยไม่สนใจว่าใครจะเลือกใครเป็นรัฐบาล แต่จัดการบ้านเมืองด้วยความเป็นธรรม"

    "ต้องยอมรับว่าเรื่องการเลือกปฏิบัติ ผมต่อสู้มาเพียงลำพัง ด้วยการขอว่าอย่าเลือกเขานะ ไม่ได้ไปกลั่นแกล้งหรือทำร้ายอย่างที่ นายราเมศ รัตนะเชวง อดีดโฆษกพรรคฯ เคยถูกกระทำ ทำให้เขาได้รับเลือกน้อยมาก ไม่มี สส.ภาคใต้แม้แต่คนเดียว ซึ่งเป็นผลมาจากที่ผมรณรงค์ แล้ววันหนึ่งจะมาบอกให้ผมสนับสนุนพรรคที่ผมบอกว่าอย่าเลือก มันชัดเจนว่าเป็นการทรยศชาวบ้านผมทำไม่ได้ จึงขอยืนยันว่า แม้เปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี แต่จุดยืนผมยังเหมือนเดิม"

    นายชวนกล่าวอีกว่า มติของพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ใช่การเห็นด้วย เพราะมีการติดต่อกันแล้ว ที่มาถามว่า เขามาเชิญ ความจริง ตนคิดว่าคนของเราไปติดต่อเขาก่อนเขาเชิญ หรือสงสัยว่าไปขอให้เขามาเชิญด้วยซ้ำ แต่ตามมารยาท ก็มาเชิญด้วยวิธีนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้าที่จะมีหนังสือเชิญ คนของเราบางคนก็ไปประสานติดต่อ จึงถูกสื่อมวลชนเรียกว่า พรรคอีแอบ พรรครอเสียบ จึงอยากขออย่าเรียกพรรคประชาธิปัตย์ แบบนี้ เพราะเป็นพฤติกรรมของคนส่วนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่คนส่วนใหญ่

    "การเรียกแบบนี้ทำให้พรรคเสื่อมเสีย ตนอยากปกป้องเกียรติภูมิของพรรค เราไม่ใช่พรรคเฉพาะกิจ ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้คนใดคนหนึ่งได้เป็นนายกฯ อยู่สัก 1-2 สมัยแล้วล้มไป แต่พรรคประชาธิปัตย์ อยู่มาเกือบ 80 ปี ปฏิบัติตามอุดมการณ์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นหลักประชาธิปไตยมาอย่างยาวนาน ไม่อยากให้เสื่อมเสียด้วยการกระทำของ กก.บห.พรรคชุดปัจจุบัน"

    "ยอมรับว่าผมเป็นเสียงข้างน้อยในพรรคฯ ที่ชัดเจนตั้งแต่มีการลงมติเลือกนายเศรษฐาเป็นนายกฯ และผมได้หารือกับนายบัญญัติ นายจุรินทร์ และนายสรรเพชญ ว่าอย่างน้อย 4 คน จะยังคงยืนยันในจุดยืนเดิม แต่ไม่ว่ามติของพรรคฯเป็นอย่างไร ก็พร้อมจะเคารพ เพียงแต่ไม่เห็นด้วยที่จะร่วมกับพรรคการเมืองที่เคยกลั่นแกล้งประชาชน และเชื่อว่าการตัดสินใจร่วมรัฐบาลในครั้งนี้ จะส่งผลต่อฐานเสียงภาคใต้ไม่น้อย"

    เมื่อถามว่าคนรุ่นใหม่มองว่าหมดยุคของนายชวนแล้ว นายชวน กล่าวว่า มันไม่มีกำหนดอายุ มีคนคิดเหมือนกันว่าตนเป็นขวากหนามของเขา ทำให้ไปร่วมรัฐบาลไม่ได้ จึงพยายามพูดว่าหมดยุคของผู้อาวุโส แต่ในความจริงแล้ว ตนเป็นผู้สร้างมากกว่าผู้ทำลาย และคนที่พูดเหล่านั้นอาศัยบารมีพรรค ที่พวกตนทำเอาไว้ แต่คนเหล่านั้นยังไม่เคยทำอะไรที่เป็นประโยชน์กับพรรคเลย เพียงแต่อาศัยชื่อพรรคเพื่อเข้ามาเป็นนักการเมือง ตนก็เคยได้ยินเรื่องนี้แต่ไม่ได้โกรธ แม้กระทั่ง เรื่องที่จะขับพ้นออกจากพรรค ก็มาดูว่าใครเป็นคนพูด พอทราบก็เข้าใจเพราะเขาก็เพิ่งเข้าพรรคมาอาศัยบารมีของพรรคที่คนรุ่นก่อนเขาสะสมสร้างมา นายเฉลิมชัย เป็นหัวหน้าพรรคฯ คนที่ 9 ยังไม่ได้สร้างความน่าเชื่อถือให้พรรคฯเท่ากับรุ่นก่อน

    "ดังนั้น ใครที่คิดจะปลดต้องดูกฎหมาย ซึ่งไม่ได้กำหนดอายุ ผมยังคงทำหน้าที่ของตัวเองอยู่ ผมกลายเป็นคนหัวคัดค้าน ทั้งที่มีหลายคนไม่เห็นด้วย แต่เขาไม่อยากเปลืองตัว เป็นการกระทำของคนบางกลุ่ม ทำให้คนทั่วไปยังเข้าใจว่า ประชาธิปัตย์ยังพอใช้ได้อยู่ เพียงแต่คนบางกลุ่มเท่านั้นที่เข้ามาใช้ตำแหน่งในพรรคเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของตัวเอง ซึ่งคนกลุ่มนั้นไม่รู้ว่าจะทำยังไงกับผม จนพยายามจะบอกว่าขัดแย้งมาแล้ว 20 ปี จึงอยากถามว่าขัดแย้งเรื่องอะไร ไม่ได้ทะเลาะเพื่อประโยชน์ส่วนตัวกัน แต่เป็นเรื่องของประชาชน"

    เมื่อถามว่านายชวนจะลงสู้ศึกเลือกตั้งครั้งหน้าหรือไม่ นายชวน กล่าวว่า ไม่สามารถยืนยันชัดเจนได้ เพราะไม่อยากพูดอะไรไปล่วงหน้า

