• "กองทัพภาคที่ 2 ประชุมแถลงแผนการถวายความปลอดภัยแด่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี"

    พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 เป็นประธานประชุมแถลงการแผนถวายความปลอดภัย แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีกำหนดการเสด็จฯ มาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่ จังหวัดมหาสารคาม ณ ห้องประชุม (1) กองบัญชาการกองทัพภาคที่ 2 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2568 ในการนี้ ได้รับฟังบรรยายสรุป เพื่อให้การรับเสด็จฯ มีความปลอดภัยสูงสุด และสมพระเกียรติ
    #กองทัพภาคที่2
    #ถวายความปลอดภัย
    "กองทัพภาคที่ 2 ประชุมแถลงแผนการถวายความปลอดภัยแด่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี" พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 เป็นประธานประชุมแถลงการแผนถวายความปลอดภัย แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีกำหนดการเสด็จฯ มาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่ จังหวัดมหาสารคาม ณ ห้องประชุม (1) กองบัญชาการกองทัพภาคที่ 2 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2568 ในการนี้ ได้รับฟังบรรยายสรุป เพื่อให้การรับเสด็จฯ มีความปลอดภัยสูงสุด และสมพระเกียรติ #กองทัพภาคที่2 #ถวายความปลอดภัย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กองทัพภาคที่ 2 ประชุมแถลงแผนการถวายความปลอดภัยแด่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี"

    พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 เป็นประธานประชุมแถลงการแผนถวายความปลอดภัย แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีกำหนดการเสด็จฯ มาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่ จังหวัดมหาสารคาม ณ ห้องประชุม (1) กองบัญชาการกองทัพภาคที่ 2 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2568 ในการนี้ ได้รับฟังบรรยายสรุป เพื่อให้การรับเสด็จฯ มีความปลอดภัยสูงสุด และสมพระเกียรติ
    #กองทัพภาคที่2
    #ถวายความปลอดภัย
    "กองทัพภาคที่ 2 ประชุมแถลงแผนการถวายความปลอดภัยแด่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี" พลโท บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 เป็นประธานประชุมแถลงการแผนถวายความปลอดภัย แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีกำหนดการเสด็จฯ มาทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่ จังหวัดมหาสารคาม ณ ห้องประชุม (1) กองบัญชาการกองทัพภาคที่ 2 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2568 ในการนี้ ได้รับฟังบรรยายสรุป เพื่อให้การรับเสด็จฯ มีความปลอดภัยสูงสุด และสมพระเกียรติ #กองทัพภาคที่2 #ถวายความปลอดภัย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • สายสัมพันธ์ไทย-ภูฏาน สองราชวงศ์เชื่อมใจประชาชน

    การเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรภูฏานอย่างเป็นทางการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ระหว่างวันที่ 25-28 เม.ย. 2568 ตามคำทูลเชิญของสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งภูฏาน นับเป็นการกระชับมิตรภาพและความร่วมมืออันใกล้ชิดระหว่างราชอาณาจักรทั้งสองให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จากการมีมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกันในความเลื่อมใสในบวรพระพุทธศาสนาและสายสัมพันธ์ระหว่างราชวงศ์ทั้งสอง รวมทั้งระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ

    พระราชกรณียกิจที่น่าสนใจ อาทิ ทอดพระเนตรโครงการตามพระราชดำริของสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งภูฏาน เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชน ได้แก่ โครงการฝึกอบรมเกียลซุง (Gyalsung National Service) ให้เยาวชนทุกคนที่มีอายุ 18 ปี เข้าร่วมการฝึกอบรมระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และมีทักษะประจำตัวในการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ โครงการจิตอาสาเดซุง (De-suung) เพื่อส่งเสริมให้ชาวภูฏานมีบทบาทในการสร้างชาติและพัฒนาประเทศ มีจิตอาสาทำงานเพื่อสังคมและส่วนรวม ความสมานฉันท์ สามารถทำงานเป็นทีมและมีระเบียบวินัย

    การเสด็จพระราชดำเนินไปยังสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปดอร์เดนมา เพื่อร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายพระพรชัยมงคล โดยคณะสงฆ์ฝ่ายภูฏานและคณะสงฆ์ไทย ฝ่ายละ 74 รูป การเสด็จพระราชดำเนินไปยังโครงการหลวงเดเชนโชลิง ทอดพระเนตรนิทรรศการความร่วมมือระหว่างมูลนิธิโครงการหลวงของไทย กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภูฏาน ทอดพระเนตรโครงการเดชุง และโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

    การเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชวังลิงคานา เพื่อทอดพระเนตรการแสดงศิลปวัฒนธรรมของภูฏาน การยิงธนู และกีฬาพื้นบ้าน ทอดพระเนตรงานหัตถกรรมผ้าและสิ่งทอของราชอาณาจักรภูฏาน การเสด็จพระราชดำเนินไปยังตลาดกลางประจำกรุงทิมพู ทอดพระเนตรโครงการพัฒนาทักษะอาสาสมัครในโครงการเดซุง ทอดพระเนตรร้านค้าจำหน่ายพืชผลทางการเกษตร การเสด็จพระราชดำเนินไปยังป้อมดุงการ์ ทรงสักการะพระศากยมุนี ทอดพระเนตรกิจกรรมของราชวิทยาลัย และโครงการพัฒนาเมืองเกเลฟู ให้เป็นเมืองแห่งสติปัญญาในเขตปกครองพิเศษ

    นับเป็นพระราชไมตรีส่วนพระองค์ ที่มีค่านิยมร่วมกันในการพัฒนาประเทศอย่างสมดุล บนพื้นฐานของวัฒนธรรมและศรัทธา​ของประชาชนทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะการน้อมนำหลักการของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศ ตามนโยบายความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness) ที่มุ่งเน้นความสุขของประชาชนมากกว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจ

    #Newskit
    สายสัมพันธ์ไทย-ภูฏาน สองราชวงศ์เชื่อมใจประชาชน การเสด็จพระราชดำเนินเยือนราชอาณาจักรภูฏานอย่างเป็นทางการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ระหว่างวันที่ 25-28 เม.ย. 2568 ตามคำทูลเชิญของสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งภูฏาน นับเป็นการกระชับมิตรภาพและความร่วมมืออันใกล้ชิดระหว่างราชอาณาจักรทั้งสองให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จากการมีมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกันในความเลื่อมใสในบวรพระพุทธศาสนาและสายสัมพันธ์ระหว่างราชวงศ์ทั้งสอง รวมทั้งระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ พระราชกรณียกิจที่น่าสนใจ อาทิ ทอดพระเนตรโครงการตามพระราชดำริของสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งภูฏาน เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชน ได้แก่ โครงการฝึกอบรมเกียลซุง (Gyalsung National Service) ให้เยาวชนทุกคนที่มีอายุ 18 ปี เข้าร่วมการฝึกอบรมระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และมีทักษะประจำตัวในการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ โครงการจิตอาสาเดซุง (De-suung) เพื่อส่งเสริมให้ชาวภูฏานมีบทบาทในการสร้างชาติและพัฒนาประเทศ มีจิตอาสาทำงานเพื่อสังคมและส่วนรวม ความสมานฉันท์ สามารถทำงานเป็นทีมและมีระเบียบวินัย การเสด็จพระราชดำเนินไปยังสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปดอร์เดนมา เพื่อร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายพระพรชัยมงคล โดยคณะสงฆ์ฝ่ายภูฏานและคณะสงฆ์ไทย ฝ่ายละ 74 รูป การเสด็จพระราชดำเนินไปยังโครงการหลวงเดเชนโชลิง ทอดพระเนตรนิทรรศการความร่วมมือระหว่างมูลนิธิโครงการหลวงของไทย กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภูฏาน ทอดพระเนตรโครงการเดชุง และโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชวังลิงคานา เพื่อทอดพระเนตรการแสดงศิลปวัฒนธรรมของภูฏาน การยิงธนู และกีฬาพื้นบ้าน ทอดพระเนตรงานหัตถกรรมผ้าและสิ่งทอของราชอาณาจักรภูฏาน การเสด็จพระราชดำเนินไปยังตลาดกลางประจำกรุงทิมพู ทอดพระเนตรโครงการพัฒนาทักษะอาสาสมัครในโครงการเดซุง ทอดพระเนตรร้านค้าจำหน่ายพืชผลทางการเกษตร การเสด็จพระราชดำเนินไปยังป้อมดุงการ์ ทรงสักการะพระศากยมุนี ทอดพระเนตรกิจกรรมของราชวิทยาลัย และโครงการพัฒนาเมืองเกเลฟู ให้เป็นเมืองแห่งสติปัญญาในเขตปกครองพิเศษ นับเป็นพระราชไมตรีส่วนพระองค์ ที่มีค่านิยมร่วมกันในการพัฒนาประเทศอย่างสมดุล บนพื้นฐานของวัฒนธรรมและศรัทธา​ของประชาชนทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะการน้อมนำหลักการของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศ ตามนโยบายความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness) ที่มุ่งเน้นความสุขของประชาชนมากกว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจ #Newskit
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 276 มุมมอง 0 รีวิว
  • 243 ปี สำเร็จโทษ “พระเจ้าตาก” กษัตริย์ผู้กอบกู้ นักรบผู้เดียวดาย สู่ตำนานมหาราช เบื้องหลังความจริงของวันประหาร ที่ยังเป็นปริศนา

    📌 เรื่องราวสุดลึกซึ้งของ "พระเจ้าตากสินมหาราช" วีรกษัตริย์ผู้กอบกู้เอกราช สู่ฉากอวสานที่ยังคลุมเครือ หลังผ่านมา 243 ปี ความจริงของวันสำเร็จโทษ ยังรอการค้นหา ข้อเท็จจริงและปริศนา ที่ยังรอการคลี่คลาย ✨

    🔥 "พระเจ้าตาก" ตำนานนักรบผู้เดียวดาย ที่ยังไม่ถูกลืม วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ถือเป็นหนึ่งในวันสำคัญ ของประวัติศาสตร์ไทย 🇹🇭 วันนั้นไม่ใช่เพียงการเริ่มต้นราชวงศ์จักรีเท่านั้น แต่ยังเป็นวันที่ “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” หรือ “พระเจ้ากรุงธนบุรี” เสด็จสวรรคตอย่างเป็นทางการ... หรืออาจจะไม่?

