• #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ

    #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้

    นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน

    ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน

    เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน

    จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้ นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 127 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,576
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดป่าดอยแสงธรรม อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น
    (ทอดกฐินสามัคคี 12 พ.ย.67)
    02. วัดนาหลวง อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดกฐินสามัคคี 13 พ.ย.67)
    03. วัดต๊ำม่อน อ.เมือง จ.พะเยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    04. วัดทิพยรัฐนิมิตร อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    05. วัดป่าตึง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    06. วัดป่าโสมภาส อ.เมือง จ.มหาสารคาม
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    07. วัดพระธรรมจาริกนากอก อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    08. วัดล่องกอขาม อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    09. วัดลำกระโดน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    10. วัดวังฆ้อง อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,576 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) Photo Album 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดป่าดอยแสงธรรม อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น (ทอดกฐินสามัคคี 12 พ.ย.67) 02. วัดนาหลวง อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดกฐินสามัคคี 13 พ.ย.67) 03. วัดต๊ำม่อน อ.เมือง จ.พะเยา (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 04. วัดทิพยรัฐนิมิตร อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 05. วัดป่าตึง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 06. วัดป่าโสมภาส อ.เมือง จ.มหาสารคาม (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 07. วัดพระธรรมจาริกนากอก อ.บ่อเกลือ จ.น่าน (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 08. วัดล่องกอขาม อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 09. วัดลำกระโดน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 10. วัดวังฆ้อง อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,576
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดป่าดอยแสงธรรม อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น
    (ทอดกฐินสามัคคี 12 พ.ย.67)
    02. วัดนาหลวง อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดกฐินสามัคคี 13 พ.ย.67)
    03. วัดต๊ำม่อน อ.เมือง จ.พะเยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    04. วัดทิพยรัฐนิมิตร อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    05. วัดป่าตึง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    06. วัดป่าโสมภาส อ.เมือง จ.มหาสารคาม
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    07. วัดพระธรรมจาริกนากอก อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    08. วัดล่องกอขาม อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    09. วัดลำกระโดน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    10. วัดวังฆ้อง อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,576 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) Photo Album 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดป่าดอยแสงธรรม อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น (ทอดกฐินสามัคคี 12 พ.ย.67) 02. วัดนาหลวง อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดกฐินสามัคคี 13 พ.ย.67) 03. วัดต๊ำม่อน อ.เมือง จ.พะเยา (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 04. วัดทิพยรัฐนิมิตร อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 05. วัดป่าตึง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 06. วัดป่าโสมภาส อ.เมือง จ.มหาสารคาม (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 07. วัดพระธรรมจาริกนากอก อ.บ่อเกลือ จ.น่าน (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 08. วัดล่องกอขาม อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 09. วัดลำกระโดน อ.วังทอง จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) 10. วัดวังฆ้อง อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 14 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 66 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทอดกฐินวัดคีรีวัน นครนายก โดยคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย บูชาธรรม80ปี หลวงพ่อธัมมชโย #กฐิน30000วัดทั่วไทย

    น้อมถวายบุญกิริยาทั้งปวงนี้เป็นพุทธบูชาแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ถวายบุญนี้แด่มหาปูชนียจารย์ฯ

    เอาบุญมาฝากคุณพ่อคุณแม่หมู่ญาติ ผู้มีคุณทุกท่าน และกัลยาณมิตรทุกท่านนะครับ 😍

    #ตัวแทนพลังบุญ
    #ที่ปรึกษาประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
    #ประกันชีวิตควบการลงทุน
    #ที่ปรึกษาการลงทุน
    #ประสบการณ์ด้านการประกันกว่า20ปี
    #ThaiTimes
    ทอดกฐินวัดคีรีวัน นครนายก โดยคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย บูชาธรรม80ปี หลวงพ่อธัมมชโย #กฐิน30000วัดทั่วไทย น้อมถวายบุญกิริยาทั้งปวงนี้เป็นพุทธบูชาแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ถวายบุญนี้แด่มหาปูชนียจารย์ฯ เอาบุญมาฝากคุณพ่อคุณแม่หมู่ญาติ ผู้มีคุณทุกท่าน และกัลยาณมิตรทุกท่านนะครับ 😍 #ตัวแทนพลังบุญ #ที่ปรึกษาประกันชีวิตและประกันวินาศภัย #ประกันชีวิตควบการลงทุน #ที่ปรึกษาการลงทุน #ประสบการณ์ด้านการประกันกว่า20ปี #ThaiTimes
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 406 มุมมอง 0 รีวิว
  • #การบูชาพระ

    การบูชาพระนี่จะสวดมนต์น้อย สวดมนต์มาก อันนี้ไม่สำคัญ
    🌸จะว่าเพียง นะโมตัสสะ
    🌸หรือ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง จบเท่านี้ก็ใช้ได้
    หรืออย่างดีที่สุดจะต่อ
    🌸อิติปิ โส สักจบก็ดีมาก

    #แต่ว่าเวลาบูชาพระจริงๆ #ให้ตั้งใจเคารพพระพุทธเจ้าจริงๆ

    🌟นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ อย่างนี้แปลว่า
    🎯ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์พระองค์นั้น คือไหว้พระพุทธเจ้า

    🌟พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ที่แปลว่า
    🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง

    🌟ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง

    🌟สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    🎯ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง เท่านี้ก็ได้นะ

    ถ้าจะมากกว่านี้ก็ได้ ตั้งใจเคารพด้วยความจริงใจ

    🏵#หากว่าท่านทำอย่างนี้ทุกวัน🏵#ถ้าวันไหนถึงเวลาแล้วไม่ได้บูชาพระ ⛔️#เกิดความห่วงว่าวันนี้ไม่ได้บูชาพระ

    ❣️#ถ้าจิตถึงระดับนี้❣️
    ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทโปรดทราบว่า #เวลานี้จิตของท่านเป็นฌานในพุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ แล้ว

    🌟#ถ้าจิตเป็นฌานอย่างนี้ท่านตกนรกไม่ได้‼️ ต้องใช้วิธีง่ายๆ

    📖 จากหนังสือ ธรรมปฏิบัติ เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๘๐
    #การบูชาพระ การบูชาพระนี่จะสวดมนต์น้อย สวดมนต์มาก อันนี้ไม่สำคัญ 🌸จะว่าเพียง นะโมตัสสะ 🌸หรือ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง จบเท่านี้ก็ใช้ได้ หรืออย่างดีที่สุดจะต่อ 🌸อิติปิ โส สักจบก็ดีมาก #แต่ว่าเวลาบูชาพระจริงๆ #ให้ตั้งใจเคารพพระพุทธเจ้าจริงๆ 🌟นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ อย่างนี้แปลว่า 🎯ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์พระองค์นั้น คือไหว้พระพุทธเจ้า 🌟พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ที่แปลว่า 🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง 🌟ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง 🌟สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 🎯ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง เท่านี้ก็ได้นะ ถ้าจะมากกว่านี้ก็ได้ ตั้งใจเคารพด้วยความจริงใจ 🏵#หากว่าท่านทำอย่างนี้ทุกวัน🏵#ถ้าวันไหนถึงเวลาแล้วไม่ได้บูชาพระ ⛔️#เกิดความห่วงว่าวันนี้ไม่ได้บูชาพระ ❣️#ถ้าจิตถึงระดับนี้❣️ ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทโปรดทราบว่า #เวลานี้จิตของท่านเป็นฌานในพุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ แล้ว 🌟#ถ้าจิตเป็นฌานอย่างนี้ท่านตกนรกไม่ได้‼️ ต้องใช้วิธีง่ายๆ 📖 จากหนังสือ ธรรมปฏิบัติ เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๘๐
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • กำหนดการพิธีฌาปนกิจ
    คุณโสภณ องค์การณ์
    ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐
    วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗
    ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา
    ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์
    ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล
    ๑๓.๐๐ น.
    เวียนเมรุ
    ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์
    ทอดผ้าบังสกุล
    ยืนไว้อาลัย
    ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง
    เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ
    (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง)

    #Thaitimes
    กำหนดการพิธีฌาปนกิจ คุณโสภณ องค์การณ์ ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐ วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล ๑๓.๐๐ น. เวียนเมรุ ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์ ทอดผ้าบังสกุล ยืนไว้อาลัย ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง) #Thaitimes
    Sad
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 518 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุทัยธานี จัดงานตักบาตรเทโว ตามประเพณีชุมชน และชาวบ้าน พิธี บวงสรวงยกช่อฟ้าอุโบสถ และพิธียกดอกบัว ทองเหลือง5ดอก
    เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00น. วัดถ้ำเขาวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี จัดงานตักบาตรเทโว ตามประเพณีชุมชน และชาวบ้าน พิธี บวงสรวงยกช่อฟ้าอุโบสถ และพิธียกดอกบัว ทองเหลือง5ดอก ปิดทองพระบาทและแห่ผ้าห่มพระองค์นอนองค์ใหญ่ 21เมตร โดยพระธรรมวชิรเมธี เจ้าคณะ1 เจ้าอาวาสวัดหงส์รัตนารามราชวิหาร กรุงเทพมหานคร มีคณะเจ้าภาพ ท่านนพพดล พลเสน รมต.จองชัย เที่ยงธรรม พล.ต.อ.สถาพร หลาวทอง พล.ต.อ.ชัลวาล สุขสมจิตร์ พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ และประชาชนทั่วไป ร่วมงานเป็นจำนวนมาก
    สมพงษ์ ณรงค์มี ผู้สื่อข่าว นสพ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์อุทัยธานี รายงาน
    อุทัยธานี จัดงานตักบาตรเทโว ตามประเพณีชุมชน และชาวบ้าน พิธี บวงสรวงยกช่อฟ้าอุโบสถ และพิธียกดอกบัว ทองเหลือง5ดอก เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00น. วัดถ้ำเขาวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี จัดงานตักบาตรเทโว ตามประเพณีชุมชน และชาวบ้าน พิธี บวงสรวงยกช่อฟ้าอุโบสถ และพิธียกดอกบัว ทองเหลือง5ดอก ปิดทองพระบาทและแห่ผ้าห่มพระองค์นอนองค์ใหญ่ 21เมตร โดยพระธรรมวชิรเมธี เจ้าคณะ1 เจ้าอาวาสวัดหงส์รัตนารามราชวิหาร กรุงเทพมหานคร มีคณะเจ้าภาพ ท่านนพพดล พลเสน รมต.จองชัย เที่ยงธรรม พล.ต.อ.สถาพร หลาวทอง พล.ต.อ.ชัลวาล สุขสมจิตร์ พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ และประชาชนทั่วไป ร่วมงานเป็นจำนวนมาก สมพงษ์ ณรงค์มี ผู้สื่อข่าว นสพ.ประชาไทนิวส์ออนไลน์อุทัยธานี รายงาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน

    เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา

    การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่

    สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน

    สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้

    ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว

    ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว

    ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย

    ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน

    ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี

    ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้

    เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น

    ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน

    ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ

    ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน
    สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน
    อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก

    เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด

    ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้

    เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก

    เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง
    ...................................
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน
    www.watthakhanun.com
    ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่ สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้ ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง ................................... พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน www.watthakhanun.com
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 110 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน

    เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา

    การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่

    สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน

    สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้

    ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว

    ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว

    ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย

    ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน

    ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี

    ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้

    เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น

    ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน

    ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ

    ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน
    สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน
    อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก

    เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด

    ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้

    เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก

    เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง
    ...................................
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน
    www.watthakhanun.com
    ส่วนของงานกฐินนั้น ที่สำคัญอีกอย่างก็คือผู้ครองผ้ากฐิน ถ้าว่ากันโดยพระธรรมวินัยแล้ว ท่านให้บุคคลที่มีจีวรเก่าที่สุดในวัดได้ผ้านั้นไป แต่ว่าระยะหลัง ส่วนใหญ่เจ้าอาวาสมักจะเป็นผู้ครองผ้ากฐิน เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะ บางท่านถือว่าผู้ครองกฐินจึงมีสิทธิ์ที่จะรับบริวารกฐินทั้งหมด ผู้อื่นไม่มีสิทธิ์รับ เจ้าอาวาสก็เลยมักจะครองกฐินเสียเอง แต่ความจริงแล้วเป็นการเข้าใจผิด เพราะว่าบางวัดมีพระไม่ครบ ๕ รูป ไม่สามารถที่จะรับกฐินได้ ต้องไปยืมพระวัดอื่นมา การไปยืมพระวัดอื่นมานั้น พระวัดอื่นที่มานั้น ไม่มีสิทธิ์ไม่มีส่วนในกฐินนั้นทั้งสิ้น ให้เฉพาะบุคคลที่จำพรรษาในวัดนั้นเท่านั้น ดังนั้น...จึงมีการเข้าใจผิดกันว่า ถ้าไม่ครองกฐินแล้วจะไม่มีโอกาสได้รับบริวารกฐิน ซึ่งก็คือไม่มีสิทธิ์รับเงิน ก็ขอให้เข้าใจให้ถูกเสียใหม่ สำหรับวัดท่าขนุนของเรานั้น ครองกฐินกันไปตามอายุพรรษา ก็คือถ้าปีนี้ไปถึงใคร ปีหน้าท่านถัดไปก็จะรู้เองว่าถึงคิวของตนเองครองกฐินแล้ว สำหรับผู้ครองกฐินนั้นต้องรับภาระหนัก เพราะว่าต้องเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด ในเมื่อเป็นผู้รักษาผ้าครองแทนพระทั้งวัด บุคคลที่ได้อานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ พูดง่าย ๆ ก็คือ ละเว้นให้ไม่ต้องรักษาศีลหลายข้อ อย่างเช่นว่าการเที่ยวไปโดยไม่ต้องบอกลา ซึ่งปกติแล้ววัดท่าขนุนของเราไม่ยอมให้ไปโดยไม่ต้องบอกลา ออกจากวัดไปไหนจะต้องลาทุกคน อานิสงส์กฐินข้อนี้จึงไม่มีประโยชน์สำหรับพระวัดท่าขนุน สามารถฉันคณะโภชนาได้ ก็คือโดยปกติแล้ว ถ้าญาติโยมบอกว่านำอาหารอะไรมาถวายพระ พระไม่สามารถที่จะฉันรวมกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปได้ เพราะว่าเป็นการผิดพระวินัย สาเหตุมาจากสมัยพุทธกาล เมื่อมหาเศรษฐีท่านบอกว่าจะถวายภัตตาหารอะไร พอเป็นอาหารที่ประณีต มีรสดี บรรดาพระก็แห่กันไปจนเขาเลี้ยงไม่ไหว พระพุทธเจ้าจึงต้องตรัสห้ามไว้ว่า ถ้าเป็นอาหารที่เจ้าภาพออกชื่อ ให้ฉันได้ไม่เกิน ๓ รูปเท่านั้น ถ้าถึงรูปที่ ๔ ขึ้นไปเรียกว่าคณะ ถ้าฉันคณะโภชนาแบบนั้น โดนปรับอาบัติทุกคำที่กลืนลงไป ก็แปลว่าศีลขาดทุกคำที่กลืน แต่หากว่ารับกฐินแล้วสามารถฉันคณะโภชนาได้ ลำดับต่อไป คือ ฉันปรัมปรโภชนาได้ คำว่า ปรัมประ ก็คือฉันจากที่หนึ่งแล้วไปฉันอีกที่หนึ่ง ซึ่งโดยปกติแล้วที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามไว้ เพราะเกรงว่าจะฉันได้น้อย บางทีเจ้าภาพเขาก็เสียใจ แต่เรื่องนี้ไม่ต้องมาใช้กับอาตมา เพราะว่าฉันน้อยเป็นปกติอยู่แล้ว ข้อต่อไปท่านบอกว่า ไปไหนไม่ต้องเอาจีวรไปครบสำรับ เพราะว่ามีผู้ครองกฐินรักษาผ้าแทนเราแล้ว ข้อสุดท้าย ก็คือ จีวรที่เกิดขึ้นไม่ต้องทำวิกัปเป็น ๒ เจ้าของ สามารถที่จะใช้เป็นของตนเองได้เลย ในเมื่ออานิสงส์กฐินสามารถผ่อนคลายสิกขาบทได้หลายข้อ แต่ผู้ที่ครองกฐินจะไม่ได้อานิสงส์นี้ เพราะว่าต้องรักษาผ้ากฐินแทนผู้อื่นทั้งวัด ถ้าทำผ้าขาดครองก็ทำให้ขาดอานิสงส์กฐินทั้งวัดเหมือนกัน ดังนั้น...