    #Newskit #พรรคประชาธิปัตย์ #รัฐบาลแพทองธาร
    ชวนกรีดดีลฟ้า-แดง "คนรุ่นใหม่หาประโยชน์" การประชุมคณะกรรมการบริหารและ สส. พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 29 ส.ค. มีเพียงวาระเดียว คือการเข้าร่วมรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย (พท.) ตามที่นายสรวงศ์ เทียนทอง เลขาธิการพรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือเชิญแก่นายเดชอิศม์ ขาวทอง สส.สงขลา และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ท่ามกลางกระแสข่าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า มีความพยายามร่วมรัฐบาลของนายเฉลิมชัย ศรีอ่อน หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ โดยมีเก้าอี้ 1 รัฐมนตรี และ 1 รัฐมนตรีช่วยรออยู่ เป็นที่ทราบกันดีว่า พรรคประชาธิปัตย์ กับพรรคการเมืองของนายทักษิณ ชินวัตร ต่อสู้ทางการเมืองมานานกว่า 23 ปี ตั้งแต่พรรคไทยรักไทย พรรคพลังประชาชน และพรรคเพื่อไทย ผ่านความขัดแย้งทั้งในสภาและนอกสภาในการชุมนุมกลุ่ม กปปส. แต่สัญญาณในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มต้นมาตั้งแต่ปีที่แล้ว (2566) นายเดชอิศม์เดินทางไปพบนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ฮ่องกง ก่อนที่นายทักษิณกลับมารับโทษที่ประเทศไทย ทีแรกปฎิเสธไม่พูดถึง ตอนหลังยอมรับไปเจอกันจริง และเห็นว่าพรรคประชาธิปัตย์ควรร่วมรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายพรรค กระทั่งการโหวตเลือกนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี พบว่ามี สส.ปชป. 16 คน นำโดยนายเดชอิศม์ โหวตสวนมติพรรค หนุนนายเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ในการโหวตเลือก น.ส.แพทองธาร ครั้งล่าสุด สส.ปชป. 25 คน งดออกเสียง ตามมติพรรคที่ออกมาก่อนหน้านี้ แต่ทั้งนี้ สส.ปชป. กลุ่มนายเฉลิมชัย 21 คน สนใจที่จะเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยอยู่แล้ว มีเพียง 4 สส. ที่ไม่ยอม ได้แก่ นายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ และนายสรรเพชร บุญญามณี สส.สงขลา แต่ก็ไม่อาจต้านทานกลุ่มนายเฉลิมชัยซึ่งเป็นเสียงข้างมากได้ นายเดชอิศม์ อ้างว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีความขัดแย้ง มีแต่ความรัก ความเข้าใจ และการให้อภัยกัน ต้องเข้าใจว่าเหตุการณ์เมื่อ 20-30 ปีที่ผ่านมา กับปัจจุบันไม่เหมือนกัน ปัญหาของประเทศ แนวคิด การพัฒนาประเทศ ไม่เหมือนกัน ดังนั้น พอถึงเวลาที่เราพูดคุยกันได้ ที่เรารักกัน เป็นสิ่งที่ดีงาม ส่วนที่นายชวนคัดค้านนั้น ก่อนหน้านี้อาจมีความคิดเห็นเป็นสองฝ่าย แต่เมื่อมีมติของพรรคก็ต้องปฏิบัติตาม จากนี้ถ้ามีคนในพรรคโหวตแตกต่างจากมติของพรรคคงทำเช่นนั้นไม่ได้ ส่วนนายสรวงศ์ กล่าวว่า พรรคเพื่อไทยได้พูดคุยกับนายเฉลิมชัยและนายเดชอิศม์ เมื่อวันที่ 27 ส.ค. ว่าจะยื่นหนังสืออย่างเป็นทางการให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารประเทศ และเป็นรัฐบาลร่วมกัน ส่วนโควตารัฐมนตรีเป็นเรื่องของนายกรัฐมนตรีตนไม่ขอก้าวล่วง ส่วนความขัดแย้งระหว่างสองพรรค เมื่อก่อนก็คือเมื่อก่อน แต่ปัจจุบันมั่นใจว่าในสภาฯ ทุกคน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและประเทศชาติไปได้ด้วยดี "ไม่มี สส.พรรคเพื่อไทยคัดค้าน ขอให้นำคำสัมภาษณ์ของนายเดชอิศม์เป็นที่ตั้ง ว่าประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ ทุกอย่างผ่านไปแล้ว ประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ พรรคของพวกเราร่วมต่อสู้กันมานาน แต่วันนี้มาถึงคนรุ่นใหม่ ที่มาดูแลพรรค ส่วนอุดมการณ์ทางการเมือง ก็เป็นเรื่องของอุดมการณ์ ส่วนแนวทางการทำงานเราไปด้วยกันได้แน่นอน" นายสรวงศ์ กล่าวว่า ในอดีตอุดมการณ์ทางการเมืองของเพื่อไทย และประชาธิปัตย์ ไม่เหมือนกันเลย แต่วันนี้คนรุ่นใหม่เข้ามาบริหารพรรค หัวหน้าทั้ง 2 พรรค รวมถึงเลขาฯ และสมาชิกพรรคทุกคน มุ่งหน้าไปในทิศทางเดียวกันว่า ปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ต้องได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น เพราะประเทศชาติถอยหลังไปมาก ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องเดินหน้าร่วมกัน อะไรไม่เข้าใจกันหรือความขัดแย้งต้องทิ้งไว้ข้างหลัง ส่วนข้อกล่าวหาว่า พรรคเพื่อไทยตระบัดสัตย์นั้น นายสรวงศ์ กล่าวว่า คำนี้ฮิตเหลือเกิน ก็แล้วแต่ ทุกอย่างมองกันที่ผลงาน ต่อจากนี้ไปอีก 3 ปี ตนขออย่างเดียวให้โอกาสนายกฯ และ ครม.ชุดใหม่ได้ทำงาน ถ้าทำอะไรผิด หรือไม่ดีค่อยร้องเรียน ไม่ใช่ออกมาพูดเพียงอย่างเดียว ขอให้ดูที่ผลงาน ส่วนที่นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ ยื่นร้องเรียนกรณีซุกหุ้นของ น.ส.แพทองธาร มีทีมกฎหมายดูอยู่แล้ว และคิดว่าจะไม่เป็นประเด็น อย่างไรก็ตาม นายชวน หลีกภัย สส.บัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า ส่วนตัวขอยืนยันในจุดยืนเดิม ไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ที่มีตั้งแต่วันแรกที่การตั้งรัฐบาลชุด ของนายเศรษฐา ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง เพราะไม่สามารถทรยศประชาชนได้ ซึ่งตนเป็นคนขอร้องประชาชนไม่ให้เลือกพรรคไทยรักไทย พรรคเพื่อไทย ไม่ใช่เพราะความขัดแย้งส่วนตัว แต่เป็นเพราะพรรคเหล่านั้น ประกาศชัดเจนที่จะพัฒนาจังหวัดที่เลือกเขาก่อน ส่วนจังหวัดอื่นไว้ทีหลัง "วิธีเหล่านี้เราไม่เคยเห็นมาก่อน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา 90 ปี ไม่เคยมีรัฐบาลชุดไหน ไม่ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากการยึดอำนาจ ยิ่งพรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล จะให้ความเป็นธรรมกับทุกภาคอย่างยุติธรรม โดยไม่สนใจว่าใครจะเลือกใครเป็นรัฐบาล แต่จัดการบ้านเมืองด้วยความเป็นธรรม" "ต้องยอมรับว่าเรื่องการเลือกปฏิบัติ ผมต่อสู้มาเพียงลำพัง ด้วยการขอว่าอย่าเลือกเขานะ ไม่ได้ไปกลั่นแกล้งหรือทำร้ายอย่างที่ นายราเมศ รัตนะเชวง อดีดโฆษกพรรคฯ เคยถูกกระทำ ทำให้เขาได้รับเลือกน้อยมาก ไม่มี สส.ภาคใต้แม้แต่คนเดียว ซึ่งเป็นผลมาจากที่ผมรณรงค์ แล้ววันหนึ่งจะมาบอกให้ผมสนับสนุนพรรคที่ผมบอกว่าอย่าเลือก มันชัดเจนว่าเป็นการทรยศชาวบ้านผมทำไม่ได้ จึงขอยืนยันว่า แม้เปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี แต่จุดยืนผมยังเหมือนเดิม" นายชวนกล่าวอีกว่า มติของพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ใช่การเห็นด้วย เพราะมีการติดต่อกันแล้ว ที่มาถามว่า เขามาเชิญ ความจริง ตนคิดว่าคนของเราไปติดต่อเขาก่อนเขาเชิญ หรือสงสัยว่าไปขอให้เขามาเชิญด้วยซ้ำ แต่ตามมารยาท ก็มาเชิญด้วยวิธีนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้าที่จะมีหนังสือเชิญ คนของเราบางคนก็ไปประสานติดต่อ จึงถูกสื่อมวลชนเรียกว่า พรรคอีแอบ พรรครอเสียบ จึงอยากขออย่าเรียกพรรคประชาธิปัตย์ แบบนี้ เพราะเป็นพฤติกรรมของคนส่วนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่คนส่วนใหญ่ "การเรียกแบบนี้ทำให้พรรคเสื่อมเสีย ตนอยากปกป้องเกียรติภูมิของพรรค เราไม่ใช่พรรคเฉพาะกิจ ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้คนใดคนหนึ่งได้เป็นนายกฯ อยู่สัก 1-2 สมัยแล้วล้มไป แต่พรรคประชาธิปัตย์ อยู่มาเกือบ 80 ปี ปฏิบัติตามอุดมการณ์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นหลักประชาธิปไตยมาอย่างยาวนาน ไม่อยากให้เสื่อมเสียด้วยการกระทำของ กก.บห.พรรคชุดปัจจุบัน" "ยอมรับว่าผมเป็นเสียงข้างน้อยในพรรคฯ ที่ชัดเจนตั้งแต่มีการลงมติเลือกนายเศรษฐาเป็นนายกฯ และผมได้หารือกับนายบัญญัติ นายจุรินทร์ และนายสรรเพชญ ว่าอย่างน้อย 4 คน จะยังคงยืนยันในจุดยืนเดิม แต่ไม่ว่ามติของพรรคฯเป็นอย่างไร ก็พร้อมจะเคารพ เพียงแต่ไม่เห็นด้วยที่จะร่วมกับพรรคการเมืองที่เคยกลั่นแกล้งประชาชน และเชื่อว่าการตัดสินใจร่วมรัฐบาลในครั้งนี้ จะส่งผลต่อฐานเสียงภาคใต้ไม่น้อย" เมื่อถามว่าคนรุ่นใหม่มองว่าหมดยุคของนายชวนแล้ว นายชวน กล่าวว่า มันไม่มีกำหนดอายุ มีคนคิดเหมือนกันว่าตนเป็นขวากหนามของเขา ทำให้ไปร่วมรัฐบาลไม่ได้ จึงพยายามพูดว่าหมดยุคของผู้อาวุโส แต่ในความจริงแล้ว ตนเป็นผู้สร้างมากกว่าผู้ทำลาย และคนที่พูดเหล่านั้นอาศัยบารมีพรรค ที่พวกตนทำเอาไว้ แต่คนเหล่านั้นยังไม่เคยทำอะไรที่เป็นประโยชน์กับพรรคเลย เพียงแต่อาศัยชื่อพรรคเพื่อเข้ามาเป็นนักการเมือง ตนก็เคยได้ยินเรื่องนี้แต่ไม่ได้โกรธ แม้กระทั่ง เรื่องที่จะขับพ้นออกจากพรรค ก็มาดูว่าใครเป็นคนพูด พอทราบก็เข้าใจเพราะเขาก็เพิ่งเข้าพรรคมาอาศัยบารมีของพรรคที่คนรุ่นก่อนเขาสะสมสร้างมา นายเฉลิมชัย เป็นหัวหน้าพรรคฯ คนที่ 9 ยังไม่ได้สร้างความน่าเชื่อถือให้พรรคฯเท่ากับรุ่นก่อน "ดังนั้น ใครที่คิดจะปลดต้องดูกฎหมาย ซึ่งไม่ได้กำหนดอายุ ผมยังคงทำหน้าที่ของตัวเองอยู่ ผมกลายเป็นคนหัวคัดค้าน ทั้งที่มีหลายคนไม่เห็นด้วย แต่เขาไม่อยากเปลืองตัว เป็นการกระทำของคนบางกลุ่ม ทำให้คนทั่วไปยังเข้าใจว่า ประชาธิปัตย์ยังพอใช้ได้อยู่ เพียงแต่คนบางกลุ่มเท่านั้นที่เข้ามาใช้ตำแหน่งในพรรคเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของตัวเอง ซึ่งคนกลุ่มนั้นไม่รู้ว่าจะทำยังไงกับผม จนพยายามจะบอกว่าขัดแย้งมาแล้ว 20 ปี จึงอยากถามว่าขัดแย้งเรื่องอะไร ไม่ได้ทะเลาะเพื่อประโยชน์ส่วนตัวกัน แต่เป็นเรื่องของประชาชน" เมื่อถามว่านายชวนจะลงสู้ศึกเลือกตั้งครั้งหน้าหรือไม่ นายชวน กล่าวว่า ไม่สามารถยืนยันชัดเจนได้ เพราะไม่อยากพูดอะไรไปล่วงหน้า #Newskit #พรรคประชาธิปัตย์ #รัฐบาลแพทองธาร
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1408 มุมมอง 0 รีวิว
  • รีโพสต์ทัศนะของ วีระ ธีรภัทร จากเพจเฟซบุ๊ก สำนักพิมพ์โรนิน 25 สิงหาคม 2567

    “ คอลัมน์ ปากท้องชาวบ้าน

    ไม่มีอะไรจะเละไปกว่านี้(แล้ว)

    แม้ว่าผมจะไม่ห่วงเรื่องอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในขณะนี้ก็ตาม

    แต่ก็อดคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๔ ไม่ได้

    หลังการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมในปีนั้น พรรคเพื่อไทยเอาชนะพรรคประชาธิปัตย์แบบถล่มทลายสามารถจัดตั้งรัฐบาลโดยมีคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีได้สำเร็จ

    อุทกภัยน้ำท่วมใหญ่ตามมาพร้อมกับการเป็นรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นั่นเลยกลายเป็นบททดสอบความสามารถในการบริหารจัดการของรัฐบาลใหม่แบบชนิดไม่ทันได้ตั้งตัว

    ผลเป็นไงคงพอจำกันได้

    บัดนี้เราได้รัฐบาลใหม่ มีคุณแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี แม้ว่าในขณะนี้ยังยุ่งขิงอยู่กับการสรรหาบุคคลมาเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลไม่เสร็จ (อันนี้เละเทะมาก) ยังไม่สามารถเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มรูปแบบ