    243 ปี ผ่านไป เรื่องราวของพระองค์ยังคงเป็นที่ถกเถียง 😢 ทั้งในแวดวงวิชาการ ประวัติศาสตร์ และสังคมไทยโดยรวม เพราะแม้จะได้รับการยกย่อง ให้เป็นวีรกษัตริย์ผู้กอบกู้ชาติ แต่จุดจบของพระองค์ กลับเต็มไปด้วยข้อสงสัย ความคลุมเครือ และคำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบอย่างแท้จริง

    ย้อนเวลากลับไปสำรวจเรื่องราวของ "พระเจ้าตากสิน" ตั้งแต่วีรกรรมกู้ชาติ ไปจนถึงวาระสุดท้ายในชีวิต เพื่อค้นหาความจริง และความหมายที่ซ่อนอยู่ในตำนานของพระองค์

    👑 "พระเจ้าตากสิน" กษัตริย์เพียงพระองค์เดียวแห่งกรุงธนบุรี

    🌊 จากนายทหาร สู่กษัตริย์ผู้กอบกู้ "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" หรือพระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระนามเดิมว่า "สิน" เป็นบุตรของชาวจีนแต้จิ๋ว โดยทรงเข้ารับราชการในสมัย "สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์" รัชกาลสุดท้ายแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง

    เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 พระยาตากคือผู้นำที่ยืนหยัด และฝ่าทัพพม่าออกไปตั้งหลักที่จันทบุรี 🐎 พร้อมกับรวบรวมผู้คนและกำลังพล จนสามารถกลับมากู้ชาติ และยึดกรุงศรีอยุธยาคืนจากพม่า ได้ภายในเวลาเพียง 7 เดือน ✨

    หลังจากนั้น ทรงย้ายราชธานีมาตั้งที่กรุงธนบุรี พร้อมปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และสถาปนา “อาณาจักรธนบุรี” 🏰

    🌟 พระราชกรณียกิจที่ยิ่งใหญ่ "พระเจ้าตากสิน" มิได้เป็นเพียงนักรบ แต่ทรงเป็นนักปกครอง ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล พระองค์ทรงฟื้นฟูบ้านเมืองหลังสงคราม อย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ศาสนา และวัฒนธรรม 🎨📚

    🔸 ส่งเสริมการค้ากับจีนและต่างประเทศ

    🔸 ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา โดยให้มีการอุปสมบทพระสงฆ์ใหม่จำนวนมาก

    🔸 ส่งเสริมวรรณกรรม และการศึกษา

    🔸 รวบรวมดินแดนที่แตกแยก กลับเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

    พระองค์ยังได้รับ การถวายพระราชสมัญญานามว่า “มหาราช” โดยรัฐบาลไทยได้กำหนดให้วันที่ 28 ธันวาคมของทุกปี เป็น “วันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” เพื่อเป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ 💖

    ⚔️ จุดจบที่เป็นปริศนา วาระสุดท้ายของพระเจ้าตากสิน แม้พระองค์จะทรงกู้ชาติ และสร้างบ้านแปงเมือง แต่พระเจ้าตากก็ต้องเผชิญกับความขัดแย้งภายใน และการทรยศจากผู้ใกล้ชิด

    ในปี พ.ศ. 2325 พระยาสรรค์กับพวกได้ก่อการกบฏ อ้างว่าพระเจ้าตากสินมีพระสติวิปลาส ทำให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ต่อมาคือรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี ยกทัพกลับจากเขมรเข้ากรุงธนบุรี และสั่งสำเร็จโทษพระเจ้าตากสินโดยการ “ตัดศีรษะ” ที่ป้อมวิไชยประสิทธิ์ ในวันที่ 6 เมษายน 2325 👑

    🕯️ พระชนมพรรษา 48 ปี ครองราชย์รวม 15 ปี

    แต่ความจริงเป็นเช่นนั้นจริงหรือ? หลักฐานและคำบอกเล่าต่างๆ กลับชี้ไปในทิศทางที่แตกต่างกัน...

    📚 พงศาวดาร หลากหลายข้อสันนิษฐาน

    1️⃣ ฉบับพระราชหัตถเลขา ประหารโดยตัดศีรษะ เล่าว่า... พระเจ้าตากถูกตัดศีรษะโดยเพชฌฆาต ไม่มีการใช้คำว่า “สวรรคต” แต่ใช้คำว่า “ถึงแก่พิราลัย” แสดงว่าอาจถูกริดรอนพระยศ ก่อนที่สำเร็จโทษ

    2️⃣ ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ม็อบพาไปสำเร็จ ณ ป้อมท้ายเมือง ระบุว่า... “ทแกล้วทหารทั้งปวงมีใจเจ็บแค้น นำเอาพระเจ้าแผ่นดินไปสำเร็จ ณ ป้อมท้ายเมือง” โดยไม่ระบุวิธี

    3️⃣ สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ชนหมู่มากฆ่าพระองค์ กล่าวว่า... “ชนทั้งหลายมีความโกรธ ชวนกันกำจัดเสียจากราชสมบัติ แล้วพิฆาฎฆ่าเสีย”

    4️⃣ พระยาทัศดาจัตุรงค์ หัวใจวายเฉียบพลัน เขียนว่า... “เกิดวิกลดลจิตประจุบัน ท้าวดับชีวัน” ซึ่งแปลว่าพระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยอาการหัวใจวาย

    🕵️‍♂️ เรื่องเล่าหลัง 2475 สร้างตำนานใหม่ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 เรื่องราวของพระเจ้าตาก ถูกนำมาผลิตซ้ำในรูปแบบใหม่ โดยเน้นไปที่... การเป็นวีรกษัตริย์ของประชาชน อาทิ วรรณกรรมเรื่อง “ใครฆ่าพระเจ้าตากสิน” ของภิกษุณีโพธิสัตว์ "วรมัย กบิลสิงห์" ซึ่งอ้างว่า “พระองค์ไม่ถูกประหาร แต่สับเปลี่ยนตัวกับนายมั่น”

    🔍 จุดมุ่งหมายคือ การสร้างความรู้สึกร่วมของคนไทย สร้างอุดมการณ์ประชาธิปไตย และเน้นความสามัคคีแห่งชาติ 🇹🇭

    🧠 ข้อวิเคราะห์ คำถามที่ยังไม่มีคำตอบ

    ❓ พระเจ้าตากเสียสติจริงหรือ? เอกสารหลายฉบับระบุว่า พระองค์มีพระสติวิปลาส แต่บทสนทนาก่อนประหารที่ว่า “ขอเข้าเฝ้าสนทนาอีกสักสองสามคำ” นั้นชัดเจน และเต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ 🤔

    ❓ มีการสับเปลี่ยนตัวจริงหรือ? ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนใด ๆ รองรับ แต่แนวคิดนี้ ปรากฏอย่างแพร่หลายในวรรณกรรม และความเชื่อของประชาชน

    📜 วันที่พระองค์ถูกลืม? วันที่ 6 เมษายน ถูกกำหนดให้เป็น "วันจักรี" เพื่อระลึกถึงการสถาปนาราชวงศ์จักรี โดยไม่มีการกล่าวถึงพระเจ้าตากเลย ทั้งที่วันเดียวกันนั้น คือวันสิ้นพระชนม์ของพระองค์เช่นกัน

    ทำให้เกิดคำถามในใจใครหลายคนว่า พระเจ้าตากถูก “กลบ” จากประวัติศาสตร์หรือไม่? 😢

    🛕 พระเจ้าตากในความทรงจำของประชาชน แม้ประวัติศาสตร์ทางการจะบอกว่า พระองค์ถูกประหารชีวิต แต่ในความเชื่อของประชาชนทั่วไป พระเจ้าตากยังคงเป็น “วีรกษัตริย์ผู้ไม่เคยพ่าย” 🙏

    มีการสักการะพระบรมรูปที่วงเวียนใหญ่ คนไทยเชื้อสายจีนเรียกพระองค์ว่า “แต่อ่วงกง” มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มากมาย ที่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับพระองค์

    🧾 จากความจริง...สู่ตำนาน 243 ปีผ่านไป...วาระสุดท้ายของพระเจ้าตากสินมหาราช ยังคงเต็มไปด้วยคำถาม ปริศนา และความรู้สึกค้างคาใจ ของคนไทยจำนวนมาก

    แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนคือ... พระเจ้าตากมิใช่เพียงนักรบผู้เดียวดาย แต่คือบุคคลผู้เปลี่ยนชะตากรรมของแผ่นดินนี้ ไว้ในช่วงเวลาที่ยากที่สุด ในประวัติศาสตร์ไทย 🇹🇭