ในส่วนของผู้ครองกฐินจึงสำคัญมาก เพราะว่าห้ามเผลออย่างเด็ดขาด และอานิสงส์กฐินนี้จะมีแค่กลางเดือน ๔ เท่านั้น ถ้าท่านจำพรรษาแล้วไม่ได้รับกฐิน ได้รับอานิสงส์ ๑ เดือน ก็คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าจำพรรษาแล้วได้รับกฐิน ท่านขยายเวลาให้ถึงกลางเดือน ๔ ก็คือเพิ่มขึ้นมาอีก ๔ เดือน แต่อาตมาไม่เคยใช้อานิสงส์กฐิน เพราะว่าอานิสงส์กฐินนั้น ถ้าเผลอเราจะมักง่าย ไปไหนเอาจีวรไปครบไตรก็ไม่ได้หนักหนาสาหัสจนเกินไป จีวรชุดหนึ่งก็ใช้ได้หลายปี ขณะเดียวกันเรื่องของคณะโภชนา ปรัมปรโภชนานั้น ถ้าเราเผลอตัวเมื่อไร เกินกลางเดือน ๔ ไปก็จะโดนอาบัติ การไปไหนปกติก็ต้องบอกอยู่แล้วว่าไปไหน เพื่อที่เจ้าอาวาสหรือเพื่อนฝูงจะได้รู้ มีอะไรเร่งด่วนจะได้ตามตัวกันได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมาบวชมา ๓๐ กว่าปีไม่เคยใช้อานิสงส์กฐินเลย พูดง่าย ๆ ว่าไม่ต้องรอให้กฐินเดาะ แต่เป็นคนเดาะกฐินเสียเอง แต่ว่าในส่วนอื่น บุคคลอื่น โดยเฉพาะพระอื่น ๆ ในวัดท่าขนุน อาตมาไม่ได้บังคับ ใครจะใช้อานิสงส์กฐินก็อย่าเผลอ ถ้าใครไม่ใช้อานิสงส์กฐินก็ขออนุโมทนาด้วย เนื่องเพราะว่าในเรื่องของศีลพระนั้น ไม่มีอะไรน่าหนักใจ ๒๒๗ ข้อก็สามารถรักษาได้ ทำไมต้องไปผ่อนใน ๔ - ๕ ข้อเหล่านั้น ในเรื่องของการขอกฐิน วัดท่าขนุนจะไม่มีเรื่องนี้ เนื่องเพราะว่าอาตมาจะตั้งกองกฐินขึ้นมาเอง หลังจากนั้นญาติโยมก็มาสมทบ ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีเท่านั้น เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว ถ้ามีวัดใดมาขอกฐิน ญาติโยมจะเป็นเจ้าภาพจะเป็นอะไรก็ตาม ให้รู้ว่าบุญกฐินนั้นโยมได้ไปเต็ม ๆ แต่อานิสงส์กฐินสำหรับพระไม่มีใครได้เลย เพราะว่าในพระวินัยท่านห้ามขอกฐิน ญาติโยมที่อยากจะเป็นเจ้าภาพกฐิน ให้ไปปวารณาตนแจ้งต่อเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่งที่เราจะเอากฐินไปทอด ว่าเราขอเป็นเจ้าภาพทอดกฐิน ถ้าอย่างนั้นพระในวัดท่านถึงจะได้อานิสงส์กฐินไปเต็ม ๆ ในส่วนของการที่พระไปขอจากญาติโยม ก็คาดว่าเกิดจาก ๒ สาเหตุด้วยกัน สาเหตุแรก ก็คือ ไม่รู้ว่าในพระบาลีท่านห้ามขอกฐิน อย่างที่ ๒ ก็คือ แกล้งไม่รู้ เพราะว่าอยากได้กฐิน เนื่องจากว่าเจ้าภาพหลายรายมาปวารณากฐินกับอาตมาแล้วถามว่า ต้องการยอดปัจจัยเท่าไร ซึ่งถ้าเป็นวัดอื่น ๆ ก็อาจจะมีการบอกว่าเท่านั้นแสน เท่านี้ล้าน แต่สำหรับวัดท่าขนุน มีโยมถามอยู่ ๒ ปี ปีแรกที่ถาม อาตมาบอกว่าเอามา ๑๖ บาท เป็นเลขมงคลโสฬสสวยดี ปีถัดมาถามอีก บอกว่าเอามา ๙ บาทก็แล้วกัน ก็เป็นอันว่าจบกันแค่นั้น เนื่องจากว่ากฐินอยู่ที่ศรัทธาของโยม ไม่ใช่ว่าพระไปตั้งยอด แล้วให้โยมตะเกียกตะกายหามาด้วยความยากลำบาก เรื่องของพระธรรมวินัยแล้ว ส่วนใหญ่พระเณรสมัยนี้ไม่ค่อยที่จะเข้มงวดกัน อาจจะเป็นเพราะว่าพระอุปัชฌาย์อาจารย์ของท่านไม่ได้สั่งสอนไว้ ไม่ได้อบรมไว้ หรือไม่ก็ความที่อยากได้ยอดปัจจัยกฐินมาก ๆ ก็เลยต้องไปเที่ยวขอกฐินจากญาติโยมหลาย ๆ คน เพื่อให้มารวมกันทอด ในส่วนของกฐิน ขอย้ำอีกครั้งว่า อานิสงส์กฐิน สำคัญที่สุดตรงผ้าไตร จะเป็นผืนเดียว หรือครบไตรก็ตาม ถ้าไม่มีผ้าไตรก็ไม่เป็นกฐิน ถ้ามีผ้าไตรแล้วบริวารกฐินอื่นไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เมื่อญาติโยมทราบแล้วจะได้รู้ว่า ในเรื่องของกฐินแต่โบราณมานั้น เขาเน้นกันเรื่องผ้าไตรครองสำหรับพระ แต่ปัจจุบันนี้ผิดเพี้ยนไป กลายเป็นว่าวัดไหนทำยอดเงินได้มาก ก็ถือว่าได้บุญมาก อย่าลืมว่าเงินเป็นแค่บริวารกฐินเท่านั้น ตัวบุญกฐินเต็ม ๆ อยู่ที่ผ้าไตรต่างหาก เมื่อญาติโยมได้ทราบในเรื่องของกฐิน ตลอดกระทั่งแบบธรรมเนียมในการปวารณาเป็นเจ้าภาพกฐิน หรือว่าในการถวายกฐินแล้ว ต่อไปก็จะได้ปฏิบัติกันได้ถูกต้อง ................................... พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน www.watthakhanun.com
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว,
    ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า,
    ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว, ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า, ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 187 มุมมอง 26 0 รีวิว
  • กระทู้ที่ 1 วันที่ 21 ตุลาคม 2567
    แรม 4 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง
    เรื่อง ความเป็นมาของ คาถาอาคม ในประเทศไทย
    ในอดีตทียังไม่เป็นประเทศไทยเหมือนในปัจจุบันอิทธิพลศาสนาฮินดูได้มีอิทธิพลต่อผู้นำในอดีต ผู้นำในอดีตได้รับเอาพิธีกรรมทางศาสนาฮินดูมาเป็นที่ยึดเหนี่ยว วัฒนธรรมฮินดูในประเทศอินเดียมีมาช้านานก่อนศสนาพุทธ จะเห็นได้ในยุคขอมเรืองอำนาจ จะเห็นได้จากปราสาทขอมที่ทิ้งไว้ให้ปรากฎในปัจจุบัน เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้าในยุคที่พระเจ้าอโศกส่งพระธรรมทูตเข้าเผยแพร่ในแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันผู้ปกครองในยุคต่อมาค่อยเปลี่ยนแปลงและนำเอาพระพุทธศาสนามาผสมประสานเข้ากับศาสนาฮินดู ในศาสนาฮินดูมีพิธีกรรมต่างๆมีบทสวดมากมายเป็นการร้องขอความช่วยเหลือต่างๆกับเทพเจ้าที่เชื่อว่าจะดลบันดาลให้สมความปรารถนา ต่อมาพระสงฆ์ทางพระพุทธศาสนาผู้ทรงภูมปัญญาได้คิดวิธีการโดยอาศัยแบบอย่างของศาสนาฮินดูแต่แตกต่างโดยการแต่งมนต์โดยใช้บทสวดในทางพระพุทธศาสนามาเป็นมนต์คาถา ซึ่งเรียกว่าพระพุทธมนต์ การจะแต่งพระพุทธมนต์นั้นไม่ใช่จับแพะชนแกะ บูรพาจารผู้แต่งต้องแตกฉานในปริยัติ และต้องเข้าถึงการปฏิบัติจนได้ฌาณสมาบัติ ซึ่งเป็นความรู้ขั้นสูงจึงสามารถร้อยเรียงพุทธมนต์ขึ้นมาได้ แม้แต่การลงอักขระเลขยันต์ล้วนแล้วแต่ผ่านการคิดค้นออกมาจากบูรพาจารย์ผู้ทรงฌาณทั้งสิ้น พระพุทธมนต์เลขยันต์ต่างๆที่มีการจดบันทึกมานั้นนับเป็นพันตำหรับ การจะเขียนยันต์ในแต่ละตัวเขามีสูตรการลงไว้ไม่ใช่เขียนส่งเดชแล้วก็ใช้ได้ วันนี้ทดลองเขียนกระทู้ใน thaitimes ครั้งแรก เอาไว้ตอนต่อไปค่อยว่ากันใหม่ สวัสดี
    กระทู้ที่ 1 วันที่ 21 ตุลาคม 2567 แรม 4 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง เรื่อง ความเป็นมาของ คาถาอาคม ในประเทศไทย ในอดีตทียังไม่เป็นประเทศไทยเหมือนในปัจจุบันอิทธิพลศาสนาฮินดูได้มีอิทธิพลต่อผู้นำในอดีต ผู้นำในอดีตได้รับเอาพิธีกรรมทางศาสนาฮินดูมาเป็นที่ยึดเหนี่ยว วัฒนธรรมฮินดูในประเทศอินเดียมีมาช้านานก่อนศสนาพุทธ จะเห็นได้ในยุคขอมเรืองอำนาจ จะเห็นได้จากปราสาทขอมที่ทิ้งไว้ให้ปรากฎในปัจจุบัน เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้าในยุคที่พระเจ้าอโศกส่งพระธรรมทูตเข้าเผยแพร่ในแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันผู้ปกครองในยุคต่อมาค่อยเปลี่ยนแปลงและนำเอาพระพุทธศาสนามาผสมประสานเข้ากับศาสนาฮินดู ในศาสนาฮินดูมีพิธีกรรมต่างๆมีบทสวดมากมายเป็นการร้องขอความช่วยเหลือต่างๆกับเทพเจ้าที่เชื่อว่าจะดลบันดาลให้สมความปรารถนา ต่อมาพระสงฆ์ทางพระพุทธศาสนาผู้ทรงภูมปัญญาได้คิดวิธีการโดยอาศัยแบบอย่างของศาสนาฮินดูแต่แตกต่างโดยการแต่งมนต์โดยใช้บทสวดในทางพระพุทธศาสนามาเป็นมนต์คาถา ซึ่งเรียกว่าพระพุทธมนต์ การจะแต่งพระพุทธมนต์นั้นไม่ใช่จับแพะชนแกะ บูรพาจารผู้แต่งต้องแตกฉานในปริยัติ และต้องเข้าถึงการปฏิบัติจนได้ฌาณสมาบัติ ซึ่งเป็นความรู้ขั้นสูงจึงสามารถร้อยเรียงพุทธมนต์ขึ้นมาได้ แม้แต่การลงอักขระเลขยันต์ล้วนแล้วแต่ผ่านการคิดค้นออกมาจากบูรพาจารย์ผู้ทรงฌาณทั้งสิ้น พระพุทธมนต์เลขยันต์ต่างๆที่มีการจดบันทึกมานั้นนับเป็นพันตำหรับ การจะเขียนยันต์ในแต่ละตัวเขามีสูตรการลงไว้ไม่ใช่เขียนส่งเดชแล้วก็ใช้ได้ วันนี้ทดลองเขียนกระทู้ใน thaitimes ครั้งแรก เอาไว้ตอนต่อไปค่อยว่ากันใหม่ สวัสดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 138 มุมมอง 0 รีวิว
  • หลวงปู่ชา_สุภทฺโท #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระธรรมวิสุทธิมงคล #คลิปหาดูยาก
    หลวงปู่ชา_สุภทฺโท #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #พระธรรมวิสุทธิมงคล #คลิปหาดูยาก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 23 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องกรรมไว้อย่างชัดเจนว่า "เรามีกรรมเป็นของตน" นั่นหมายความว่าทุกการกระทำที่เราทำไม่ว่าจะเป็นทางกาย วาจา หรือใจ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราต้องรับผลจากมันเอง ไม่ว่ากรรมที่เกิดขึ้นนั้นจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว สัตว์ทั้งหลายจะได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างแน่นอน

    ภิกษุผู้ฟังพระธรรมเทศนานี้ย่อมตระหนักถึงการมีชีวิตอยู่บนเส้นทางของกรรม พระพุทธเจ้าทรงชี้ให้เห็นว่า การที่เราก่อกรรมใดๆ จะส่งผลตามกรรมอย่างแน่นอน จึงทำให้ภิกษุทั้งหลายเกิดความระมัดระวังในการดำเนินชีวิต การฟังธรรมนี้ย่อมทำให้เขาระลึกถึงกรรมที่ยังไม่สมบูรณ์บริบูรณ์ และพยายามละเลิกทุจริตทั้งหลาย

    ในทางกลับกัน เมื่อเราในฐานะคนธรรมดาพิจารณาชีวิตของตนเองที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า ชีวิตคนหนึ่งเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ทั้งความคิดและการกระทำ แต่กรรมที่ทำไว้ในอดีตยังคงตามมาให้ผลเสมอ แม้เราจะเปลี่ยนแปลงตัวเองจากเมื่อก่อน ความคิดและการกระทำในอดีตยังคงส่งผลต่อเราในปัจจุบัน นี่คือความจริงของกรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นเพราะบังเอิญ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นผลจากการกระทำที่ผ่านมา

    การพิจารณาถึงเรื่องกรรมและผลกรรมในชีวิตของเรานั้น จะทำให้เราเห็นถึงความสำคัญของการระวังในการกระทำทั้งปวง เพราะทุกสิ่งที่เราทำในวันนี้ ล้วนส่งผลต่ออนาคตของเราอย่างแน่นอน

    พระพุทธเจ้าตรัสเรื่องกรรมไว้อย่างชัดเจนว่า "เรามีกรรมเป็นของตน" นั่นหมายความว่าทุกการกระทำที่เราทำไม่ว่าจะเป็นทางกาย วาจา หรือใจ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราต้องรับผลจากมันเอง ไม่ว่ากรรมที่เกิดขึ้นนั้นจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว สัตว์ทั้งหลายจะได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างแน่นอน ภิกษุผู้ฟังพระธรรมเทศนานี้ย่อมตระหนักถึงการมีชีวิตอยู่บนเส้นทางของกรรม พระพุทธเจ้าทรงชี้ให้เห็นว่า การที่เราก่อกรรมใดๆ จะส่งผลตามกรรมอย่างแน่นอน จึงทำให้ภิกษุทั้งหลายเกิดความระมัดระวังในการดำเนินชีวิต การฟังธรรมนี้ย่อมทำให้เขาระลึกถึงกรรมที่ยังไม่สมบูรณ์บริบูรณ์ และพยายามละเลิกทุจริตทั้งหลาย ในทางกลับกัน เมื่อเราในฐานะคนธรรมดาพิจารณาชีวิตของตนเองที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า ชีวิตคนหนึ่งเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ทั้งความคิดและการกระทำ แต่กรรมที่ทำไว้ในอดีตยังคงตามมาให้ผลเสมอ แม้เราจะเปลี่ยนแปลงตัวเองจากเมื่อก่อน ความคิดและการกระทำในอดีตยังคงส่งผลต่อเราในปัจจุบัน นี่คือความจริงของกรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสอน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นเพราะบังเอิญ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นผลจากการกระทำที่ผ่านมา การพิจารณาถึงเรื่องกรรมและผลกรรมในชีวิตของเรานั้น จะทำให้เราเห็นถึงความสำคัญของการระวังในการกระทำทั้งปวง เพราะทุกสิ่งที่เราทำในวันนี้ ล้วนส่งผลต่ออนาคตของเราอย่างแน่นอน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • กำแพงพระธรรม
    กำแพงพระธรรม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • การได้สดับพระธรรมของพระศาสดาเพียงบทใดบทหนึ่งอย่างคล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดเป็นอย่างดีด้วยความเห็น...แม้ขาดสติตอนทำกาละ พระพุทธองค์รับประกันว่า จะได้ไปเกิดเป็นเทวดาหมู่ใดหมู่หนึ่งแน่นอน
    การได้สดับพระธรรมของพระศาสดาเพียงบทใดบทหนึ่งอย่างคล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดเป็นอย่างดีด้วยความเห็น...แม้ขาดสติตอนทำกาละ พระพุทธองค์รับประกันว่า จะได้ไปเกิดเป็นเทวดาหมู่ใดหมู่หนึ่งแน่นอน
    บทสวดอิทัปปัจจยตาหรือ
    ปฏิจจสมุปบาท,
    อานาปานสติ,
    สัญญา 10 ประการ,
    จิตมโนวิญาณ,
    มรรค 8.
    บทธรรม"พุทธวจน" ดังกล่าวนี้ เมื่อชาวพุทธได้ศึกษาเล่าเรียนอย่างดีแล้ว จะได้ชื่อว่า เป็นบุตรของพระพุทธเจ้าโดยธรรม ซึ่งเป็นผู้ไม่ถอยกลับอีกต่อไป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • มารู้จักพระสุตตันตปิฎกกัน

    เนื้อหาโดยสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
    พระสุตตันตปิฎก คือประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะสมกับบุคคล เหตุการณ์ และโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา ซึ่งอยู่ในรูปแบบหรือองค์ต่าง ๆ (มี ๙ องค์ ที่เรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์” เช่น สุตตะ เคยยะ) รวมถึงพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายของพระสาวกพระสาวิกาที่กล่าวตามแนวพระพุทธพจน์ในบริบทต่าง ๆ ด้วย
    พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็น ๕ หมวด เรียกว่า นิกาย คือ (๑) ทีฆนิกาย (หมวดยาว) (๒) มัชฌิมนิกาย (หมวดปานกลาง) (๓) สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหา) (๔) อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) (๕) ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) การจัดแบ่งพระสูตรเป็น ๕ นิกายนี้ ถ้าพิจารณาเนื้อหาโดยรวมของแต่ละนิกาย จะพบว่าท่านอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้
    ๑. แบ่งตามความยาวของพระสูตร คือรวบรวมพระสูตรที่มีความยาวมากไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า ทีฆนิกาย รวบรวมพระสูตรที่มีความยาวปานกลางไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมนิกาย ส่วนพระสูตรที่มีขนาดความยาวน้อยกว่านั้น แยกไปจัดแบ่งไว้ในหมวดอื่นและด้วยวิธีอื่นดังจะกล่าวในข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๔ ตามลำดับ
    ๒. แบ่งตามเนื้อหาสาระของพระสูตร คือประมวลพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระประเภทเดียวกัน จัดไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหาสาระ) เช่นประมวลเรื่องที่เกี่ยวกับพระมหากัสสปเถระเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า กัสสปสังยุต
    ๓. แบ่งตามลำดับจำนวนองค์ธรรมหรือหัวข้อธรรม คือรวบรวมพระสูตรที่มีหัวข้อธรรมเท่ากันเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) และมีชื่อกำกับหมวดย่อยว่า นิบาต มี ๑๑ นิบาต คือหมวดพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม ๑ ข้อ เรียกว่า เอกกนิบาต ที่มี ๒ ข้อ เรียกว่า ทุกนิบาต ที่มี ๓ ข้อ เรียกว่าติกนิบาต ที่มี ๔ ข้อ เรียกว่า จตุกกนิบาต ที่มี ๕ ข้อ เรียกว่า ปัญจกนิบาต ที่มี ๖ ข้อ เรียกว่า ฉักกนิบาต ที่มี ๗ ข้อ เรียกว่า สัตตกนิบาต ที่มี ๘ ข้อ เรียกว่า อัฏฐกนิบาต ที่มี ๙ ข้อ เรียกว่า นวกนิบาต ที่มี ๑๐ ข้อ เรียกว่า ทสกนิบาต และที่มี ๑๑ ข้อ เรียกว่า เอกาทสกนิบาต
    ๔.จัดแยกพระสูตรที่ไม่เข้าเกณฑ์ทั้ง ๓ ข้างต้นไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) แบ่งตามหัวข้อใหญ่เป็น ๑๕ เรื่อง คือ (๑) ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปทะ (ธรรมบท) (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต (๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตกะ (๑๑) นิทเทส (มหานิทเทสและจูฬนิทเทส) (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน (๑๔) พุทธวังสะ (พุทธวงศ์) (๑๕) จริยาปิฎก นอกจากนี้ท่านยังจัดพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกเข้าไว้ในขุททกนิกายนี้ด้วย
    ๑. เนื้อหาโดยสังเขปของทีฆนิกาย
    ทีฆนิกาย มีพระสูตรขนาดยาวจำนวน ๓๔ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค (ตอน) คือ (๑) สีลขันธวรรค (๒) มหาวรรค (๓) ปาฏิกวรรค
    สีลขันธวรรค ว่าด้วยศีล และทิฏฐิ (ลัทธิ) มีจำนวน ๑๓ สูตร
    มหาวรรค ว่าด้วยเรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์ มีพระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้น และพระประวัติของพระองค์เอง เรื่องปฏิจจสมุปบาท เรื่องมหาปรินิพพาน มีจำนวน ๑๐ สูตร
    ปาฏิกวรรค ว่าด้วยเรื่องนักบวชนอกพระพุทธศาสนา มีนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร เป็นต้น เรื่องจักรวรรดิวัตร เรื่องมูลกำเนิดของโลก เรื่องมหาปุริสลักษณะ (ลักษณะมหาบุรุษ) เรื่องการสังคายนาพระธรรมวินัย เป็นต้น มีจำนวน ๑๑ สูตร
    ๒. เนื้อหาโดยสังเขปของมัชฌิมนิกาย
    มัชฌิมนิกาย มีพระสูตรขนาดปานกลาง จำนวน ๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ (หมวดละ ๕๐ สูตร) คือ (๑) มูลปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ต้น) (๒) มัชฌิมปัณณาสก์ (ปัณณาสก์กลาง) (๓) อุปริปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ปลาย) แต่ละปัณณาสก์ แบ่งย่อยเป็นวรรค (หมวดหรือตอน) ได้ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ยกเว้นวิภังควรรคของอุปริปัณณาสก์ ซึ่งท่านเพิ่มให้เป็น ๑๒ สูตร ดังนี้
    มูลปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) มูลปริยายวรรค ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมซึ่งปรากฏในมูลปริยายสูตร เป็นต้น (๒) สีหนาทวรรค ว่าด้วยการบันลือสีหนาท ดังปรากฏในจูฬสีหนาทสูตร มหาสีหนาทสูตร เป็นต้น (๓) โอปัมมวรรค ว่าด้วยข้ออุปมา เช่นอุปมาด้วยเลื่อย อุปมาด้วยอรสรพิษ ดังปรากฏในกกจูปมสูตร อลคัททูปมสูตร เป็นต้น (๔) มหายมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดใหญ่ เช่นเหตุการณ์ในโคสิงคสาลวัน ๒ เหตุการณ์ ดังปรากฏในจูฬโคสิงคสูตร และมหาโคสิงคสูตร เป็นต้น (๕) จูฬยมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดเล็ก เช่น การสันทนาธรรมที่ทำให้เกิดปัญญาของบุคคล ๒ คู่ ดังปรากฏในมหาเวทัลลสูตร จูฬเวทัลลสูตร
    มัชฌิมปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) คหปติวรรค ว่าด้วยคหบดี (๒) ภิกขุวรรค ว่าด้วยภิกษุ (๓) ปริพพาชกวรรค ว่าด้วยปริพาชก (๔) ราชวรรค ว่าด้วยพระราชา (๕) พราหมณวรรค ว่าด้วยพราหมณ์อุปริปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) เทวทหวรรค ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่เทวทหนิคม เป็นต้น ดังปรากฏในเทวทหสูตร (๒) อนุปทวรรค ว่าด้วยธรรมตามลำดับบท เป็นต้น ดังปรากฏในอนุปทสูตร (๓) สุญญตวรรค ว่าด้วยสุญญตา เป็นต้น ดังปรากฏในจูฬสุญญตสูตร และมหาสุญญตสูตร (๔) วิภังควรรค ว่าด้วยการจำแนกธรรม (๕) สฬายตนวรรค ว่าด้วยอายตนะ ๖
    ๓. เนื้อหาโดยสังเขปของสังยุตตนิกาย
    สังยุตตนิกาย มีพระสูตรที่ปรากฏจำนวน ๒,๗๕๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๗,๗๖๒ สูตร : วิ.อ. ๑/๑๗) แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ตามเนื้อหาสาระหรือรูปแบบที่เข้ากันได้กลุ่มละ ๑ วรรค คือ
    ๑. สคาถวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีรูปแบบเป็นคาถาประพันธ์ มีจำนวน ๒๗๑ สูตร จัดเป็นสังยุต (ประมวลเนื้อหาเป็นเรื่อง ๆ) ได้ ๑๑ สังยุต
    ๒. นิทานวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับต้นเหตุแห่งการเกิดและการดับแห่งทุกข์ มีจำนวน ๓๓๗ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต
    ๓. ขันธวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับขันธ์ ๕ มีจำนวน ๗๑๖ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๓ สังยุต
    ๔. สฬายตนวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอายตนะ ๖ มีจำนวน ๔๒๐ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต
    ๕. มหาวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับธรรมหมวดใหญ่ ได้แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ และหมวดธรรมที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน ๑,๐๐๘ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๒ สังยุต
    ๔. เนื้อหาโดยสังเขปของอังคุตตรนิกาย
    อังคุตตรนิกายมีพระสูตรตามที่ปรากฏจำนวน ๗,๙๐๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๙,๕๕๗ สูตร : วิ.อ. ๑/๒๕) แบ่งเป็น ๑๑ นิบาต (หมวดย่อย) ดังนี้
    ๑. เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๖๑๙ สูตร แบ่งเป็น ๒๐ วรรค
    ๒. ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๗๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๕ วรรค กับ ๔ หัวข้อเปยยาล (หมวดธรรมที่แสดงไว้โดยย่อ)
    ๓. ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๓๕๓ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๖ วรรค กับ ๒ หัวข้อเปยยาล
    ๔. จตุกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๔ ประการ มี ๗๘๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๗ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๕. ปัญจกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๕ ประการ มี ๑,๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๖ วรรค กับ ๓ หัวข้อเปยยาล
    ๖. ฉักกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๖ ประการ มี ๖๔๙ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๗. สัตตกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๗ ประการ มี ๑,๑๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๑ ปัณณาสก์ ๕ วรรค และอีก ๕ วรรค (ไม่จัดเป็นปัณณาสก์) กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๘. อักฐกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๘ ประการ มี ๖๒๖ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๐ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๙. นวกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๙ ประการ มี ๔๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๙ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๑๐. ทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๐ ประการ มี ๗๔๖ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๑๑. เอกาทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๑ ประการ มี ๖๗๑ สูตร แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล
    ๕. เนื้อหาโดยสังเขปของขุททกนิกาย
    ขุททกนิกายมีหัวข้อธรรมจำนวน ๑๕ เรื่อง ๑๕ คัมภีร์ แต่ละคัมภีร์มีเนื้อหาโดยสังเขปดังนี้
    ๑. ขุททกปาฐะ ว่าด้วยบทสวดสั้น ๆ จำนวน ๙ บท ๙ สูตร เช่น สรณคมน์ มงคลสูตร รัตนสูตร
    ๒. ธัมมปทะ (ธรรมบท) ว่าด้วยธรรมภาษิตสั้น ๆ จำนวน ๔๒๓ บท ๔๒๗ คาถา ๓๐๕ เรื่อง แบ่งเป็นวรรคได้ ๒๖ วรรค
    ๓. อุทาน ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ทรงเปล่งออกมาด้วยกำลังปีติโสมนัส มี ๘๐ สูตร ๙๕ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๘ วรรค
    ๔. อิติวุตตกะ ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ยกมาอ้างอิง จำนวน ๑๑๒ สูตร แบ่งเป็นนิบาตได้ ๔ นิบาต ดังนี้
    ๔.๑ เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๒๗ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค
    ๔.๒ ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๑๒ สูตร ไม่แบ่งเป็นวรรค
    ๔.๓ ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๕ วรรค
    ๕. สุตตนิบาต ว่าด้วยพระสูตรที่มีเนื้อหาเป็นประเภทร้อยกรอง (คาถา) และบางส่วนเป็นประเภทร้อยกรองผสมร้อยแก้ว (เคยยะ) มี ๗๐ สูตร ๑,๑๕๖ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๕ วรรค
    ๖. วิมานวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของผู้เกิดในวิมาน คือเทพบุตรและเทพธิดาทั้งหลาย มี ๘๕ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อิตถีวิมาน (วิมานของเทพธิดา) และปุริสวิมาน (วิมานของเทพบุตร) อิตถีวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค ปุริสวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค
    ๗. เปตวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของเปรต มี ๕๑ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เปตวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้ชาย) และเปติวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้หญิง) ทั้ง ๒ ประเภทแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค โดยไม่ได้แยกออกจากกัน
    ๘. เถรคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถระจำนวน ๒๖๔ รูป ๒๖๔ เรื่อง ๑,๓๖๐ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๒๑ นิบาต จัดเรียงตามลำดับนิบาตที่มีคาถาน้อยไปหานิบาตที่มีคาถามาก
    ๙. เถรีคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถรีจำนวน ๗๓ รูป ๗๓ เรื่อง ๕๒๖ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๖ นิบาต
    ๑๐. ชาตกะ (ชาดก) ว่าด้วยพระประวัติในอดีตของพระผู้มีพระภาคในรูปแบบของคาถาประพันธ์ล้วน มี ๕๔๗ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ มี ๕๒๕ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๗ นิบาต ภาค ๒ มี ๒๒ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๕ นิบาต (นับต่อจากนิบาตที่ ๑๗ ในภาค ๑ เป็นนิบาตที่ ๑๘ - ๒๒)
    ๑๑. นิทเทส ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะย่อในรูปคาถาให้มีความหมายกว้างขวางดุจมหาสมุทรและมหาปฐพี แบ่งออกเป็น ๒ คัมภีร์ คือ มหานิทเทส (นิทเทสใหญ่) และจูฬนิทเทส (นิทเทสน้อย) เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร มหานิทเทสอธิบายพระพุทธวจนะในพระสูตร ๑๖ สูตร ที่ปรากฏในอัฏฐกวรรค (หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยการไม่ติดอยู่ในกาม) แห่งสุตตนิบาต (คัมภีร์ที่ ๕ ของขุททกนิกาย) มีกามสูตร เป็นต้น ส่วนจูฬนิทเทสอธิบายปัญหาของมาณพ (ศิษย์ของพราหมณ์พาวรี) ๑๖ คน ที่ปรากฏในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรค แห่งสุตตนิบาตเช่นเดียวกัน
    ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะที่เกี่ยวกับศีล สมาธิ ปัญญา อย่างกว้างขวางยิ่ง เพื่อให้เกิดความรู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔ คือ (๑) อรรถปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในอรรถ) (๒) ธรรมปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในธรรม) (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในนิรุกติหรือภาษา) (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในปฏิภาณ) มี ๓๐ เรื่อง เรียกว่า กถา แบ่งเป็น ๓ วรรค เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร
    ๑๓. อปทาน ว่าด้วยอัตชีวประวัติของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระเถระและพระเถรี รวม ๖๔๓ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ ประกอบด้วยพุทธาปทาน ๑ เรื่อง ปัจเจกพุทธาปทาน ๔๑ เรื่อง และเถราปทาน (ตอนต้น) ๔๑๐ เรื่อง ภาค ๒ ประกอบด้วยเถราปทาน (ตอนปลาย) ๑๕๑ เรื่อง และเถริยาปทาน ๔๐ เรื่อง
    ๑๔. พุทธวงศ์ ว่าด้วยพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ เริ่มตั้งแต่พระทีปังกรพุทธเจ้าจนถึงพระกัสสปพุทธเจ้า และพระประวัติของพระพุทธเจ้าของเรา คือพระโคตมพุทธเจ้า ทรงเน้นว่าพระองค์ทรงบำเพ็ญบารมีในศาสนาของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์นี้
    ๑๕. จริยาปิฎก ว่าด้วยพุทธจริยาสั้น ๆ ที่เกี่ยวกับการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระองค์ มี ๓๕ เรื่อง ใน ๓๕ ชาติ แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค

    มารู้จักพระสุตตันตปิฎกกัน เนื้อหาโดยสังเขปของพระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก คือประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะสมกับบุคคล เหตุการณ์ และโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา ซึ่งอยู่ในรูปแบบหรือองค์ต่าง ๆ (มี ๙ องค์ ที่เรียกว่า “นวังคสัตถุศาสน์” เช่น สุตตะ เคยยะ) รวมถึงพระธรรมเทศนาหรือธรรมบรรยายของพระสาวกพระสาวิกาที่กล่าวตามแนวพระพุทธพจน์ในบริบทต่าง ๆ ด้วย พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็น ๕ หมวด เรียกว่า นิกาย คือ (๑) ทีฆนิกาย (หมวดยาว) (๒) มัชฌิมนิกาย (หมวดปานกลาง) (๓) สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหา) (๔) อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) (๕) ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) การจัดแบ่งพระสูตรเป็น ๕ นิกายนี้ ถ้าพิจารณาเนื้อหาโดยรวมของแต่ละนิกาย จะพบว่าท่านอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้ ๑. แบ่งตามความยาวของพระสูตร คือรวบรวมพระสูตรที่มีความยาวมากไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า ทีฆนิกาย รวบรวมพระสูตรที่มีความยาวปานกลางไว้เป็นหมวดหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมนิกาย ส่วนพระสูตรที่มีขนาดความยาวน้อยกว่านั้น แยกไปจัดแบ่งไว้ในหมวดอื่นและด้วยวิธีอื่นดังจะกล่าวในข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๔ ตามลำดับ ๒. แบ่งตามเนื้อหาสาระของพระสูตร คือประมวลพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระประเภทเดียวกัน จัดไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า สังยุตตนิกาย (หมวดประมวลเนื้อหาสาระ) เช่นประมวลเรื่องที่เกี่ยวกับพระมหากัสสปเถระเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า กัสสปสังยุต ๓. แบ่งตามลำดับจำนวนองค์ธรรมหรือหัวข้อธรรม คือรวบรวมพระสูตรที่มีหัวข้อธรรมเท่ากันเข้าไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า อังคุตตรนิกาย (หมวดยิ่งด้วยองค์) และมีชื่อกำกับหมวดย่อยว่า นิบาต มี ๑๑ นิบาต คือหมวดพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม ๑ ข้อ เรียกว่า เอกกนิบาต ที่มี ๒ ข้อ เรียกว่า ทุกนิบาต ที่มี ๓ ข้อ เรียกว่าติกนิบาต ที่มี ๔ ข้อ เรียกว่า จตุกกนิบาต ที่มี ๕ ข้อ เรียกว่า ปัญจกนิบาต ที่มี ๖ ข้อ เรียกว่า ฉักกนิบาต ที่มี ๗ ข้อ เรียกว่า สัตตกนิบาต ที่มี ๘ ข้อ เรียกว่า อัฏฐกนิบาต ที่มี ๙ ข้อ เรียกว่า นวกนิบาต ที่มี ๑๐ ข้อ เรียกว่า ทสกนิบาต และที่มี ๑๑ ข้อ เรียกว่า เอกาทสกนิบาต ๔.จัดแยกพระสูตรที่ไม่เข้าเกณฑ์ทั้ง ๓ ข้างต้นไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า ขุททกนิกาย (หมวดเล็กน้อย) แบ่งตามหัวข้อใหญ่เป็น ๑๕ เรื่อง คือ (๑) ขุททกปาฐะ (๒) ธัมมปทะ (ธรรมบท) (๓) อุทาน (๔) อิติวุตตกะ (๕) สุตตนิบาต (๖) วิมานวัตถุ (๗) เปตวัตถุ (๘) เถรคาถา (๙) เถรีคาถา (๑๐) ชาตกะ (๑๑) นิทเทส (มหานิทเทสและจูฬนิทเทส) (๑๒) ปฏิสัมภิทามรรค (๑๓) อปทาน (๑๔) พุทธวังสะ (พุทธวงศ์) (๑๕) จริยาปิฎก นอกจากนี้ท่านยังจัดพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกเข้าไว้ในขุททกนิกายนี้ด้วย ๑. เนื้อหาโดยสังเขปของทีฆนิกาย ทีฆนิกาย มีพระสูตรขนาดยาวจำนวน ๓๔ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค (ตอน) คือ (๑) สีลขันธวรรค (๒) มหาวรรค (๓) ปาฏิกวรรค สีลขันธวรรค ว่าด้วยศีล และทิฏฐิ (ลัทธิ) มีจำนวน ๑๓ สูตร มหาวรรค ว่าด้วยเรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์ มีพระวิปัสสีพุทธเจ้า เป็นต้น และพระประวัติของพระองค์เอง เรื่องปฏิจจสมุปบาท เรื่องมหาปรินิพพาน มีจำนวน ๑๐ สูตร ปาฏิกวรรค ว่าด้วยเรื่องนักบวชนอกพระพุทธศาสนา มีนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร เป็นต้น เรื่องจักรวรรดิวัตร เรื่องมูลกำเนิดของโลก เรื่องมหาปุริสลักษณะ (ลักษณะมหาบุรุษ) เรื่องการสังคายนาพระธรรมวินัย เป็นต้น มีจำนวน ๑๑ สูตร ๒. เนื้อหาโดยสังเขปของมัชฌิมนิกาย มัชฌิมนิกาย มีพระสูตรขนาดปานกลาง จำนวน ๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ (หมวดละ ๕๐ สูตร) คือ (๑) มูลปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ต้น) (๒) มัชฌิมปัณณาสก์ (ปัณณาสก์กลาง) (๓) อุปริปัณณาสก์ (ปัณณาสก์ปลาย) แต่ละปัณณาสก์ แบ่งย่อยเป็นวรรค (หมวดหรือตอน) ได้ ๕ วรรค วรรคละ ๑๐ สูตร ยกเว้นวิภังควรรคของอุปริปัณณาสก์ ซึ่งท่านเพิ่มให้เป็น ๑๒ สูตร ดังนี้ มูลปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) มูลปริยายวรรค ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมซึ่งปรากฏในมูลปริยายสูตร เป็นต้น (๒) สีหนาทวรรค ว่าด้วยการบันลือสีหนาท ดังปรากฏในจูฬสีหนาทสูตร มหาสีหนาทสูตร เป็นต้น (๓) โอปัมมวรรค ว่าด้วยข้ออุปมา เช่นอุปมาด้วยเลื่อย อุปมาด้วยอรสรพิษ ดังปรากฏในกกจูปมสูตร อลคัททูปมสูตร เป็นต้น (๔) มหายมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดใหญ่ เช่นเหตุการณ์ในโคสิงคสาลวัน ๒ เหตุการณ์ ดังปรากฏในจูฬโคสิงคสูตร และมหาโคสิงคสูตร เป็นต้น (๕) จูฬยมกวรรค ว่าด้วยธรรมเป็นคู่ หมวดเล็ก เช่น การสันทนาธรรมที่ทำให้เกิดปัญญาของบุคคล ๒ คู่ ดังปรากฏในมหาเวทัลลสูตร จูฬเวทัลลสูตร มัชฌิมปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) คหปติวรรค ว่าด้วยคหบดี (๒) ภิกขุวรรค ว่าด้วยภิกษุ (๓) ปริพพาชกวรรค ว่าด้วยปริพาชก (๔) ราชวรรค ว่าด้วยพระราชา (๕) พราหมณวรรค ว่าด้วยพราหมณ์อุปริปัณณาสก์ มี ๕ วรรค คือ (๑) เทวทหวรรค ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่เทวทหนิคม เป็นต้น ดังปรากฏในเทวทหสูตร (๒) อนุปทวรรค ว่าด้วยธรรมตามลำดับบท เป็นต้น ดังปรากฏในอนุปทสูตร (๓) สุญญตวรรค ว่าด้วยสุญญตา เป็นต้น ดังปรากฏในจูฬสุญญตสูตร และมหาสุญญตสูตร (๔) วิภังควรรค ว่าด้วยการจำแนกธรรม (๕) สฬายตนวรรค ว่าด้วยอายตนะ ๖ ๓. เนื้อหาโดยสังเขปของสังยุตตนิกาย สังยุตตนิกาย มีพระสูตรที่ปรากฏจำนวน ๒,๗๕๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๗,๗๖๒ สูตร : วิ.อ. ๑/๑๗) แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม ตามเนื้อหาสาระหรือรูปแบบที่เข้ากันได้กลุ่มละ ๑ วรรค คือ ๑. สคาถวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีรูปแบบเป็นคาถาประพันธ์ มีจำนวน ๒๗๑ สูตร จัดเป็นสังยุต (ประมวลเนื้อหาเป็นเรื่อง ๆ) ได้ ๑๑ สังยุต ๒. นิทานวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับต้นเหตุแห่งการเกิดและการดับแห่งทุกข์ มีจำนวน ๓๓๗ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต ๓. ขันธวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับขันธ์ ๕ มีจำนวน ๗๑๖ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๓ สังยุต ๔. สฬายตนวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอายตนะ ๖ มีจำนวน ๔๒๐ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๐ สังยุต ๕. มหาวารวรรค คือกลุ่มพระสูตรที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับธรรมหมวดใหญ่ ได้แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ และหมวดธรรมที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน ๑,๐๐๘ สูตร จัดเป็นสังยุตได้ ๑๒ สังยุต ๔. เนื้อหาโดยสังเขปของอังคุตตรนิกาย อังคุตตรนิกายมีพระสูตรตามที่ปรากฏจำนวน ๗,๙๐๒ สูตร (อรรถกถาพระวินัยว่ามี ๙,๕๕๗ สูตร : วิ.อ. ๑/๒๕) แบ่งเป็น ๑๑ นิบาต (หมวดย่อย) ดังนี้ ๑. เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๖๑๙ สูตร แบ่งเป็น ๒๐ วรรค ๒. ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๗๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๕ วรรค กับ ๔ หัวข้อเปยยาล (หมวดธรรมที่แสดงไว้โดยย่อ) ๓. ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๓๕๓ สูตร แบ่งเป็น ๓ ปัณณาสก์ ๑๖ วรรค กับ ๒ หัวข้อเปยยาล ๔. จตุกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๔ ประการ มี ๗๘๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๗ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๕. ปัญจกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๕ ประการ มี ๑,๑๕๒ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๖ วรรค กับ ๓ หัวข้อเปยยาล ๖. ฉักกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๖ ประการ มี ๖๔๙ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๗. สัตตกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๗ ประการ มี ๑,๑๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๑ ปัณณาสก์ ๕ วรรค และอีก ๕ วรรค (ไม่จัดเป็นปัณณาสก์) กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๘. อักฐกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๘ ประการ มี ๖๒๖ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๑๐ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๙. นวกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๙ ประการ มี ๔๓๒ สูตร แบ่งเป็น ๒ ปัณณาสก์ ๙ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๑๐. ทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๐ ประการ มี ๗๔๖ สูตร แบ่งเป็น ๕ ปัณณาสก์ ๒๒ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๑๑. เอกาทสกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑๑ ประการ มี ๖๗๑ สูตร แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค กับ ๑ หัวข้อเปยยาล ๕. เนื้อหาโดยสังเขปของขุททกนิกาย ขุททกนิกายมีหัวข้อธรรมจำนวน ๑๕ เรื่อง ๑๕ คัมภีร์ แต่ละคัมภีร์มีเนื้อหาโดยสังเขปดังนี้ ๑. ขุททกปาฐะ ว่าด้วยบทสวดสั้น ๆ จำนวน ๙ บท ๙ สูตร เช่น สรณคมน์ มงคลสูตร รัตนสูตร ๒. ธัมมปทะ (ธรรมบท) ว่าด้วยธรรมภาษิตสั้น ๆ จำนวน ๔๒๓ บท ๔๒๗ คาถา ๓๐๕ เรื่อง แบ่งเป็นวรรคได้ ๒๖ วรรค ๓. อุทาน ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ทรงเปล่งออกมาด้วยกำลังปีติโสมนัส มี ๘๐ สูตร ๙๕ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๘ วรรค ๔. อิติวุตตกะ ว่าด้วยพระพุทธพจน์ที่ยกมาอ้างอิง จำนวน ๑๑๒ สูตร แบ่งเป็นนิบาตได้ ๔ นิบาต ดังนี้ ๔.๑ เอกกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๑ ประการ มี ๒๗ สูตร แบ่งเป็น ๓ วรรค ๔.๒ ทุกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๒ ประการ มี ๑๒ สูตร ไม่แบ่งเป็นวรรค ๔.๓ ติกนิบาต หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยหัวข้อธรรม สูตรละ ๓ ประการ มี ๕๐ สูตร แบ่งเป็น ๕ วรรค ๕. สุตตนิบาต ว่าด้วยพระสูตรที่มีเนื้อหาเป็นประเภทร้อยกรอง (คาถา) และบางส่วนเป็นประเภทร้อยกรองผสมร้อยแก้ว (เคยยะ) มี ๗๐ สูตร ๑,๑๕๖ คาถา แบ่งเป็นวรรคได้ ๕ วรรค ๖. วิมานวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของผู้เกิดในวิมาน คือเทพบุตรและเทพธิดาทั้งหลาย มี ๘๕ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อิตถีวิมาน (วิมานของเทพธิดา) และปุริสวิมาน (วิมานของเทพบุตร) อิตถีวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค ปุริสวิมานแบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค ๗. เปตวัตถุ ว่าด้วยเรื่องหรือประวัติของเปรต มี ๕๑ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เปตวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้ชาย) และเปติวัตถุ (เรื่องของเปรตผู้หญิง) ทั้ง ๒ ประเภทแบ่งเป็นวรรคได้ ๔ วรรค โดยไม่ได้แยกออกจากกัน ๘. เถรคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถระจำนวน ๒๖๔ รูป ๒๖๔ เรื่อง ๑,๓๖๐ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๒๑ นิบาต จัดเรียงตามลำดับนิบาตที่มีคาถาน้อยไปหานิบาตที่มีคาถามาก ๙. เถรีคาถา ว่าด้วยคาถาหรือคำภาษิตของพระเถรีจำนวน ๗๓ รูป ๗๓ เรื่อง ๕๒๖ คาถา แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๖ นิบาต ๑๐. ชาตกะ (ชาดก) ว่าด้วยพระประวัติในอดีตของพระผู้มีพระภาคในรูปแบบของคาถาประพันธ์ล้วน มี ๕๔๗ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ มี ๕๒๕ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๑๗ นิบาต ภาค ๒ มี ๒๒ เรื่อง แบ่งเป็นนิบาตได้ ๕ นิบาต (นับต่อจากนิบาตที่ ๑๗ ในภาค ๑ เป็นนิบาตที่ ๑๘ - ๒๒) ๑๑. นิทเทส ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะย่อในรูปคาถาให้มีความหมายกว้างขวางดุจมหาสมุทรและมหาปฐพี แบ่งออกเป็น ๒ คัมภีร์ คือ มหานิทเทส (นิทเทสใหญ่) และจูฬนิทเทส (นิทเทสน้อย) เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร มหานิทเทสอธิบายพระพุทธวจนะในพระสูตร ๑๖ สูตร ที่ปรากฏในอัฏฐกวรรค (หมวดพระสูตรที่ว่าด้วยการไม่ติดอยู่ในกาม) แห่งสุตตนิบาต (คัมภีร์ที่ ๕ ของขุททกนิกาย) มีกามสูตร เป็นต้น ส่วนจูฬนิทเทสอธิบายปัญหาของมาณพ (ศิษย์ของพราหมณ์พาวรี) ๑๖ คน ที่ปรากฏในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรค แห่งสุตตนิบาตเช่นเดียวกัน ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค ว่าด้วยการอธิบายขยายความพระพุทธวจนะที่เกี่ยวกับศีล สมาธิ ปัญญา อย่างกว้างขวางยิ่ง เพื่อให้เกิดความรู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔ คือ (๑) อรรถปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในอรรถ) (๒) ธรรมปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในธรรม) (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในนิรุกติหรือภาษา) (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา (ความรู้แตกฉานในปฏิภาณ) มี ๓๐ เรื่อง เรียกว่า กถา แบ่งเป็น ๓ วรรค เป็นผลงานของท่านพระสารีบุตร ๑๓. อปทาน ว่าด้วยอัตชีวประวัติของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระเถระและพระเถรี รวม ๖๔๓ เรื่อง แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาค ๑ ประกอบด้วยพุทธาปทาน ๑ เรื่อง ปัจเจกพุทธาปทาน ๔๑ เรื่อง และเถราปทาน (ตอนต้น) ๔๑๐ เรื่อง ภาค ๒ ประกอบด้วยเถราปทาน (ตอนปลาย) ๑๕๑ เรื่อง และเถริยาปทาน ๔๐ เรื่อง ๑๔. พุทธวงศ์ ว่าด้วยพระประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ เริ่มตั้งแต่พระทีปังกรพุทธเจ้าจนถึงพระกัสสปพุทธเจ้า และพระประวัติของพระพุทธเจ้าของเรา คือพระโคตมพุทธเจ้า ทรงเน้นว่าพระองค์ทรงบำเพ็ญบารมีในศาสนาของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์นี้ ๑๕. จริยาปิฎก ว่าด้วยพุทธจริยาสั้น ๆ ที่เกี่ยวกับการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระองค์ มี ๓๕ เรื่อง ใน ๓๕ ชาติ แบ่งเป็นวรรคได้ ๓ วรรค
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 0 รีวิว
  • พรวันพระใหญ่จากพระเดชพระคุณ#พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาด
    พรวันพระใหญ่จากพระเดชพระคุณ#พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาด
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 112 มุมมอง 16 0 รีวิว
  • พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #หลวงปู่จันทร์ศรี_จนฺททีโป
    พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #หลวงปู่จันทร์ศรี_จนฺททีโป
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 21 0 รีวิว
  • หลวงปู่มั่นภูริทัตโต #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาด #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาบัว_ญาณสัมปัญโณ #อภิวิชญ์_คะลีล้วน #ฟีต
    หลวงปู่มั่นภูริทัตโต #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาด #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาบัว_ญาณสัมปัญโณ #อภิวิชญ์_คะลีล้วน #ฟีต
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 144 มุมมอง 18 0 รีวิว
  • หลวงตา-หยุดนะหลาน #คําสอนอันเป็นที่พึ่ง #ขององค์พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาพระมหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาดวัดเกษรศีลคุณ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #กราบในบารมีของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ 🙏🏻✨
    หลวงตา-หยุดนะหลาน #คําสอนอันเป็นที่พึ่ง #ขององค์พ่อแม่ครูบาอาจารย์ #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตาพระมหาบัว_ญาณสัมปันโน #วัดป่าบ้านตาดวัดเกษรศีลคุณ #พระอรหันต์ยุคกึ่งพุทธกาล #กราบในบารมีของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ 🙏🏻✨
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 306 มุมมอง 97 0 รีวิว
  • บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม
    กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง

    1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘)
    มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘

    2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์
    ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ

    3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ
    ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง

    4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ
    1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล
    2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล
    3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต
    พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน
    ดังข้อความว่า
    "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส
    คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า

    5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ
    “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ;
    เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ.
    "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม
    ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ
    การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์

    6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้
    ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี
    เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด
    "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ."
    วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙.
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8

    ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ
    สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล”
    (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.)

    วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ
    (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช)

    7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร
    เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.)

    8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน
    โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น
    จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ

    9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า
    “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์
    วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20
    หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด

    10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า
    “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม;
    คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก .
    ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง
    ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้
    ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ
    ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ
    ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม
    อธิบายความ
    1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓)
    2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา
    3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ
    4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓)

    11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม

    12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ
    ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า
    “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
    เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    (ที.มหา.10/134/78.)
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3
    คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน
    ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้

    13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ
    ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต
    ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.

    14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา
    ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย

    15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด
    การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่
    (มี ต่อ 16-18)

    อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง 1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘) มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘ 2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์ ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ 3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง 4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ 1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล 2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล 3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า 5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ; เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ. "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์ 6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้ ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ." วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙. https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8 ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล” (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.) วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช) 7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.) 8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ 9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์ วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20 หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด 10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม; คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก . ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้ ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม อธิบายความ 1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓) 2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา 3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ 4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓) 11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม 12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” (ที.มหา.10/134/78.) https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3 คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ 13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น. 14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย 15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่ (มี ต่อ 16-18) อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 320 มุมมอง 0 รีวิว
  • ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ

    ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?”

    หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย

    แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง

    “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย

    “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ

    “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย

    อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
    ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน

    🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?” หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน” ผู้ถาม : (หัวเราะ) หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด” ผู้ถาม : (หัวเราะ) 📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมบุญเป็นเจ้าภาพ
    ถวายน้ำปานะแด่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองฯ ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี
    ประจำปี พ.ศ.2567
    ณ อาคารบุญธรรมสภา วัดพัฒนาราม
    (พระอารามหลวง)

    ติดต่อร่วมบุญได้ที่
    พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการเจ้าคณะอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี โทร 092-059-4769

    หรือท่านใดประสงค์จะร่วมบุญกับผมที่จะถวายน้ำอ้อย
    แด่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่  ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี
    ประจำปี พ.ศ.2567
    ที่บัญชีธนาคาร : ออมสิน
    เลขที่บัญชี : 020376204143
    ชื่อบัญชี : วรสถิตย์ ตูลเพ็ง
    #ท่านใดโอนแล้วแจ้งชื่อนามสกุลด้วย ผมจะได้ลงบัญชีถูกครับ

    สุทินฺนํ วต เม ทานํ อาสวกฺขยาวหํ ปจฺจุบนฺกาเล นิพฺพาน
    ปจฺจโย โหตุ

    ขอให้ทาน ของข้าพเจ้าที่ให้ดีแล้วหนอ
    จงนำมาซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวกิเลส(พระอรหันต์)
    จงเป็นปัจจัยแด่พระนิพพาน ในชาติปัจจุบันเทอญ ฯ

    อานิสงส์การถวายน้ำปานะแด่คณะสงฆ์ใหญ่

    ในการทำบุญด้วยน้ำ นั้นเชื่อกันว่า จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨
    จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า
    .
    ความเชื่อว่า อานิสงส์ของการถวายน้ำดื่มแด่พระสงฆ์หรือบริจาคน้ำดื่มให้ผู้ที่ขาดแคลนนั้นจะช่วยส่งเสริมดวงชะตาได้
    1.ทำให้เงินทองไหลมาเทมา มีใช้คล่องมือ
    2. ชีวิตมีแต่ความสุข ความราบรื่น เหมือนสายน้ำไหล
    3. มีจิตใจที่ใสสะอาด เหมือนดั่งน้ำบริสุทธิ์
    4. มีผู้อุปถัมภ์ค้ำชู จากบุญกุศล และการทำทาน
    .
    อย่างไรก็ตาม การทำบุญสร้างกุศลด้วยความตั้งใจ
    ก็ถือว่าเป็นการร่วมสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ต่อไป
    ที่มา : deeda.care

    ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมบุญเป็นเจ้าภาพ ถวายน้ำปานะแด่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองฯ ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี ประจำปี พ.ศ.2567 ณ อาคารบุญธรรมสภา วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) ติดต่อร่วมบุญได้ที่ พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการเจ้าคณะอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี โทร 092-059-4769 หรือท่านใดประสงค์จะร่วมบุญกับผมที่จะถวายน้ำอ้อย แด่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่  ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี ประจำปี พ.ศ.2567 ที่บัญชีธนาคาร : ออมสิน เลขที่บัญชี : 020376204143 ชื่อบัญชี : วรสถิตย์ ตูลเพ็ง #ท่านใดโอนแล้วแจ้งชื่อนามสกุลด้วย ผมจะได้ลงบัญชีถูกครับ สุทินฺนํ วต เม ทานํ อาสวกฺขยาวหํ ปจฺจุบนฺกาเล นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ ขอให้ทาน ของข้าพเจ้าที่ให้ดีแล้วหนอ จงนำมาซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวกิเลส(พระอรหันต์) จงเป็นปัจจัยแด่พระนิพพาน ในชาติปัจจุบันเทอญ ฯ อานิสงส์การถวายน้ำปานะแด่คณะสงฆ์ใหญ่ ในการทำบุญด้วยน้ำ นั้นเชื่อกันว่า จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨ จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า . ความเชื่อว่า อานิสงส์ของการถวายน้ำดื่มแด่พระสงฆ์หรือบริจาคน้ำดื่มให้ผู้ที่ขาดแคลนนั้นจะช่วยส่งเสริมดวงชะตาได้ 1.ทำให้เงินทองไหลมาเทมา มีใช้คล่องมือ 2. ชีวิตมีแต่ความสุข ความราบรื่น เหมือนสายน้ำไหล 3. มีจิตใจที่ใสสะอาด เหมือนดั่งน้ำบริสุทธิ์ 4. มีผู้อุปถัมภ์ค้ำชู จากบุญกุศล และการทำทาน . อย่างไรก็ตาม การทำบุญสร้างกุศลด้วยความตั้งใจ ก็ถือว่าเป็นการร่วมสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ต่อไป ที่มา : deeda.care 
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 191 มุมมอง 0 รีวิว
  • น้อมกราบรำลึก หลวงปู่ใหญ่กับหลวงตา #พระอุดมญาณโมลี #หลวงปู่จันทร์ศรี_จนฺททีโป #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน
    น้อมกราบรำลึก หลวงปู่ใหญ่กับหลวงตา #พระอุดมญาณโมลี #หลวงปู่จันทร์ศรี_จนฺททีโป #พระธรรมวิสุทธิมงคล #หลวงตามหาบัว_ญาณสัมปันโน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 20 0 รีวิว
Pages Boosts