    แต่น้ำเหนือก็หลากมาแล้ว แม้จะไม่น่ากลัวสำหรับคนกรุงเทพและปริมณฑลเหมือนกับเมื่อสิบสามปีก่อนหน้านี้ก็ตามที

    อะไรมันจะซ้ำซากกันได้ถึงขนาดนี้

    แต่นั่นก็ไม่ใช่ประเด็นข้อใหญ่ในความของเรื่องที่ผมจะคุยอะไรให้ฟังวันนี้ ครับ

    ในช่วงหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมามีอะไรต่อมิอะไรเกิดขึ้นมากมาย หลายเรื่องไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ถึงขนาดนั้น แม้ผมจะพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุพอสมควร

    ผมเลยอยากจะเล่าอะไรต่อมิอะไรให้คุณฟังแบบเพลินๆ เท่าที่จะคิดได้เป็นสำคัญ

    แน่นอนล่ะครับว่ารายการ Vision For Thailand ในช่วงหัวค่ำของคืนวันพฤหัสบดีที่ ๒๒ สิงหาคมที่คุณทักษิณ ชินวัตร ไปแสดงวิสัยทัศน์ท่ามกลางคนมีอำนาจในแวดวงการเมืองและธุรกิจภาคเอกชนจำนวนมากนั้น ย่อมอยู่ในความสนใจของผู้คน จนลืมกันไปหมดว่าวันดังกล่าวตรงกับวันครบรอบหนึ่งปีของการเดินทางกลับประเทศไทยของคุณทักษิณ

    ความเป็นคุณทักษิณ ความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของพรรคเพื่อไทย และด้วยอำนาจวาสนาบารมีที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แม้จะพร่องไปบ้างในช่วงสิบห้าปีที่ลี้ภัยทางการเมืองในต่างแดน

    สิ่งที่คุณทักษิณคิดจึงมองข้ามไม่ได้

    ทักษิณคิดเพื่อไทยทำอย่างที่รู้ๆ กัน

    ผมและคนอื่นๆ อีกไม่น้อยจึงเสียยอมเวลาฟังสิ่งที่คุณทักษิณคิดและอยากให้เกิดกับสังคมไทยในอนาคตตลอดหนึ่งชั่วโมงเศษที่แกคุยอยู่คนเดียวด้วยความตั้งอกตั้งใจ

    สำหรับผมสิ่งที่คุณทักษิณคิดออกมาดังๆ ไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นประเด็นปัญหาที่เราพอรู้พอทราบกันอยู่ แต่ความน่าสนใจอยู่ตรงที่ว่าสิ่งที่คุณทักษิณ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจะเอาไปทำหรืออย่างน้อยก็เอาไปคิดต่อว่าจะทำต่อไปเป็นประเด็นที่น่าสนใจมากเป็นพิเศษ

    ตรงนี้จึงมีความหมายมากกว่าการแสดงความคิดเห็นของคนทั่วไป

    แม้ว่าข้อเสนอจำนวนมากเป็นเรื่องที่ผมพอทราบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง โครงการดิจิทัลวอลเลต การชี้นำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยลดดอกเบี้ยและเพิ่มการให้สินเชื่อเพื่อเป็นการเติมสภาพคล่องให้กับภาคเศรษฐกิจ โครงการแลนด์บริดจ์ โครงการค่าโดยสารรถไฟฟ้า ๒๐ บาทตลอดสาย โครงการเอ็นเทอร์เทนเมนท์คอมเพล็กซ์ กองทุนวายุภักษ์ ฯลฯ ล้วนเป็นประเด็นที่จะต้องมีการตัดสินใจและขับเคลื่อนกันต่อไปในรัฐบาลของคุณแพทองธาร ชินวัตร ต่อไป

    นี่จึงเป็นข้อเสนอคำแนะนำที่ไม่ธรรมดาเพราะสามารถจะกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลได้อย่างแยบคาย

    ผมจะไม่วิพากษ์วิจารณ์อะไรในเรื่องที่ว่าในตอนนี้ อยากจะรอดูก่อนว่าข้อเสนอดังกล่าวจะกลายเป็นนโยบายและมาตรการของรัฐบาลคุณแพทองธารในเนื้อหารายละเอียดอย่างไรให้ชัดเจนเสียก่อน

    แถมอันที่จริงแล้วในช่วงนี้ต้องบอกว่า ผมอยู่ในช่วงที่ผ่อนคลายมากมีเวลาเหลือมากขึ้น แถมได้ทำสิ่งที่ไม่ได้ทำมานานมากแล้วอีกต่างหาก

    ลำดับแรกเลย งานในฐานะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ซึ่งผมต้องไปประชุมรวมกันถึง ๔๐ ครั้งตลอดระยะเวลาสองเดือนเต็มๆ ที่ผ่านมา (นับหนึ่งวันจันทร์ที่ ๒๔ มิถุนายน) ถือว่าจบสิ้นแล้วในแง่ของกระบวนการพิจารณา แม้ยังไม่จบเสียทีเดียวเพราะต้องมีพิธีกรรมอีกเล็กน้อยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์หน้า

    วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคมจะเป็นการประชุมครั้งที่ ๔๑ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของกรรมาธิการเพื่อตรวจทานและลงมติรับร่างพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ว่าจะเอาแบบไหน? อย่างไร? โดยมีกรรมาธิการและสส.จำนวนไม่น้อย ได้สงวนความเห็นและขอแปรญัตติเพื่อจะไปอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะมีการลงมติให้ความเห็นชอบในวาระที่ ๒ และ ๓ ในช่วงวันที่ ๓-๕ กันยายนที่จะถึงนี้

    อันนี้น่าสนใจติดตามฟังกันครับ

    งานที่ว่านี้ดำเนินไปโดยยังไม่มีรัฐบาลใหม่ มีแต่เพียงนายกรัฐมนตรีที่ยังไม่สามารถเข้าปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินได้

    นี่ต้องบอกว่าเป็นเรื่องแปลก แม้ผมจะเข้าใจว่าทำไมถึงเป็นเช่นนั้นก็ตามที

    ลำดับถัดมา ผมไปร่วมรายการ BOT Press Trip 2024 ที่โรงแรม Andaz แถวหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี แม้จะห่างเหินจากการไปร่วมงานในฐานะสื่อมวลชนกับธนาคารแห่งประเทศไทยแบบนี้มานานมากแล้ว แต่ที่ผมอยากไปก็เพราะว่างานนี้มีประเด็นที่ผมอยากสอบถามให้แน่ใจว่าอะไรเป็นอะไรจากปากของผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นโอกาสดีมากเพราะว่าไปกันครบถ้วนเกือบทั้งหมด เหมือนเราไปเดินห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อของที่ต้องการได้ทั้งหมดในสถานที่เพียงแห่งเดียว

    ผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย นำโดยคุณเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ปีหน้าครบวาระห้าปีเป็นต่อไม่ได้) พร้อมกับรองผู้ว่าการและผู้ช่วยผู้ว่าการ ๑๑ คนโดยไม่รวมระดับผู้บริหารระดับปฏิบัติการในฝ่ายต่างๆ ที่มากันเป็นกองทัพ

    อะไรที่ผมสงสัยไม่แน่ใจในเรื่องนโยบายการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยบริหารจัดการอยู่ในเวลานี้ จึงถือโอกาสไปร่วมงานนี้ สอบถามพูดคุยกับคนที่ดูแลนโยบายและคนที่ลงมือปฏิบัติการจริงเพื่อให้เกิดความชัดเจนและได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน

    เอาเป็นว่าเรื่องระหว่างรัฐบาล กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่เคยปีนเกลียวกันในช่วงรัฐบาลคุณเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมาและที่อาจจะมีการปะทะปะทั่งกันในช่วงรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร ในอนาคตอันใกล้นี้

    ผมพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุแล้ว

    เรื่องหลายเรื่องที่รัฐบาลอยากทำแล้วทำไม่ได้ เรื่องหลายเรื่องที่ถกเถียงกันระหว่างรัฐบาลกับธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าควรทำแบบไหนไม่ควรทำแบบไหน ไม่ว่าจะเป็นโครงการดิจิตอลวอลเลต การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโบบาย ฯลฯ

    การได้พูดคุยกับคนที่เกี่ยวข้องโดยตรง ทำให้ผมพอปะติดปะต่อภาพได้เกือบครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว

    จะเอาไปทำอะไรต่อที่ไหน? อย่างไร? และเมื่อไหร่? เดี๋ยวค่อยมาว่ากันครับ

    ผมยังมีเรื่องอยากจะเล่าให้ฟังเพิ่มเติมแบบลงรายละเอียดสักหน่อย เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลเอาไว้ตรงนี้เพื่อให้คุณๆ ได้ติดตามความเป็นไปของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังได้อย่างครบถ้วนอยู่เรื่องหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นควรรู้ควรทราบอย่างยิ่ง

    เรื่องของเรื่องก็คือในช่วงสุดท้ายของการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางรัฐบาลโดยสำนักงบประมาณได้เสนอขอเปลี่ยนแปลงรายการจัดสรรเงินงบประมาณให้กับรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งเป็นเงินรวมกัน ๓๕,๐๐๐ ล้านบาท

    รายการที่ว่านั้นเป็นการตั้งงบประมาณชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ให้หน่วยงานของรัฐออกเงินไปให้ก่อนตามมาตรา ๒๘ ของพรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยโอนย้ายไปเป็นรายการในงบกลางแทน โดยระบุว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข็มแข็งของเศรษฐกิจ (อันนี้เป็นชื่อของโครงการดิจิตอลวอลเลตที่รัฐบาลจะทำในเอกสารงบประมาณ) เพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ๑๕๒,๗๐๐ ล้านบาท

    นั่นเลยทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการดิจิตอลวอลเลตในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๘ เพิ่มเป็น ๑๘๗,๗๐๐ ล้านบาทเรียบร้อยแล้ว แต่จะหาจากไหนสำหรับส่วนที่เหลืออีก ๙๗,๓๐๐ ล้านบาทเพื่อให้ครบ ๒๘๕,๐๐๐ ล้านบาท