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 060744 เม.ย. 2568

    📱 #พระเจ้าตาก #สมเด็จพระเจ้าตากสิน #ประวัติศาสตร์ไทย #243ปีพระเจ้าตาก #ตำนานพระเจ้าตาก #วันประหารพระเจ้าตาก #วันจักรี #ราชวงศ์ธนบุรี #วีรกษัตริย์ไทย #กษัตริย์ผู้กอบกู้
    243 ปี สำเร็จโทษ “พระเจ้าตาก” กษัตริย์ผู้กอบกู้ นักรบผู้เดียวดาย สู่ตำนานมหาราช เบื้องหลังความจริงของวันประหาร ที่ยังเป็นปริศนา 📌 เรื่องราวสุดลึกซึ้งของ "พระเจ้าตากสินมหาราช" วีรกษัตริย์ผู้กอบกู้เอกราช สู่ฉากอวสานที่ยังคลุมเครือ หลังผ่านมา 243 ปี ความจริงของวันสำเร็จโทษ ยังรอการค้นหา ข้อเท็จจริงและปริศนา ที่ยังรอการคลี่คลาย ✨ 🔥 "พระเจ้าตาก" ตำนานนักรบผู้เดียวดาย ที่ยังไม่ถูกลืม วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ถือเป็นหนึ่งในวันสำคัญ ของประวัติศาสตร์ไทย 🇹🇭 วันนั้นไม่ใช่เพียงการเริ่มต้นราชวงศ์จักรีเท่านั้น แต่ยังเป็นวันที่ “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” หรือ “พระเจ้ากรุงธนบุรี” เสด็จสวรรคตอย่างเป็นทางการ... หรืออาจจะไม่? 243 ปี ผ่านไป เรื่องราวของพระองค์ยังคงเป็นที่ถกเถียง 😢 ทั้งในแวดวงวิชาการ ประวัติศาสตร์ และสังคมไทยโดยรวม เพราะแม้จะได้รับการยกย่อง ให้เป็นวีรกษัตริย์ผู้กอบกู้ชาติ แต่จุดจบของพระองค์ กลับเต็มไปด้วยข้อสงสัย ความคลุมเครือ และคำถามที่ไม่เคยได้รับคำตอบอย่างแท้จริง ย้อนเวลากลับไปสำรวจเรื่องราวของ "พระเจ้าตากสิน" ตั้งแต่วีรกรรมกู้ชาติ ไปจนถึงวาระสุดท้ายในชีวิต เพื่อค้นหาความจริง และความหมายที่ซ่อนอยู่ในตำนานของพระองค์ 👑 "พระเจ้าตากสิน" กษัตริย์เพียงพระองค์เดียวแห่งกรุงธนบุรี 🌊 จากนายทหาร สู่กษัตริย์ผู้กอบกู้ "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" หรือพระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระนามเดิมว่า "สิน" เป็นบุตรของชาวจีนแต้จิ๋ว โดยทรงเข้ารับราชการในสมัย "สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์" รัชกาลสุดท้ายแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 พระยาตากคือผู้นำที่ยืนหยัด และฝ่าทัพพม่าออกไปตั้งหลักที่จันทบุรี 🐎 พร้อมกับรวบรวมผู้คนและกำลังพล จนสามารถกลับมากู้ชาติ และยึดกรุงศรีอยุธยาคืนจากพม่า ได้ภายในเวลาเพียง 7 เดือน ✨ หลังจากนั้น ทรงย้ายราชธานีมาตั้งที่กรุงธนบุรี พร้อมปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และสถาปนา “อาณาจักรธนบุรี” 🏰 🌟 พระราชกรณียกิจที่ยิ่งใหญ่ "พระเจ้าตากสิน" มิได้เป็นเพียงนักรบ แต่ทรงเป็นนักปกครอง ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล พระองค์ทรงฟื้นฟูบ้านเมืองหลังสงคราม อย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ศาสนา และวัฒนธรรม 🎨📚 🔸 ส่งเสริมการค้ากับจีนและต่างประเทศ 🔸 ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา โดยให้มีการอุปสมบทพระสงฆ์ใหม่จำนวนมาก 🔸 ส่งเสริมวรรณกรรม และการศึกษา 🔸 รวบรวมดินแดนที่แตกแยก กลับเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน พระองค์ยังได้รับ การถวายพระราชสมัญญานามว่า “มหาราช” โดยรัฐบาลไทยได้กำหนดให้วันที่ 28 ธันวาคมของทุกปี เป็น “วันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” เพื่อเป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ 💖 ⚔️ จุดจบที่เป็นปริศนา วาระสุดท้ายของพระเจ้าตากสิน แม้พระองค์จะทรงกู้ชาติ และสร้างบ้านแปงเมือง แต่พระเจ้าตากก็ต้องเผชิญกับความขัดแย้งภายใน และการทรยศจากผู้ใกล้ชิด ในปี พ.ศ. 2325 พระยาสรรค์กับพวกได้ก่อการกบฏ อ้างว่าพระเจ้าตากสินมีพระสติวิปลาส ทำให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ต่อมาคือรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี ยกทัพกลับจากเขมรเข้ากรุงธนบุรี และสั่งสำเร็จโทษพระเจ้าตากสินโดยการ “ตัดศีรษะ” ที่ป้อมวิไชยประสิทธิ์ ในวันที่ 6 เมษายน 2325 👑 🕯️ พระชนมพรรษา 48 ปี ครองราชย์รวม 15 ปี แต่ความจริงเป็นเช่นนั้นจริงหรือ? หลักฐานและคำบอกเล่าต่างๆ กลับชี้ไปในทิศทางที่แตกต่างกัน... 📚 พงศาวดาร หลากหลายข้อสันนิษฐาน 1️⃣ ฉบับพระราชหัตถเลขา ประหารโดยตัดศีรษะ เล่าว่า... พระเจ้าตากถูกตัดศีรษะโดยเพชฌฆาต ไม่มีการใช้คำว่า “สวรรคต” แต่ใช้คำว่า “ถึงแก่พิราลัย” แสดงว่าอาจถูกริดรอนพระยศ ก่อนที่สำเร็จโทษ 2️⃣ ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ม็อบพาไปสำเร็จ ณ ป้อมท้ายเมือง ระบุว่า... “ทแกล้วทหารทั้งปวงมีใจเจ็บแค้น นำเอาพระเจ้าแผ่นดินไปสำเร็จ ณ ป้อมท้ายเมือง” โดยไม่ระบุวิธี 3️⃣ สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ชนหมู่มากฆ่าพระองค์ กล่าวว่า... “ชนทั้งหลายมีความโกรธ ชวนกันกำจัดเสียจากราชสมบัติ แล้วพิฆาฎฆ่าเสีย” 4️⃣ พระยาทัศดาจัตุรงค์ หัวใจวายเฉียบพลัน เขียนว่า... “เกิดวิกลดลจิตประจุบัน ท้าวดับชีวัน” ซึ่งแปลว่าพระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยอาการหัวใจวาย 🕵️‍♂️ เรื่องเล่าหลัง 2475 สร้างตำนานใหม่ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 เรื่องราวของพระเจ้าตาก ถูกนำมาผลิตซ้ำในรูปแบบใหม่ โดยเน้นไปที่... การเป็นวีรกษัตริย์ของประชาชน อาทิ วรรณกรรมเรื่อง “ใครฆ่าพระเจ้าตากสิน” ของภิกษุณีโพธิสัตว์ "วรมัย กบิลสิงห์" ซึ่งอ้างว่า “พระองค์ไม่ถูกประหาร แต่สับเปลี่ยนตัวกับนายมั่น” 🔍 จุดมุ่งหมายคือ การสร้างความรู้สึกร่วมของคนไทย สร้างอุดมการณ์ประชาธิปไตย และเน้นความสามัคคีแห่งชาติ 🇹🇭 🧠 ข้อวิเคราะห์ คำถามที่ยังไม่มีคำตอบ ❓ พระเจ้าตากเสียสติจริงหรือ? เอกสารหลายฉบับระบุว่า พระองค์มีพระสติวิปลาส แต่บทสนทนาก่อนประหารที่ว่า “ขอเข้าเฝ้าสนทนาอีกสักสองสามคำ” นั้นชัดเจน และเต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ 🤔 ❓ มีการสับเปลี่ยนตัวจริงหรือ? ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนใด ๆ รองรับ แต่แนวคิดนี้ ปรากฏอย่างแพร่หลายในวรรณกรรม และความเชื่อของประชาชน 📜 วันที่พระองค์ถูกลืม? วันที่ 6 เมษายน ถูกกำหนดให้เป็น "วันจักรี" เพื่อระลึกถึงการสถาปนาราชวงศ์จักรี โดยไม่มีการกล่าวถึงพระเจ้าตากเลย ทั้งที่วันเดียวกันนั้น คือวันสิ้นพระชนม์ของพระองค์เช่นกัน ทำให้เกิดคำถามในใจใครหลายคนว่า พระเจ้าตากถูก “กลบ” จากประวัติศาสตร์หรือไม่? 😢 🛕 พระเจ้าตากในความทรงจำของประชาชน แม้ประวัติศาสตร์ทางการจะบอกว่า พระองค์ถูกประหารชีวิต แต่ในความเชื่อของประชาชนทั่วไป พระเจ้าตากยังคงเป็น “วีรกษัตริย์ผู้ไม่เคยพ่าย” 🙏 มีการสักการะพระบรมรูปที่วงเวียนใหญ่ คนไทยเชื้อสายจีนเรียกพระองค์ว่า “แต่อ่วงกง” มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มากมาย ที่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับพระองค์ 🧾 จากความจริง...สู่ตำนาน 243 ปีผ่านไป...วาระสุดท้ายของพระเจ้าตากสินมหาราช ยังคงเต็มไปด้วยคำถาม ปริศนา และความรู้สึกค้างคาใจ ของคนไทยจำนวนมาก แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนคือ... พระเจ้าตากมิใช่เพียงนักรบผู้เดียวดาย แต่คือบุคคลผู้เปลี่ยนชะตากรรมของแผ่นดินนี้ ไว้ในช่วงเวลาที่ยากที่สุด ในประวัติศาสตร์ไทย 🇹🇭 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 060744 เม.ย. 2568 📱 #พระเจ้าตาก #สมเด็จพระเจ้าตากสิน #ประวัติศาสตร์ไทย #243ปีพระเจ้าตาก #ตำนานพระเจ้าตาก #วันประหารพระเจ้าตาก #วันจักรี #ราชวงศ์ธนบุรี #วีรกษัตริย์ไทย #กษัตริย์ผู้กอบกู้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 688 มุมมอง 0 รีวิว
  • 7 มีนาคม 2568-เมื่อเวลา 08.55 น.วันที่ 7 มีนาคม 2568 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ในฉลองพระองค์ชุดนักบิน เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ ไปทอดพระเนตรการแสดงการบิน เนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศ ณ ท่าอากาศยานทหาร 2 กองบิน 6 กองทัพอากาศ เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานครเมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง พลอากาศเอก พันธ์ภักดี พัฒนกุล ผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก เสกสรร คันธา ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ประธานจัดงานการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศ พร้อมด้วยนายทหารชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการทหารอากาศ เฝ้าฯ รับเสด็จจากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี พร้อมนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของกองทัพอากาศ แล้วพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พลอากาศเอก คิดควร สดับ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และนางวริสรา สดับ ภริยา เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าฯ ถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว ผู้บัญชาการทหารอากาศ กราบบังคมทูลรายงานการจัดการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศจากนั้น ทอดพระเนตรการแสดงการบิน ชุดที่ 1 ประกอบด้วย “การบินฟอร์เมชัน ดิสเพลย์ วิธ เนชันแนล คัลเลอร์ส สโมค” (Formation Display with National Colors Smoke) โดยเครื่องบิน AU-23, T-50TH และเครื่องบิน F-16MLU จากกองทัพอากาศไทย “การบินกริพเพน เดโม” (Gripen Demo) จากกองทัพอากาศไทย “การบินออกัสท์ เฟิร์ธ” (August 1ST) โดยเครื่องบิน J-10C จากกองทัพอากาศสาธารณรัฐประชาชนจีน และ “การบินเอฟ-35เอ เดโม” (F-35A Demo) จากกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาภายหลังจบการแสดงการบินชุดที่ 1 แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จเข้าภายในอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และภริยา เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกจากนั้น ทอดพระเนตรนิทรรศการและวีดิทัศน์ภารกิจเครื่องบิน “กริพเพน” (Gripen) บินลงจอดบนถนนในพื้นที่จังหวัดสงขลา ซึ่งทำการวิ่งขึ้นจาก สนามบินหาดใหญ่บินไปตามจุดที่กำหนดเพื่อทำการลงสนามแบบ Straight in approach โดยในเที่ยวแรกได้ทำ Low approach เพื่อทำความคุ้นเคยและในเที่ยวบินที่2 จึงทำการลงสนามจริง นิทรรศการพระมหากษัตริย์นักบินแห่งราชวงศ์จักรี ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัย และทรงพระปรีชาสามารถด้านการบินทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเชี่ยวชาญ หลังจากที่ทรงสำเร็จการศึกษาทางการทหารเมื่อพุทธศักราช 2522 ทรงเริ่มเข้ารับการฝึกบินหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธ (Gunship) ของกองทัพบก เมื่อพุทธศักราช 2523 และทรงฝึกบินหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศ ทรงสำเร็จตามหลักสูตร เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2523 และได้ทรงบินเฮลิคอปเตอร์ด้วยพระองค์เอง เสด็จพระราชดำเนินไปยังโรงเรียนนายเรืออากาศ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2523 ซึ่งปัจจุบันคือโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และทรงรับพระราชทานประดับเครื่องหมายแสดงความสามารถในการบินของกองทัพอากาศ จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร อันเป็นความภูมิใจของกำลังพลของกองทัพอากาศ และพสกนิกรชาวไทยที่ได้มีพระมหากษัตริย์นักบิน เป็นมิ่งขวัญของแผ่นดินภายหลังจากทอดพระเนตรนิทรรศการเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี เสด็จฯ ไปยังหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทอดพระเนตรเครื่องบินขับไล่ไอพ่นแบบ เอฟ-5อี (F-5E) และทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์กับเครื่องบิน ที-50 อากาศยานไอพ่นความเร็วเหนือเสียง และเป็นอากาศยานโจมตี จากกองบิน 4 ตาคลี จ.นครสวรรค์ด้วยพระราชปณิธานในการเป็นนักบิน ทรงเข้ารับการถวายการฝึกบินกับอากาศยานปีกตรึงโดยกองทัพอากาศ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาเทคนิคการบินจากฐานทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ได้แก่ ฐานทัพอากาศเล็คแลนด์ เมืองแซนเอนโทนิโอ รัฐเท็กซัส ทรงจบหลักสูตรการบินขับไล่ไอพ่น ยุทธวิธีขั้นพื้นฐานจากฝูงบินขับไล่ยุทธวิธีที่ 425 ฐานบินวิลเลียมส์ รัฐแอริโซนา ทรงเข้าศึกษาฝึกบินกับเครื่องบินขับไล่ไอพ่นแบบ เอฟ-5อี (F-5E) ในหลักสูตรการบินขับไล่ไอพ่นทางยุทธวิธีชั้นสูง ทรงเข้าประจำการ ณ กองปฏิบัติการทางอากาศพิเศษ การทำลายและยุทธวิธีรบนอกแบบ กับทรงศึกษาหลักสูตรทางทหารเพิ่มเติม เช่น หลักสูตรต้นหนชั้นสูง การลาดตระเวน หลักสูตรส่งทางอากาศ หลักสูตรการบิ เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ ยูเอช-1เอช (UH-1H) ของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ณ ฟอร์ท แบรกก์ รัฐนอร์ธ แคโรไลนา และหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธแบบ เอเอช-1เอส คอบรา (AH-1S COBRA) ทรงฝึกฝนการบินอย่างสม่ำเสมอ และยังได้ทรงเข้าร่วมการแข่งขันการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีของกองทัพอากาศที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยทรงเข้าร่วมแข่งขันระหว่างพุทธศักราช 2526 ถึง 2530 ณ สนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศชัยบาดาล จ.ลพบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์นักบินขับไล่ไอพ่นพระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี ที่ทรงทำการบินกับเครื่องบินกองทัพอากาศได้เกือบทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นอากาศยานปีกหมุน อากาศยานปีกตรึงแบบใบพัด และเครื่องยนต์ไอพ่น และด้วยพระปรีชาสามารถ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเป็นนักบินขับไล่ที่มีชั่วโมงบินต่อเนื่องมากกว่า 2,800 ชั่วโมงบิน ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ยากยิ่งสำหรับนักบินขับไล่ทั่วโลกที่จะทำได้ และด้วยพระราชหฤทัยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ทรงถ่ายทอดประสบการณ์ที่ทรงมี ปฏิบัติหน้าที่ครูการบิน พระราชทานการฝึกสอนทั้งวิชาการภาคพื้นและการฝึกบินให้แก่นักบินขับไล่ของกองทัพอากาศ แสดงถึงพระปรีชาสามารถที่ทรงตั้งพระราชหฤทัยพัฒนาและยกระดับการบินของชาติให้ทัดเทียมนานาประเทศ ทรงอุปถัมภ์งานด้านการบินอย่างต่อเนื่อง นับเป็นคุณูปการแก่กองทัพอากาศไทย และกิจการการบินของประเทศเป็นอย่างยิ่งจากนั้นทอดพระเนตรนิทรรศการเครื่องบินฝึกจำลอง (Gripen E/F Simulator) ของเครื่องบิน Gripen ด้วยความสนพระราชหฤทัย ในโอกาสนี้ มีพระราชปฏิสันถารกับนักบินในฝูงบินจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และสหรัฐอเมริกาเสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทอดพระเนตรการแสดงการบิน ชุดที่ 2 “การบินสูรยกิรัณ” (Suryakiran) จากกองทัพอากาศสาธารณรัฐอินเดีย ภายหลังจบการแสดงการบิน เสด็จออกจากที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับกองทัพอากาศ จัดการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวาระที่กระทรวงกลาโหมได้ยกฐานะกรมทหารอากาศ ขึ้นเป็นกองทัพอากาศ ตั้งแต่พุทธศักราช 2480 ซึ่งปฏิบัติภารกิจอย่างมุ่งมั่นเพื่อรักษาความมั่นคง ของชาติ และดํารงความพร้อมของกําลังทางอากาศ เพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ รวมทั้งการใช้ขีดความสามารถของ กองทัพอากาศทุกมิติ เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนอย่างเต็มความสามารถตลอด 88 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น จึงจัดงานขึ้นภายใต้แนวคิด “AIR SOVEREIGNTY THROUGH UNBEATABLE COLLABORATION” หรือ “อธิปไตยเหนือน่านฟ้า ผ่านความร่วมมืออันแข็งแกร่ง” เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงเกียรติประวัติความภาคภูมิใจ ในเกียรติภูมิของกองทัพอากาศ และแสดงถึงขีดความสามารถของ กองทัพอากาศ ในการปฏิบัติภารกิจด้านความมั่นคง การสนับสนุนหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน การใช้ขีดความสามารถในทุกด้านเพื่อช่วยเหลือประชาชน ตลอดจนแสดงถึงแผนการพัฒนากองทัพอากาศในอนาคต แสดงถึงความพร้อมของกองทัพอากาศ ในด้านการส่งเสริม ภาคอุตสาหกรรมการบิน และภาคอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อันนำไปสู่ การเป็นศูนย์กลางทางการบินในภูมิภาคตามนโยบายรัฐบาล ที่ส่งเสริมและกระชับความร่วมมือภายในประเทศ และเสริมสร้างมิตรภาพความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างกองทัพอากาศ กับกองทัพอากาศมิตรประเทศโดยปีนี้ได้จัดแสดงอากาศยานของกองทัพอากาศไทย และกองทัพอากาศมิตรประเทศ ทั้ง 3 ประเทศด้วยกัน ประกอบด้วย กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา , กองทัพอากาศสาธารณรัฐอินเดีย และกองทัพอากาศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีกำหนดจัดงานระหว่างวันที่ 7 - 8 มีนาคม ณ กองบิน 6 ท่าอากาศยานทหารดอนเมือง
    7 มีนาคม 2568-เมื่อเวลา 08.55 น.วันที่ 7 มีนาคม 2568 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ในฉลองพระองค์ชุดนักบิน เสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ ไปทอดพระเนตรการแสดงการบิน เนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศ ณ ท่าอากาศยานทหาร 2 กองบิน 6 กองทัพอากาศ เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานครเมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง พลอากาศเอก พันธ์ภักดี พัฒนกุล ผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก เสกสรร คันธา ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ประธานจัดงานการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศ พร้อมด้วยนายทหารชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการทหารอากาศ เฝ้าฯ รับเสด็จจากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี พร้อมนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของกองทัพอากาศ แล้วพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พลอากาศเอก คิดควร สดับ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และนางวริสรา สดับ ภริยา เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าฯ ถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว ผู้บัญชาการทหารอากาศ กราบบังคมทูลรายงานการจัดการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี กองทัพอากาศจากนั้น ทอดพระเนตรการแสดงการบิน ชุดที่ 1 ประกอบด้วย “การบินฟอร์เมชัน ดิสเพลย์ วิธ เนชันแนล คัลเลอร์ส สโมค” (Formation Display with National Colors Smoke) โดยเครื่องบิน AU-23, T-50TH และเครื่องบิน F-16MLU จากกองทัพอากาศไทย “การบินกริพเพน เดโม” (Gripen Demo) จากกองทัพอากาศไทย “การบินออกัสท์ เฟิร์ธ” (August 1ST) โดยเครื่องบิน J-10C จากกองทัพอากาศสาธารณรัฐประชาชนจีน และ “การบินเอฟ-35เอ เดโม” (F-35A Demo) จากกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาภายหลังจบการแสดงการบินชุดที่ 1 แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จเข้าภายในอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และภริยา เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึกจากนั้น ทอดพระเนตรนิทรรศการและวีดิทัศน์ภารกิจเครื่องบิน “กริพเพน” (Gripen) บินลงจอดบนถนนในพื้นที่จังหวัดสงขลา ซึ่งทำการวิ่งขึ้นจาก สนามบินหาดใหญ่บินไปตามจุดที่กำหนดเพื่อทำการลงสนามแบบ Straight in approach โดยในเที่ยวแรกได้ทำ Low approach เพื่อทำความคุ้นเคยและในเที่ยวบินที่2 จึงทำการลงสนามจริง นิทรรศการพระมหากษัตริย์นักบินแห่งราชวงศ์จักรี ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัย และทรงพระปรีชาสามารถด้านการบินทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเชี่ยวชาญ หลังจากที่ทรงสำเร็จการศึกษาทางการทหารเมื่อพุทธศักราช 2522 ทรงเริ่มเข้ารับการฝึกบินหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธ (Gunship) ของกองทัพบก เมื่อพุทธศักราช 2523 และทรงฝึกบินหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศ ทรงสำเร็จตามหลักสูตร เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2523 และได้ทรงบินเฮลิคอปเตอร์ด้วยพระองค์เอง เสด็จพระราชดำเนินไปยังโรงเรียนนายเรืออากาศ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2523 ซึ่งปัจจุบันคือโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และทรงรับพระราชทานประดับเครื่องหมายแสดงความสามารถในการบินของกองทัพอากาศ จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร อันเป็นความภูมิใจของกำลังพลของกองทัพอากาศ และพสกนิกรชาวไทยที่ได้มีพระมหากษัตริย์นักบิน เป็นมิ่งขวัญของแผ่นดินภายหลังจากทอดพระเนตรนิทรรศการเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี เสด็จฯ ไปยังหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทอดพระเนตรเครื่องบินขับไล่ไอพ่นแบบ เอฟ-5อี (F-5E) และทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์กับเครื่องบิน ที-50 อากาศยานไอพ่นความเร็วเหนือเสียง และเป็นอากาศยานโจมตี จากกองบิน 4 ตาคลี จ.นครสวรรค์ด้วยพระราชปณิธานในการเป็นนักบิน ทรงเข้ารับการถวายการฝึกบินกับอากาศยานปีกตรึงโดยกองทัพอากาศ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาเทคนิคการบินจากฐานทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ได้แก่ ฐานทัพอากาศเล็คแลนด์ เมืองแซนเอนโทนิโอ รัฐเท็กซัส ทรงจบหลักสูตรการบินขับไล่ไอพ่น ยุทธวิธีขั้นพื้นฐานจากฝูงบินขับไล่ยุทธวิธีที่ 425 ฐานบินวิลเลียมส์ รัฐแอริโซนา ทรงเข้าศึกษาฝึกบินกับเครื่องบินขับไล่ไอพ่นแบบ เอฟ-5อี (F-5E) ในหลักสูตรการบินขับไล่ไอพ่นทางยุทธวิธีชั้นสูง ทรงเข้าประจำการ ณ กองปฏิบัติการทางอากาศพิเศษ การทำลายและยุทธวิธีรบนอกแบบ กับทรงศึกษาหลักสูตรทางทหารเพิ่มเติม เช่น หลักสูตรต้นหนชั้นสูง การลาดตระเวน หลักสูตรส่งทางอากาศ หลักสูตรการบิ เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ ยูเอช-1เอช (UH-1H) ของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ณ ฟอร์ท แบรกก์ รัฐนอร์ธ แคโรไลนา และหลักสูตรเฮลิคอปเตอร์โจมตีติดอาวุธแบบ เอเอช-1เอส คอบรา (AH-1S COBRA) ทรงฝึกฝนการบินอย่างสม่ำเสมอ และยังได้ทรงเข้าร่วมการแข่งขันการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีของกองทัพอากาศที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยทรงเข้าร่วมแข่งขันระหว่างพุทธศักราช 2526 ถึง 2530 ณ สนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศชัยบาดาล จ.ลพบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์นักบินขับไล่ไอพ่นพระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี ที่ทรงทำการบินกับเครื่องบินกองทัพอากาศได้เกือบทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นอากาศยานปีกหมุน อากาศยานปีกตรึงแบบใบพัด และเครื่องยนต์ไอพ่น และด้วยพระปรีชาสามารถ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเป็นนักบินขับไล่ที่มีชั่วโมงบินต่อเนื่องมากกว่า 2,800 ชั่วโมงบิน ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ยากยิ่งสำหรับนักบินขับไล่ทั่วโลกที่จะทำได้ และด้วยพระราชหฤทัยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ทรงถ่ายทอดประสบการณ์ที่ทรงมี ปฏิบัติหน้าที่ครูการบิน พระราชทานการฝึกสอนทั้งวิชาการภาคพื้นและการฝึกบินให้แก่นักบินขับไล่ของกองทัพอากาศ แสดงถึงพระปรีชาสามารถที่ทรงตั้งพระราชหฤทัยพัฒนาและยกระดับการบินของชาติให้ทัดเทียมนานาประเทศ ทรงอุปถัมภ์งานด้านการบินอย่างต่อเนื่อง นับเป็นคุณูปการแก่กองทัพอากาศไทย และกิจการการบินของประเทศเป็นอย่างยิ่งจากนั้นทอดพระเนตรนิทรรศการเครื่องบินฝึกจำลอง (Gripen E/F Simulator) ของเครื่องบิน Gripen ด้วยความสนพระราชหฤทัย ในโอกาสนี้ มีพระราชปฏิสันถารกับนักบินในฝูงบินจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และสหรัฐอเมริกาเสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ทอดพระเนตรการแสดงการบิน ชุดที่ 2 “การบินสูรยกิรัณ” (Suryakiran) จากกองทัพอากาศสาธารณรัฐอินเดีย ภายหลังจบการแสดงการบิน เสด็จออกจากที่ประทับหน้าอาคารท่าอากาศยานทหาร 2 ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับกองทัพอากาศ จัดการแสดงการบินเนื่องในโอกาสครบ 88 ปี เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวาระที่กระทรวงกลาโหมได้ยกฐานะกรมทหารอากาศ ขึ้นเป็นกองทัพอากาศ ตั้งแต่พุทธศักราช 2480 ซึ่งปฏิบัติภารกิจอย่างมุ่งมั่นเพื่อรักษาความมั่นคง ของชาติ และดํารงความพร้อมของกําลังทางอากาศ เพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ รวมทั้งการใช้ขีดความสามารถของ กองทัพอากาศทุกมิติ เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนอย่างเต็มความสามารถตลอด 88 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น จึงจัดงานขึ้นภายใต้แนวคิด “AIR SOVEREIGNTY THROUGH UNBEATABLE COLLABORATION” หรือ “อธิปไตยเหนือน่านฟ้า ผ่านความร่วมมืออันแข็งแกร่ง” เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงเกียรติประวัติความภาคภูมิใจ ในเกียรติภูมิของกองทัพอากาศ และแสดงถึงขีดความสามารถของ กองทัพอากาศ ในการปฏิบัติภารกิจด้านความมั่นคง การสนับสนุนหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน การใช้ขีดความสามารถในทุกด้านเพื่อช่วยเหลือประชาชน ตลอดจนแสดงถึงแผนการพัฒนากองทัพอากาศในอนาคต แสดงถึงความพร้อมของกองทัพอากาศ ในด้านการส่งเสริม ภาคอุตสาหกรรมการบิน และภาคอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อันนำไปสู่ การเป็นศูนย์กลางทางการบินในภูมิภาคตามนโยบายรัฐบาล ที่ส่งเสริมและกระชับความร่วมมือภายในประเทศ และเสริมสร้างมิตรภาพความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างกองทัพอากาศ กับกองทัพอากาศมิตรประเทศโดยปีนี้ได้จัดแสดงอากาศยานของกองทัพอากาศไทย และกองทัพอากาศมิตรประเทศ ทั้ง 3 ประเทศด้วยกัน ประกอบด้วย กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา , กองทัพอากาศสาธารณรัฐอินเดีย และกองทัพอากาศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีกำหนดจัดงานระหว่างวันที่ 7 - 8 มีนาคม ณ กองบิน 6 ท่าอากาศยานทหารดอนเมือง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1037 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรกิจการของศูนย์พัฒนาในสอย และโครงการพัฒนาลุ่มน้ำลางตามพระราชดำริ (ศูนย์ปางมะผ้า) ตลอดจนทรงเยี่ยมราษฎร อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน

    Cr. สำนักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน

    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #15กุมภาพันธ์
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรกิจการของศูนย์พัฒนาในสอย และโครงการพัฒนาลุ่มน้ำลางตามพระราชดำริ (ศูนย์ปางมะผ้า) ตลอดจนทรงเยี่ยมราษฎร อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน Cr. สำนักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #15กุมภาพันธ์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 626 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๑✨

    ทอดพระเนตรแปลงไม้ดอก ณ โครงการหลวงพัฒนาต้นน้ำ หน่วยที่ ๑ ห้วยทุ่งจ้อ ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

    Cr. สำนักราชเลขาธิการ
    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #14กุมภาพันธ์
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๑✨ ทอดพระเนตรแปลงไม้ดอก ณ โครงการหลวงพัฒนาต้นน้ำ หน่วยที่ ๑ ห้วยทุ่งจ้อ ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ Cr. สำนักราชเลขาธิการ #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #14กุมภาพันธ์
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 630 มุมมอง 0 รีวิว
  • 129 ปี สิ้น “เจ้าเหมพินธุไพจิตร” เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ผู้ใฝ่ในเกษตรกรรม

    📅 ย้อนไปเมื่อ 129 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 นับเป็นวันที่ราชวงศ์ทิพย์จักร ต้องเผชิญกับความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ เมื่อ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 ได้เสด็จถึงแก่พิราลัย ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ รวมสิริชนมายุได้ 75 ปี แม้จะทรงครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจที่ทรงฝากไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ โดยเฉพาะบทบาท ในการส่งเสริมการเกษตรกรรม และพัฒนานครลำพูน ให้เจริญรุ่งเรือง ✨

    🛕 จาก "เจ้าน้อยคำหยาด" สู่ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" 👑
    พระนามเดิมของ เจ้าเหมพินธุไพจิตร คือ "เจ้าน้อยคำหยาด" ประสูติในปี พ.ศ. 2364 ณ เมืองนครลำพูน พระองค์เป็นโอรสใน เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6) กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และเป็นพระนัดดาของ พระยาคำฟั่น (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3)

    🩷 ราชอนุชาและราชขนิษฐา ของพระองค์ ได้แก่
    เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน (ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน")
    เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน
    เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน (พิราลัยแต่เยาว์วัย)

    🏛 เส้นทางสู่ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำพูน 📜
    🔹 วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2405 ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง "เจ้าราชบุตร" เมืองนครลำพูน
    🔹 วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 ได้รับโปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น "เจ้าอุปราช" เมืองนครลำพูน
    🔹 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 ได้รับโปรดเกล้าฯ ขึ้นเป็น "เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8" ต่อจาก เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ ผู้เป็นราชเชษฐา ต่างพระราชมารดา

    พระนามเต็มของพระองค์ เมื่อขึ้นครองนครลำพูน คือ
    👉 "เจ้าเหมพินธุไพจิตร ศุภกิจเกียรติโศภน วิมลสัตยสวามิภักดิคุณ หริภุญไชยรัษฎารักษ ตทรรคเจดียบูชากร ราษฎรธุรธาดา เอกัจจโยนกาธิบดี"

    🚜 การเกษตรกรรม และระบบชลประทาน 🌾
    แม้จะครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเกษตรกรรม อย่างมาก พระองค์ทรงส่งเสริม ให้ราษฎรทำการเกษตร ในลักษณะที่มีการจัดการน้ำ อย่างเป็นระบบ เช่น
    ✅ สร้างเหมืองฝาย เพื่อทดน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก
    ✅ ขุดลอกเหมืองเก่า เพื่อให้น้ำไหลเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ได้ดีขึ้น
    ✅ ปรับปรุงที่ดอน ให้สามารถใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกได้

    💡 พระองค์มีพระราชดำริให้ราษฎร ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก และเมื่อนาเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ก็ให้ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น หอม กระเทียม และใบยา เพื่อเพิ่มรายได้

    🛕 บำรุงพระพุทธศาสนา และโครงสร้างพื้นฐาน
    🙏 ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
    เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด และส่งเสริมให้ราษฎร บำรุงพระพุทธศาสนา เช่น
    ✔️ บูรณะวัดเก่าแก่ ให้มีสภาพมั่นคงแข็งแรง
    ✔️ สร้างวิหาร กุฏิ และโบสถ์ ตามวัดสำคัญทั้งในเมือง และนอกเมืองลำพูน
    ✔️ ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพงวัด และขุดสระน้ำในวัด

    🛤 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
    พระองค์ยังทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเมืองลำพูน ให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น โดย
    🚧 สร้างสะพาน เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเดินทาง
    🚧 ยกระดับถนนในหมู่บ้าน เพื่อให้ล้อเกวียนสัญจรได้สะดวก
    🚧 ขุดร่องระบายน้ำ เพื่อลดปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน

    ⚰️ เสด็จสู่สวรรคาลัย และมรดกที่ฝากไว้
    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจ้าเหมพินธุไพจิตรทรงประชวร ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตด้วย สิริชนมายุ 75 ปี

    แม้รัชสมัยของพระองค์จะสั้นเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจของพระองค์ ยังคงปรากฏ เป็นมรดกที่สำคัญ ของลำพูน ทั้งในด้านเกษตรกรรม การบำรุงพระพุทธศาสนา และการพัฒนาเมือง

    🌟 รดกของเจ้าเหมพินธุไพจิตร
    ✅ ส่งเสริมการเกษตร และระบบชลประทาน
    ✅ ฟื้นฟู และบูรณะพระพุทธศาสนา
    ✅ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของนครลำพูน
    ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ใส่ใจประชาชน

    เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นบุคคลสำคัญ ที่ส่งผลต่อเมืองลำพูน ทั้งในด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 🏞

    📌 คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
    ❓ เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่เท่าไหร่?
    ✅ พระองค์เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร

    ❓ พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระองค์ คืออะไร?
    ✅ การส่งเสริมการเกษตร บูรณะพระพุทธศาสนา และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

    ❓ เหตุใดพระองค์จึงเสด็จสวรรคต?
    ✅ ทรงประชวรด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439

    ❓ พระองค์ครองนครลำพูนกี่ปี?
    ✅ ครองนครลำพูนเพียง 2 ปี (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2439)

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 052147 ก.พ. 2568

    🔖 #เจ้าเหมพินธุไพจิตร #นครลำพูน #ประวัติศาสตร์ไทย #ราชวงศ์ทิพย์จักร #เกษตรกรรม #วัฒนธรรมล้านนา #ผู้ปกครองล้านนา #เมืองลำพูน #เล่าเรื่องเมืองลำพูน #ล้านนาประวัติศาสตร์
    129 ปี สิ้น “เจ้าเหมพินธุไพจิตร” เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ผู้ใฝ่ในเกษตรกรรม 📅 ย้อนไปเมื่อ 129 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 นับเป็นวันที่ราชวงศ์ทิพย์จักร ต้องเผชิญกับความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ เมื่อ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 ได้เสด็จถึงแก่พิราลัย ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ รวมสิริชนมายุได้ 75 ปี แม้จะทรงครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจที่ทรงฝากไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ โดยเฉพาะบทบาท ในการส่งเสริมการเกษตรกรรม และพัฒนานครลำพูน ให้เจริญรุ่งเรือง ✨ 🛕 จาก "เจ้าน้อยคำหยาด" สู่ "เจ้าเหมพินธุไพจิตร" 👑 พระนามเดิมของ เจ้าเหมพินธุไพจิตร คือ "เจ้าน้อยคำหยาด" ประสูติในปี พ.ศ. 2364 ณ เมืองนครลำพูน พระองค์เป็นโอรสใน เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6) กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และเป็นพระนัดดาของ พระยาคำฟั่น (เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3) 🩷 ราชอนุชาและราชขนิษฐา ของพระองค์ ได้แก่ เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน (ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน") เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน (พิราลัยแต่เยาว์วัย) 🏛 เส้นทางสู่ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครลำพูน 📜 🔹 วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2405 ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง "เจ้าราชบุตร" เมืองนครลำพูน 🔹 วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 ได้รับโปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็น "เจ้าอุปราช" เมืองนครลำพูน 🔹 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 ได้รับโปรดเกล้าฯ ขึ้นเป็น "เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8" ต่อจาก เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ ผู้เป็นราชเชษฐา ต่างพระราชมารดา พระนามเต็มของพระองค์ เมื่อขึ้นครองนครลำพูน คือ 👉 "เจ้าเหมพินธุไพจิตร ศุภกิจเกียรติโศภน วิมลสัตยสวามิภักดิคุณ หริภุญไชยรัษฎารักษ ตทรรคเจดียบูชากร ราษฎรธุรธาดา เอกัจจโยนกาธิบดี" 🚜 การเกษตรกรรม และระบบชลประทาน 🌾 แม้จะครองนครลำพูนเพียง 2 ปี แต่เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเกษตรกรรม อย่างมาก พระองค์ทรงส่งเสริม ให้ราษฎรทำการเกษตร ในลักษณะที่มีการจัดการน้ำ อย่างเป็นระบบ เช่น ✅ สร้างเหมืองฝาย เพื่อทดน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ✅ ขุดลอกเหมืองเก่า เพื่อให้น้ำไหลเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ได้ดีขึ้น ✅ ปรับปรุงที่ดอน ให้สามารถใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกได้ 💡 พระองค์มีพระราชดำริให้ราษฎร ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก และเมื่อนาเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ก็ให้ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น หอม กระเทียม และใบยา เพื่อเพิ่มรายได้ 🛕 บำรุงพระพุทธศาสนา และโครงสร้างพื้นฐาน 🙏 ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด และส่งเสริมให้ราษฎร บำรุงพระพุทธศาสนา เช่น ✔️ บูรณะวัดเก่าแก่ ให้มีสภาพมั่นคงแข็งแรง ✔️ สร้างวิหาร กุฏิ และโบสถ์ ตามวัดสำคัญทั้งในเมือง และนอกเมืองลำพูน ✔️ ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพงวัด และขุดสระน้ำในวัด 🛤 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พระองค์ยังทรงให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเมืองลำพูน ให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น โดย 🚧 สร้างสะพาน เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเดินทาง 🚧 ยกระดับถนนในหมู่บ้าน เพื่อให้ล้อเกวียนสัญจรได้สะดวก 🚧 ขุดร่องระบายน้ำ เพื่อลดปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน ⚰️ เสด็จสู่สวรรคาลัย และมรดกที่ฝากไว้ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจ้าเหมพินธุไพจิตรทรงประชวร ด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตด้วย สิริชนมายุ 75 ปี แม้รัชสมัยของพระองค์จะสั้นเพียง 2 ปี แต่พระราชกรณียกิจของพระองค์ ยังคงปรากฏ เป็นมรดกที่สำคัญ ของลำพูน ทั้งในด้านเกษตรกรรม การบำรุงพระพุทธศาสนา และการพัฒนาเมือง 🌟 รดกของเจ้าเหมพินธุไพจิตร ✅ ส่งเสริมการเกษตร และระบบชลประทาน ✅ ฟื้นฟู และบูรณะพระพุทธศาสนา ✅ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของนครลำพูน ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ใส่ใจประชาชน เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นบุคคลสำคัญ ที่ส่งผลต่อเมืองลำพูน ทั้งในด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 🏞 📌 คำถามที่พบบ่อย (FAQs) ❓ เจ้าเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่เท่าไหร่? ✅ พระองค์เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ❓ พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระองค์ คืออะไร? ✅ การส่งเสริมการเกษตร บูรณะพระพุทธศาสนา และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ❓ เหตุใดพระองค์จึงเสด็จสวรรคต? ✅ ทรงประชวรด้วยพระโรคอุจจาระ ธาตุพิการ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 ❓ พระองค์ครองนครลำพูนกี่ปี? ✅ ครองนครลำพูนเพียง 2 ปี (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2439) ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 052147 ก.พ. 2568 🔖 #เจ้าเหมพินธุไพจิตร #นครลำพูน #ประวัติศาสตร์ไทย #ราชวงศ์ทิพย์จักร #เกษตรกรรม #วัฒนธรรมล้านนา #ผู้ปกครองล้านนา #เมืองลำพูน #เล่าเรื่องเมืองลำพูน #ล้านนาประวัติศาสตร์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1152 มุมมอง 0 รีวิว
  • “สุวัจน์” เปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “72 พรรษามหาวชิราลงกรณ” ถ่ายทอดเรื่องราวพระราชกรณียกิจ
    https://www.facebook.com/share/p/EyBjoTf4qbDzE6eQ/
    “สุวัจน์” เปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “72 พรรษามหาวชิราลงกรณ” ถ่ายทอดเรื่องราวพระราชกรณียกิจ https://www.facebook.com/share/p/EyBjoTf4qbDzE6eQ/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 366 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10 ธันวาคม วันรัฐธรรมนูญ
    เราเคยสังเกตุกันไหมว่า จากประวัติศาสตร์มา
    ยุคที่เราพัฒนานำหน้าชาติไหนๆ
    คือ ยุคสมบูรณาญาสิทธิราช
    พอหลังคณะราษฏรปฎิวัติปล้นพระราชอำนาจ
    เราถูกหลายประเทศแซงหน้ามาจนถึงทุกวันนี้

    ยุคเราเด็ก... ยุค 80,90มา เราเกิดทัน เราเห็น
    หลายอย่าง ร.9 ทรงทำเพื่อชาติประชาชน
    ได้เกิดหลายสิ่งหลายอย่างที่เป็นประโยชน์
    ต่อประชาชนจนโลกยกย่องยอมรับ ซึ่งมาจาก
    พระราชกรณียกิจ โครงการพระราชดำริมากมาย
    ส่งผลดีต่อชาติประชาชนจนทุกวันนี้

    ถ้าเราไม่มืดบอกใช้สติปัญญาจนขาดจิตสำนึก
    เราจะรู้ว่าใครรักประเทศชาติประชาชนแท้จริง
    อย่าคลั่งจนหลงนักการเมืองพรรคการเมือง
    ประเภทการตลาดแชร์ลูกโซ่กันเลย หลอกลวง

    สำหรับเรา นักการน้อยมากที่จะเสียสละทำ
    เพื่อชาติและประชาชนอย่างแท้จริง ยิ่งปัจจุบัน
    นักการเมืองที่มาจากพ่อค้านักธุรกิจนายทุน
    ยิ่งแทบไม่มีเลยที่จะทำเพื่อชาวบ้านและ
    บ้านเมืองจริงๆ ส่วนมากจะเข้ามาเพื่ออยากได้
    อำนาจเพื่อต่อยอดผลประโยชน์ของตนและ
    พวกพ้องเป็นหลักมาก่อนประชาชนและ
    บ้านเมืองเสมอ.. อย่าด้อมนักการเมืองจนสิ้นคิดฮะ

    ระบอบไหนไม่สำคัญเท่า ระบอบที่ทำเพื่อ
    ชาติประชาชนจริงๆ หาใช่แค่วาทกรรมสวยหรู

    เรามาคลั่งชาติ รักชาติ เพื่อผลประโยชน์
    ชาติประชาชนที่แท้จริง อย่างมีจริยธรรมคุณธรรม
    กันดีกว่าเยอะเลยฮะครับ

    เลิฟ ยู.. ชาติ ศาสน์ กษัติรย์
    มุมิมุมิ.. จุฟๆ
    10 ธันวาคม วันรัฐธรรมนูญ เราเคยสังเกตุกันไหมว่า จากประวัติศาสตร์มา ยุคที่เราพัฒนานำหน้าชาติไหนๆ คือ ยุคสมบูรณาญาสิทธิราช พอหลังคณะราษฏรปฎิวัติปล้นพระราชอำนาจ เราถูกหลายประเทศแซงหน้ามาจนถึงทุกวันนี้ ยุคเราเด็ก... ยุค 80,90มา เราเกิดทัน เราเห็น หลายอย่าง ร.9 ทรงทำเพื่อชาติประชาชน ได้เกิดหลายสิ่งหลายอย่างที่เป็นประโยชน์ ต่อประชาชนจนโลกยกย่องยอมรับ ซึ่งมาจาก พระราชกรณียกิจ โครงการพระราชดำริมากมาย ส่งผลดีต่อชาติประชาชนจนทุกวันนี้ ถ้าเราไม่มืดบอกใช้สติปัญญาจนขาดจิตสำนึก เราจะรู้ว่าใครรักประเทศชาติประชาชนแท้จริง อย่าคลั่งจนหลงนักการเมืองพรรคการเมือง ประเภทการตลาดแชร์ลูกโซ่กันเลย หลอกลวง สำหรับเรา นักการน้อยมากที่จะเสียสละทำ เพื่อชาติและประชาชนอย่างแท้จริง ยิ่งปัจจุบัน นักการเมืองที่มาจากพ่อค้านักธุรกิจนายทุน ยิ่งแทบไม่มีเลยที่จะทำเพื่อชาวบ้านและ บ้านเมืองจริงๆ ส่วนมากจะเข้ามาเพื่ออยากได้ อำนาจเพื่อต่อยอดผลประโยชน์ของตนและ พวกพ้องเป็นหลักมาก่อนประชาชนและ บ้านเมืองเสมอ.. อย่าด้อมนักการเมืองจนสิ้นคิดฮะ ระบอบไหนไม่สำคัญเท่า ระบอบที่ทำเพื่อ ชาติประชาชนจริงๆ หาใช่แค่วาทกรรมสวยหรู เรามาคลั่งชาติ รักชาติ เพื่อผลประโยชน์ ชาติประชาชนที่แท้จริง อย่างมีจริยธรรมคุณธรรม กันดีกว่าเยอะเลยฮะครับ เลิฟ ยู.. ชาติ ศาสน์ กษัติรย์ มุมิมุมิ.. จุฟๆ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 778 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรและฐานปฏิบัติการกองพันทหารราบเฉพาะกิจที่ ๑๓๒ ในเขตพื้นที่อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี

    Cr. สำนักราชเลขาธิการ
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #26พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรและฐานปฏิบัติการกองพันทหารราบเฉพาะกิจที่ ๑๓๒ ในเขตพื้นที่อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี Cr. สำนักราชเลขาธิการ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #26พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 987 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมศูนย์ศิลปาชีพบ้านกุดสิม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในโอกาสนี้ ราษฎรผู้เฒ่าผู้แก่ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตผูกข้อพระกรถวายเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายพระพร

    cr : หอสมุดแห่งชาติ
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #25พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมศูนย์ศิลปาชีพบ้านกุดสิม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในโอกาสนี้ ราษฎรผู้เฒ่าผู้แก่ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตผูกข้อพระกรถวายเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายพระพร cr : หอสมุดแห่งชาติ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #25พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 940 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๑✨

    นายแพทย์เซล ยาร์ทไรท์ ประธานคณะกรรมการบริหารของสหพันธ์องค์กรต่อต้านวัณโรคและโรคปอดนานาชาติ (International Union Against Tuberculosis and Lung Disease – IUATLD) และคณะ เฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล "Gold Medal Award" แด่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์เพื่อการรณรงค์เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพปอด

    Cr. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #24พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๑✨ นายแพทย์เซล ยาร์ทไรท์ ประธานคณะกรรมการบริหารของสหพันธ์องค์กรต่อต้านวัณโรคและโรคปอดนานาชาติ (International Union Against Tuberculosis and Lung Disease – IUATLD) และคณะ เฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล "Gold Medal Award" แด่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์เพื่อการรณรงค์เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพปอด Cr. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #24พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1081 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรบ้านวังทองหมู่ที่ ๙ ตำบลผาสุก อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าภูดินด่าง มีสภาพพื้นที่ทุรกันดาร ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่อ้อย และรับจ้าง เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งไปทอดพระเนตรสภาพภูมิประเทศบริเวณที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำลำพันชาดน้อยเพื่อช่วยเหลือราษฎรบ้านวังทองที่ขาดแคลนน้ำ ตามที่กรมชลประทานได้พิจารณาโครงการเพื่อก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำไว้ช่วยเหลือพื้นที่ทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ พร้อมระบบส่งน้ำแก่ราษฎร ในการนี้ทรง มีพระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินโครงการเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนตามความเหมาะสมทั้งเรื่องแหล่งน้ำเพื่อทำการเกษตรและน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค

    cr : สยามรัฐออนไลน์
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #23พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรบ้านวังทองหมู่ที่ ๙ ตำบลผาสุก อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าภูดินด่าง มีสภาพพื้นที่ทุรกันดาร ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่อ้อย และรับจ้าง เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งไปทอดพระเนตรสภาพภูมิประเทศบริเวณที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำลำพันชาดน้อยเพื่อช่วยเหลือราษฎรบ้านวังทองที่ขาดแคลนน้ำ ตามที่กรมชลประทานได้พิจารณาโครงการเพื่อก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำไว้ช่วยเหลือพื้นที่ทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ พร้อมระบบส่งน้ำแก่ราษฎร ในการนี้ทรง มีพระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินโครงการเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนตามความเหมาะสมทั้งเรื่องแหล่งน้ำเพื่อทำการเกษตรและน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค cr : สยามรัฐออนไลน์ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #23พฤศจิกายน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1114 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨

    เสด็จพระราชดำเนินบริเวณพื้นที่หนองหมาคาบปลา บ้านจำปา ต.หนองลาด และ อ่างเก็บน้ำหนองแบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านวาริชภูม ต.วาริชภูม อ.วาริชภูม จ.สกลนคร

    Cr. Pinterest
    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #22พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨ เสด็จพระราชดำเนินบริเวณพื้นที่หนองหมาคาบปลา บ้านจำปา ต.หนองลาด และ อ่างเก็บน้ำหนองแบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านวาริชภูม ต.วาริชภูม อ.วาริชภูม จ.สกลนคร Cr. Pinterest #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #22พฤศจิกายน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1198 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๓✨

    เสด็จฯ ไปยังบ้านโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานถุงของขวัญแก่นาวิกโยธินและตำรวจตระเวนชายแดน สิ่งของเครื่องอุปโภคแก่ราษฎร และเครื่องเรียนให้แก่นักเรียน แล้วเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท

    cr : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จันทบุรี
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #21พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๓✨ เสด็จฯ ไปยังบ้านโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานถุงของขวัญแก่นาวิกโยธินและตำรวจตระเวนชายแดน สิ่งของเครื่องอุปโภคแก่ราษฎร และเครื่องเรียนให้แก่นักเรียน แล้วเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท cr : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จันทบุรี #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #21พฤศจิกายน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1013 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๙✨

    เสด็จพระราชดำเนินจากพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เพื่อทรงเยี่ยมราษฎรและทอดพระเนตรโครงการชลประทานต่าง ๆ ในพื้นที่อำเภอกุดบาก อำเภอวาริชภูมิ และอำเภอพังโคน รวมถึงทรงเยี่ยมทหารและราษฎรในเขตอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #20พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๙✨ เสด็จพระราชดำเนินจากพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เพื่อทรงเยี่ยมราษฎรและทอดพระเนตรโครงการชลประทานต่าง ๆ ในพื้นที่อำเภอกุดบาก อำเภอวาริชภูมิ และอำเภอพังโคน รวมถึงทรงเยี่ยมทหารและราษฎรในเขตอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #20พฤศจิกายน
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 955 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨

    ขณะยังทรงผนวช ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จพระราชดำเนินมาถวายสักการะบูชาพระร่วงโรจนฤทธิ์ เวียนเทียนประทักษิณรอบองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

    cr : สำนักประชาสัมพันธ์เขต ๘ กรมประชาสัมพันธ์
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #19พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨ ขณะยังทรงผนวช ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จพระราชดำเนินมาถวายสักการะบูชาพระร่วงโรจนฤทธิ์ เวียนเทียนประทักษิณรอบองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม cr : สำนักประชาสัมพันธ์เขต ๘ กรมประชาสัมพันธ์ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #19พฤศจิกายน
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1106 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ตชด.บ้านตาเรือง ตำบลทรายขาว อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องเขียนและแบบเรียนแก่นักเรียนชายหญิงและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ประสบอุทกภัย ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภค

    Cr. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #18พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ตชด.บ้านตาเรือง ตำบลทรายขาว อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องเขียนและแบบเรียนแก่นักเรียนชายหญิงและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่ประสบอุทกภัย ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภค Cr. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #18พฤศจิกายน
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1047 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘✨

    "โถ...อุตส่าห์มาตั้งไกล คงจะเมื่อยและเหนื่อยมาก"
    หญิงชราผู้มาเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จกราบบังคมทูล พลางนวดถวาย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ณ จังหวัดอุบลราชธานี

    Cr. Queen Sirikit Museum of Textiles / หนังสือศิลปาชีพ: พระหัตถ์ที่ทรงงานเพื่อแผ่นดิน
    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #17พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘✨ "โถ...อุตส่าห์มาตั้งไกล คงจะเมื่อยและเหนื่อยมาก" หญิงชราผู้มาเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จกราบบังคมทูล พลางนวดถวาย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ณ จังหวัดอุบลราชธานี Cr. Queen Sirikit Museum of Textiles / หนังสือศิลปาชีพ: พระหัตถ์ที่ทรงงานเพื่อแผ่นดิน #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #17พฤศจิกายน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1182 มุมมอง 0 รีวิว
  • 14 พฤศจิกายน วันพระบิดาแห่งฝนหลวง////////////////////วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี 65 ปีแห่งการกำเนิดฝนหลวงพระราชทาน นับจากวันที่ 14 พฤศจิกายน 2498 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำริที่จะคิดค้น วิจัย หาวิธีการทำฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ประสบภัยแล้ง ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2545 เฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน ในฐานะทรงเป็น "พระบิดาแห่งฝนหลวง" และกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีเป็น "วันพระบิดาแห่งฝนหลวง" เพื่อร่วมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ และจารึกไว้เป็นวันสำคัญของประวัติศาสตร์ชาติไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริโครงการฝนหลวงขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทรงศึกษาค้นคว้าและวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้องประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จากพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง นับแต่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทำให้ทรงพบเห็นว่า ภาวะแห้งแล้งได้มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพราะการตัดไม้ทำลายป่า เป็นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ส่งผลถึงความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติ คิดเป็นมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี ทั้งนี้ ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชดำเนิน ทั้งภาคพื้นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสังเกตเห็นว่า มีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้ง ๆ ที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคำนึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ในภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ในอิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูกประจำปีของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตกได้ ดังนั้น ตั้งแต่พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จนทรงมั่นพระราชหฤทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางด้านเกษตรวิศวกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะนั้น และในปีถัดมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทำให้เกิดการทดลองปฏิบัติการบนท้องฟ้า กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืชกรมการข้าว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดยในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำการทดลองปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำนวยการโครงการและหัวหน้าคณะปฏิบัติการทดลองคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็นพื้นที่ทดลองแห่งแรก ต่อมา ได้มีปฏิบัติการโดยทดลองหยอดก้อนน้ำแข็งแห้ง ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วแล้ว และจากการติดตามผลโดยการสำรวจทางภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่บริเวณวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่บ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และความสำเร็จดังกล่าวยังส่งผลให้มีการพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดโครงการฝนหลวงมาจนถึงปัจจุบัน
    14 พฤศจิกายน วันพระบิดาแห่งฝนหลวง////////////////////วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี 65 ปีแห่งการกำเนิดฝนหลวงพระราชทาน นับจากวันที่ 14 พฤศจิกายน 2498 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำริที่จะคิดค้น วิจัย หาวิธีการทำฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ประสบภัยแล้ง ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2545 เฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน ในฐานะทรงเป็น "พระบิดาแห่งฝนหลวง" และกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีเป็น "วันพระบิดาแห่งฝนหลวง" เพื่อร่วมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ และจารึกไว้เป็นวันสำคัญของประวัติศาสตร์ชาติไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริโครงการฝนหลวงขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทรงศึกษาค้นคว้าและวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้องประสบปัญหาขาดแคลนน้ำ เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้งที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จากพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง นับแต่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทำให้ทรงพบเห็นว่า ภาวะแห้งแล้งได้มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพราะการตัดไม้ทำลายป่า เป็นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ส่งผลถึงความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติ คิดเป็นมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี ทั้งนี้ ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชดำเนิน ทั้งภาคพื้นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสังเกตเห็นว่า มีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงระยะยาวทั้ง ๆ ที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดคำนึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ในภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ในอิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูกประจำปีของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตกได้ ดังนั้น ตั้งแต่พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จนทรงมั่นพระราชหฤทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางด้านเกษตรวิศวกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะนั้น และในปีถัดมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทำให้เกิดการทดลองปฏิบัติการบนท้องฟ้า กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืชกรมการข้าว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดยในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำการทดลองปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำนวยการโครงการและหัวหน้าคณะปฏิบัติการทดลองคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็นพื้นที่ทดลองแห่งแรก ต่อมา ได้มีปฏิบัติการโดยทดลองหยอดก้อนน้ำแข็งแห้ง ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วแล้ว และจากการติดตามผลโดยการสำรวจทางภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่บริเวณวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่บ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และความสำเร็จดังกล่าวยังส่งผลให้มีการพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดโครงการฝนหลวงมาจนถึงปัจจุบัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1179 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสภาพคลองเจ๊ก คลองบางจาก และคลองบางอ้อ บริเวณที่ตัดกับทางด่วนพิเศษ ซึ่งคลองสายต่างๆ ดังกล่าวเป็นคลองที่ชักน้ำจากพื้นที่บริเวณที่มีสภาพน้ำท่วมขังอยู่สองฝั่งถนนสุขุมวิทระหว่างคลองพระโขนง กับทางหลวงสายบางนา-ตราด ผ่านท่อลอดทางด่วนพิเศษ แล้วระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา โดยการระบายน้ำทางประตูระบายน้ำที่ทำนบคลองเจ๊ก ทำนบคลองบางจาก และทำนบคลองบางอ้อ ตลอดจนการสูบน้ำด้วย

    Cr. สำนักราชเลขาธิการ
    #วันนีัในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #ข่าวในพระราชสํานัก #save112
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสภาพคลองเจ๊ก คลองบางจาก และคลองบางอ้อ บริเวณที่ตัดกับทางด่วนพิเศษ ซึ่งคลองสายต่างๆ ดังกล่าวเป็นคลองที่ชักน้ำจากพื้นที่บริเวณที่มีสภาพน้ำท่วมขังอยู่สองฝั่งถนนสุขุมวิทระหว่างคลองพระโขนง กับทางหลวงสายบางนา-ตราด ผ่านท่อลอดทางด่วนพิเศษ แล้วระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา โดยการระบายน้ำทางประตูระบายน้ำที่ทำนบคลองเจ๊ก ทำนบคลองบางจาก และทำนบคลองบางอ้อ ตลอดจนการสูบน้ำด้วย Cr. สำนักราชเลขาธิการ #วันนีัในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #ข่าวในพระราชสํานัก #save112
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1127 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘✨

    แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ อายุ ๑๐๒ ปี ทูลเกล้าฯ ถวายดอกบัว ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรจังหวัดนครพนม

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #13พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘✨ แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ อายุ ๑๐๒ ปี ทูลเกล้าฯ ถวายดอกบัว ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรจังหวัดนครพนม #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #13พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 917 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๘✨

    เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่ ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร

    Cr. เฟซบุ๊ก Pattarapong Arm

    #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #12พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๘✨ เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่ ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร Cr. เฟซบุ๊ก Pattarapong Arm #วันนี้ในอดีต #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #save112 #12พฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1028 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨

    เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปทรงร่วมในพระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ ๑๑ ถึง ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๓

    Cr. สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #11พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓✨ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปทรงร่วมในพระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ ๑๑ ถึง ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๓ Cr. สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #11พฤศจิกายน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 796 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts