• 9 ตุลาคม 2567-สำนักข่าวอิศรารายงานว่า นางมนพร เจริญศรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า ในโอกาสที่สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีอายุครบ 22 ปี สนข. เปรียบเสมือน "คลังสมอง"ให้กับกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติภารกิจหน้าที่และมีบทบาทในการเสนอแนะนโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์แผนแม่บท แผนงานต่าง ๆ ด้านคมนาคมขนส่งและจราจร ทั้งมิติทางถนน ทางราง ทางน้ำ และทางอากาศ รวมทั้งผลักดันขับเคลื่อนแผนงาน โครงการ และมาตรการต่าง ๆ ให้เกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อบรรลุเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเตรียมความพร้อมในการรองรับการขยายตัว และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และผลักดันให้ประเทศไทย ก้าวสู่การเป็น "ศูนย์กลางด้านคมนาคมในภูมิภาค"

    โดยแผนงานด้านคมนาคมทางบกนั้นให้ สนข. เป็นหน่วยงานหลัก ผ่านกลไกของคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) เพื่อบริหารจัดการการแก้ไขปัญหารจราจร และในระยะกลาง ให้พัฒนาโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทาง เช่น จัดระบบฟีดเดอร์เชื่อมโยงรถเมล์ กับรถไฟฟ้า

    ส่วนระบบรางให้เร่งจัดระบบขนส่งสาธารณะในเมืองใหญ่ในภูมิภาค และ ให้ สนข. เป็นหน่วยงานร่วมในการเจรจากับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อหาข้อสรุปในโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งใหม่ ที่จังหวัดหนองคาย เพื่อเชื่อมโยงถนนกับระบบราง ส่วนในระยะกลางให้หาข้อสรูปแนวทางการพัฒนารถไฟทางคู่ระบบรถไฟฟ้าในเมืองภูมิภาค และ คมนาคมทางอากาศ ให้พิจารณาการเชื่อมต่อการเดินทางทางอากาศกับการขนส่งทางบก เพื่อให้ผู้โดยสารได้รับความสะดวก

    @ผลักดันร่าง พ.ร.บ. SEC ภายในปี 67

    นางมนพรกล่าวถึงโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้และเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน (ชุมพร-ระนอง) หรือโครงการแลนด์บริดจ์ว่า ให้ สนข. เร่งเดินหน้าให้เป็นรูปธรรม และเป็นไปตามกรอบเวลาที่กำหนดโดยจะเร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (พ.ร.บ. SEC) เพื่อขับเคลื่อนแลนด์บริดจ์ และเข้าสู่ขั้นตอนการเปิดประมูลหาผู้ร่วมลงทุน (PPP)

    ซึ่งขณะนี้ สนข.ได้เสนอเรื่องไปที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ในฐานะเลขาฯคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) เพื่อรอเสนอที่ประชุม กพศ.พิจารณามอบอำนาจให้ สนข. เป็นผู้จัดทำร่าง พ.ร.บ. SEC ก่อน เสนอร่าง พ.ร.บ.SEC ไปยังที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบ เพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรต่อไป

    ขณะที่นายปัญญา ชูพานิช ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งแลงและจราจร (สนข.) กล่าวว่า หลังจากสนข.ได้รับมอบอำนาจในการจัดทำร่างพ.ร.บ. SEC แล้วจะนำร่างพ.ร.บ.SEC รับฟังความคิดเห็นฯ มีระยะเวลา 7 วัน คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 1 เดือน จะสรุปความเห็นมาปรับปรุงประกอบ และ นำเสนอ กระทรวงคมนาคม และครม. ได้ภายในปี 2567 เข้าสู่กระบวนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต่อไป

    นายปัญญากล่าวว่า ในปี 2568 สนข. จะดำเนินการคู่ขนาน เช่น การจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการแลนด์บริดจ์ (RFP) และศึกษา EHIA รวมถึงเตรียมการจัดตั้งหน่วยงาน SEC ซึ่งจะต้องจัดตั้งให้เสร็จก่อน เพื่อทำหน้าที่ในการประมูลคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุน

    สำหรับพ.ร.บ. SEC จะใช้เป็นกฎหมาย เพื่อขับเคลื่อนแลนด์บริดจ์ จะมีการกำหนดพื้นที่ 4 จังหวัด คือสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช ชุมพร ระนอง เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ เหมือนอีอีซี

    https://www.isranews.org/article/isranews-short-news/132458-transport-30.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0hxox5LMd8oKGw5uMuOi7SIA80cONdUQhiSa-sgcprf0WOETKcJBPDC3c_aem_OSkH-jMSzmfvSL9Wimismw#m21x5n8ypb7jxxg1reh

    #Thaitimes
    9 ตุลาคม 2567-สำนักข่าวอิศรารายงานว่า นางมนพร เจริญศรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า ในโอกาสที่สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีอายุครบ 22 ปี สนข. เปรียบเสมือน "คลังสมอง"ให้กับกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติภารกิจหน้าที่และมีบทบาทในการเสนอแนะนโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์แผนแม่บท แผนงานต่าง ๆ ด้านคมนาคมขนส่งและจราจร ทั้งมิติทางถนน ทางราง ทางน้ำ และทางอากาศ รวมทั้งผลักดันขับเคลื่อนแผนงาน โครงการ และมาตรการต่าง ๆ ให้เกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อบรรลุเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเตรียมความพร้อมในการรองรับการขยายตัว และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และผลักดันให้ประเทศไทย ก้าวสู่การเป็น "ศูนย์กลางด้านคมนาคมในภูมิภาค" โดยแผนงานด้านคมนาคมทางบกนั้นให้ สนข. เป็นหน่วยงานหลัก ผ่านกลไกของคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) เพื่อบริหารจัดการการแก้ไขปัญหารจราจร และในระยะกลาง ให้พัฒนาโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทาง เช่น จัดระบบฟีดเดอร์เชื่อมโยงรถเมล์ กับรถไฟฟ้า ส่วนระบบรางให้เร่งจัดระบบขนส่งสาธารณะในเมืองใหญ่ในภูมิภาค และ ให้ สนข. เป็นหน่วยงานร่วมในการเจรจากับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อหาข้อสรุปในโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งใหม่ ที่จังหวัดหนองคาย เพื่อเชื่อมโยงถนนกับระบบราง ส่วนในระยะกลางให้หาข้อสรูปแนวทางการพัฒนารถไฟทางคู่ระบบรถไฟฟ้าในเมืองภูมิภาค และ คมนาคมทางอากาศ ให้พิจารณาการเชื่อมต่อการเดินทางทางอากาศกับการขนส่งทางบก เพื่อให้ผู้โดยสารได้รับความสะดวก @ผลักดันร่าง พ.ร.บ. SEC ภายในปี 67 นางมนพรกล่าวถึงโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้และเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน (ชุมพร-ระนอง) หรือโครงการแลนด์บริดจ์ว่า ให้ สนข. เร่งเดินหน้าให้เป็นรูปธรรม และเป็นไปตามกรอบเวลาที่กำหนดโดยจะเร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (พ.ร.บ. SEC) เพื่อขับเคลื่อนแลนด์บริดจ์ และเข้าสู่ขั้นตอนการเปิดประมูลหาผู้ร่วมลงทุน (PPP) ซึ่งขณะนี้ สนข.ได้เสนอเรื่องไปที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ในฐานะเลขาฯคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) เพื่อรอเสนอที่ประชุม กพศ.พิจารณามอบอำนาจให้ สนข. เป็นผู้จัดทำร่าง พ.ร.บ. SEC ก่อน เสนอร่าง พ.ร.บ.SEC ไปยังที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบ เพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรต่อไป ขณะที่นายปัญญา ชูพานิช ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งแลงและจราจร (สนข.) กล่าวว่า หลังจากสนข.ได้รับมอบอำนาจในการจัดทำร่างพ.ร.บ. SEC แล้วจะนำร่างพ.ร.บ.SEC รับฟังความคิดเห็นฯ มีระยะเวลา 7 วัน คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 1 เดือน จะสรุปความเห็นมาปรับปรุงประกอบ และ นำเสนอ กระทรวงคมนาคม และครม. ได้ภายในปี 2567 เข้าสู่กระบวนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต่อไป นายปัญญากล่าวว่า ในปี 2568 สนข. จะดำเนินการคู่ขนาน เช่น การจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการแลนด์บริดจ์ (RFP) และศึกษา EHIA รวมถึงเตรียมการจัดตั้งหน่วยงาน SEC ซึ่งจะต้องจัดตั้งให้เสร็จก่อน เพื่อทำหน้าที่ในการประมูลคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุน สำหรับพ.ร.บ. SEC จะใช้เป็นกฎหมาย เพื่อขับเคลื่อนแลนด์บริดจ์ จะมีการกำหนดพื้นที่ 4 จังหวัด คือสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช ชุมพร ระนอง เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ เหมือนอีอีซี https://www.isranews.org/article/isranews-short-news/132458-transport-30.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0hxox5LMd8oKGw5uMuOi7SIA80cONdUQhiSa-sgcprf0WOETKcJBPDC3c_aem_OSkH-jMSzmfvSL9Wimismw#m21x5n8ypb7jxxg1reh #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    ‘คมนาคม-สนข.’ ตั้งเป้าเสนอ พ.ร.บ. SEC เข้าครม.ภายในปี 67
    ‘มนพร’ เผยความคืบหน้าการผลักดันนโยบาย ‘แลนด์บริดจ์’ เข็นร่าง พ.ร.บ. SEC ให้ผ่าน ‘สภาพัฒน์’ โดยเร็ว ด้านผอ.สนข.ชี้ตั้งเป้าผลักดันให้ ครม. เห็นชอบภายในปีนี้
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 570 มุมมอง 0 รีวิว
  • ว่าที่นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนใหม่ นายชิเกรุ อิชิบะ วัย 67 ปี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

    27 กันยายน 2567-รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นายชิเกรุ อิชิบะ วัย 67 ปี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สามารถเอาชนะ ทาคาอิจิ ซานาเอะ รัฐมนตรีหญิงกระทรวงความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ ด้วยคะแนนเสียง 215 ต่อ 194 ทำให้นายชิเกรุ อิชิบะขึ้นเป็นหัวหน้าพรรค LDP ส่งผลให้เขาจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของญี่ปุ่นแทน คิชิดะ ฟูมิโอะ ที่ประกาศลาออกเมื่อช่วงกลางเดือน ส.ค. ที่ผ่านมา และในเดือนตุลาคมนี้ รัฐสภาญี่ปุ่นจะโหวตรับรองนายอิชิบะเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่อย่างเป็นทางการ

    ว่าที่นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนใหม่ ได้ให้คำมั่นว่าจะทำให้ญี่ปุ่นหลุดพ้นจากวิกฤตอัตราเงินเฟ้อให้ได้โดยสมบูรณ์ พร้อมทั้งจะ “เพิ่มค่าจ้างที่แท้จริง” นอกจากนี้ เขายังสนับสนุนกฎหมายที่จะอนุญาตให้ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วใช้ชื่อสกุลเดิมของตนได้ รวมถึงกล่าวว่าญี่ปุ่นควรลดการพึ่งพาพลังงานนิวเคลียร์เพื่อหันมาใช้พลังงานหมุนเวียนแทน และเรียกร้องให้มีกลุ่มความมั่นคงของนาโต (NATO) ในเอเชียเพื่อต่อต้านภัยคุกคามจากจีนและเกาหลีเหนือ แต่เหนือกว่านั้นอิชิบะเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์ Japan Status of Forces Agreement, SOFA (日米地位協定 ) โดยจะเอาค่ายฝึกกำลังญี่ปุ่นไปวางที่อเมริกา ไม่ใช่แค่ให้สหรัฐมาขายอาวุธยุทโธปกรณ์แล้วตั้งฐานทัพค่ายทหารในญี่ปุ่นเหมือนเคย

    และอิชิบะบอกว่าจะเดินหน้าสานความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับผู้นำสหรัฐฯ คนใหม่ท่ามกลางความท้าทายด้านความมั่นคงที่เพิ่มมากขึ้นในเอเชีย ท่ามกลางความเห็นของญี่ปุ่นส่วนหนึ่งที่มองว่าอิชิบะโปรจีน จากเหตุการณ์เมื่อปี2019 ที่อิชิบะเคยต้อนรับขับสู้จะร่วมมือทางทหารกับจีน

    เส้นทางการเมืองของนายชิเกรุ อิชิบะ เคยลงชิงชัยในตำแหน่งผู้นำญี่ปุ่นกับชินโซะ อาเบะ แต่พ่ายแพ้อาเบะไปถึง 3 ครั้ง เพราะเขาไม่ค่อยได้รับความสนับสนุนจากนักการเมืองในพรรค LDP มากนัก

    ด้านนโยบายเศรษฐกิจ อิชิบะถือว่าเป็นผู้ที่ชอบให้รัฐบาลออกมาตรการที่เน้นงบประมาณเพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาส ทว่าไม่เห็นด้วยที่ธนาคารกลางญี่ปุ่น ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่ำในการกระตุ้นเศรษฐกิจ

    #Thaitimes
    ว่าที่นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนใหม่ นายชิเกรุ อิชิบะ วัย 67 ปี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม 27 กันยายน 2567-รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นายชิเกรุ อิชิบะ วัย 67 ปี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สามารถเอาชนะ ทาคาอิจิ ซานาเอะ รัฐมนตรีหญิงกระทรวงความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ ด้วยคะแนนเสียง 215 ต่อ 194 ทำให้นายชิเกรุ อิชิบะขึ้นเป็นหัวหน้าพรรค LDP ส่งผลให้เขาจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของญี่ปุ่นแทน คิชิดะ ฟูมิโอะ ที่ประกาศลาออกเมื่อช่วงกลางเดือน ส.ค. ที่ผ่านมา และในเดือนตุลาคมนี้ รัฐสภาญี่ปุ่นจะโหวตรับรองนายอิชิบะเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่อย่างเป็นทางการ ว่าที่นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนใหม่ ได้ให้คำมั่นว่าจะทำให้ญี่ปุ่นหลุดพ้นจากวิกฤตอัตราเงินเฟ้อให้ได้โดยสมบูรณ์ พร้อมทั้งจะ “เพิ่มค่าจ้างที่แท้จริง” นอกจากนี้ เขายังสนับสนุนกฎหมายที่จะอนุญาตให้ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วใช้ชื่อสกุลเดิมของตนได้ รวมถึงกล่าวว่าญี่ปุ่นควรลดการพึ่งพาพลังงานนิวเคลียร์เพื่อหันมาใช้พลังงานหมุนเวียนแทน และเรียกร้องให้มีกลุ่มความมั่นคงของนาโต (NATO) ในเอเชียเพื่อต่อต้านภัยคุกคามจากจีนและเกาหลีเหนือ แต่เหนือกว่านั้นอิชิบะเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์ Japan Status of Forces Agreement, SOFA (日米地位協定 ) โดยจะเอาค่ายฝึกกำลังญี่ปุ่นไปวางที่อเมริกา ไม่ใช่แค่ให้สหรัฐมาขายอาวุธยุทโธปกรณ์แล้วตั้งฐานทัพค่ายทหารในญี่ปุ่นเหมือนเคย และอิชิบะบอกว่าจะเดินหน้าสานความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับผู้นำสหรัฐฯ คนใหม่ท่ามกลางความท้าทายด้านความมั่นคงที่เพิ่มมากขึ้นในเอเชีย ท่ามกลางความเห็นของญี่ปุ่นส่วนหนึ่งที่มองว่าอิชิบะโปรจีน จากเหตุการณ์เมื่อปี2019 ที่อิชิบะเคยต้อนรับขับสู้จะร่วมมือทางทหารกับจีน เส้นทางการเมืองของนายชิเกรุ อิชิบะ เคยลงชิงชัยในตำแหน่งผู้นำญี่ปุ่นกับชินโซะ อาเบะ แต่พ่ายแพ้อาเบะไปถึง 3 ครั้ง เพราะเขาไม่ค่อยได้รับความสนับสนุนจากนักการเมืองในพรรค LDP มากนัก ด้านนโยบายเศรษฐกิจ อิชิบะถือว่าเป็นผู้ที่ชอบให้รัฐบาลออกมาตรการที่เน้นงบประมาณเพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาส ทว่าไม่เห็นด้วยที่ธนาคารกลางญี่ปุ่น ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่ำในการกระตุ้นเศรษฐกิจ #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 976 มุมมอง 0 รีวิว
  • #แผนยุทธศาสตร์​ชาติ20ปี#goal is not action#คนสนใจควรอ่าน​ ​จะได้รู้ทัน#ปกป้องรัฐธรรมนูญ​ปี60
    หลายวันก่อนฟังเทพกบพูดถึงแผนยุทธศาสตร์​ชาติ20ปี​ เลยไปลองหาอ่านมีเพียง15หน้าอ่านคร่าวๆ​ก็ได้​ (ผมแค๊พข้อความบางประเด็นมา​ เผื่อสนใจ)​

    https://www.nesdc.go.th/download/document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf

    ส่วนลิ้งค์ที่สองมาจากเพื่อไทย​ ที่ช่วงต้นทำให้ทราบว่าเป็น​ รัฐธรรมนูญ​ปี60​ ที่วางกรอบ​ แต่ไม่รู้ถ้ารัฐบาลไม่ทำตามกรอบจะเป็นอย่างไร

    https://www.facebook.com/share/v/grfVDJyp3YYXWaB5/?mibextid=oFDknk

    แล้วหากคุณอ่านแผนยุทธศาสตร์​ชาติมาก่อนตามลำดับ​ แล้วลองดูคลิปถัดมา​ แล้วลองไปที่ภาพที่แค๊พมา

    https://youtu.be/V-nGKyGGmzA?si=8F85IFHmR7xdy2Wa

    คุณคิดว่าเขาอ่านมาก่อนหรือมโนเองว่าแผน​20ปี​ มันจะต้องเชย​ ใครทำยาว​ เงินดิจิทัล​นอกจากเงินบาท​แบบโอนจ่าย​ คนละเรื่อง​ เปิดคาสิโนบอกมีเงินเข้ารัฐ​ แต่ปัญหาสังคมไม่พูดถึง​ ต่างชาติเช่าที่ดิน​99ปี​ ซื้อคอนโด​ ได้เงินมา​ แต่เซาะกร่อนถูกยึดประเทศโดยไม่ต้องรบ

    ยังมีคนอื่นที่วิจารณ์​อีกนะ​

    ลองคิดเอง​ ทีละประเด็น​ แผนมันไม่ใช่แอ็คชั่นแพลน​ การที่เป็นราชการ​ ก็คงไม่หวังมากจริงไหม

    เป็นต้นว่าแผนเขียนไม่ครอบคลุม​ คุณก็เขียนแผนรายปีทำสิ​ เค้าบอกขอสามเรื่องนี้คุณทำได้ห้าเรื่องก็ดีกับคุณ​ เพราะแผนมันบอกว่าอยากให้เป็นแบบนี้

    ปัญหามันมีมาก​ เงินก็ต้องใช้หนี้​ แล้วยังซื้อทองคํา​สำรองเพิ่ม​ ลุงทำไม่ถูกไม่ดี​ คุณก็ทำให้มันดีสิ​ แค่ไปถึงเป้าหมายเหมือนกัน​ เค้าไม่ได้บอกนิว่าไปเชียงใหม่ไปทางไหน​ ส่วนคุณบอกไปด้วยสเก๊ตบอร์ดไอพ่น​ก็ได้​ แต่มันต้องตอบโจทย์​แผนข้ออื่นด้วย​ ว่าปลอดภัย​ มีจราจรทางอากาศ​ ความมั่นคงดินแดน​ และได้สเก็ต​บอร์ด​คืน​ เมื่อไปถึง จริงไหม

    คุณเขียนวิจารณ์​ แต่คุณไม่เขียนชัดๆ​ ว่าตรงไหน​ แล้วที่ถูกควรทำอย่างไร​ เรียกว่าอ่านเอามันส์​ คุณทำไมไม่เขียนแบบใส่ไอเดียคุณที่คิดว่าดีกว่าล่ะ​ แล้วหาช่องทางบอกให้ทีมทำแผนทราบ​ จะดีกว่ามาเขียน​ลอยๆ​ ว่าไม่มีโน่นนี่หรอกคนที่ไม่ได้อ่านแผน​
    #แผนยุทธศาสตร์​ชาติ20ปี#goal is not action#คนสนใจควรอ่าน​ ​จะได้รู้ทัน#ปกป้องรัฐธรรมนูญ​ปี60 หลายวันก่อนฟังเทพกบพูดถึงแผนยุทธศาสตร์​ชาติ20ปี​ เลยไปลองหาอ่านมีเพียง15หน้าอ่านคร่าวๆ​ก็ได้​ (ผมแค๊พข้อความบางประเด็นมา​ เผื่อสนใจ)​ https://www.nesdc.go.th/download/document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf ส่วนลิ้งค์ที่สองมาจากเพื่อไทย​ ที่ช่วงต้นทำให้ทราบว่าเป็น​ รัฐธรรมนูญ​ปี60​ ที่วางกรอบ​ แต่ไม่รู้ถ้ารัฐบาลไม่ทำตามกรอบจะเป็นอย่างไร https://www.facebook.com/share/v/grfVDJyp3YYXWaB5/?mibextid=oFDknk แล้วหากคุณอ่านแผนยุทธศาสตร์​ชาติมาก่อนตามลำดับ​ แล้วลองดูคลิปถัดมา​ แล้วลองไปที่ภาพที่แค๊พมา https://youtu.be/V-nGKyGGmzA?si=8F85IFHmR7xdy2Wa คุณคิดว่าเขาอ่านมาก่อนหรือมโนเองว่าแผน​20ปี​ มันจะต้องเชย​ ใครทำยาว​ เงินดิจิทัล​นอกจากเงินบาท​แบบโอนจ่าย​ คนละเรื่อง​ เปิดคาสิโนบอกมีเงินเข้ารัฐ​ แต่ปัญหาสังคมไม่พูดถึง​ ต่างชาติเช่าที่ดิน​99ปี​ ซื้อคอนโด​ ได้เงินมา​ แต่เซาะกร่อนถูกยึดประเทศโดยไม่ต้องรบ ยังมีคนอื่นที่วิจารณ์​อีกนะ​ ลองคิดเอง​ ทีละประเด็น​ แผนมันไม่ใช่แอ็คชั่นแพลน​ การที่เป็นราชการ​ ก็คงไม่หวังมากจริงไหม เป็นต้นว่าแผนเขียนไม่ครอบคลุม​ คุณก็เขียนแผนรายปีทำสิ​ เค้าบอกขอสามเรื่องนี้คุณทำได้ห้าเรื่องก็ดีกับคุณ​ เพราะแผนมันบอกว่าอยากให้เป็นแบบนี้ ปัญหามันมีมาก​ เงินก็ต้องใช้หนี้​ แล้วยังซื้อทองคํา​สำรองเพิ่ม​ ลุงทำไม่ถูกไม่ดี​ คุณก็ทำให้มันดีสิ​ แค่ไปถึงเป้าหมายเหมือนกัน​ เค้าไม่ได้บอกนิว่าไปเชียงใหม่ไปทางไหน​ ส่วนคุณบอกไปด้วยสเก๊ตบอร์ดไอพ่น​ก็ได้​ แต่มันต้องตอบโจทย์​แผนข้ออื่นด้วย​ ว่าปลอดภัย​ มีจราจรทางอากาศ​ ความมั่นคงดินแดน​ และได้สเก็ต​บอร์ด​คืน​ เมื่อไปถึง จริงไหม คุณเขียนวิจารณ์​ แต่คุณไม่เขียนชัดๆ​ ว่าตรงไหน​ แล้วที่ถูกควรทำอย่างไร​ เรียกว่าอ่านเอามันส์​ คุณทำไมไม่เขียนแบบใส่ไอเดียคุณที่คิดว่าดีกว่าล่ะ​ แล้วหาช่องทางบอกให้ทีมทำแผนทราบ​ จะดีกว่ามาเขียน​ลอยๆ​ ว่าไม่มีโน่นนี่หรอกคนที่ไม่ได้อ่านแผน​
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 379 มุมมอง 0 รีวิว