    อันนี้น่าสนใจ

    ผมอยากให้ข้อมูลตรงนี้เพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงโอนย้ายรายจ่ายที่จะจัดสรรให้รัฐวิหาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งที่ว่าไปไว้ที่อื่นนั้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรดูเหมือนจะเจอหนักกว่าใครเพื่อน เพราะเงินที่คาดว่าจะได้รับการชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ธ.ก.ส.แบกรับภาระอยู่ประมาณ ๓๑,๒๐๐ ล้านบาท (จากยอดทั้งหมดประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ล้านบาท) จะถูกเลื่อนออกไป

    แบบนี้อธิบายแบบชาวบ้านก็คือรัฐบาลขอต๊ะหนี้ที่มีกับธ.ก.ส.ไว้ก่อน ส่วนจะชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยให้เมื่อไหร่? ค่อยไปว่ากันในอนาคต

    เรื่องนี้ผมคัดค้านอย่างเต็มที่ตอนที่ถกเถียงกันในที่ประชุมของคณะกรรมาธิการฯ

    แต่เมื่อเสียงข้างมากของกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยเฉพาะกรรมาธิการที่มาในสัดส่วนของคณะรัฐมนตรีและพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาลได้ลงมติให้เป็นไปตามนั้น ผมจึงกลายเป็นกรรมาธิการเสียงข้างน้อยในกรณีนี้

    แม้ว่าเรื่องนี้ยังไม่จบจะต้องไปว่ากันต่อในที่ประชุมวาระที่ ๒ และ ๓ เพื่อให้สส.ลงมติให้ความเห็นชอบสุดท้ายก็ตามที

    แต่เรื่องนี้บอกเราได้อย่างหนึ่งว่าโครงการดิจิตอลวอลเลตยังเดินหน้าเต็มตัว แม้จะปรับเปลี่ยนไปเป็นการจ่ายเงินสดให้กลุ่มเปราะบางไปก่อนในเฟสแรกหรือระลอกแรก (หลักๆ คือผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐของผู้มีรายได้น้อย) ทั้งเพื่อให้ทันใช้เงินให้หมดภายในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๗ ซึ่งจะสิ้นสุดภายในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้

    ส่วนจะเป็นเท่าไหร่กันแน่ระหว่างวงเงิน ๑๔๕,๐๐๐ หรือ ๑๖๕,๐๐๐ ล้านบาทนั้นคงต้องรอรัฐบาลแถลงนโยบายรัฐสภาต่อไปถึงจะชัดเจน

    พายุหมุนทางเศรษฐกิจที่พูดๆ กันก่อนหน้านี้คงไม่ใช่แล้วสำหรับตอนนี้

    แต่ก็อย่างที่บอกมาโดยตลอดแหละครับว่า ผมจะไม่หมกมุ่นอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งนานเกินความจำเป็น

    แม้จะมีเรื่องอะไรต่อมิอะไรมากมายอย่างที่ว่าก็จริง แต่ผมก็แบ่งเวลาเพื่อทำงานที่ผมชอบอยู่เสมอ โชคดีว่าเมื่อวันศุกร์ก่อนที่จะเดินทางมาหาดจอมเทียน เพื่อร่วมงานกับธนาคารแห่งประเทศไทย ทางสำนักพิมพ์โรนินได้ส่งต้นฉบับหนังสือสองเล่มมาให้ผมตรวจทานรอบสุดท้าย

    เที่ยวเขมรฉบับพกพา และ ส่องภาพเขียนที่รัสเซีย

    ผมก็เลยเพลิดเพลินกับการอ่านหนังสือเล่มตัวอย่างก่อนที่จะส่งไปให้สำนักพิมพ์ไปจัดการให้ทางโรงพิมพ์ดำเนินการพิมพ์เพื่อจำหน่ายจ่ายแจกต่ออีกทอดในอนาคต

    แต่ที่น่ายินดีเป็นที่สุดก็คือเมื่อจบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๖๘ ในช่วงต้นเดือนกันยายน (วันที่ ๓-๕ กันยายน) ก็ได้เวลาที่ผมจะไปพักผ่อนปลีกวิเวกเป็นการชั่วคราวที่ญี่ปุ่น (ดูภาพเขียน-ออนเซน) พร้อมกับวางแผนเดินทางไปรัสเซีย (ดูภาพเขียนกับเที่ยวชมเมือง) ในช่วงต้นเดือนตุลาคม และเตรียมการจะไปเที่ยวเขมรนครวัด-นครธมในช่วงต้นเดือนธันวาคมนี้ไปพร้อมกันด้วย

    พ้นจากนั้นจะไปทำอะไรที่ไหนค่อยว่ากันใหม่

    เมื่อมองย้อนกลับไปดูสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี ๒๕๖๗ มาจนถึงตอนนี้ ต้องบอกเลยว่าปีนี้เป็นปีที่ดีอีกปีหนึ่งของผม ได้ทำอะไรเยอะแยะไปหมด สะสางงานเก่าเริ่มงานใหม่และก้าวเข้าไปในพรมแดนใหม่ที่ไม่เคยคิดว่าจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอีกต่างหาก

    แม้ว่าบ้านเมืองของเรายามนี้ จะไม่มีอะไรให้เละมากไปกว่านี้ได้แล้วก็ตามที

    การเจริญอุเบกขาธรรมจึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดครับ


    ป.ล. เรื่องการฟอร์มคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร นี่ต้องบอกว่าไม่ง่ายเลยครับ งานนี้เราต้องปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเมืองไทย อย่าเพิ่งรำคาญอย่าไปหงุดหงิด แม้จะดูแล้วเละตุ้มเป๊ะได้ถึงขนาดนี้ พรรคพลังประชารัฐกับพรรคประชาธิปัตย์จะพาตัวเองให้รอดจากสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นความขัดแย้งรุนแรงในภายพรรคในเวลานี้ เพราะประเด็นการร่วมรัฐบาลของพรรคและการเป็นรัฐมนตรีของผู้บริหารของพรรคได้อย่างไร คงจะมีคำตอบภายในเร็ววันนี้

    การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐในช่วงวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายนที่จะถึงนี้ ถ้าหากฟังจากที่นายเจอโรม พาวเวล (Jerome Powell) ประธานธนาคารกลางไปพูดที่เมืองตากอากาศแจคสันโฮล ในรัฐไวโอมิงว่าถึงเวลาต้องปรับนโยบายการเงินด้วยการลดดอกเบี้ยนโยบายได้แล้ว เพราะหมดห่วงเรื่องเงินเฟ้อแล้ว แต่มาห่วงเรื่องการว่างงานแทนจึงทำให้ต้องลดดอกเบี้ย นั่นก็หมายความว่าการลดอัตราดอกเบี้ยนนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐที่กำหนดไว้ร้อยละ ๕.๒๕-๕.๕๐ ในปัจจุบันจะเริ่มแล้วตั้งแต่เดือนกันยายนนี้เป็นต้นไป จะลดมากน้อยลดเร็วช้าแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับทิศทางของดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาลงอย่างชัดเจน

    ค่าเงิน หุ้น และอะไรที่ผูกโยงกับนโยบายการเงินของสหรัฐคงต้องปรับตัวตามไปด้วย

    สำหรับบ้านเราอัตราดอกเบี้ยนโยบายซึ่งในปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ ๒.๕๐ นั้น เท่าที่ฟังจากเกณฑ์ในการตัดสินเรื่องนี้จากผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นกรรมการเสียงข้างน้อยในคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่เจอกันสุดสัปดาห์นี้ คิดว่าคงยังไม่ถึงเวลาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายครับ

    งานนี้คงต้องมีเรื่องมีราวเรื่องลดไม่ลดดอกเบี้ยระหว่างรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร กับธนาคารแห่งประเทศไทยไปอีกสักระยะหนึ่งครับ

    บันทึกเอาไว้กันลืมว่าเดือนสิงหาคม มีผู้นำสามประเทศในเอเชียต้องเผชิญชะตากรรมที่ทำให้พ้นจากตำแหน่งแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นบังกลาเทศ (เหมือน ๑๔ ตุลาคมปี ๒๕๑๖ ในบ้านเรา) ไทย (คงไม่ต้องบอกอะไรเพิ่มเติม) และญี่ปุ่น ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีฟูมิโอ คิชิดะ (Fumio Kishida) ได้ประกาศวางมือลงจากตำแหน่ง ส่วนกระบวนการคัดเลือกคนมาเป็นนายกรัฐมนตรีของพรรคเสรีประชาธิปไตย (LDP) ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลของเขาน่าสนใจครับ ถ้ามีเวลาจะหาโอกาสมาคุยให้ฟัง

    ขอจบลงตรงนี้ด้วยการแจ้งให้ทราบว่าพรบ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณพ.ศ๒๕๖๗ วงเงิน ๑๒๒,๐๐๐ ล้านบาทมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ ๒๓ สิงหาคม หลังจากได้นำประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ ๒๒ สิงหาคมที่ผ่านมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

    ใครที่รอแจกเงินสดเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ

    แต่ไม่ใช่โครงการดิจิตอลเลตเตรียมรับได้เลย


    วีระ ธีรภัทร
    วันอาทิตย์ที่ ๒๕ สิงหาคม 2567”

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/ZPvoLGVkV5QkhJNR/?mibextid=CTbP7E

    Thaitimes
    รีโพสต์ทัศนะของ วีระ ธีรภัทร จากเพจเฟซบุ๊ก สำนักพิมพ์โรนิน 25 สิงหาคม 2567 “ คอลัมน์ ปากท้องชาวบ้าน ไม่มีอะไรจะเละไปกว่านี้(แล้ว) แม้ว่าผมจะไม่ห่วงเรื่องอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในขณะนี้ก็ตาม แต่ก็อดคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๔ ไม่ได้ หลังการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมในปีนั้น พรรคเพื่อไทยเอาชนะพรรคประชาธิปัตย์แบบถล่มทลายสามารถจัดตั้งรัฐบาลโดยมีคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีได้สำเร็จ อุทกภัยน้ำท่วมใหญ่ตามมาพร้อมกับการเป็นรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นั่นเลยกลายเป็นบททดสอบความสามารถในการบริหารจัดการของรัฐบาลใหม่แบบชนิดไม่ทันได้ตั้งตัว ผลเป็นไงคงพอจำกันได้ บัดนี้เราได้รัฐบาลใหม่ มีคุณแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี แม้ว่าในขณะนี้ยังยุ่งขิงอยู่กับการสรรหาบุคคลมาเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลไม่เสร็จ (อันนี้เละเทะมาก) ยังไม่สามารถเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มรูปแบบ แต่น้ำเหนือก็หลากมาแล้ว แม้จะไม่น่ากลัวสำหรับคนกรุงเทพและปริมณฑลเหมือนกับเมื่อสิบสามปีก่อนหน้านี้ก็ตามที อะไรมันจะซ้ำซากกันได้ถึงขนาดนี้ แต่นั่นก็ไม่ใช่ประเด็นข้อใหญ่ในความของเรื่องที่ผมจะคุยอะไรให้ฟังวันนี้ ครับ ในช่วงหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมามีอะไรต่อมิอะไรเกิดขึ้นมากมาย หลายเรื่องไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ถึงขนาดนั้น แม้ผมจะพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุพอสมควร ผมเลยอยากจะเล่าอะไรต่อมิอะไรให้คุณฟังแบบเพลินๆ เท่าที่จะคิดได้เป็นสำคัญ แน่นอนล่ะครับว่ารายการ Vision For Thailand ในช่วงหัวค่ำของคืนวันพฤหัสบดีที่ ๒๒ สิงหาคมที่คุณทักษิณ ชินวัตร ไปแสดงวิสัยทัศน์ท่ามกลางคนมีอำนาจในแวดวงการเมืองและธุรกิจภาคเอกชนจำนวนมากนั้น ย่อมอยู่ในความสนใจของผู้คน จนลืมกันไปหมดว่าวันดังกล่าวตรงกับวันครบรอบหนึ่งปีของการเดินทางกลับประเทศไทยของคุณทักษิณ ความเป็นคุณทักษิณ ความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของพรรคเพื่อไทย และด้วยอำนาจวาสนาบารมีที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แม้จะพร่องไปบ้างในช่วงสิบห้าปีที่ลี้ภัยทางการเมืองในต่างแดน สิ่งที่คุณทักษิณคิดจึงมองข้ามไม่ได้ ทักษิณคิดเพื่อไทยทำอย่างที่รู้ๆ กัน ผมและคนอื่นๆ อีกไม่น้อยจึงเสียยอมเวลาฟังสิ่งที่คุณทักษิณคิดและอยากให้เกิดกับสังคมไทยในอนาคตตลอดหนึ่งชั่วโมงเศษที่แกคุยอยู่คนเดียวด้วยความตั้งอกตั้งใจ สำหรับผมสิ่งที่คุณทักษิณคิดออกมาดังๆ ไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นประเด็นปัญหาที่เราพอรู้พอทราบกันอยู่ แต่ความน่าสนใจอยู่ตรงที่ว่าสิ่งที่คุณทักษิณ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจะเอาไปทำหรืออย่างน้อยก็เอาไปคิดต่อว่าจะทำต่อไปเป็นประเด็นที่น่าสนใจมากเป็นพิเศษ ตรงนี้จึงมีความหมายมากกว่าการแสดงความคิดเห็นของคนทั่วไป แม้ว่าข้อเสนอจำนวนมากเป็นเรื่องที่ผมพอทราบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง โครงการดิจิทัลวอลเลต การชี้นำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยลดดอกเบี้ยและเพิ่มการให้สินเชื่อเพื่อเป็นการเติมสภาพคล่องให้กับภาคเศรษฐกิจ โครงการแลนด์บริดจ์ โครงการค่าโดยสารรถไฟฟ้า ๒๐ บาทตลอดสาย โครงการเอ็นเทอร์เทนเมนท์คอมเพล็กซ์ กองทุนวายุภักษ์ ฯลฯ ล้วนเป็นประเด็นที่จะต้องมีการตัดสินใจและขับเคลื่อนกันต่อไปในรัฐบาลของคุณแพทองธาร ชินวัตร ต่อไป นี่จึงเป็นข้อเสนอคำแนะนำที่ไม่ธรรมดาเพราะสามารถจะกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลได้อย่างแยบคาย ผมจะไม่วิพากษ์วิจารณ์อะไรในเรื่องที่ว่าในตอนนี้ อยากจะรอดูก่อนว่าข้อเสนอดังกล่าวจะกลายเป็นนโยบายและมาตรการของรัฐบาลคุณแพทองธารในเนื้อหารายละเอียดอย่างไรให้ชัดเจนเสียก่อน แถมอันที่จริงแล้วในช่วงนี้ต้องบอกว่า ผมอยู่ในช่วงที่ผ่อนคลายมากมีเวลาเหลือมากขึ้น แถมได้ทำสิ่งที่ไม่ได้ทำมานานมากแล้วอีกต่างหาก ลำดับแรกเลย งานในฐานะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ซึ่งผมต้องไปประชุมรวมกันถึง ๔๐ ครั้งตลอดระยะเวลาสองเดือนเต็มๆ ที่ผ่านมา (นับหนึ่งวันจันทร์ที่ ๒๔ มิถุนายน) ถือว่าจบสิ้นแล้วในแง่ของกระบวนการพิจารณา แม้ยังไม่จบเสียทีเดียวเพราะต้องมีพิธีกรรมอีกเล็กน้อยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์หน้า วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคมจะเป็นการประชุมครั้งที่ ๔๑ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของกรรมาธิการเพื่อตรวจทานและลงมติรับร่างพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ว่าจะเอาแบบไหน? อย่างไร? โดยมีกรรมาธิการและสส.จำนวนไม่น้อย ได้สงวนความเห็นและขอแปรญัตติเพื่อจะไปอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะมีการลงมติให้ความเห็นชอบในวาระที่ ๒ และ ๓ ในช่วงวันที่ ๓-๕ กันยายนที่จะถึงนี้ อันนี้น่าสนใจติดตามฟังกันครับ งานที่ว่านี้ดำเนินไปโดยยังไม่มีรัฐบาลใหม่ มีแต่เพียงนายกรัฐมนตรีที่ยังไม่สามารถเข้าปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินได้ นี่ต้องบอกว่าเป็นเรื่องแปลก แม้ผมจะเข้าใจว่าทำไมถึงเป็นเช่นนั้นก็ตามที ลำดับถัดมา ผมไปร่วมรายการ BOT Press Trip 2024 ที่โรงแรม Andaz แถวหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี แม้จะห่างเหินจากการไปร่วมงานในฐานะสื่อมวลชนกับธนาคารแห่งประเทศไทยแบบนี้มานานมากแล้ว แต่ที่ผมอยากไปก็เพราะว่างานนี้มีประเด็นที่ผมอยากสอบถามให้แน่ใจว่าอะไรเป็นอะไรจากปากของผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นโอกาสดีมากเพราะว่าไปกันครบถ้วนเกือบทั้งหมด เหมือนเราไปเดินห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อของที่ต้องการได้ทั้งหมดในสถานที่เพียงแห่งเดียว ผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย นำโดยคุณเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ปีหน้าครบวาระห้าปีเป็นต่อไม่ได้) พร้อมกับรองผู้ว่าการและผู้ช่วยผู้ว่าการ ๑๑ คนโดยไม่รวมระดับผู้บริหารระดับปฏิบัติการในฝ่ายต่างๆ ที่มากันเป็นกองทัพ อะไรที่ผมสงสัยไม่แน่ใจในเรื่องนโยบายการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยบริหารจัดการอยู่ในเวลานี้ จึงถือโอกาสไปร่วมงานนี้ สอบถามพูดคุยกับคนที่ดูแลนโยบายและคนที่ลงมือปฏิบัติการจริงเพื่อให้เกิดความชัดเจนและได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน เอาเป็นว่าเรื่องระหว่างรัฐบาล กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่เคยปีนเกลียวกันในช่วงรัฐบาลคุณเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมาและที่อาจจะมีการปะทะปะทั่งกันในช่วงรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร ในอนาคตอันใกล้นี้ ผมพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุแล้ว เรื่องหลายเรื่องที่รัฐบาลอยากทำแล้วทำไม่ได้ เรื่องหลายเรื่องที่ถกเถียงกันระหว่างรัฐบาลกับธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าควรทำแบบไหนไม่ควรทำแบบไหน ไม่ว่าจะเป็นโครงการดิจิตอลวอลเลต การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโบบาย ฯลฯ การได้พูดคุยกับคนที่เกี่ยวข้องโดยตรง ทำให้ผมพอปะติดปะต่อภาพได้เกือบครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว จะเอาไปทำอะไรต่อที่ไหน? อย่างไร? และเมื่อไหร่? เดี๋ยวค่อยมาว่ากันครับ ผมยังมีเรื่องอยากจะเล่าให้ฟังเพิ่มเติมแบบลงรายละเอียดสักหน่อย เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลเอาไว้ตรงนี้เพื่อให้คุณๆ ได้ติดตามความเป็นไปของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังได้อย่างครบถ้วนอยู่เรื่องหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นควรรู้ควรทราบอย่างยิ่ง เรื่องของเรื่องก็คือในช่วงสุดท้ายของการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางรัฐบาลโดยสำนักงบประมาณได้เสนอขอเปลี่ยนแปลงรายการจัดสรรเงินงบประมาณให้กับรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งเป็นเงินรวมกัน ๓๕,๐๐๐ ล้านบาท รายการที่ว่านั้นเป็นการตั้งงบประมาณชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ให้หน่วยงานของรัฐออกเงินไปให้ก่อนตามมาตรา ๒๘ ของพรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยโอนย้ายไปเป็นรายการในงบกลางแทน โดยระบุว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข็มแข็งของเศรษฐกิจ (อันนี้เป็นชื่อของโครงการดิจิตอลวอลเลตที่รัฐบาลจะทำในเอกสารงบประมาณ) เพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ๑๕๒,๗๐๐ ล้านบาท นั่นเลยทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการดิจิตอลวอลเลตในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๘ เพิ่มเป็น ๑๘๗,๗๐๐ ล้านบาทเรียบร้อยแล้ว แต่จะหาจากไหนสำหรับส่วนที่เหลืออีก ๙๗,๓๐๐ ล้านบาทเพื่อให้ครบ ๒๘๕,๐๐๐ ล้านบาท อันนี้น่าสนใจ ผมอยากให้ข้อมูลตรงนี้เพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงโอนย้ายรายจ่ายที่จะจัดสรรให้รัฐวิหาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งที่ว่าไปไว้ที่อื่นนั้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรดูเหมือนจะเจอหนักกว่าใครเพื่อน เพราะเงินที่คาดว่าจะได้รับการชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ธ.ก.ส.แบกรับภาระอยู่ประมาณ ๓๑,๒๐๐ ล้านบาท (จากยอดทั้งหมดประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ล้านบาท) จะถูกเลื่อนออกไป แบบนี้อธิบายแบบชาวบ้านก็คือรัฐบาลขอต๊ะหนี้ที่มีกับธ.ก.ส.ไว้ก่อน ส่วนจะชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยให้เมื่อไหร่? ค่อยไปว่ากันในอนาคต เรื่องนี้ผมคัดค้านอย่างเต็มที่ตอนที่ถกเถียงกันในที่ประชุมของคณะกรรมาธิการฯ แต่เมื่อเสียงข้างมากของกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยเฉพาะกรรมาธิการที่มาในสัดส่วนของคณะรัฐมนตรีและพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาลได้ลงมติให้เป็นไปตามนั้น ผมจึงกลายเป็นกรรมาธิการเสียงข้างน้อยในกรณีนี้ แม้ว่าเรื่องนี้ยังไม่จบจะต้องไปว่ากันต่อในที่ประชุมวาระที่ ๒ และ ๓ เพื่อให้สส.ลงมติให้ความเห็นชอบสุดท้ายก็ตามที แต่เรื่องนี้บอกเราได้อย่างหนึ่งว่าโครงการดิจิตอลวอลเลตยังเดินหน้าเต็มตัว แม้จะปรับเปลี่ยนไปเป็นการจ่ายเงินสดให้กลุ่มเปราะบางไปก่อนในเฟสแรกหรือระลอกแรก (หลักๆ คือผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐของผู้มีรายได้น้อย) ทั้งเพื่อให้ทันใช้เงินให้หมดภายในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๗ ซึ่งจะสิ้นสุดภายในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้ ส่วนจะเป็นเท่าไหร่กันแน่ระหว่างวงเงิน ๑๔๕,๐๐๐ หรือ ๑๖๕,๐๐๐ ล้านบาทนั้นคงต้องรอรัฐบาลแถลงนโยบายรัฐสภาต่อไปถึงจะชัดเจน พายุหมุนทางเศรษฐกิจที่พูดๆ กันก่อนหน้านี้คงไม่ใช่แล้วสำหรับตอนนี้ แต่ก็อย่างที่บอกมาโดยตลอดแหละครับว่า ผมจะไม่หมกมุ่นอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งนานเกินความจำเป็น แม้จะมีเรื่องอะไรต่อมิอะไรมากมายอย่างที่ว่าก็จริง แต่ผมก็แบ่งเวลาเพื่อทำงานที่ผมชอบอยู่เสมอ โชคดีว่าเมื่อวันศุกร์ก่อนที่จะเดินทางมาหาดจอมเทียน เพื่อร่วมงานกับธนาคารแห่งประเทศไทย ทางสำนักพิมพ์โรนินได้ส่งต้นฉบับหนังสือสองเล่มมาให้ผมตรวจทานรอบสุดท้าย เที่ยวเขมรฉบับพกพา และ ส่องภาพเขียนที่รัสเซีย ผมก็เลยเพลิดเพลินกับการอ่านหนังสือเล่มตัวอย่างก่อนที่จะส่งไปให้สำนักพิมพ์ไปจัดการให้ทางโรงพิมพ์ดำเนินการพิมพ์เพื่อจำหน่ายจ่ายแจกต่ออีกทอดในอนาคต แต่ที่น่ายินดีเป็นที่สุดก็คือเมื่อจบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๖๘ ในช่วงต้นเดือนกันยายน (วันที่ ๓-๕ กันยายน) ก็ได้เวลาที่ผมจะไปพักผ่อนปลีกวิเวกเป็นการชั่วคราวที่ญี่ปุ่น (ดูภาพเขียน-ออนเซน) พร้อมกับวางแผนเดินทางไปรัสเซีย (ดูภาพเขียนกับเที่ยวชมเมือง) ในช่วงต้นเดือนตุลาคม และเตรียมการจะไปเที่ยวเขมรนครวัด-นครธมในช่วงต้นเดือนธันวาคมนี้ไปพร้อมกันด้วย พ้นจากนั้นจะไปทำอะไรที่ไหนค่อยว่ากันใหม่ เมื่อมองย้อนกลับไปดูสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี ๒๕๖๗ มาจนถึงตอนนี้ ต้องบอกเลยว่าปีนี้เป็นปีที่ดีอีกปีหนึ่งของผม ได้ทำอะไรเยอะแยะไปหมด สะสางงานเก่าเริ่มงานใหม่และก้าวเข้าไปในพรมแดนใหม่ที่ไม่เคยคิดว่าจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอีกต่างหาก แม้ว่าบ้านเมืองของเรายามนี้ จะไม่มีอะไรให้เละมากไปกว่านี้ได้แล้วก็ตามที การเจริญอุเบกขาธรรมจึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดครับ ป.ล. เรื่องการฟอร์มคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร นี่ต้องบอกว่าไม่ง่ายเลยครับ งานนี้เราต้องปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเมืองไทย อย่าเพิ่งรำคาญอย่าไปหงุดหงิด แม้จะดูแล้วเละตุ้มเป๊ะได้ถึงขนาดนี้ พรรคพลังประชารัฐกับพรรคประชาธิปัตย์จะพาตัวเองให้รอดจากสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นความขัดแย้งรุนแรงในภายพรรคในเวลานี้ เพราะประเด็นการร่วมรัฐบาลของพรรคและการเป็นรัฐมนตรีของผู้บริหารของพรรคได้อย่างไร คงจะมีคำตอบภายในเร็ววันนี้ การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐในช่วงวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายนที่จะถึงนี้ ถ้าหากฟังจากที่นายเจอโรม พาวเวล (Jerome Powell) ประธานธนาคารกลางไปพูดที่เมืองตากอากาศแจคสันโฮล ในรัฐไวโอมิงว่าถึงเวลาต้องปรับนโยบายการเงินด้วยการลดดอกเบี้ยนโยบายได้แล้ว เพราะหมดห่วงเรื่องเงินเฟ้อแล้ว แต่มาห่วงเรื่องการว่างงานแทนจึงทำให้ต้องลดดอกเบี้ย นั่นก็หมายความว่าการลดอัตราดอกเบี้ยนนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐที่กำหนดไว้ร้อยละ ๕.๒๕-๕.๕๐ ในปัจจุบันจะเริ่มแล้วตั้งแต่เดือนกันยายนนี้เป็นต้นไป จะลดมากน้อยลดเร็วช้าแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับทิศทางของดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาลงอย่างชัดเจน ค่าเงิน หุ้น และอะไรที่ผูกโยงกับนโยบายการเงินของสหรัฐคงต้องปรับตัวตามไปด้วย สำหรับบ้านเราอัตราดอกเบี้ยนโยบายซึ่งในปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ ๒.๕๐ นั้น เท่าที่ฟังจากเกณฑ์ในการตัดสินเรื่องนี้จากผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นกรรมการเสียงข้างน้อยในคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่เจอกันสุดสัปดาห์นี้ คิดว่าคงยังไม่ถึงเวลาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายครับ งานนี้คงต้องมีเรื่องมีราวเรื่องลดไม่ลดดอกเบี้ยระหว่างรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร กับธนาคารแห่งประเทศไทยไปอีกสักระยะหนึ่งครับ บันทึกเอาไว้กันลืมว่าเดือนสิงหาคม มีผู้นำสามประเทศในเอเชียต้องเผชิญชะตากรรมที่ทำให้พ้นจากตำแหน่งแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นบังกลาเทศ (เหมือน ๑๔ ตุลาคมปี ๒๕๑๖ ในบ้านเรา) ไทย (คงไม่ต้องบอกอะไรเพิ่มเติม) และญี่ปุ่น ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีฟูมิโอ คิชิดะ (Fumio Kishida) ได้ประกาศวางมือลงจากตำแหน่ง ส่วนกระบวนการคัดเลือกคนมาเป็นนายกรัฐมนตรีของพรรคเสรีประชาธิปไตย (LDP) ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลของเขาน่าสนใจครับ ถ้ามีเวลาจะหาโอกาสมาคุยให้ฟัง ขอจบลงตรงนี้ด้วยการแจ้งให้ทราบว่าพรบ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณพ.ศ๒๕๖๗ วงเงิน ๑๒๒,๐๐๐ ล้านบาทมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ ๒๓ สิงหาคม หลังจากได้นำประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ ๒๒ สิงหาคมที่ผ่านมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ใครที่รอแจกเงินสดเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ไม่ใช่โครงการดิจิตอลเลตเตรียมรับได้เลย วีระ ธีรภัทร วันอาทิตย์ที่ ๒๕ สิงหาคม 2567” ที่มา https://www.facebook.com/share/p/ZPvoLGVkV5QkhJNR/?mibextid=CTbP7E Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1283 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣️ 3 องค์กรเอกชนสุดมึน หลังต้องคุยกับนายกฯ ถึง 3 คนในรอบ 1 ปีเศษ แต่ปัญหายังคาราคาซัง โดยคนที่ทำเสียเวลาที่สุดคือ พิธา นายกฯ โซเชียล☺️
    #เจ็ดดอกจิก
    #นายกรัฐมนตรี
    #พิธา
    #เศรษฐา
    #แพรทองธาร
    ♣️ 3 องค์กรเอกชนสุดมึน หลังต้องคุยกับนายกฯ ถึง 3 คนในรอบ 1 ปีเศษ แต่ปัญหายังคาราคาซัง โดยคนที่ทำเสียเวลาที่สุดคือ พิธา นายกฯ โซเชียล☺️ #เจ็ดดอกจิก #นายกรัฐมนตรี #พิธา #เศรษฐา #แพรทองธาร
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 372 มุมมอง 0 รีวิว
  • สถานการณ์พลิกอีก “บิ๊กป้อม” กลับลำออกแถลงการณ์หวานเจี๊ยบ ส่ง 4 ชื่อ รมต.เดิมยุค ”เศรษฐา" ร่วมรัฐบาล "อุ๊งอิ๊ง" ให้ตรวจคุณสมบัติแล้ว ลั่น พปชร.มี 40 ที่นั่ง
    .
    วันนี้(21 ส.ค.) พรรคพลังประชารัฐ ออกแถลงการณ์ ใจความว่า ตามที่ปรากฏเป็นข่าวเกี่ยวกับพรรคพลังประชารัฐในขณะนี้นั้น พรรคพลังประชารัฐ ขอเรียนชี้แจงต่อสมาชิกพรรค พี่น้องประชาชนและสื่อมวลชนเพื่อทราบ ดังนี้
    .
    ที่ผ่านมาพรรคพลังประชารัฐได้เข้าร่วมเป็นรัฐบาลกับพรรคเพื่อไทยมาโดยตลอดตั้งแต่รัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลโดยพรรคเพื่อไทยเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล พรรคพลังประชารัฐได้มีมติเข้าร่วมรัฐบาลกับ พรรคเพื่อไทยโดยได้มีการแถลงข่าวร่วมกับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลอื่นๆไปเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2567 และในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2567 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคพลังประชารัฐได้ลงมติเห็นชอบให้หัวหน้าพรรคเพื่อไทย นางสาวแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี
    .
    ซึ่งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2567 หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐได้ส่งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรคเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีของพรรค จำนวน 4 ท่าน ไปให้นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร ผ่านนายแพทย์พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรี แล้วโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งและบุคคลใดๆ (เป็นบุคคลและตำแหน่งเดิมในสมัยรัฐบาลนายกเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมา) ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนของทางสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จะได้ดำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติตามกระบวนการต่อไป
    .
    ปัจจุบันพรรคพลังประชารัฐยังคงมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐ จำนวน 40 ท่าน ที่มีเจตนารมณ์ร่วมกันในการเป็นพรรคร่วมรัฐบาลเพื่อสนับสนุนนายกรัฐมนตรี นางสาวแพทองธาร ชินวัตร ในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อประโยชน์สุขของประเทศชาติ และพี่น้อง ประชาชนต่อไป
    สถานการณ์พลิกอีก “บิ๊กป้อม” กลับลำออกแถลงการณ์หวานเจี๊ยบ ส่ง 4 ชื่อ รมต.เดิมยุค ”เศรษฐา" ร่วมรัฐบาล "อุ๊งอิ๊ง" ให้ตรวจคุณสมบัติแล้ว ลั่น พปชร.มี 40 ที่นั่ง . วันนี้(21 ส.ค.) พรรคพลังประชารัฐ ออกแถลงการณ์ ใจความว่า ตามที่ปรากฏเป็นข่าวเกี่ยวกับพรรคพลังประชารัฐในขณะนี้นั้น พรรคพลังประชารัฐ ขอเรียนชี้แจงต่อสมาชิกพรรค พี่น้องประชาชนและสื่อมวลชนเพื่อทราบ ดังนี้ . ที่ผ่านมาพรรคพลังประชารัฐได้เข้าร่วมเป็นรัฐบาลกับพรรคเพื่อไทยมาโดยตลอดตั้งแต่รัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลโดยพรรคเพื่อไทยเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล พรรคพลังประชารัฐได้มีมติเข้าร่วมรัฐบาลกับ พรรคเพื่อไทยโดยได้มีการแถลงข่าวร่วมกับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลอื่นๆไปเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2567 และในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2567 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคพลังประชารัฐได้ลงมติเห็นชอบให้หัวหน้าพรรคเพื่อไทย นางสาวแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี . ซึ่งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2567 หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐได้ส่งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรคเห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีของพรรค จำนวน 4 ท่าน ไปให้นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร ผ่านนายแพทย์พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรี แล้วโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งและบุคคลใดๆ (เป็นบุคคลและตำแหน่งเดิมในสมัยรัฐบาลนายกเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมา) ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนของทางสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จะได้ดำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติตามกระบวนการต่อไป . ปัจจุบันพรรคพลังประชารัฐยังคงมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐ จำนวน 40 ท่าน ที่มีเจตนารมณ์ร่วมกันในการเป็นพรรคร่วมรัฐบาลเพื่อสนับสนุนนายกรัฐมนตรี นางสาวแพทองธาร ชินวัตร ในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อประโยชน์สุขของประเทศชาติ และพี่น้อง ประชาชนต่อไป
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1888 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : "เศรษฐา ทวีสิน" นายกที่น่าสงสารที่สุด เสียดายไม่ได้เป็นนายกต่อ
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่
    #สนธิลิ้มทองกุล #เศรษฐา #น่าเสียดาย

    Newsstory : "เศรษฐา ทวีสิน" นายกที่น่าสงสารที่สุด เสียดายไม่ได้เป็นนายกต่อ #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #สนธิลิ้มทองกุล #เศรษฐา #น่าเสียดาย
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1770 มุมมอง 169 0 รีวิว
  • ไพ่ใบสุดท้ายของ ทักษิณ ชินวัตร Ep255 (live)
    การเมืองหัวเลี้ยว หัวต่อ เศรษฐาไป ใครจะมา วัดใจเข้าของพรรคตัวจริง อุ๋ง อิ๋ง คือไพ่ใบสุดท้ายหรือไม่?
    ไพ่ใบสุดท้ายของ ทักษิณ ชินวัตร Ep255 (live) การเมืองหัวเลี้ยว หัวต่อ เศรษฐาไป ใครจะมา วัดใจเข้าของพรรคตัวจริง อุ๋ง อิ๋ง คือไพ่ใบสุดท้ายหรือไม่?
    Like
    Sad
    Angry
    18
    3 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 10175 มุมมอง 3 รีวิว
  • อุ๊งอิ๊ง แพทองธาร นายกรัฐมนตรีคนที่ 31

    ในที่สุด อุ๊งอิ๊ง แพทองธาร ชินวัตร บุตรสาวของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อายุ 38 ปี กำลังจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 หลังจากกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย มีมติให้อุ๊งอิ๊งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามที่บรรดา สส.พรรคเพื่อไทย เป็นผู้เสนอ นับเป็นคนที่ 4 ในตระกูลชินวัตร นายกรัฐมนตรีหญิงคนที่ 2 และเป็นนายกรัฐมนตรีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์

    เดิมจากการตกลงระหว่างนายทักษิณ กับแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล จะเสนอนายชัยเกษม นิติสิริ หนึ่งในบัญชีแคนดิเดตจากพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรี ปรากฎว่านายชัยเกษมมีแผลขึ้นมา ทั้งกรณีถูกวิจารณ์ว่าสมัยเป็นอัยการสูงสุด เป็นยุคที่เคยสั่งไม่ฟ้องนายพิชิต ชื่นบาน ในคดีถุงขนม 2 ล้าน อีกทั้งยังเคยมีกรณีที่นายชัยเกษมเคยเสนอแก้ไขมาตรา 112 ที่พรรคร่วมไม่เห็นด้วย

    ขณะที่ สส.พรรคเพื่อไทย สนับสนุนอุ๊งอิ๊งเต็มที่ เพราะที่ผ่านมาอุ๊งอิ๊งลงพื้นที่หาเสียงเลือกตั้งเป็นส่วนใหญ่ และผู้สมัคร สส.พรรคเพื่อไทยหาเสียงเอาไว้ว่า จะให้อุ๊งอิ๊งเป็นนายกรัฐมนตรี แม้ภายหลังการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี จะกลายเป็นนายเศรษฐา ทวีสิน ก็ตาม อีกทั้งสังคมเห็นภาพเด่นชัดว่าอุ๊งอิ๊งเป็นตัวแทนของนายทักษิณ คนที่เลือกอุ๊งอิ๊งก็เท่ากับเลือกทักษิณ

    หากได้เป็นนายกรัฐมนตรีเต็มตัว อุ๊งอิ๊งและนายทักษิณมีอำนาจเต็มในการบริหารจัดการ ไม่เกิดแรงกระเพื่อมในพรรค

    นอกจากนี้ ด้วยวัยเพียงแค่ 37 ปี อุ๊งอิ๊งเป็นคนหนุ่มสาว คนรุ่นใหม่ มีพละกำลังเหลือเฟือ คิดอ่านบริหารเหลือเฟือ อยู่ในวัยที่กำลังเหมาะเป็นนายกรัฐมนตรี ส่วนนายชัยเกษม สส.ส่วนหนึ่งเห็นว่ายังมีปัญหาเรื่องสุขภาพ และในอดีตนายชัยเกษมเคยพูดถึงเรื่องการแก้ไขมาตรา 112 เกรงว่าจะทำให้เป็นปัญหาตามมาได้

    น.ส.แพทองธาร กล่าวว่า สำหรับการสนับสนุนนี้ ตนจะทำทุกอย่างให้เต็มความสามารถ ตลอดเวลาที่ผ่านมา พวกเราทุกคนชื่นชมการทำงานของนายเศรษฐา เสียดายที่จะต้องเกิดเรื่องแบบนี้ขึ้น อย่างที่เราไม่ได้คาดฝันไว้ แต่ประเทศต้องไปต่อ พรรคเพื่อไทยเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล วันนี้เรามีความพร้อมที่จะผลักดันประเทศต่อ ตนมั่นใจในพรรคเพื่อไทย มั่นใจในพรรคร่วมรัฐบาลทุกพรรค ที่จะช่วยกันนำพาประเทศของเราให้หลุดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ

    สำหรับ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2529 เป็นบุตรสาวคนสุดท้องของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร มีพี่น้องร่วมกัน คือ นายพานทองแท้ ชินวัตร และนางพินทองทา ชินวัตร คุณากรวงศ์ จบการศึกษาปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท Msc International Hotel Management ที่มหาวิทยาลัยเซอร์เรย์ สหราชอาณาจักร

    ประสบการณ์ทำงาน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจโรงแรมและสนามกอล์ฟ บริษัท เรนด์ ดีเวลลอปเมนท์ อาทิ โรงแรม เทมส์ วัลลีย์ เขาใหญ่, สนามกอล์ฟอัลไพน์, โรงแรมเอสซี ปาร์ค ส่วนในทางการเมือง เป็นประธานคณะที่ปรึกษาด้านการมีส่วนร่วมและนวัตกรรมของพรรคเพื่อไทย และหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย

    #Newskit #แพทองธาร #นายกรัฐมนตรี
    อุ๊งอิ๊ง แพทองธาร นายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ในที่สุด อุ๊งอิ๊ง แพทองธาร ชินวัตร บุตรสาวของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อายุ 38 ปี กำลังจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 หลังจากกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย มีมติให้อุ๊งอิ๊งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามที่บรรดา สส.พรรคเพื่อไทย เป็นผู้เสนอ นับเป็นคนที่ 4 ในตระกูลชินวัตร นายกรัฐมนตรีหญิงคนที่ 2 และเป็นนายกรัฐมนตรีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ เดิมจากการตกลงระหว่างนายทักษิณ กับแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล จะเสนอนายชัยเกษม นิติสิริ หนึ่งในบัญชีแคนดิเดตจากพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรี ปรากฎว่านายชัยเกษมมีแผลขึ้นมา ทั้งกรณีถูกวิจารณ์ว่าสมัยเป็นอัยการสูงสุด เป็นยุคที่เคยสั่งไม่ฟ้องนายพิชิต ชื่นบาน ในคดีถุงขนม 2 ล้าน อีกทั้งยังเคยมีกรณีที่นายชัยเกษมเคยเสนอแก้ไขมาตรา 112 ที่พรรคร่วมไม่เห็นด้วย ขณะที่ สส.พรรคเพื่อไทย สนับสนุนอุ๊งอิ๊งเต็มที่ เพราะที่ผ่านมาอุ๊งอิ๊งลงพื้นที่หาเสียงเลือกตั้งเป็นส่วนใหญ่ และผู้สมัคร สส.พรรคเพื่อไทยหาเสียงเอาไว้ว่า จะให้อุ๊งอิ๊งเป็นนายกรัฐมนตรี แม้ภายหลังการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี จะกลายเป็นนายเศรษฐา ทวีสิน ก็ตาม อีกทั้งสังคมเห็นภาพเด่นชัดว่าอุ๊งอิ๊งเป็นตัวแทนของนายทักษิณ คนที่เลือกอุ๊งอิ๊งก็เท่ากับเลือกทักษิณ หากได้เป็นนายกรัฐมนตรีเต็มตัว อุ๊งอิ๊งและนายทักษิณมีอำนาจเต็มในการบริหารจัดการ ไม่เกิดแรงกระเพื่อมในพรรค นอกจากนี้ ด้วยวัยเพียงแค่ 37 ปี อุ๊งอิ๊งเป็นคนหนุ่มสาว คนรุ่นใหม่ มีพละกำลังเหลือเฟือ คิดอ่านบริหารเหลือเฟือ อยู่ในวัยที่กำลังเหมาะเป็นนายกรัฐมนตรี ส่วนนายชัยเกษม สส.ส่วนหนึ่งเห็นว่ายังมีปัญหาเรื่องสุขภาพ และในอดีตนายชัยเกษมเคยพูดถึงเรื่องการแก้ไขมาตรา 112 เกรงว่าจะทำให้เป็นปัญหาตามมาได้ น.ส.แพทองธาร กล่าวว่า สำหรับการสนับสนุนนี้ ตนจะทำทุกอย่างให้เต็มความสามารถ ตลอดเวลาที่ผ่านมา พวกเราทุกคนชื่นชมการทำงานของนายเศรษฐา เสียดายที่จะต้องเกิดเรื่องแบบนี้ขึ้น อย่างที่เราไม่ได้คาดฝันไว้ แต่ประเทศต้องไปต่อ พรรคเพื่อไทยเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล วันนี้เรามีความพร้อมที่จะผลักดันประเทศต่อ ตนมั่นใจในพรรคเพื่อไทย มั่นใจในพรรคร่วมรัฐบาลทุกพรรค ที่จะช่วยกันนำพาประเทศของเราให้หลุดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ สำหรับ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2529 เป็นบุตรสาวคนสุดท้องของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร มีพี่น้องร่วมกัน คือ นายพานทองแท้ ชินวัตร และนางพินทองทา ชินวัตร คุณากรวงศ์ จบการศึกษาปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท Msc International Hotel Management ที่มหาวิทยาลัยเซอร์เรย์ สหราชอาณาจักร ประสบการณ์ทำงาน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจโรงแรมและสนามกอล์ฟ บริษัท เรนด์ ดีเวลลอปเมนท์ อาทิ โรงแรม เทมส์ วัลลีย์ เขาใหญ่, สนามกอล์ฟอัลไพน์, โรงแรมเอสซี ปาร์ค ส่วนในทางการเมือง เป็นประธานคณะที่ปรึกษาด้านการมีส่วนร่วมและนวัตกรรมของพรรคเพื่อไทย และหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย #Newskit #แพทองธาร #นายกรัฐมนตรี
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1060 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชื่นชมนายกเศรษฐาที่น้อมรับคำตัดสิน ไม่คร่ำครวญ คั่งแค้นเวอร์วังป่านนี้ยังคร่ำครวญไม่เลิกแบบพรรคล้างล้างการปกครอง
    #คิงส์โพธิ์แดง
    ชื่นชมนายกเศรษฐาที่น้อมรับคำตัดสิน ไม่คร่ำครวญ คั่งแค้นเวอร์วังป่านนี้ยังคร่ำครวญไม่เลิกแบบพรรคล้างล้างการปกครอง #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • หลายคนเห็นภาพอินโฟร์นี้คงตกใจ
    ว่าคิงส์โพธิ์แดงไม่เคยเรียกใครว่าท่าน
    แต่สำหรับ เศรษฐา ต้องยกเกียรติเค้าจริงๆ
    หลังตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน
    น้อบรับคำตัดสินอย่างถ่อมตน วาจาที่เปล่งออกมา
    เต็มไปด้วยมารยาท และรักษาไว้ซึ่งระบบตลาการ และนิติรัฐ
    และเมื่อผู้สื่อข่าวได้ป้อนคำถามเรื่อง ดิจิตอลวอลเลท
    ท่านเศรษฐายืนยันว่า คณะรัฐมนตรีใหม่ หรือนายกคนใหม่
    หรือรัฐบาลชุดใหม่ หากไม่เห็นด้วยกับโครงการนี้
    ย่อมมีสิทธิ์อันชอบธรรมที่จะยกเลิก หรือยุติโครงการ
    เพราะพรรคการเมืองหลายพรรคก็มิได้เห็นด้วยกับโครงการนี้
    ถือว่าเป็นสิทธิตามกระบวนการทางกฏหมาย
    คิงส์โพธิ์แดงรู้สึก เบาใจแทนท่านยังไงก็ไม่รู้
    ถึงแม้ว่า ท่านเศรษฐาจะไม่มีโอกาสกลับมาเป็นนายกหรือรัฐมนตรี
    แต่ต้นแบบของนักการเมืองที่มีมารยาท และความสุภาพ
    ยกให้เป็นที่ 1 ในใจเลยจริงๆ ลาก่อนครับท่านเศรษฐา นายกคนที่ 30 ของคนไทย
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #เศรษฐาทวีสิน
    หลายคนเห็นภาพอินโฟร์นี้คงตกใจ ว่าคิงส์โพธิ์แดงไม่เคยเรียกใครว่าท่าน แต่สำหรับ เศรษฐา ต้องยกเกียรติเค้าจริงๆ หลังตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน น้อบรับคำตัดสินอย่างถ่อมตน วาจาที่เปล่งออกมา เต็มไปด้วยมารยาท และรักษาไว้ซึ่งระบบตลาการ และนิติรัฐ และเมื่อผู้สื่อข่าวได้ป้อนคำถามเรื่อง ดิจิตอลวอลเลท ท่านเศรษฐายืนยันว่า คณะรัฐมนตรีใหม่ หรือนายกคนใหม่ หรือรัฐบาลชุดใหม่ หากไม่เห็นด้วยกับโครงการนี้ ย่อมมีสิทธิ์อันชอบธรรมที่จะยกเลิก หรือยุติโครงการ เพราะพรรคการเมืองหลายพรรคก็มิได้เห็นด้วยกับโครงการนี้ ถือว่าเป็นสิทธิตามกระบวนการทางกฏหมาย คิงส์โพธิ์แดงรู้สึก เบาใจแทนท่านยังไงก็ไม่รู้ ถึงแม้ว่า ท่านเศรษฐาจะไม่มีโอกาสกลับมาเป็นนายกหรือรัฐมนตรี แต่ต้นแบบของนักการเมืองที่มีมารยาท และความสุภาพ ยกให้เป็นที่ 1 ในใจเลยจริงๆ ลาก่อนครับท่านเศรษฐา นายกคนที่ 30 ของคนไทย #คิงส์โพธิ์แดง #เศรษฐาทวีสิน
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 401 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เสือกับฝูงหมายังไงก็ต่างกัน
    1 เสือ ถูกหักหลังจากโทนี่ จนถูกถอนจากนายก แต่กลับแสดงออกถึงภาวะผู้นำ ยอมรับคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ ด้วยความอ่อนน้อม สุภาพ และไม่พาดพิงใคร
    กับ
    1 ฝูงหมา ทำตัวเอง คิดล้มล้างสถาบัน ถูกยุบพรรค ตัดสิทธิ์ ดราม่าน้ำตาท่วมจอ บ้างก็อย่างอิเจี๊ยบอมแรด กรี๊ด แทบชัก แล้วก็โพสแค้นนั่นนี่ โทษนั่นนี่ เหมือนสามกีบ ที่โทษทุกอย่างยกเว้นพรรคตัวเอง
    เสือ กับฝูงหมา อากัปกิริยาจึงต่างกันโดยสิ้นเชิง
    นายกเศรษฐา ลงจากเก้าอี้อย่างเสือที่สง่างาม ต่อให้คนที่ไม่ได้เชียร์ถ้าได้ฟังบทสัมภาษณ์สุดท้ายของการเป็นนายกรัฐมนตรี อดชื่นชมกับคำว่า สุภาพบุรุษของเค้าไม่ได้จริงๆ ยกเว้นแต่สหภาพสามกีบที่ใช้สมองไม่เป็น มองความดีคนอื่นไม่ได้เท่านั้น
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #เสือกับฝูงหมายังไงก็ต่างกัน 1 เสือ ถูกหักหลังจากโทนี่ จนถูกถอนจากนายก แต่กลับแสดงออกถึงภาวะผู้นำ ยอมรับคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ ด้วยความอ่อนน้อม สุภาพ และไม่พาดพิงใคร กับ 1 ฝูงหมา ทำตัวเอง คิดล้มล้างสถาบัน ถูกยุบพรรค ตัดสิทธิ์ ดราม่าน้ำตาท่วมจอ บ้างก็อย่างอิเจี๊ยบอมแรด กรี๊ด แทบชัก แล้วก็โพสแค้นนั่นนี่ โทษนั่นนี่ เหมือนสามกีบ ที่โทษทุกอย่างยกเว้นพรรคตัวเอง เสือ กับฝูงหมา อากัปกิริยาจึงต่างกันโดยสิ้นเชิง นายกเศรษฐา ลงจากเก้าอี้อย่างเสือที่สง่างาม ต่อให้คนที่ไม่ได้เชียร์ถ้าได้ฟังบทสัมภาษณ์สุดท้ายของการเป็นนายกรัฐมนตรี อดชื่นชมกับคำว่า สุภาพบุรุษของเค้าไม่ได้จริงๆ ยกเว้นแต่สหภาพสามกีบที่ใช้สมองไม่เป็น มองความดีคนอื่นไม่ได้เท่านั้น #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 422 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts