• จะได้จบกันไปไม่ต้องมาทวงบุญคุณกันอีก! “ไพเจน” ยอมหลีกทางไม่ลงสมัครนายก อบจ.สงขลาสมัยที่ 2

    จากกรณีที่นายเดชอิศม์ ขาวทอง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ได้ประกาศแล้วว่าจะไม่ให้นายไพเจน มากสุวรรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สงขลา ลงสมัครชิงเก้าอี้นายก อบจ.อีกสมัยแน่นอน เพราะไม่อยากให้เกิดปัญหาในการเลือกตั้งท้องถิ่นอีกนั้น

    รายงานข่าวแจ้งว่า นายไพเจน มากสุวรรณ์ ได้ยอมรับที่จะไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลาครั้งที่ 2 แม้ว่าจะได้จัดทีม “รวมพลังร่วมสร้างสุข” ที่มีว่าที่ผู้สมัครสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) สงขลาร่วมทีมแล้ว 27 คน โดยนายไพเจนให้เหตุผลว่า ได้มีการเจรจากับนายเดชอิศม์ ภายใต้เงื่อนไข 3 ข้อ และเพื่อเป็นการทดแทนบุญคุณผู้มีพระคุณทั้งสองคนคือนายเดชอิศม์ และนายสุพิศ พิทักษ์ธรรม ว่าที่ผู้สมัคร นายก อบจ.สงขลา ซึ่งได้ชักชวนเข้าสู่วงการการเมือง รวมทั้งนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ให้การสนับสนุน

    “จะได้จบกันไป ไม่ต้องมาทวงบุญคุณกันอีกต่อไป และแม้ว่า ผมจะไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลา แต่จะไม่ทิ้งพื้นที่ จะยังคงอยู่กับประชาชชนต่อไป ยังคงหาช่องทางประสานช่วยเหลือประชาชนต่อไปโดยเฉพาะภาคการเกษตร”

    ด้านนายอริย์ธัช ทองเพชร ประธานสภา อบจ.สงขลา แกนนำทีม ”รวมพลังร่วมสร้างสุข”กล่าวว่า ลูกทีมทั้ง 27 คนจะต้องเดินลงสนามเลือกตั้งต่อไม่ว่าจะเกิดอะไรในอนาคตเพื่อรักษาศักดิ์ศรี ทั้งนี้ มีประชาชนจำนวนไม่น้อยเสียดายที่นายไพเจนจะไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลา
    จะได้จบกันไปไม่ต้องมาทวงบุญคุณกันอีก! “ไพเจน” ยอมหลีกทางไม่ลงสมัครนายก อบจ.สงขลาสมัยที่ 2 จากกรณีที่นายเดชอิศม์ ขาวทอง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ได้ประกาศแล้วว่าจะไม่ให้นายไพเจน มากสุวรรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สงขลา ลงสมัครชิงเก้าอี้นายก อบจ.อีกสมัยแน่นอน เพราะไม่อยากให้เกิดปัญหาในการเลือกตั้งท้องถิ่นอีกนั้น รายงานข่าวแจ้งว่า นายไพเจน มากสุวรรณ์ ได้ยอมรับที่จะไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลาครั้งที่ 2 แม้ว่าจะได้จัดทีม “รวมพลังร่วมสร้างสุข” ที่มีว่าที่ผู้สมัครสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) สงขลาร่วมทีมแล้ว 27 คน โดยนายไพเจนให้เหตุผลว่า ได้มีการเจรจากับนายเดชอิศม์ ภายใต้เงื่อนไข 3 ข้อ และเพื่อเป็นการทดแทนบุญคุณผู้มีพระคุณทั้งสองคนคือนายเดชอิศม์ และนายสุพิศ พิทักษ์ธรรม ว่าที่ผู้สมัคร นายก อบจ.สงขลา ซึ่งได้ชักชวนเข้าสู่วงการการเมือง รวมทั้งนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ให้การสนับสนุน “จะได้จบกันไป ไม่ต้องมาทวงบุญคุณกันอีกต่อไป และแม้ว่า ผมจะไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลา แต่จะไม่ทิ้งพื้นที่ จะยังคงอยู่กับประชาชชนต่อไป ยังคงหาช่องทางประสานช่วยเหลือประชาชนต่อไปโดยเฉพาะภาคการเกษตร” ด้านนายอริย์ธัช ทองเพชร ประธานสภา อบจ.สงขลา แกนนำทีม ”รวมพลังร่วมสร้างสุข”กล่าวว่า ลูกทีมทั้ง 27 คนจะต้องเดินลงสนามเลือกตั้งต่อไม่ว่าจะเกิดอะไรในอนาคตเพื่อรักษาศักดิ์ศรี ทั้งนี้ มีประชาชนจำนวนไม่น้อยเสียดายที่นายไพเจนจะไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งนายก อบจ.สงขลา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 132 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกษม บุตรขุนทอง
    20 ธันวาคม 2484
    2517 สมาชิกสภาจังหวัดเพชรบูรณ์
    2518 สส เพชรบูรณ์
    พรรคประชาธิปัตย์
    มรว เสนีย์ ปราโมช
    หัวหน้าพรรค
    2519 สส เพชรบูรณ์
    พรรคประชาธิปัตย์
    มรว เสนีย์ ปราโมช
    หัวหน้าพรรค
    2526 สส เพชรบูรณ์
    พรรคก้าวหน้า
    นายอุทัย พิมพ์ใจชน
    หัวหน้าพรรค
    2535 สส เพชรบูรณ์
    พรรคพลังธรรม
    พลตรีจำลอง ศรีเมือง
    หัวหน้าพรรค
    เกษม บุตรขุนทอง 20 ธันวาคม 2484 2517 สมาชิกสภาจังหวัดเพชรบูรณ์ 2518 สส เพชรบูรณ์ พรรคประชาธิปัตย์ มรว เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรค 2519 สส เพชรบูรณ์ พรรคประชาธิปัตย์ มรว เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรค 2526 สส เพชรบูรณ์ พรรคก้าวหน้า นายอุทัย พิมพ์ใจชน หัวหน้าพรรค 2535 สส เพชรบูรณ์ พรรคพลังธรรม พลตรีจำลอง ศรีเมือง หัวหน้าพรรค
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
  • ณ บ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516



    นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้

    1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line)

    อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา

    โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

    “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์”

    พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้

    “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้

    พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย

    มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ”

    ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้

    ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า



    “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“

    อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์

    ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย

    ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน

    ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย

    ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า

    “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511”

    แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน

    ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น

    ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า

    “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“



    หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น

    ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด

    แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

    ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย

    แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี

    แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล

    ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล

    การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย

    MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“

    เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่?

    ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน

    จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า

    “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ

    จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป”

    โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ

    จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น

    ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่?

    ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต

    https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530

    #Thaitimes
    ณ บ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้ 1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line) อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์” พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้ “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้ ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์ ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511” แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“ เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่? ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป” โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่? ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่ ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530 #Thaitimes
    Like
    Love
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 718 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ปชป.-รทสช.' ค้านนิรโทษกรรม เหตุไปแตะ ม.112
    .
    จากเเดิมที่มีการคาดหมายกันว่ากระบวนการในการนิรโทษกรรมน่าจะเดินหน้าได้สะดวก แต่ทำไปทำมาปรากฎว่าพรรคร่วมรัฐบาลส่งสัญญาณไม่เห็นด้วยอย่างชัดเจน โดยเฉพาะกับพรรคประชาธิปัตย์และพรรครวมไทยสร้างชาติ
    .
    นางสาวเจนจิรา รัตนเพียร โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) เปิดเผยถึงการประชุมพรรคประชาธิปัตย์ในเรื่องดังกล่าวว่า ในการประชุมส.ส.ของพรรคที่ผ่านมา ได้ให้ความสำคัญกับรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว โดยที่ประชุม สส. ของพรรค เห็นว่ารายงานดังกล่าวยังมีความคลุมเครือ และไม่ชัดเจน หากส่งรายงานดังกล่าวไปให้รัฐบาลเพื่อพิจารณา อาจส่งผลให้เกิดความวุ่นวายในสังคม เนื่องจากเป็นประเด็นที่ละเอียดอ่อน
    .
    "สำหรับประเด็นการนิรโทษกรรมนั้น พรรคประชาธิปัตย์ไม่ขัดข้องกับการนิรโทษกรรมในประเด็นทางการเมือง แต่พรรคฯ มีจุดยืนในการไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีทุจริต และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมาตรา 112 ดังนั้นในที่ประชุม สส. จึงมีมติไม่เห็นชอบกับรายงานฉบับดังกล่าว" โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ ระบุ
    .
    เช่นเดียวกับ พรรครวมไทยสร้างชาติ โดยนายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.ราชบุรี และโฆษกพรรค ระบุว่า ที่ประชุมพรรคได้พิจารณารายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแล้วมีความคิดเห็นว่าขอยืนยันในมติเดิมของพรรครวมไทยสร้างชาติ คือ จะไม่เห็นชอบในรายงานฉบับดังกล่าว เนื่องจากไม่มีความสมบูรณ์ ขาดข้อสรุปที่ชัดเจน ดังที่เคยได้แจ้งไปเมื่อมีมติพรรครวมไทยสร้างชาติในวันที่ 26 กันยายน 2567 ซึ่งในครั้งนี้รายงานที่พิจารณาก็ยังมีเนื้อหาเช่นเดิม
    .
    "พรรครวมไทยสร้างชาติจึงขอสงวนสิทธิ์ที่จะมีมติงดออกเสียงในการลงมติรายงานฉบับดังกล่าว ทั้งในชั้นการรับทราบ และการเห็นชอบรายงานฉบับดังกล่าวเพื่อส่งให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ และพรรครวมไทยสร้างชาติขอยืนยันว่า จุดยืนของพรรครวมไทยสร้างชาติชัดเจนว่าจะต้องไม่มีการนิรโทษกรรมผู้กระทำความผิดตามมาตรา 112 โดยเด็ดขาด เนื่องจากเป็นความผิดที่เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐและละเมิดต่อสถาบันหลักของชาติ" นายอัครเดช ย้ำถึงมติพรรค
    ..............
    Sondhi X
    'ปชป.-รทสช.' ค้านนิรโทษกรรม เหตุไปแตะ ม.112 . จากเเดิมที่มีการคาดหมายกันว่ากระบวนการในการนิรโทษกรรมน่าจะเดินหน้าได้สะดวก แต่ทำไปทำมาปรากฎว่าพรรคร่วมรัฐบาลส่งสัญญาณไม่เห็นด้วยอย่างชัดเจน โดยเฉพาะกับพรรคประชาธิปัตย์และพรรครวมไทยสร้างชาติ . นางสาวเจนจิรา รัตนเพียร โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) เปิดเผยถึงการประชุมพรรคประชาธิปัตย์ในเรื่องดังกล่าวว่า ในการประชุมส.ส.ของพรรคที่ผ่านมา ได้ให้ความสำคัญกับรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว โดยที่ประชุม สส. ของพรรค เห็นว่ารายงานดังกล่าวยังมีความคลุมเครือ และไม่ชัดเจน หากส่งรายงานดังกล่าวไปให้รัฐบาลเพื่อพิจารณา อาจส่งผลให้เกิดความวุ่นวายในสังคม เนื่องจากเป็นประเด็นที่ละเอียดอ่อน . "สำหรับประเด็นการนิรโทษกรรมนั้น พรรคประชาธิปัตย์ไม่ขัดข้องกับการนิรโทษกรรมในประเด็นทางการเมือง แต่พรรคฯ มีจุดยืนในการไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีทุจริต และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมาตรา 112 ดังนั้นในที่ประชุม สส. จึงมีมติไม่เห็นชอบกับรายงานฉบับดังกล่าว" โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ ระบุ . เช่นเดียวกับ พรรครวมไทยสร้างชาติ โดยนายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.ราชบุรี และโฆษกพรรค ระบุว่า ที่ประชุมพรรคได้พิจารณารายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแล้วมีความคิดเห็นว่าขอยืนยันในมติเดิมของพรรครวมไทยสร้างชาติ คือ จะไม่เห็นชอบในรายงานฉบับดังกล่าว เนื่องจากไม่มีความสมบูรณ์ ขาดข้อสรุปที่ชัดเจน ดังที่เคยได้แจ้งไปเมื่อมีมติพรรครวมไทยสร้างชาติในวันที่ 26 กันยายน 2567 ซึ่งในครั้งนี้รายงานที่พิจารณาก็ยังมีเนื้อหาเช่นเดิม . "พรรครวมไทยสร้างชาติจึงขอสงวนสิทธิ์ที่จะมีมติงดออกเสียงในการลงมติรายงานฉบับดังกล่าว ทั้งในชั้นการรับทราบ และการเห็นชอบรายงานฉบับดังกล่าวเพื่อส่งให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ และพรรครวมไทยสร้างชาติขอยืนยันว่า จุดยืนของพรรครวมไทยสร้างชาติชัดเจนว่าจะต้องไม่มีการนิรโทษกรรมผู้กระทำความผิดตามมาตรา 112 โดยเด็ดขาด เนื่องจากเป็นความผิดที่เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐและละเมิดต่อสถาบันหลักของชาติ" นายอัครเดช ย้ำถึงมติพรรค .............. Sondhi X
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 758 มุมมอง 0 รีวิว
  • เตือนสภาฯ ชะลอนิรโทษกรรม คดี 112 เรื่องละเอียดอ่อน ระวังรัฐบาลงานเข้า
    .
    การประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 17 ตุลาคม ถ้าไม่มีอะไรผิดพลาด จะมีการพิจารณารายงานผลการศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว โดยนพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และกรรมาธิการฯ ยืนยันว่า นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯและประธานคณะกรรมาธิการฯได้แจ้งว่าจะมีการพิจารณารายงานดังกล่าวแน่นอนหลังเลื่อนมา2-3 ครั้ง
    .
    "ที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีกรรมาธิการของสภาฯ ชุดไหน พูดคุยศึกษาเรื่องมาตรา 112 จะมีก็คือคณะกรรมาธิการวิสามัญชุดนี้ที่คุยเรื่อง 112 เป็นครั้งแรก ที่มีการศึกษา มีการเขียนไว้ในรายงานของกรรมาธิการฯ ชัดเจนว่า หากจะนิรโทษกรรมคดี 112 ด้วยจะให้มีเงื่อนไขการนิรโทษกรรมอย่างไร ซึ่งเมื่อสภาฯ ได้อภิปรายกันในวันพฤหัสบดีนี้แล้ว หากพรรคการเมืองไหน เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดี 112 หรือมีความเห็นว่าควรนิรโทษกรรมคดี 112 แบบไหน ก็อภิปรายกัน มันจะได้ลดความเข้าใจผิด ยืนยันว่า ข้อเสนอของกมธ.ฯ ไม่ได้เสนอให้แก้ไข 112 แต่อย่างใด" นพ.เชิดชัย กล่าว
    .
    ด้าน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) แสดงความคิดเห็นว่า ผลการศึกษาดังกล่าวของ กมธ.ฯ เป็นเรื่องล่อแหลม เนื่องจากได้มีการเสนอแนวทางการนิรโทษกรรมความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เข้าไปด้วย ซึ่งยังเป็นเรื่องที่มีความเห็นต่างกันอยู่มาก ทั้งในหมู่พรรคการเมือง แม้แต่พรรคร่วมรัฐบาลด้วยกัน และประชาชน ดังนั้น หากสภาฯ พิจารณา แล้วมีมติเห็นควรส่งให้รัฐบาลรับไปพิจารณา ปัญหาก็จะตกไปอยู่กับรัฐบาล
    .
    "ผมเห็นว่าขณะนี้รัฐบาลมีปัญหามากแล้ว ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ จนแก้กันไม่หวาดไม่ไหว จึงเห็นว่ายังไม่ควรเอาเรื่องนี้สุมเพิ่มเข้าไปอีก" นายจุรินทร์ กล่าว
    .............
    Sondhi X
    เตือนสภาฯ ชะลอนิรโทษกรรม คดี 112 เรื่องละเอียดอ่อน ระวังรัฐบาลงานเข้า . การประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 17 ตุลาคม ถ้าไม่มีอะไรผิดพลาด จะมีการพิจารณารายงานผลการศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว โดยนพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และกรรมาธิการฯ ยืนยันว่า นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯและประธานคณะกรรมาธิการฯได้แจ้งว่าจะมีการพิจารณารายงานดังกล่าวแน่นอนหลังเลื่อนมา2-3 ครั้ง . "ที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีกรรมาธิการของสภาฯ ชุดไหน พูดคุยศึกษาเรื่องมาตรา 112 จะมีก็คือคณะกรรมาธิการวิสามัญชุดนี้ที่คุยเรื่อง 112 เป็นครั้งแรก ที่มีการศึกษา มีการเขียนไว้ในรายงานของกรรมาธิการฯ ชัดเจนว่า หากจะนิรโทษกรรมคดี 112 ด้วยจะให้มีเงื่อนไขการนิรโทษกรรมอย่างไร ซึ่งเมื่อสภาฯ ได้อภิปรายกันในวันพฤหัสบดีนี้แล้ว หากพรรคการเมืองไหน เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดี 112 หรือมีความเห็นว่าควรนิรโทษกรรมคดี 112 แบบไหน ก็อภิปรายกัน มันจะได้ลดความเข้าใจผิด ยืนยันว่า ข้อเสนอของกมธ.ฯ ไม่ได้เสนอให้แก้ไข 112 แต่อย่างใด" นพ.เชิดชัย กล่าว . ด้าน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) แสดงความคิดเห็นว่า ผลการศึกษาดังกล่าวของ กมธ.ฯ เป็นเรื่องล่อแหลม เนื่องจากได้มีการเสนอแนวทางการนิรโทษกรรมความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เข้าไปด้วย ซึ่งยังเป็นเรื่องที่มีความเห็นต่างกันอยู่มาก ทั้งในหมู่พรรคการเมือง แม้แต่พรรคร่วมรัฐบาลด้วยกัน และประชาชน ดังนั้น หากสภาฯ พิจารณา แล้วมีมติเห็นควรส่งให้รัฐบาลรับไปพิจารณา ปัญหาก็จะตกไปอยู่กับรัฐบาล . "ผมเห็นว่าขณะนี้รัฐบาลมีปัญหามากแล้ว ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ จนแก้กันไม่หวาดไม่ไหว จึงเห็นว่ายังไม่ควรเอาเรื่องนี้สุมเพิ่มเข้าไปอีก" นายจุรินทร์ กล่าว ............. Sondhi X
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 667 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิไขปม “ทักษิณ” กินข้าว “เนวิน” รับมือคดี-อุ๊งอิ๊งขึ้นศาลรธน. ชงอนุทินนายกฯ คนต่อไป
    .
    วันนี้ (9 ต.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล กล่าวในรายการสนธิเล่าเรื่อง กรณีที่นายเนวิน ชิดชอบ ประธานสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไปกินข้าวกับนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตนักโทษคดีทุจริต และนายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.มหาดไทย ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า จรัญสนิทวงศ์ 69 เมื่อวันที่ 6 ต.ค. ว่า เรื่องนี้ต้องโทษนายทักษิณ ตนไม่อยากพูดถึงเพราะนายทักษิณกำลังรับเวรกรรมอยู่ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลูกสาวนายทักษิณจะเอาตัวรอดเปล่าไม่รู้ และนายทักษิณกำลังถูกรุกหนัก ถึงขั้นถ้าเรื่องถึงศาลและชี้ว่ามีมูล เท่ากับว่าจะต้องถูกตำรวจหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงประกบตลอดเวลา และมีการคาดคะเนว่านายทักษิณอาจต้องหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง ตนไม่รู้ว่าจริงหรือไม่จริง คนที่เกลียดนายทักษิณตั้งข้อสังเกตเยอะแยะ ตนไม่ได้เกลียดนายทักษิณ แต่ขณะนี้เขาต้องรับเวรรับกรรม และขณะนี้รับเวรกรรมอยู่อย่างมาก
    .
    ทั้งนี้ เมื่อ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมา นายทักษิณเงียบสนิทไม่ออกไปไหน มีแต่เรียกรัฐมนตรีที่ตัวเองสั่งการได้เข้าไปพบ บางกรณีไปดุด่าว่าอนุมัติโครงการบางโครงการได้อย่างไร แม้กระทั่งมีข่าวว่า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อยู่หลังม่านอีกคนหนึ่ง ซึ่งมีคนวิ่งเต้นเข้าหาตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นผู้ว่าฯ ท่าอากาศยานไทย แม้กระทั่งหลายคนต้องการเลื่อนตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ ปตท. ถึงขั้นโทรศัพท์ไปหาผู้บริหาร ปตท. ขอให้ซื้อโฆษณาสถานีโทรทัศน์เนชั่นทีวีเพิ่ม ซึ่งนายทักษิณได้มอบหมายดูแล 2 กระทรวง คือ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) และกระทรวงยุติธรรม ที่กำลังโยกย้ายแต่งตั้ง เพราะต้องดูว่าใครช่วยนายทักษิณ
    .
    นายสนธิ กล่าวว่า นายเนวินเคยสนิทสนมกับนายทักษิณ เคยเป็นมือให้นายทักษิณทำงานทุกงาน ออกมาปะฉะดะ แม้กระทั่งพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เคยถูกนายเนวินกลั่นแกล้งตลอดเวลา เคยให้นายศุภชัย ใจสมุทร แจ้งความจับตนในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ตำแหน่งสำคัญของนายเนวินหลุดออกไป เป็นทำให้นายเนวินหักหลังนายทักษิณ และจัดตั้งรัฐบาลที่ค่ายทหาร ให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็น รมว.กลาโหม โดยนายเนวินเจรจากับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อให้พรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล ทำให้กลุ่มนายเนวินมีอำนาจขึ้นมา เส้นทางการเมืองนายทักษิณอยู่ต่างประเทศ นายเนวินกับนายอนุทินตั้งพรรคภูมิใจไทยขึ้นมา
    .
    นายสนธิเห็นว่า การที่นายเนวินและนายอนุทินกินข้าวกับนายทักษิณ เพราะเวรกรรมกำลังเข้ามาที่นายทักษิณ ทั้งกรมราชทัณฑ์กำลังจะถูกสอบ เจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์อาจมีส่วนร่วมกระทำความผิดด้วย แม้กระทั่ง พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง ในฐานะ รมว.ยุติธรรม ที่ออกมาให้ความช่วยเหลือนายทักษิณในเรื่องชั้น 14 เพราะฉะนั้นตอนนี้กรมราชทัณฑ์เริ่มระส่ำระส่ายอย่างมาก คนที่เคยช่วยนายทักษิณเพราะหวังได้เลื่อนตำแหน่ง และหลายคนได้เลื่อนตำแหน่งเพราะการช่วยนายทักษิณ เช่น อธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้ขึ้นตำแหน่งเต็มตัวเพราะช่วยนายทักษิณ และเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ 5-6 คน ใช้วิชามารและหลักการช่วยนายทักษิณ จึงถูกนายจตุพร พรหมพันธุ์ และนายนิติธร ล้ำเหลือ เคลื่อนไหวเอาผิด
    .
    ทั้งนี้ ที่ผ่านมามีคนต่อว่าทำไมไม่พูดถึงนายทักษิณเลย ตนตอบว่า ไม่จำเป็นต้องพูดถึงเขาแล้ว เพราะเขากำลังรับเวรกรรม มีโจทก์เต็มไปหมด ไล่ล่านายทักษิณตลอดเวลา นายทักษิณไม่รู้จะทำอย่างไรในขณะนี้ ซึ่งเรื่องร้องเรียนไปทุกช่องทาง ทั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน สำนักงาน ปปช. ไปกระทั่งหน่วยงานองค์กรอิสระนั้นไม่เพิกเฉยต่อคำร้องเหล่านี้ได้ แต่ละองค์กรจึงมีการตั้งเรื่องเพื่อสืบเสาะข้อกล่าวหาที่แต่ละคนกล่าวหาทุกช่องทาง ล่าสุดได้ข่าวว่านายทักษิณกำลังจะถูกแจ้งข้อกล่าวหา
    .
    ขณะเดียวกัน น.ส.แพทองธาร กำลังจะถูกดำเนินคดีถือหุ้นในบริษัท อัลไพน์ฯ มีรายงานการประชุมชัดเจน มีชื่อ น.ส.แพทองธารประชุมอยู่ด้วย และโยงไปถึง คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร มารดา น.ส.แพทองธาร หาก น.ส.แพทองธารเป็นนายกฯ แล้วเรื่องนี้ถูกส่งไปที่ศาลรัฐธรรมนูญ ถ้าชี้ว่า น.ส.แพทองธารมีความผิด ไม่ใช่แค่ลาออกอย่างเดียว ยังถูกดำเนินคดีอาญาด้วย แต่ถ้าก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิพากษา น.ส.แพทองธารลาออกไปก่อน คดีนี้ก็จบไป จึงเป็นที่มาของการกินข้าวครั้งนี้
    .
    "ขณะนี้พรรคภูมิใจไทยได้เปรียบกว่าพรรคเพื่อไทยและทักษิณ เป็นพรรคที่คุม สว. เสียงข้างมากในวุฒิสภา ด้วยเหตุนี้ เนวินถือไพ่ตรงนี้เหนือกว่าทักษิณ ในขณะเดียวกัน ทักษิณก็ยังถือเสียง 140 เสียงของพรรคเพื่อไทยอยู่ ซึ่งถ้าเนวินต้องการให้อนุทินขึ้นมาเป็นนายกฯ ก็ต้องพึ่งเสียงของทักษิณ ผมเชื่อว่าเป็นการทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ร่วมกัน และเจรจากันอย่างเงียบๆ ว่าถ้าสมมติอุ๊งอิ๊งจำเป็นต้องออก ก้าวข้าม พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ไปได้เลย เพราะพรรคพลังประชารัฐมีเสียง สส. อยู่ 40 เสียง 20 กว่าเสียงอยู่กับ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เสียงของพรรคพลังประชารัฐมีจริงๆ ก็แค่ 10 กว่าเสียง ตีให้ตายชาติหน้า พล.อ.ปนระวิตร ก็เป็นนายกฯ ไม่ได้ คิวต่อไปก็เป็นอนุทิน ชาญวีรกูล ถ้าอนุทินเป็นนายกฯ แล้วไม่มีเสียงของทักษิณสนับสนุน ก็ไม่รู้จะทำยังไง นั่นคือที่มาของการกินข้าว คือการปูทางก่อน ทำความเข้าใจ ก่อนละครลิเกโรงใหญ่" นายสนธิ กล่าว
    .
    ทั้งนี้ หลายคนบอกว่าเหตุการณ์นี้จะเริ่มต้นช่วงต้นเดือน ธ.ค. 2567 แต่ตนเห็นว่าอย่างเร็วที่สุดต้นปี 2568 เพราะนายทักษิณอยากให้ น.ส.แพทองธาร ลากต่อไป จนกระทั่งถึงวินาทีสุดท้าย ถ้ายังอยู่ต่อต้องถูกศาลพิพากษาแน่ ถ้าลาออกตอนนี้แล้วเรื่องก็จบ ไม่มีแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญก็แทงเรื่องว่าจบ ปิดคดี เพราะคนที่ถูกกล่าวหาเป็นนายกฯ โดยมิชอบต้องลาออกแล้ว ข้อกล่าวหาก็ต้องตกไปเป็นเรื่องธรรมดา ส่วนที่นายดนัย เอกมหาสวัสดิ์ กล่าวว่า กลางเดือนนี้จะมีนายกฯ คนนอก คือนายวีรไท สันติประภพ อดีตผู้ว่าการ ธปท. ลูกชาย พล.ต.อ.ประทิน สันติประภพ ตนดูการเมืองเมืองไทยกว่า 50 ปีแล้วยังดูไม่ออกเลย นายดนัยก็ดูไม่ออกแต่เชื่อ ทฤษฎีนายดนัยต้องฟังหูไว้หู ตนไม่ประหลาดใจว่ากลางเดือนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่ที่แน่ๆ กระบวนการไล่ล่า น.ส.แพทองธารและนายทักษิณยังคงดำเนินต่อไป
    .
    ส่วนการที่นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตแกนนำ นปช. มาเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ปกป้อง น.ส.แพทองธาร นั้น วันนี้กับสมัยก่อนไม่เหมือนกัน สมัยก่อนมีนายจตุพร พรหมพันธุ์ ร่วมรบ แต่วันนี้ นายจตุพรเป็นศัตรูกับนายทักษิณ นายณัฐวุฒิเข้ามาให้สัมภาษณ์ไป โกหกทุกเรื่อง กระทั่งโซเชียลมีเดียตัดคลิปในอดีตออกมา นายณัฐวุฒิอ้างว่าไม่เกี่ยวข้องกับโครงการรับจำนำข้าว ก็เอาคลิปเก่าที่เคยพูดเรื่องจำนำข้าวมาจี้นายณัฐวุฒิ สรุปแล้วเป็นนักการเมืองที่โกหกเก่งคนหนึ่ง ตนไม่เห็นว่านายณัฐวุฒิจะมาปกป้องอะไรนายกฯ ได้เลยแม้แต่นิดเดียว สรุปแล้วเดือนตุลาคมเป็นเดือนตุลาอาถรรพ์ และอาถรรพ์ถึงสิ้นปีนี้ ทั้งหมดถ้ามองย้อนหลังเป็นละคร ลิเกโรงใหญ่ ต่างฝ่ายต่างมีผลประโยชน์แลกกัน เป็นการจับมือสองฝ่ายที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน นายทักษิณทางเลือกมีน้อยมาก เหมือนหลังชนกำแพงแล้ว
    ..............
    Sondhi X
    สนธิไขปม “ทักษิณ” กินข้าว “เนวิน” รับมือคดี-อุ๊งอิ๊งขึ้นศาลรธน. ชงอนุทินนายกฯ คนต่อไป . วันนี้ (9 ต.ค.) นายสนธิ ลิ้มทองกุล กล่าวในรายการสนธิเล่าเรื่อง กรณีที่นายเนวิน ชิดชอบ ประธานสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไปกินข้าวกับนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตนักโทษคดีทุจริต และนายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.มหาดไทย ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า จรัญสนิทวงศ์ 69 เมื่อวันที่ 6 ต.ค. ว่า เรื่องนี้ต้องโทษนายทักษิณ ตนไม่อยากพูดถึงเพราะนายทักษิณกำลังรับเวรกรรมอยู่ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ลูกสาวนายทักษิณจะเอาตัวรอดเปล่าไม่รู้ และนายทักษิณกำลังถูกรุกหนัก ถึงขั้นถ้าเรื่องถึงศาลและชี้ว่ามีมูล เท่ากับว่าจะต้องถูกตำรวจหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงประกบตลอดเวลา และมีการคาดคะเนว่านายทักษิณอาจต้องหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง ตนไม่รู้ว่าจริงหรือไม่จริง คนที่เกลียดนายทักษิณตั้งข้อสังเกตเยอะแยะ ตนไม่ได้เกลียดนายทักษิณ แต่ขณะนี้เขาต้องรับเวรรับกรรม และขณะนี้รับเวรกรรมอยู่อย่างมาก . ทั้งนี้ เมื่อ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมา นายทักษิณเงียบสนิทไม่ออกไปไหน มีแต่เรียกรัฐมนตรีที่ตัวเองสั่งการได้เข้าไปพบ บางกรณีไปดุด่าว่าอนุมัติโครงการบางโครงการได้อย่างไร แม้กระทั่งมีข่าวว่า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อยู่หลังม่านอีกคนหนึ่ง ซึ่งมีคนวิ่งเต้นเข้าหาตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นผู้ว่าฯ ท่าอากาศยานไทย แม้กระทั่งหลายคนต้องการเลื่อนตำแหน่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ ปตท. ถึงขั้นโทรศัพท์ไปหาผู้บริหาร ปตท. ขอให้ซื้อโฆษณาสถานีโทรทัศน์เนชั่นทีวีเพิ่ม ซึ่งนายทักษิณได้มอบหมายดูแล 2 กระทรวง คือ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) และกระทรวงยุติธรรม ที่กำลังโยกย้ายแต่งตั้ง เพราะต้องดูว่าใครช่วยนายทักษิณ . นายสนธิ กล่าวว่า นายเนวินเคยสนิทสนมกับนายทักษิณ เคยเป็นมือให้นายทักษิณทำงานทุกงาน ออกมาปะฉะดะ แม้กระทั่งพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เคยถูกนายเนวินกลั่นแกล้งตลอดเวลา เคยให้นายศุภชัย ใจสมุทร แจ้งความจับตนในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ตำแหน่งสำคัญของนายเนวินหลุดออกไป เป็นทำให้นายเนวินหักหลังนายทักษิณ และจัดตั้งรัฐบาลที่ค่ายทหาร ให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็น รมว.กลาโหม โดยนายเนวินเจรจากับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อให้พรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล ทำให้กลุ่มนายเนวินมีอำนาจขึ้นมา เส้นทางการเมืองนายทักษิณอยู่ต่างประเทศ นายเนวินกับนายอนุทินตั้งพรรคภูมิใจไทยขึ้นมา . นายสนธิเห็นว่า การที่นายเนวินและนายอนุทินกินข้าวกับนายทักษิณ เพราะเวรกรรมกำลังเข้ามาที่นายทักษิณ ทั้งกรมราชทัณฑ์กำลังจะถูกสอบ เจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์อาจมีส่วนร่วมกระทำความผิดด้วย แม้กระทั่ง พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง ในฐานะ รมว.ยุติธรรม ที่ออกมาให้ความช่วยเหลือนายทักษิณในเรื่องชั้น 14 เพราะฉะนั้นตอนนี้กรมราชทัณฑ์เริ่มระส่ำระส่ายอย่างมาก คนที่เคยช่วยนายทักษิณเพราะหวังได้เลื่อนตำแหน่ง และหลายคนได้เลื่อนตำแหน่งเพราะการช่วยนายทักษิณ เช่น อธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้ขึ้นตำแหน่งเต็มตัวเพราะช่วยนายทักษิณ และเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ 5-6 คน ใช้วิชามารและหลักการช่วยนายทักษิณ จึงถูกนายจตุพร พรหมพันธุ์ และนายนิติธร ล้ำเหลือ เคลื่อนไหวเอาผิด . ทั้งนี้ ที่ผ่านมามีคนต่อว่าทำไมไม่พูดถึงนายทักษิณเลย ตนตอบว่า ไม่จำเป็นต้องพูดถึงเขาแล้ว เพราะเขากำลังรับเวรกรรม มีโจทก์เต็มไปหมด ไล่ล่านายทักษิณตลอดเวลา นายทักษิณไม่รู้จะทำอย่างไรในขณะนี้ ซึ่งเรื่องร้องเรียนไปทุกช่องทาง ทั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน สำนักงาน ปปช. ไปกระทั่งหน่วยงานองค์กรอิสระนั้นไม่เพิกเฉยต่อคำร้องเหล่านี้ได้ แต่ละองค์กรจึงมีการตั้งเรื่องเพื่อสืบเสาะข้อกล่าวหาที่แต่ละคนกล่าวหาทุกช่องทาง ล่าสุดได้ข่าวว่านายทักษิณกำลังจะถูกแจ้งข้อกล่าวหา . ขณะเดียวกัน น.ส.แพทองธาร กำลังจะถูกดำเนินคดีถือหุ้นในบริษัท อัลไพน์ฯ มีรายงานการประชุมชัดเจน มีชื่อ น.ส.แพทองธารประชุมอยู่ด้วย และโยงไปถึง คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร มารดา น.ส.แพทองธาร หาก น.ส.แพทองธารเป็นนายกฯ แล้วเรื่องนี้ถูกส่งไปที่ศาลรัฐธรรมนูญ ถ้าชี้ว่า น.ส.แพทองธารมีความผิด ไม่ใช่แค่ลาออกอย่างเดียว ยังถูกดำเนินคดีอาญาด้วย แต่ถ้าก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิพากษา น.ส.แพทองธารลาออกไปก่อน คดีนี้ก็จบไป จึงเป็นที่มาของการกินข้าวครั้งนี้ . "ขณะนี้พรรคภูมิใจไทยได้เปรียบกว่าพรรคเพื่อไทยและทักษิณ เป็นพรรคที่คุม สว. เสียงข้างมากในวุฒิสภา ด้วยเหตุนี้ เนวินถือไพ่ตรงนี้เหนือกว่าทักษิณ ในขณะเดียวกัน ทักษิณก็ยังถือเสียง 140 เสียงของพรรคเพื่อไทยอยู่ ซึ่งถ้าเนวินต้องการให้อนุทินขึ้นมาเป็นนายกฯ ก็ต้องพึ่งเสียงของทักษิณ ผมเชื่อว่าเป็นการทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ร่วมกัน และเจรจากันอย่างเงียบๆ ว่าถ้าสมมติอุ๊งอิ๊งจำเป็นต้องออก ก้าวข้าม พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ไปได้เลย เพราะพรรคพลังประชารัฐมีเสียง สส. อยู่ 40 เสียง 20 กว่าเสียงอยู่กับ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เสียงของพรรคพลังประชารัฐมีจริงๆ ก็แค่ 10 กว่าเสียง ตีให้ตายชาติหน้า พล.อ.ปนระวิตร ก็เป็นนายกฯ ไม่ได้ คิวต่อไปก็เป็นอนุทิน ชาญวีรกูล ถ้าอนุทินเป็นนายกฯ แล้วไม่มีเสียงของทักษิณสนับสนุน ก็ไม่รู้จะทำยังไง นั่นคือที่มาของการกินข้าว คือการปูทางก่อน ทำความเข้าใจ ก่อนละครลิเกโรงใหญ่" นายสนธิ กล่าว . ทั้งนี้ หลายคนบอกว่าเหตุการณ์นี้จะเริ่มต้นช่วงต้นเดือน ธ.ค. 2567 แต่ตนเห็นว่าอย่างเร็วที่สุดต้นปี 2568 เพราะนายทักษิณอยากให้ น.ส.แพทองธาร ลากต่อไป จนกระทั่งถึงวินาทีสุดท้าย ถ้ายังอยู่ต่อต้องถูกศาลพิพากษาแน่ ถ้าลาออกตอนนี้แล้วเรื่องก็จบ ไม่มีแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญก็แทงเรื่องว่าจบ ปิดคดี เพราะคนที่ถูกกล่าวหาเป็นนายกฯ โดยมิชอบต้องลาออกแล้ว ข้อกล่าวหาก็ต้องตกไปเป็นเรื่องธรรมดา ส่วนที่นายดนัย เอกมหาสวัสดิ์ กล่าวว่า กลางเดือนนี้จะมีนายกฯ คนนอก คือนายวีรไท สันติประภพ อดีตผู้ว่าการ ธปท. ลูกชาย พล.ต.อ.ประทิน สันติประภพ ตนดูการเมืองเมืองไทยกว่า 50 ปีแล้วยังดูไม่ออกเลย นายดนัยก็ดูไม่ออกแต่เชื่อ ทฤษฎีนายดนัยต้องฟังหูไว้หู ตนไม่ประหลาดใจว่ากลางเดือนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่ที่แน่ๆ กระบวนการไล่ล่า น.ส.แพทองธารและนายทักษิณยังคงดำเนินต่อไป . ส่วนการที่นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตแกนนำ นปช. มาเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ปกป้อง น.ส.แพทองธาร นั้น วันนี้กับสมัยก่อนไม่เหมือนกัน สมัยก่อนมีนายจตุพร พรหมพันธุ์ ร่วมรบ แต่วันนี้ นายจตุพรเป็นศัตรูกับนายทักษิณ นายณัฐวุฒิเข้ามาให้สัมภาษณ์ไป โกหกทุกเรื่อง กระทั่งโซเชียลมีเดียตัดคลิปในอดีตออกมา นายณัฐวุฒิอ้างว่าไม่เกี่ยวข้องกับโครงการรับจำนำข้าว ก็เอาคลิปเก่าที่เคยพูดเรื่องจำนำข้าวมาจี้นายณัฐวุฒิ สรุปแล้วเป็นนักการเมืองที่โกหกเก่งคนหนึ่ง ตนไม่เห็นว่านายณัฐวุฒิจะมาปกป้องอะไรนายกฯ ได้เลยแม้แต่นิดเดียว สรุปแล้วเดือนตุลาคมเป็นเดือนตุลาอาถรรพ์ และอาถรรพ์ถึงสิ้นปีนี้ ทั้งหมดถ้ามองย้อนหลังเป็นละคร ลิเกโรงใหญ่ ต่างฝ่ายต่างมีผลประโยชน์แลกกัน เป็นการจับมือสองฝ่ายที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน นายทักษิณทางเลือกมีน้อยมาก เหมือนหลังชนกำแพงแล้ว .............. Sondhi X
    Like
    Love
    Wow
    21
    0 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 1595 มุมมอง 0 รีวิว
  • นิด้าโพลสำรวจเสียงคนใต้เกินครึ่งไม่เห็นด้วย พรรคประชาธิปัตย์เข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย มีผลเลือกตั้งครั้งหน้าไม่เลือกพรรคประชาธิปัตย์

    ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “เสียงพี่น้องชาวใต้ถึงพรรคประชาธิปัตย์ ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 2-3 กันยายน 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีสิทธิเลือกตั้งใน 14 จังหวัดภาคใต้ กระจายระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการตัดสินใจของพรรคประชาธิปัตย์ในการเข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0

    จากการสำรวจเมื่อถามความคิดเห็นของประชาชนต่อการตัดสินใจของพรรคประชาธิปัตย์ในการเข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 54.19 ระบุว่า ไม่เห็นด้วยเลย รองลงมา ร้อยละ 14.58 ระบุว่า ไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า เห็นด้วยมาก ร้อยละ 11.91 ระบุว่า ค่อนข้างเห็นด้วย และร้อยละ 6.34 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ

    ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงการเลือกพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งครั้งหน้า พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 41.37 ระบุว่า ไม่เลือก รองลงมา ร้อยละ 41.15 ระบุว่า ยังไม่แน่ใจ และร้อยละ 17.48 ระบุว่า เลือก

    เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างทั้งหมดมีภูมิลำเนาตามทะเบียนบ้านอยู่ในภาคใต้ ตัวอย่าง ร้อยละ 16.87 มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ร้อยละ 15.27 จังหวัดสงขลา ร้อยละ 11.53 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 8.01 จังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 7.10 จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 6.95 จังหวัดตรัง ร้อยละ 5.80 จังหวัดพัทลุง ร้อยละ 5.57 จังหวัดชุมพร ร้อยละ 5.34 จังหวัดยะลา ร้อยละ 4.96 จังหวัดกระบี่ ร้อยละ 4.43 จังหวัดภูเก็ต ร้อยละ 3.36 จังหวัดสตูล ร้อยละ 2.90 จังหวัดพังงา และร้อยละ 1.91 จังหวัดระนอง ตัวอย่าง ร้อยละ 48.09 เป็นเพศชาย และร้อยละ 51.91 เป็นเพศหญิง

    ตัวอย่าง ร้อยละ 14.35 อายุ 18-25 ปี ร้อยละ 19.47 อายุ 26-35 ปี ร้อยละ 19.00 อายุ 36-45 ปี ร้อยละ 24.89 อายุ 46-59 ปี และร้อยละ 22.29 อายุ 60 ปีขึ้นไป ตัวอย่าง ร้อยละ 72.22 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 27.25 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 0.53 นับถือศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่น ๆ

    ตัวอย่าง ร้อยละ 34.73 สถานภาพโสด ร้อยละ 63.74 สมรส และร้อยละ 1.53 หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ ตัวอย่าง ร้อยละ 15.65 จบการศึกษาประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ร้อยละ 36.41 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 9.47 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 33.66 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และร้อยละ 4.81 จบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

    ตัวอย่าง ร้อยละ 11.98 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 14.73 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ร้อยละ 23.59 ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชีพอิสระ ร้อยละ 12.06 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ร้อยละ 13.82 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 18.17 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ/ว่างงาน และร้อยละ 5.65 เป็นนักเรียน/นักศึกษา

    ตัวอย่าง ร้อยละ 18.86 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 16.72 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท ร้อยละ 32.82 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 11.22 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 5.19 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001-40,000 บาท ร้อยละ 6.56 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และร้อยละ 8.63 ไม่ระบุรายได้

    ที่มา https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=716

    #Thaitimes
    นิด้าโพลสำรวจเสียงคนใต้เกินครึ่งไม่เห็นด้วย พรรคประชาธิปัตย์เข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย มีผลเลือกตั้งครั้งหน้าไม่เลือกพรรคประชาธิปัตย์ ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “เสียงพี่น้องชาวใต้ถึงพรรคประชาธิปัตย์ ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 2-3 กันยายน 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีสิทธิเลือกตั้งใน 14 จังหวัดภาคใต้ กระจายระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการตัดสินใจของพรรคประชาธิปัตย์ในการเข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0 จากการสำรวจเมื่อถามความคิดเห็นของประชาชนต่อการตัดสินใจของพรรคประชาธิปัตย์ในการเข้าร่วมรัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทย พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 54.19 ระบุว่า ไม่เห็นด้วยเลย รองลงมา ร้อยละ 14.58 ระบุว่า ไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า เห็นด้วยมาก ร้อยละ 11.91 ระบุว่า ค่อนข้างเห็นด้วย และร้อยละ 6.34 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงการเลือกพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งครั้งหน้า พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 41.37 ระบุว่า ไม่เลือก รองลงมา ร้อยละ 41.15 ระบุว่า ยังไม่แน่ใจ และร้อยละ 17.48 ระบุว่า เลือก เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างทั้งหมดมีภูมิลำเนาตามทะเบียนบ้านอยู่ในภาคใต้ ตัวอย่าง ร้อยละ 16.87 มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ร้อยละ 15.27 จังหวัดสงขลา ร้อยละ 11.53 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 8.01 จังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 7.10 จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 6.95 จังหวัดตรัง ร้อยละ 5.80 จังหวัดพัทลุง ร้อยละ 5.57 จังหวัดชุมพร ร้อยละ 5.34 จังหวัดยะลา ร้อยละ 4.96 จังหวัดกระบี่ ร้อยละ 4.43 จังหวัดภูเก็ต ร้อยละ 3.36 จังหวัดสตูล ร้อยละ 2.90 จังหวัดพังงา และร้อยละ 1.91 จังหวัดระนอง ตัวอย่าง ร้อยละ 48.09 เป็นเพศชาย และร้อยละ 51.91 เป็นเพศหญิง ตัวอย่าง ร้อยละ 14.35 อายุ 18-25 ปี ร้อยละ 19.47 อายุ 26-35 ปี ร้อยละ 19.00 อายุ 36-45 ปี ร้อยละ 24.89 อายุ 46-59 ปี และร้อยละ 22.29 อายุ 60 ปีขึ้นไป ตัวอย่าง ร้อยละ 72.22 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 27.25 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 0.53 นับถือศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่น ๆ ตัวอย่าง ร้อยละ 34.73 สถานภาพโสด ร้อยละ 63.74 สมรส และร้อยละ 1.53 หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ ตัวอย่าง ร้อยละ 15.65 จบการศึกษาประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ร้อยละ 36.41 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 9.47 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 33.66 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และร้อยละ 4.81 จบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ตัวอย่าง ร้อยละ 11.98 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 14.73 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ร้อยละ 23.59 ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชีพอิสระ ร้อยละ 12.06 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ร้อยละ 13.82 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 18.17 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ/ว่างงาน และร้อยละ 5.65 เป็นนักเรียน/นักศึกษา ตัวอย่าง ร้อยละ 18.86 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 16.72 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท ร้อยละ 32.82 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 11.22 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 5.19 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001-40,000 บาท ร้อยละ 6.56 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และร้อยละ 8.63 ไม่ระบุรายได้ ที่มา https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=716 #Thaitimes
    Like
    Haha
    Angry
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1009 มุมมอง 0 รีวิว
  • จุดจบของพรรคประชาธิปัตย์

    บทความโดย : สุรวิชช์ วีรวรรณ

    คลิก>> https://mgronline.com/daily/detail/9670000082282
    จุดจบของพรรคประชาธิปัตย์ บทความโดย : สุรวิชช์ วีรวรรณ คลิก>> https://mgronline.com/daily/detail/9670000082282
    MGRONLINE.COM
    จุดจบของพรรคประชาธิปัตย์
    พรรคประชาธิปัตย์พรรคการเมืองเก่าแก่ที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับคณะราษฎรในฐานะปีกของอนุรักษนิยมที่เชิดชูอุดมการณ์กษัตริย์นิยม เคยเป็นมาแล้วทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาล หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์เคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 4 คน คือ ควง อภัยวงศ
    Like
    Haha
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 410 มุมมอง 0 รีวิว
  • เพจเฟซบุ๊กพรรคประชาธิปัตย์ปิดช่องคอมเมนต์ หลังโดนแฟนคลับรุมถล่ม ไล่ผู้บริหารพรรค ด้านเฟซบุ๊ก 'เดชอิศม์' โป๊ะแตก เข้ามายินดีตัวเองร่วมรัฐบาล
    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000080762

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    เพจเฟซบุ๊กพรรคประชาธิปัตย์ปิดช่องคอมเมนต์ หลังโดนแฟนคลับรุมถล่ม ไล่ผู้บริหารพรรค ด้านเฟซบุ๊ก 'เดชอิศม์' โป๊ะแตก เข้ามายินดีตัวเองร่วมรัฐบาล อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000080762 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Yay
    Angry
    Love
    Sad
    49
    6 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 6534 มุมมอง 1 รีวิว
  • รอแถลงที่พรรคประชาธิปัตย์
    รอแถลงที่พรรคประชาธิปัตย์
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 201 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชวนกรีดดีลฟ้า-แดง "คนรุ่นใหม่หาประโยชน์"

    การประชุมคณะกรรมการบริหารและ สส. พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 29 ส.ค. มีเพียงวาระเดียว คือการเข้าร่วมรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย (พท.) ตามที่นายสรวงศ์ เทียนทอง เลขาธิการพรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือเชิญแก่นายเดชอิศม์ ขาวทอง สส.สงขลา และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ท่ามกลางกระแสข่าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า มีความพยายามร่วมรัฐบาลของนายเฉลิมชัย ศรีอ่อน หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ โดยมีเก้าอี้ 1 รัฐมนตรี และ 1 รัฐมนตรีช่วยรออยู่

    เป็นที่ทราบกันดีว่า พรรคประชาธิปัตย์ กับพรรคการเมืองของนายทักษิณ ชินวัตร ต่อสู้ทางการเมืองมานานกว่า 23 ปี ตั้งแต่พรรคไทยรักไทย พรรคพลังประชาชน และพรรคเพื่อไทย ผ่านความขัดแย้งทั้งในสภาและนอกสภาในการชุมนุมกลุ่ม กปปส.

    แต่สัญญาณในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มต้นมาตั้งแต่ปีที่แล้ว (2566) นายเดชอิศม์เดินทางไปพบนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ฮ่องกง ก่อนที่นายทักษิณกลับมารับโทษที่ประเทศไทย ทีแรกปฎิเสธไม่พูดถึง ตอนหลังยอมรับไปเจอกันจริง และเห็นว่าพรรคประชาธิปัตย์ควรร่วมรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายพรรค กระทั่งการโหวตเลือกนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี พบว่ามี สส.ปชป. 16 คน นำโดยนายเดชอิศม์ โหวตสวนมติพรรค หนุนนายเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรี

    แต่ในการโหวตเลือก น.ส.แพทองธาร ครั้งล่าสุด สส.ปชป. 25 คน งดออกเสียง ตามมติพรรคที่ออกมาก่อนหน้านี้ แต่ทั้งนี้ สส.ปชป. กลุ่มนายเฉลิมชัย 21 คน สนใจที่จะเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยอยู่แล้ว มีเพียง 4 สส. ที่ไม่ยอม ได้แก่ นายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ และนายสรรเพชร บุญญามณี สส.สงขลา แต่ก็ไม่อาจต้านทานกลุ่มนายเฉลิมชัยซึ่งเป็นเสียงข้างมากได้

    นายเดชอิศม์ อ้างว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีความขัดแย้ง มีแต่ความรัก ความเข้าใจ และการให้อภัยกัน ต้องเข้าใจว่าเหตุการณ์เมื่อ 20-30 ปีที่ผ่านมา กับปัจจุบันไม่เหมือนกัน ปัญหาของประเทศ แนวคิด การพัฒนาประเทศ ไม่เหมือนกัน ดังนั้น พอถึงเวลาที่เราพูดคุยกันได้ ที่เรารักกัน เป็นสิ่งที่ดีงาม ส่วนที่นายชวนคัดค้านนั้น ก่อนหน้านี้อาจมีความคิดเห็นเป็นสองฝ่าย แต่เมื่อมีมติของพรรคก็ต้องปฏิบัติตาม จากนี้ถ้ามีคนในพรรคโหวตแตกต่างจากมติของพรรคคงทำเช่นนั้นไม่ได้

    ส่วนนายสรวงศ์ กล่าวว่า พรรคเพื่อไทยได้พูดคุยกับนายเฉลิมชัยและนายเดชอิศม์ เมื่อวันที่ 27 ส.ค. ว่าจะยื่นหนังสืออย่างเป็นทางการให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารประเทศ และเป็นรัฐบาลร่วมกัน ส่วนโควตารัฐมนตรีเป็นเรื่องของนายกรัฐมนตรีตนไม่ขอก้าวล่วง ส่วนความขัดแย้งระหว่างสองพรรค เมื่อก่อนก็คือเมื่อก่อน แต่ปัจจุบันมั่นใจว่าในสภาฯ ทุกคน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและประเทศชาติไปได้ด้วยดี

    "ไม่มี สส.พรรคเพื่อไทยคัดค้าน ขอให้นำคำสัมภาษณ์ของนายเดชอิศม์เป็นที่ตั้ง ว่าประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ ทุกอย่างผ่านไปแล้ว ประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ พรรคของพวกเราร่วมต่อสู้กันมานาน แต่วันนี้มาถึงคนรุ่นใหม่ ที่มาดูแลพรรค ส่วนอุดมการณ์ทางการเมือง ก็เป็นเรื่องของอุดมการณ์ ส่วนแนวทางการทำงานเราไปด้วยกันได้แน่นอน"

    นายสรวงศ์ กล่าวว่า ในอดีตอุดมการณ์ทางการเมืองของเพื่อไทย และประชาธิปัตย์ ไม่เหมือนกันเลย แต่วันนี้คนรุ่นใหม่เข้ามาบริหารพรรค หัวหน้าทั้ง 2 พรรค รวมถึงเลขาฯ และสมาชิกพรรคทุกคน มุ่งหน้าไปในทิศทางเดียวกันว่า ปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ต้องได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น เพราะประเทศชาติถอยหลังไปมาก ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องเดินหน้าร่วมกัน อะไรไม่เข้าใจกันหรือความขัดแย้งต้องทิ้งไว้ข้างหลัง

    ส่วนข้อกล่าวหาว่า พรรคเพื่อไทยตระบัดสัตย์นั้น นายสรวงศ์ กล่าวว่า คำนี้ฮิตเหลือเกิน ก็แล้วแต่ ทุกอย่างมองกันที่ผลงาน ต่อจากนี้ไปอีก 3 ปี ตนขออย่างเดียวให้โอกาสนายกฯ และ ครม.ชุดใหม่ได้ทำงาน ถ้าทำอะไรผิด หรือไม่ดีค่อยร้องเรียน ไม่ใช่ออกมาพูดเพียงอย่างเดียว ขอให้ดูที่ผลงาน ส่วนที่นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ ยื่นร้องเรียนกรณีซุกหุ้นของ น.ส.แพทองธาร มีทีมกฎหมายดูอยู่แล้ว และคิดว่าจะไม่เป็นประเด็น

    อย่างไรก็ตาม นายชวน หลีกภัย สส.บัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า ส่วนตัวขอยืนยันในจุดยืนเดิม ไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ที่มีตั้งแต่วันแรกที่การตั้งรัฐบาลชุด ของนายเศรษฐา ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง เพราะไม่สามารถทรยศประชาชนได้ ซึ่งตนเป็นคนขอร้องประชาชนไม่ให้เลือกพรรคไทยรักไทย พรรคเพื่อไทย ไม่ใช่เพราะความขัดแย้งส่วนตัว แต่เป็นเพราะพรรคเหล่านั้น ประกาศชัดเจนที่จะพัฒนาจังหวัดที่เลือกเขาก่อน ส่วนจังหวัดอื่นไว้ทีหลัง

    "วิธีเหล่านี้เราไม่เคยเห็นมาก่อน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา 90 ปี ไม่เคยมีรัฐบาลชุดไหน ไม่ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากการยึดอำนาจ ยิ่งพรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล จะให้ความเป็นธรรมกับทุกภาคอย่างยุติธรรม โดยไม่สนใจว่าใครจะเลือกใครเป็นรัฐบาล แต่จัดการบ้านเมืองด้วยความเป็นธรรม"

    "ต้องยอมรับว่าเรื่องการเลือกปฏิบัติ ผมต่อสู้มาเพียงลำพัง ด้วยการขอว่าอย่าเลือกเขานะ ไม่ได้ไปกลั่นแกล้งหรือทำร้ายอย่างที่ นายราเมศ รัตนะเชวง อดีดโฆษกพรรคฯ เคยถูกกระทำ ทำให้เขาได้รับเลือกน้อยมาก ไม่มี สส.ภาคใต้แม้แต่คนเดียว ซึ่งเป็นผลมาจากที่ผมรณรงค์ แล้ววันหนึ่งจะมาบอกให้ผมสนับสนุนพรรคที่ผมบอกว่าอย่าเลือก มันชัดเจนว่าเป็นการทรยศชาวบ้านผมทำไม่ได้ จึงขอยืนยันว่า แม้เปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี แต่จุดยืนผมยังเหมือนเดิม"

    นายชวนกล่าวอีกว่า มติของพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ใช่การเห็นด้วย เพราะมีการติดต่อกันแล้ว ที่มาถามว่า เขามาเชิญ ความจริง ตนคิดว่าคนของเราไปติดต่อเขาก่อนเขาเชิญ หรือสงสัยว่าไปขอให้เขามาเชิญด้วยซ้ำ แต่ตามมารยาท ก็มาเชิญด้วยวิธีนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้าที่จะมีหนังสือเชิญ คนของเราบางคนก็ไปประสานติดต่อ จึงถูกสื่อมวลชนเรียกว่า พรรคอีแอบ พรรครอเสียบ จึงอยากขออย่าเรียกพรรคประชาธิปัตย์ แบบนี้ เพราะเป็นพฤติกรรมของคนส่วนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่คนส่วนใหญ่

    "การเรียกแบบนี้ทำให้พรรคเสื่อมเสีย ตนอยากปกป้องเกียรติภูมิของพรรค เราไม่ใช่พรรคเฉพาะกิจ ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้คนใดคนหนึ่งได้เป็นนายกฯ อยู่สัก 1-2 สมัยแล้วล้มไป แต่พรรคประชาธิปัตย์ อยู่มาเกือบ 80 ปี ปฏิบัติตามอุดมการณ์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นหลักประชาธิปไตยมาอย่างยาวนาน ไม่อยากให้เสื่อมเสียด้วยการกระทำของ กก.บห.พรรคชุดปัจจุบัน"

    "ยอมรับว่าผมเป็นเสียงข้างน้อยในพรรคฯ ที่ชัดเจนตั้งแต่มีการลงมติเลือกนายเศรษฐาเป็นนายกฯ และผมได้หารือกับนายบัญญัติ นายจุรินทร์ และนายสรรเพชญ ว่าอย่างน้อย 4 คน จะยังคงยืนยันในจุดยืนเดิม แต่ไม่ว่ามติของพรรคฯเป็นอย่างไร ก็พร้อมจะเคารพ เพียงแต่ไม่เห็นด้วยที่จะร่วมกับพรรคการเมืองที่เคยกลั่นแกล้งประชาชน และเชื่อว่าการตัดสินใจร่วมรัฐบาลในครั้งนี้ จะส่งผลต่อฐานเสียงภาคใต้ไม่น้อย"

    เมื่อถามว่าคนรุ่นใหม่มองว่าหมดยุคของนายชวนแล้ว นายชวน กล่าวว่า มันไม่มีกำหนดอายุ มีคนคิดเหมือนกันว่าตนเป็นขวากหนามของเขา ทำให้ไปร่วมรัฐบาลไม่ได้ จึงพยายามพูดว่าหมดยุคของผู้อาวุโส แต่ในความจริงแล้ว ตนเป็นผู้สร้างมากกว่าผู้ทำลาย และคนที่พูดเหล่านั้นอาศัยบารมีพรรค ที่พวกตนทำเอาไว้ แต่คนเหล่านั้นยังไม่เคยทำอะไรที่เป็นประโยชน์กับพรรคเลย เพียงแต่อาศัยชื่อพรรคเพื่อเข้ามาเป็นนักการเมือง ตนก็เคยได้ยินเรื่องนี้แต่ไม่ได้โกรธ แม้กระทั่ง เรื่องที่จะขับพ้นออกจากพรรค ก็มาดูว่าใครเป็นคนพูด พอทราบก็เข้าใจเพราะเขาก็เพิ่งเข้าพรรคมาอาศัยบารมีของพรรคที่คนรุ่นก่อนเขาสะสมสร้างมา นายเฉลิมชัย เป็นหัวหน้าพรรคฯ คนที่ 9 ยังไม่ได้สร้างความน่าเชื่อถือให้พรรคฯเท่ากับรุ่นก่อน

    "ดังนั้น ใครที่คิดจะปลดต้องดูกฎหมาย ซึ่งไม่ได้กำหนดอายุ ผมยังคงทำหน้าที่ของตัวเองอยู่ ผมกลายเป็นคนหัวคัดค้าน ทั้งที่มีหลายคนไม่เห็นด้วย แต่เขาไม่อยากเปลืองตัว เป็นการกระทำของคนบางกลุ่ม ทำให้คนทั่วไปยังเข้าใจว่า ประชาธิปัตย์ยังพอใช้ได้อยู่ เพียงแต่คนบางกลุ่มเท่านั้นที่เข้ามาใช้ตำแหน่งในพรรคเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของตัวเอง ซึ่งคนกลุ่มนั้นไม่รู้ว่าจะทำยังไงกับผม จนพยายามจะบอกว่าขัดแย้งมาแล้ว 20 ปี จึงอยากถามว่าขัดแย้งเรื่องอะไร ไม่ได้ทะเลาะเพื่อประโยชน์ส่วนตัวกัน แต่เป็นเรื่องของประชาชน"

    เมื่อถามว่านายชวนจะลงสู้ศึกเลือกตั้งครั้งหน้าหรือไม่ นายชวน กล่าวว่า ไม่สามารถยืนยันชัดเจนได้ เพราะไม่อยากพูดอะไรไปล่วงหน้า

    #Newskit #พรรคประชาธิปัตย์ #รัฐบาลแพทองธาร
    ชวนกรีดดีลฟ้า-แดง "คนรุ่นใหม่หาประโยชน์" การประชุมคณะกรรมการบริหารและ สส. พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ที่จะมีขึ้นในวันที่ 29 ส.ค. มีเพียงวาระเดียว คือการเข้าร่วมรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย (พท.) ตามที่นายสรวงศ์ เทียนทอง เลขาธิการพรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือเชิญแก่นายเดชอิศม์ ขาวทอง สส.สงขลา และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ท่ามกลางกระแสข่าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า มีความพยายามร่วมรัฐบาลของนายเฉลิมชัย ศรีอ่อน หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ โดยมีเก้าอี้ 1 รัฐมนตรี และ 1 รัฐมนตรีช่วยรออยู่ เป็นที่ทราบกันดีว่า พรรคประชาธิปัตย์ กับพรรคการเมืองของนายทักษิณ ชินวัตร ต่อสู้ทางการเมืองมานานกว่า 23 ปี ตั้งแต่พรรคไทยรักไทย พรรคพลังประชาชน และพรรคเพื่อไทย ผ่านความขัดแย้งทั้งในสภาและนอกสภาในการชุมนุมกลุ่ม กปปส. แต่สัญญาณในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มต้นมาตั้งแต่ปีที่แล้ว (2566) นายเดชอิศม์เดินทางไปพบนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ฮ่องกง ก่อนที่นายทักษิณกลับมารับโทษที่ประเทศไทย ทีแรกปฎิเสธไม่พูดถึง ตอนหลังยอมรับไปเจอกันจริง และเห็นว่าพรรคประชาธิปัตย์ควรร่วมรัฐบาลเพื่อผลักดันนโยบายพรรค กระทั่งการโหวตเลือกนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี พบว่ามี สส.ปชป. 16 คน นำโดยนายเดชอิศม์ โหวตสวนมติพรรค หนุนนายเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ในการโหวตเลือก น.ส.แพทองธาร ครั้งล่าสุด สส.ปชป. 25 คน งดออกเสียง ตามมติพรรคที่ออกมาก่อนหน้านี้ แต่ทั้งนี้ สส.ปชป. กลุ่มนายเฉลิมชัย 21 คน สนใจที่จะเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยอยู่แล้ว มีเพียง 4 สส. ที่ไม่ยอม ได้แก่ นายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สส.บัญชีรายชื่อ และนายสรรเพชร บุญญามณี สส.สงขลา แต่ก็ไม่อาจต้านทานกลุ่มนายเฉลิมชัยซึ่งเป็นเสียงข้างมากได้ นายเดชอิศม์ อ้างว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีความขัดแย้ง มีแต่ความรัก ความเข้าใจ และการให้อภัยกัน ต้องเข้าใจว่าเหตุการณ์เมื่อ 20-30 ปีที่ผ่านมา กับปัจจุบันไม่เหมือนกัน ปัญหาของประเทศ แนวคิด การพัฒนาประเทศ ไม่เหมือนกัน ดังนั้น พอถึงเวลาที่เราพูดคุยกันได้ ที่เรารักกัน เป็นสิ่งที่ดีงาม ส่วนที่นายชวนคัดค้านนั้น ก่อนหน้านี้อาจมีความคิดเห็นเป็นสองฝ่าย แต่เมื่อมีมติของพรรคก็ต้องปฏิบัติตาม จากนี้ถ้ามีคนในพรรคโหวตแตกต่างจากมติของพรรคคงทำเช่นนั้นไม่ได้ ส่วนนายสรวงศ์ กล่าวว่า พรรคเพื่อไทยได้พูดคุยกับนายเฉลิมชัยและนายเดชอิศม์ เมื่อวันที่ 27 ส.ค. ว่าจะยื่นหนังสืออย่างเป็นทางการให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารประเทศ และเป็นรัฐบาลร่วมกัน ส่วนโควตารัฐมนตรีเป็นเรื่องของนายกรัฐมนตรีตนไม่ขอก้าวล่วง ส่วนความขัดแย้งระหว่างสองพรรค เมื่อก่อนก็คือเมื่อก่อน แต่ปัจจุบันมั่นใจว่าในสภาฯ ทุกคน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและประเทศชาติไปได้ด้วยดี "ไม่มี สส.พรรคเพื่อไทยคัดค้าน ขอให้นำคำสัมภาษณ์ของนายเดชอิศม์เป็นที่ตั้ง ว่าประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ ทุกอย่างผ่านไปแล้ว ประเทศชาติต้องเดินหน้าต่อ พรรคของพวกเราร่วมต่อสู้กันมานาน แต่วันนี้มาถึงคนรุ่นใหม่ ที่มาดูแลพรรค ส่วนอุดมการณ์ทางการเมือง ก็เป็นเรื่องของอุดมการณ์ ส่วนแนวทางการทำงานเราไปด้วยกันได้แน่นอน" นายสรวงศ์ กล่าวว่า ในอดีตอุดมการณ์ทางการเมืองของเพื่อไทย และประชาธิปัตย์ ไม่เหมือนกันเลย แต่วันนี้คนรุ่นใหม่เข้ามาบริหารพรรค หัวหน้าทั้ง 2 พรรค รวมถึงเลขาฯ และสมาชิกพรรคทุกคน มุ่งหน้าไปในทิศทางเดียวกันว่า ปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ต้องได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น เพราะประเทศชาติถอยหลังไปมาก ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องเดินหน้าร่วมกัน อะไรไม่เข้าใจกันหรือความขัดแย้งต้องทิ้งไว้ข้างหลัง ส่วนข้อกล่าวหาว่า พรรคเพื่อไทยตระบัดสัตย์นั้น นายสรวงศ์ กล่าวว่า คำนี้ฮิตเหลือเกิน ก็แล้วแต่ ทุกอย่างมองกันที่ผลงาน ต่อจากนี้ไปอีก 3 ปี ตนขออย่างเดียวให้โอกาสนายกฯ และ ครม.ชุดใหม่ได้ทำงาน ถ้าทำอะไรผิด หรือไม่ดีค่อยร้องเรียน ไม่ใช่ออกมาพูดเพียงอย่างเดียว ขอให้ดูที่ผลงาน ส่วนที่นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ ยื่นร้องเรียนกรณีซุกหุ้นของ น.ส.แพทองธาร มีทีมกฎหมายดูอยู่แล้ว และคิดว่าจะไม่เป็นประเด็น อย่างไรก็ตาม นายชวน หลีกภัย สส.บัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า ส่วนตัวขอยืนยันในจุดยืนเดิม ไม่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ที่มีตั้งแต่วันแรกที่การตั้งรัฐบาลชุด ของนายเศรษฐา ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง เพราะไม่สามารถทรยศประชาชนได้ ซึ่งตนเป็นคนขอร้องประชาชนไม่ให้เลือกพรรคไทยรักไทย พรรคเพื่อไทย ไม่ใช่เพราะความขัดแย้งส่วนตัว แต่เป็นเพราะพรรคเหล่านั้น ประกาศชัดเจนที่จะพัฒนาจังหวัดที่เลือกเขาก่อน ส่วนจังหวัดอื่นไว้ทีหลัง "วิธีเหล่านี้เราไม่เคยเห็นมาก่อน นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา 90 ปี ไม่เคยมีรัฐบาลชุดไหน ไม่ว่าจะมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากการยึดอำนาจ ยิ่งพรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล จะให้ความเป็นธรรมกับทุกภาคอย่างยุติธรรม โดยไม่สนใจว่าใครจะเลือกใครเป็นรัฐบาล แต่จัดการบ้านเมืองด้วยความเป็นธรรม" "ต้องยอมรับว่าเรื่องการเลือกปฏิบัติ ผมต่อสู้มาเพียงลำพัง ด้วยการขอว่าอย่าเลือกเขานะ ไม่ได้ไปกลั่นแกล้งหรือทำร้ายอย่างที่ นายราเมศ รัตนะเชวง อดีดโฆษกพรรคฯ เคยถูกกระทำ ทำให้เขาได้รับเลือกน้อยมาก ไม่มี สส.ภาคใต้แม้แต่คนเดียว ซึ่งเป็นผลมาจากที่ผมรณรงค์ แล้ววันหนึ่งจะมาบอกให้ผมสนับสนุนพรรคที่ผมบอกว่าอย่าเลือก มันชัดเจนว่าเป็นการทรยศชาวบ้านผมทำไม่ได้ จึงขอยืนยันว่า แม้เปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรี แต่จุดยืนผมยังเหมือนเดิม" นายชวนกล่าวอีกว่า มติของพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ใช่การเห็นด้วย เพราะมีการติดต่อกันแล้ว ที่มาถามว่า เขามาเชิญ ความจริง ตนคิดว่าคนของเราไปติดต่อเขาก่อนเขาเชิญ หรือสงสัยว่าไปขอให้เขามาเชิญด้วยซ้ำ แต่ตามมารยาท ก็มาเชิญด้วยวิธีนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้าที่จะมีหนังสือเชิญ คนของเราบางคนก็ไปประสานติดต่อ จึงถูกสื่อมวลชนเรียกว่า พรรคอีแอบ พรรครอเสียบ จึงอยากขออย่าเรียกพรรคประชาธิปัตย์ แบบนี้ เพราะเป็นพฤติกรรมของคนส่วนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่คนส่วนใหญ่ "การเรียกแบบนี้ทำให้พรรคเสื่อมเสีย ตนอยากปกป้องเกียรติภูมิของพรรค เราไม่ใช่พรรคเฉพาะกิจ ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้คนใดคนหนึ่งได้เป็นนายกฯ อยู่สัก 1-2 สมัยแล้วล้มไป แต่พรรคประชาธิปัตย์ อยู่มาเกือบ 80 ปี ปฏิบัติตามอุดมการณ์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นหลักประชาธิปไตยมาอย่างยาวนาน ไม่อยากให้เสื่อมเสียด้วยการกระทำของ กก.บห.พรรคชุดปัจจุบัน" "ยอมรับว่าผมเป็นเสียงข้างน้อยในพรรคฯ ที่ชัดเจนตั้งแต่มีการลงมติเลือกนายเศรษฐาเป็นนายกฯ และผมได้หารือกับนายบัญญัติ นายจุรินทร์ และนายสรรเพชญ ว่าอย่างน้อย 4 คน จะยังคงยืนยันในจุดยืนเดิม แต่ไม่ว่ามติของพรรคฯเป็นอย่างไร ก็พร้อมจะเคารพ เพียงแต่ไม่เห็นด้วยที่จะร่วมกับพรรคการเมืองที่เคยกลั่นแกล้งประชาชน และเชื่อว่าการตัดสินใจร่วมรัฐบาลในครั้งนี้ จะส่งผลต่อฐานเสียงภาคใต้ไม่น้อย" เมื่อถามว่าคนรุ่นใหม่มองว่าหมดยุคของนายชวนแล้ว นายชวน กล่าวว่า มันไม่มีกำหนดอายุ มีคนคิดเหมือนกันว่าตนเป็นขวากหนามของเขา ทำให้ไปร่วมรัฐบาลไม่ได้ จึงพยายามพูดว่าหมดยุคของผู้อาวุโส แต่ในความจริงแล้ว ตนเป็นผู้สร้างมากกว่าผู้ทำลาย และคนที่พูดเหล่านั้นอาศัยบารมีพรรค ที่พวกตนทำเอาไว้ แต่คนเหล่านั้นยังไม่เคยทำอะไรที่เป็นประโยชน์กับพรรคเลย เพียงแต่อาศัยชื่อพรรคเพื่อเข้ามาเป็นนักการเมือง ตนก็เคยได้ยินเรื่องนี้แต่ไม่ได้โกรธ แม้กระทั่ง เรื่องที่จะขับพ้นออกจากพรรค ก็มาดูว่าใครเป็นคนพูด พอทราบก็เข้าใจเพราะเขาก็เพิ่งเข้าพรรคมาอาศัยบารมีของพรรคที่คนรุ่นก่อนเขาสะสมสร้างมา นายเฉลิมชัย เป็นหัวหน้าพรรคฯ คนที่ 9 ยังไม่ได้สร้างความน่าเชื่อถือให้พรรคฯเท่ากับรุ่นก่อน "ดังนั้น ใครที่คิดจะปลดต้องดูกฎหมาย ซึ่งไม่ได้กำหนดอายุ ผมยังคงทำหน้าที่ของตัวเองอยู่ ผมกลายเป็นคนหัวคัดค้าน ทั้งที่มีหลายคนไม่เห็นด้วย แต่เขาไม่อยากเปลืองตัว เป็นการกระทำของคนบางกลุ่ม ทำให้คนทั่วไปยังเข้าใจว่า ประชาธิปัตย์ยังพอใช้ได้อยู่ เพียงแต่คนบางกลุ่มเท่านั้นที่เข้ามาใช้ตำแหน่งในพรรคเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของตัวเอง ซึ่งคนกลุ่มนั้นไม่รู้ว่าจะทำยังไงกับผม จนพยายามจะบอกว่าขัดแย้งมาแล้ว 20 ปี จึงอยากถามว่าขัดแย้งเรื่องอะไร ไม่ได้ทะเลาะเพื่อประโยชน์ส่วนตัวกัน แต่เป็นเรื่องของประชาชน" เมื่อถามว่านายชวนจะลงสู้ศึกเลือกตั้งครั้งหน้าหรือไม่ นายชวน กล่าวว่า ไม่สามารถยืนยันชัดเจนได้ เพราะไม่อยากพูดอะไรไปล่วงหน้า #Newskit #พรรคประชาธิปัตย์ #รัฐบาลแพทองธาร
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1321 มุมมอง 0 รีวิว
  • รีโพสต์ทัศนะของ วีระ ธีรภัทร จากเพจเฟซบุ๊ก สำนักพิมพ์โรนิน 25 สิงหาคม 2567

    “ คอลัมน์ ปากท้องชาวบ้าน

    ไม่มีอะไรจะเละไปกว่านี้(แล้ว)

    แม้ว่าผมจะไม่ห่วงเรื่องอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในขณะนี้ก็ตาม

    แต่ก็อดคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๔ ไม่ได้

    หลังการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมในปีนั้น พรรคเพื่อไทยเอาชนะพรรคประชาธิปัตย์แบบถล่มทลายสามารถจัดตั้งรัฐบาลโดยมีคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีได้สำเร็จ

    อุทกภัยน้ำท่วมใหญ่ตามมาพร้อมกับการเป็นรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นั่นเลยกลายเป็นบททดสอบความสามารถในการบริหารจัดการของรัฐบาลใหม่แบบชนิดไม่ทันได้ตั้งตัว

    ผลเป็นไงคงพอจำกันได้

    บัดนี้เราได้รัฐบาลใหม่ มีคุณแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี แม้ว่าในขณะนี้ยังยุ่งขิงอยู่กับการสรรหาบุคคลมาเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลไม่เสร็จ (อันนี้เละเทะมาก) ยังไม่สามารถเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มรูปแบบ

    แต่น้ำเหนือก็หลากมาแล้ว แม้จะไม่น่ากลัวสำหรับคนกรุงเทพและปริมณฑลเหมือนกับเมื่อสิบสามปีก่อนหน้านี้ก็ตามที

    อะไรมันจะซ้ำซากกันได้ถึงขนาดนี้

    แต่นั่นก็ไม่ใช่ประเด็นข้อใหญ่ในความของเรื่องที่ผมจะคุยอะไรให้ฟังวันนี้ ครับ

    ในช่วงหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมามีอะไรต่อมิอะไรเกิดขึ้นมากมาย หลายเรื่องไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ถึงขนาดนั้น แม้ผมจะพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุพอสมควร

    ผมเลยอยากจะเล่าอะไรต่อมิอะไรให้คุณฟังแบบเพลินๆ เท่าที่จะคิดได้เป็นสำคัญ

    แน่นอนล่ะครับว่ารายการ Vision For Thailand ในช่วงหัวค่ำของคืนวันพฤหัสบดีที่ ๒๒ สิงหาคมที่คุณทักษิณ ชินวัตร ไปแสดงวิสัยทัศน์ท่ามกลางคนมีอำนาจในแวดวงการเมืองและธุรกิจภาคเอกชนจำนวนมากนั้น ย่อมอยู่ในความสนใจของผู้คน จนลืมกันไปหมดว่าวันดังกล่าวตรงกับวันครบรอบหนึ่งปีของการเดินทางกลับประเทศไทยของคุณทักษิณ

    ความเป็นคุณทักษิณ ความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของพรรคเพื่อไทย และด้วยอำนาจวาสนาบารมีที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แม้จะพร่องไปบ้างในช่วงสิบห้าปีที่ลี้ภัยทางการเมืองในต่างแดน

    สิ่งที่คุณทักษิณคิดจึงมองข้ามไม่ได้

    ทักษิณคิดเพื่อไทยทำอย่างที่รู้ๆ กัน

    ผมและคนอื่นๆ อีกไม่น้อยจึงเสียยอมเวลาฟังสิ่งที่คุณทักษิณคิดและอยากให้เกิดกับสังคมไทยในอนาคตตลอดหนึ่งชั่วโมงเศษที่แกคุยอยู่คนเดียวด้วยความตั้งอกตั้งใจ

    สำหรับผมสิ่งที่คุณทักษิณคิดออกมาดังๆ ไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นประเด็นปัญหาที่เราพอรู้พอทราบกันอยู่ แต่ความน่าสนใจอยู่ตรงที่ว่าสิ่งที่คุณทักษิณ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจะเอาไปทำหรืออย่างน้อยก็เอาไปคิดต่อว่าจะทำต่อไปเป็นประเด็นที่น่าสนใจมากเป็นพิเศษ

    ตรงนี้จึงมีความหมายมากกว่าการแสดงความคิดเห็นของคนทั่วไป

    แม้ว่าข้อเสนอจำนวนมากเป็นเรื่องที่ผมพอทราบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง โครงการดิจิทัลวอลเลต การชี้นำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยลดดอกเบี้ยและเพิ่มการให้สินเชื่อเพื่อเป็นการเติมสภาพคล่องให้กับภาคเศรษฐกิจ โครงการแลนด์บริดจ์ โครงการค่าโดยสารรถไฟฟ้า ๒๐ บาทตลอดสาย โครงการเอ็นเทอร์เทนเมนท์คอมเพล็กซ์ กองทุนวายุภักษ์ ฯลฯ ล้วนเป็นประเด็นที่จะต้องมีการตัดสินใจและขับเคลื่อนกันต่อไปในรัฐบาลของคุณแพทองธาร ชินวัตร ต่อไป

    นี่จึงเป็นข้อเสนอคำแนะนำที่ไม่ธรรมดาเพราะสามารถจะกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลได้อย่างแยบคาย

    ผมจะไม่วิพากษ์วิจารณ์อะไรในเรื่องที่ว่าในตอนนี้ อยากจะรอดูก่อนว่าข้อเสนอดังกล่าวจะกลายเป็นนโยบายและมาตรการของรัฐบาลคุณแพทองธารในเนื้อหารายละเอียดอย่างไรให้ชัดเจนเสียก่อน

    แถมอันที่จริงแล้วในช่วงนี้ต้องบอกว่า ผมอยู่ในช่วงที่ผ่อนคลายมากมีเวลาเหลือมากขึ้น แถมได้ทำสิ่งที่ไม่ได้ทำมานานมากแล้วอีกต่างหาก

    ลำดับแรกเลย งานในฐานะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ซึ่งผมต้องไปประชุมรวมกันถึง ๔๐ ครั้งตลอดระยะเวลาสองเดือนเต็มๆ ที่ผ่านมา (นับหนึ่งวันจันทร์ที่ ๒๔ มิถุนายน) ถือว่าจบสิ้นแล้วในแง่ของกระบวนการพิจารณา แม้ยังไม่จบเสียทีเดียวเพราะต้องมีพิธีกรรมอีกเล็กน้อยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์หน้า

    วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคมจะเป็นการประชุมครั้งที่ ๔๑ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของกรรมาธิการเพื่อตรวจทานและลงมติรับร่างพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ว่าจะเอาแบบไหน? อย่างไร? โดยมีกรรมาธิการและสส.จำนวนไม่น้อย ได้สงวนความเห็นและขอแปรญัตติเพื่อจะไปอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะมีการลงมติให้ความเห็นชอบในวาระที่ ๒ และ ๓ ในช่วงวันที่ ๓-๕ กันยายนที่จะถึงนี้

    อันนี้น่าสนใจติดตามฟังกันครับ

    งานที่ว่านี้ดำเนินไปโดยยังไม่มีรัฐบาลใหม่ มีแต่เพียงนายกรัฐมนตรีที่ยังไม่สามารถเข้าปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินได้

    นี่ต้องบอกว่าเป็นเรื่องแปลก แม้ผมจะเข้าใจว่าทำไมถึงเป็นเช่นนั้นก็ตามที

    ลำดับถัดมา ผมไปร่วมรายการ BOT Press Trip 2024 ที่โรงแรม Andaz แถวหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี แม้จะห่างเหินจากการไปร่วมงานในฐานะสื่อมวลชนกับธนาคารแห่งประเทศไทยแบบนี้มานานมากแล้ว แต่ที่ผมอยากไปก็เพราะว่างานนี้มีประเด็นที่ผมอยากสอบถามให้แน่ใจว่าอะไรเป็นอะไรจากปากของผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นโอกาสดีมากเพราะว่าไปกันครบถ้วนเกือบทั้งหมด เหมือนเราไปเดินห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อของที่ต้องการได้ทั้งหมดในสถานที่เพียงแห่งเดียว

    ผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย นำโดยคุณเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ปีหน้าครบวาระห้าปีเป็นต่อไม่ได้) พร้อมกับรองผู้ว่าการและผู้ช่วยผู้ว่าการ ๑๑ คนโดยไม่รวมระดับผู้บริหารระดับปฏิบัติการในฝ่ายต่างๆ ที่มากันเป็นกองทัพ

    อะไรที่ผมสงสัยไม่แน่ใจในเรื่องนโยบายการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยบริหารจัดการอยู่ในเวลานี้ จึงถือโอกาสไปร่วมงานนี้ สอบถามพูดคุยกับคนที่ดูแลนโยบายและคนที่ลงมือปฏิบัติการจริงเพื่อให้เกิดความชัดเจนและได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน

    เอาเป็นว่าเรื่องระหว่างรัฐบาล กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่เคยปีนเกลียวกันในช่วงรัฐบาลคุณเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมาและที่อาจจะมีการปะทะปะทั่งกันในช่วงรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร ในอนาคตอันใกล้นี้

    ผมพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุแล้ว

    เรื่องหลายเรื่องที่รัฐบาลอยากทำแล้วทำไม่ได้ เรื่องหลายเรื่องที่ถกเถียงกันระหว่างรัฐบาลกับธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าควรทำแบบไหนไม่ควรทำแบบไหน ไม่ว่าจะเป็นโครงการดิจิตอลวอลเลต การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโบบาย ฯลฯ

    การได้พูดคุยกับคนที่เกี่ยวข้องโดยตรง ทำให้ผมพอปะติดปะต่อภาพได้เกือบครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว

    จะเอาไปทำอะไรต่อที่ไหน? อย่างไร? และเมื่อไหร่? เดี๋ยวค่อยมาว่ากันครับ

    ผมยังมีเรื่องอยากจะเล่าให้ฟังเพิ่มเติมแบบลงรายละเอียดสักหน่อย เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลเอาไว้ตรงนี้เพื่อให้คุณๆ ได้ติดตามความเป็นไปของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังได้อย่างครบถ้วนอยู่เรื่องหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นควรรู้ควรทราบอย่างยิ่ง

    เรื่องของเรื่องก็คือในช่วงสุดท้ายของการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางรัฐบาลโดยสำนักงบประมาณได้เสนอขอเปลี่ยนแปลงรายการจัดสรรเงินงบประมาณให้กับรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งเป็นเงินรวมกัน ๓๕,๐๐๐ ล้านบาท

    รายการที่ว่านั้นเป็นการตั้งงบประมาณชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ให้หน่วยงานของรัฐออกเงินไปให้ก่อนตามมาตรา ๒๘ ของพรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยโอนย้ายไปเป็นรายการในงบกลางแทน โดยระบุว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข็มแข็งของเศรษฐกิจ (อันนี้เป็นชื่อของโครงการดิจิตอลวอลเลตที่รัฐบาลจะทำในเอกสารงบประมาณ) เพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ๑๕๒,๗๐๐ ล้านบาท

    นั่นเลยทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการดิจิตอลวอลเลตในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๘ เพิ่มเป็น ๑๘๗,๗๐๐ ล้านบาทเรียบร้อยแล้ว แต่จะหาจากไหนสำหรับส่วนที่เหลืออีก ๙๗,๓๐๐ ล้านบาทเพื่อให้ครบ ๒๘๕,๐๐๐ ล้านบาท

    อันนี้น่าสนใจ

    ผมอยากให้ข้อมูลตรงนี้เพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงโอนย้ายรายจ่ายที่จะจัดสรรให้รัฐวิหาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งที่ว่าไปไว้ที่อื่นนั้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรดูเหมือนจะเจอหนักกว่าใครเพื่อน เพราะเงินที่คาดว่าจะได้รับการชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ธ.ก.ส.แบกรับภาระอยู่ประมาณ ๓๑,๒๐๐ ล้านบาท (จากยอดทั้งหมดประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ล้านบาท) จะถูกเลื่อนออกไป

    แบบนี้อธิบายแบบชาวบ้านก็คือรัฐบาลขอต๊ะหนี้ที่มีกับธ.ก.ส.ไว้ก่อน ส่วนจะชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยให้เมื่อไหร่? ค่อยไปว่ากันในอนาคต

    เรื่องนี้ผมคัดค้านอย่างเต็มที่ตอนที่ถกเถียงกันในที่ประชุมของคณะกรรมาธิการฯ

    แต่เมื่อเสียงข้างมากของกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยเฉพาะกรรมาธิการที่มาในสัดส่วนของคณะรัฐมนตรีและพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาลได้ลงมติให้เป็นไปตามนั้น ผมจึงกลายเป็นกรรมาธิการเสียงข้างน้อยในกรณีนี้

    แม้ว่าเรื่องนี้ยังไม่จบจะต้องไปว่ากันต่อในที่ประชุมวาระที่ ๒ และ ๓ เพื่อให้สส.ลงมติให้ความเห็นชอบสุดท้ายก็ตามที

    แต่เรื่องนี้บอกเราได้อย่างหนึ่งว่าโครงการดิจิตอลวอลเลตยังเดินหน้าเต็มตัว แม้จะปรับเปลี่ยนไปเป็นการจ่ายเงินสดให้กลุ่มเปราะบางไปก่อนในเฟสแรกหรือระลอกแรก (หลักๆ คือผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐของผู้มีรายได้น้อย) ทั้งเพื่อให้ทันใช้เงินให้หมดภายในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๗ ซึ่งจะสิ้นสุดภายในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้

    ส่วนจะเป็นเท่าไหร่กันแน่ระหว่างวงเงิน ๑๔๕,๐๐๐ หรือ ๑๖๕,๐๐๐ ล้านบาทนั้นคงต้องรอรัฐบาลแถลงนโยบายรัฐสภาต่อไปถึงจะชัดเจน

    พายุหมุนทางเศรษฐกิจที่พูดๆ กันก่อนหน้านี้คงไม่ใช่แล้วสำหรับตอนนี้

    แต่ก็อย่างที่บอกมาโดยตลอดแหละครับว่า ผมจะไม่หมกมุ่นอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งนานเกินความจำเป็น

    แม้จะมีเรื่องอะไรต่อมิอะไรมากมายอย่างที่ว่าก็จริง แต่ผมก็แบ่งเวลาเพื่อทำงานที่ผมชอบอยู่เสมอ โชคดีว่าเมื่อวันศุกร์ก่อนที่จะเดินทางมาหาดจอมเทียน เพื่อร่วมงานกับธนาคารแห่งประเทศไทย ทางสำนักพิมพ์โรนินได้ส่งต้นฉบับหนังสือสองเล่มมาให้ผมตรวจทานรอบสุดท้าย

    เที่ยวเขมรฉบับพกพา และ ส่องภาพเขียนที่รัสเซีย

    ผมก็เลยเพลิดเพลินกับการอ่านหนังสือเล่มตัวอย่างก่อนที่จะส่งไปให้สำนักพิมพ์ไปจัดการให้ทางโรงพิมพ์ดำเนินการพิมพ์เพื่อจำหน่ายจ่ายแจกต่ออีกทอดในอนาคต

    แต่ที่น่ายินดีเป็นที่สุดก็คือเมื่อจบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๖๘ ในช่วงต้นเดือนกันยายน (วันที่ ๓-๕ กันยายน) ก็ได้เวลาที่ผมจะไปพักผ่อนปลีกวิเวกเป็นการชั่วคราวที่ญี่ปุ่น (ดูภาพเขียน-ออนเซน) พร้อมกับวางแผนเดินทางไปรัสเซีย (ดูภาพเขียนกับเที่ยวชมเมือง) ในช่วงต้นเดือนตุลาคม และเตรียมการจะไปเที่ยวเขมรนครวัด-นครธมในช่วงต้นเดือนธันวาคมนี้ไปพร้อมกันด้วย

    พ้นจากนั้นจะไปทำอะไรที่ไหนค่อยว่ากันใหม่

    เมื่อมองย้อนกลับไปดูสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี ๒๕๖๗ มาจนถึงตอนนี้ ต้องบอกเลยว่าปีนี้เป็นปีที่ดีอีกปีหนึ่งของผม ได้ทำอะไรเยอะแยะไปหมด สะสางงานเก่าเริ่มงานใหม่และก้าวเข้าไปในพรมแดนใหม่ที่ไม่เคยคิดว่าจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอีกต่างหาก

    แม้ว่าบ้านเมืองของเรายามนี้ จะไม่มีอะไรให้เละมากไปกว่านี้ได้แล้วก็ตามที

    การเจริญอุเบกขาธรรมจึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดครับ


    ป.ล. เรื่องการฟอร์มคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร นี่ต้องบอกว่าไม่ง่ายเลยครับ งานนี้เราต้องปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเมืองไทย อย่าเพิ่งรำคาญอย่าไปหงุดหงิด แม้จะดูแล้วเละตุ้มเป๊ะได้ถึงขนาดนี้ พรรคพลังประชารัฐกับพรรคประชาธิปัตย์จะพาตัวเองให้รอดจากสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นความขัดแย้งรุนแรงในภายพรรคในเวลานี้ เพราะประเด็นการร่วมรัฐบาลของพรรคและการเป็นรัฐมนตรีของผู้บริหารของพรรคได้อย่างไร คงจะมีคำตอบภายในเร็ววันนี้

    การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐในช่วงวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายนที่จะถึงนี้ ถ้าหากฟังจากที่นายเจอโรม พาวเวล (Jerome Powell) ประธานธนาคารกลางไปพูดที่เมืองตากอากาศแจคสันโฮล ในรัฐไวโอมิงว่าถึงเวลาต้องปรับนโยบายการเงินด้วยการลดดอกเบี้ยนโยบายได้แล้ว เพราะหมดห่วงเรื่องเงินเฟ้อแล้ว แต่มาห่วงเรื่องการว่างงานแทนจึงทำให้ต้องลดดอกเบี้ย นั่นก็หมายความว่าการลดอัตราดอกเบี้ยนนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐที่กำหนดไว้ร้อยละ ๕.๒๕-๕.๕๐ ในปัจจุบันจะเริ่มแล้วตั้งแต่เดือนกันยายนนี้เป็นต้นไป จะลดมากน้อยลดเร็วช้าแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับทิศทางของดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาลงอย่างชัดเจน

    ค่าเงิน หุ้น และอะไรที่ผูกโยงกับนโยบายการเงินของสหรัฐคงต้องปรับตัวตามไปด้วย

    สำหรับบ้านเราอัตราดอกเบี้ยนโยบายซึ่งในปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ ๒.๕๐ นั้น เท่าที่ฟังจากเกณฑ์ในการตัดสินเรื่องนี้จากผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นกรรมการเสียงข้างน้อยในคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่เจอกันสุดสัปดาห์นี้ คิดว่าคงยังไม่ถึงเวลาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายครับ

    งานนี้คงต้องมีเรื่องมีราวเรื่องลดไม่ลดดอกเบี้ยระหว่างรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร กับธนาคารแห่งประเทศไทยไปอีกสักระยะหนึ่งครับ

    บันทึกเอาไว้กันลืมว่าเดือนสิงหาคม มีผู้นำสามประเทศในเอเชียต้องเผชิญชะตากรรมที่ทำให้พ้นจากตำแหน่งแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นบังกลาเทศ (เหมือน ๑๔ ตุลาคมปี ๒๕๑๖ ในบ้านเรา) ไทย (คงไม่ต้องบอกอะไรเพิ่มเติม) และญี่ปุ่น ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีฟูมิโอ คิชิดะ (Fumio Kishida) ได้ประกาศวางมือลงจากตำแหน่ง ส่วนกระบวนการคัดเลือกคนมาเป็นนายกรัฐมนตรีของพรรคเสรีประชาธิปไตย (LDP) ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลของเขาน่าสนใจครับ ถ้ามีเวลาจะหาโอกาสมาคุยให้ฟัง

    ขอจบลงตรงนี้ด้วยการแจ้งให้ทราบว่าพรบ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณพ.ศ๒๕๖๗ วงเงิน ๑๒๒,๐๐๐ ล้านบาทมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ ๒๓ สิงหาคม หลังจากได้นำประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ ๒๒ สิงหาคมที่ผ่านมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

    ใครที่รอแจกเงินสดเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ

    แต่ไม่ใช่โครงการดิจิตอลเลตเตรียมรับได้เลย


    วีระ ธีรภัทร
    วันอาทิตย์ที่ ๒๕ สิงหาคม 2567”

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/ZPvoLGVkV5QkhJNR/?mibextid=CTbP7E

    Thaitimes
    รีโพสต์ทัศนะของ วีระ ธีรภัทร จากเพจเฟซบุ๊ก สำนักพิมพ์โรนิน 25 สิงหาคม 2567 “ คอลัมน์ ปากท้องชาวบ้าน ไม่มีอะไรจะเละไปกว่านี้(แล้ว) แม้ว่าผมจะไม่ห่วงเรื่องอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในขณะนี้ก็ตาม แต่ก็อดคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๔ ไม่ได้ หลังการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมในปีนั้น พรรคเพื่อไทยเอาชนะพรรคประชาธิปัตย์แบบถล่มทลายสามารถจัดตั้งรัฐบาลโดยมีคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีได้สำเร็จ อุทกภัยน้ำท่วมใหญ่ตามมาพร้อมกับการเป็นรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นั่นเลยกลายเป็นบททดสอบความสามารถในการบริหารจัดการของรัฐบาลใหม่แบบชนิดไม่ทันได้ตั้งตัว ผลเป็นไงคงพอจำกันได้ บัดนี้เราได้รัฐบาลใหม่ มีคุณแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี แม้ว่าในขณะนี้ยังยุ่งขิงอยู่กับการสรรหาบุคคลมาเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลไม่เสร็จ (อันนี้เละเทะมาก) ยังไม่สามารถเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มรูปแบบ แต่น้ำเหนือก็หลากมาแล้ว แม้จะไม่น่ากลัวสำหรับคนกรุงเทพและปริมณฑลเหมือนกับเมื่อสิบสามปีก่อนหน้านี้ก็ตามที อะไรมันจะซ้ำซากกันได้ถึงขนาดนี้ แต่นั่นก็ไม่ใช่ประเด็นข้อใหญ่ในความของเรื่องที่ผมจะคุยอะไรให้ฟังวันนี้ ครับ ในช่วงหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมามีอะไรต่อมิอะไรเกิดขึ้นมากมาย หลายเรื่องไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ถึงขนาดนั้น แม้ผมจะพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุพอสมควร ผมเลยอยากจะเล่าอะไรต่อมิอะไรให้คุณฟังแบบเพลินๆ เท่าที่จะคิดได้เป็นสำคัญ แน่นอนล่ะครับว่ารายการ Vision For Thailand ในช่วงหัวค่ำของคืนวันพฤหัสบดีที่ ๒๒ สิงหาคมที่คุณทักษิณ ชินวัตร ไปแสดงวิสัยทัศน์ท่ามกลางคนมีอำนาจในแวดวงการเมืองและธุรกิจภาคเอกชนจำนวนมากนั้น ย่อมอยู่ในความสนใจของผู้คน จนลืมกันไปหมดว่าวันดังกล่าวตรงกับวันครบรอบหนึ่งปีของการเดินทางกลับประเทศไทยของคุณทักษิณ ความเป็นคุณทักษิณ ความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของพรรคเพื่อไทย และด้วยอำนาจวาสนาบารมีที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แม้จะพร่องไปบ้างในช่วงสิบห้าปีที่ลี้ภัยทางการเมืองในต่างแดน สิ่งที่คุณทักษิณคิดจึงมองข้ามไม่ได้ ทักษิณคิดเพื่อไทยทำอย่างที่รู้ๆ กัน ผมและคนอื่นๆ อีกไม่น้อยจึงเสียยอมเวลาฟังสิ่งที่คุณทักษิณคิดและอยากให้เกิดกับสังคมไทยในอนาคตตลอดหนึ่งชั่วโมงเศษที่แกคุยอยู่คนเดียวด้วยความตั้งอกตั้งใจ สำหรับผมสิ่งที่คุณทักษิณคิดออกมาดังๆ ไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นประเด็นปัญหาที่เราพอรู้พอทราบกันอยู่ แต่ความน่าสนใจอยู่ตรงที่ว่าสิ่งที่คุณทักษิณ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจะเอาไปทำหรืออย่างน้อยก็เอาไปคิดต่อว่าจะทำต่อไปเป็นประเด็นที่น่าสนใจมากเป็นพิเศษ ตรงนี้จึงมีความหมายมากกว่าการแสดงความคิดเห็นของคนทั่วไป แม้ว่าข้อเสนอจำนวนมากเป็นเรื่องที่ผมพอทราบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง โครงการดิจิทัลวอลเลต การชี้นำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยลดดอกเบี้ยและเพิ่มการให้สินเชื่อเพื่อเป็นการเติมสภาพคล่องให้กับภาคเศรษฐกิจ โครงการแลนด์บริดจ์ โครงการค่าโดยสารรถไฟฟ้า ๒๐ บาทตลอดสาย โครงการเอ็นเทอร์เทนเมนท์คอมเพล็กซ์ กองทุนวายุภักษ์ ฯลฯ ล้วนเป็นประเด็นที่จะต้องมีการตัดสินใจและขับเคลื่อนกันต่อไปในรัฐบาลของคุณแพทองธาร ชินวัตร ต่อไป นี่จึงเป็นข้อเสนอคำแนะนำที่ไม่ธรรมดาเพราะสามารถจะกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลได้อย่างแยบคาย ผมจะไม่วิพากษ์วิจารณ์อะไรในเรื่องที่ว่าในตอนนี้ อยากจะรอดูก่อนว่าข้อเสนอดังกล่าวจะกลายเป็นนโยบายและมาตรการของรัฐบาลคุณแพทองธารในเนื้อหารายละเอียดอย่างไรให้ชัดเจนเสียก่อน แถมอันที่จริงแล้วในช่วงนี้ต้องบอกว่า ผมอยู่ในช่วงที่ผ่อนคลายมากมีเวลาเหลือมากขึ้น แถมได้ทำสิ่งที่ไม่ได้ทำมานานมากแล้วอีกต่างหาก ลำดับแรกเลย งานในฐานะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ซึ่งผมต้องไปประชุมรวมกันถึง ๔๐ ครั้งตลอดระยะเวลาสองเดือนเต็มๆ ที่ผ่านมา (นับหนึ่งวันจันทร์ที่ ๒๔ มิถุนายน) ถือว่าจบสิ้นแล้วในแง่ของกระบวนการพิจารณา แม้ยังไม่จบเสียทีเดียวเพราะต้องมีพิธีกรรมอีกเล็กน้อยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์หน้า วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคมจะเป็นการประชุมครั้งที่ ๔๑ ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของกรรมาธิการเพื่อตรวจทานและลงมติรับร่างพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ ว่าจะเอาแบบไหน? อย่างไร? โดยมีกรรมาธิการและสส.จำนวนไม่น้อย ได้สงวนความเห็นและขอแปรญัตติเพื่อจะไปอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะมีการลงมติให้ความเห็นชอบในวาระที่ ๒ และ ๓ ในช่วงวันที่ ๓-๕ กันยายนที่จะถึงนี้ อันนี้น่าสนใจติดตามฟังกันครับ งานที่ว่านี้ดำเนินไปโดยยังไม่มีรัฐบาลใหม่ มีแต่เพียงนายกรัฐมนตรีที่ยังไม่สามารถเข้าปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินได้ นี่ต้องบอกว่าเป็นเรื่องแปลก แม้ผมจะเข้าใจว่าทำไมถึงเป็นเช่นนั้นก็ตามที ลำดับถัดมา ผมไปร่วมรายการ BOT Press Trip 2024 ที่โรงแรม Andaz แถวหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี แม้จะห่างเหินจากการไปร่วมงานในฐานะสื่อมวลชนกับธนาคารแห่งประเทศไทยแบบนี้มานานมากแล้ว แต่ที่ผมอยากไปก็เพราะว่างานนี้มีประเด็นที่ผมอยากสอบถามให้แน่ใจว่าอะไรเป็นอะไรจากปากของผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นโอกาสดีมากเพราะว่าไปกันครบถ้วนเกือบทั้งหมด เหมือนเราไปเดินห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อของที่ต้องการได้ทั้งหมดในสถานที่เพียงแห่งเดียว ผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย นำโดยคุณเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ปีหน้าครบวาระห้าปีเป็นต่อไม่ได้) พร้อมกับรองผู้ว่าการและผู้ช่วยผู้ว่าการ ๑๑ คนโดยไม่รวมระดับผู้บริหารระดับปฏิบัติการในฝ่ายต่างๆ ที่มากันเป็นกองทัพ อะไรที่ผมสงสัยไม่แน่ใจในเรื่องนโยบายการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยบริหารจัดการอยู่ในเวลานี้ จึงถือโอกาสไปร่วมงานนี้ สอบถามพูดคุยกับคนที่ดูแลนโยบายและคนที่ลงมือปฏิบัติการจริงเพื่อให้เกิดความชัดเจนและได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน เอาเป็นว่าเรื่องระหว่างรัฐบาล กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่เคยปีนเกลียวกันในช่วงรัฐบาลคุณเศรษฐา ทวีสิน ที่ผ่านมาและที่อาจจะมีการปะทะปะทั่งกันในช่วงรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร ในอนาคตอันใกล้นี้ ผมพอเข้าใจต้นสายปลายเหตุแล้ว เรื่องหลายเรื่องที่รัฐบาลอยากทำแล้วทำไม่ได้ เรื่องหลายเรื่องที่ถกเถียงกันระหว่างรัฐบาลกับธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าควรทำแบบไหนไม่ควรทำแบบไหน ไม่ว่าจะเป็นโครงการดิจิตอลวอลเลต การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโบบาย ฯลฯ การได้พูดคุยกับคนที่เกี่ยวข้องโดยตรง ทำให้ผมพอปะติดปะต่อภาพได้เกือบครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว จะเอาไปทำอะไรต่อที่ไหน? อย่างไร? และเมื่อไหร่? เดี๋ยวค่อยมาว่ากันครับ ผมยังมีเรื่องอยากจะเล่าให้ฟังเพิ่มเติมแบบลงรายละเอียดสักหน่อย เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลเอาไว้ตรงนี้เพื่อให้คุณๆ ได้ติดตามความเป็นไปของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังได้อย่างครบถ้วนอยู่เรื่องหนึ่งที่สำคัญและจำเป็นควรรู้ควรทราบอย่างยิ่ง เรื่องของเรื่องก็คือในช่วงสุดท้ายของการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๘ เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางรัฐบาลโดยสำนักงบประมาณได้เสนอขอเปลี่ยนแปลงรายการจัดสรรเงินงบประมาณให้กับรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งเป็นเงินรวมกัน ๓๕,๐๐๐ ล้านบาท รายการที่ว่านั้นเป็นการตั้งงบประมาณชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ให้หน่วยงานของรัฐออกเงินไปให้ก่อนตามมาตรา ๒๘ ของพรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยโอนย้ายไปเป็นรายการในงบกลางแทน โดยระบุว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างความเข็มแข็งของเศรษฐกิจ (อันนี้เป็นชื่อของโครงการดิจิตอลวอลเลตที่รัฐบาลจะทำในเอกสารงบประมาณ) เพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ๑๕๒,๗๐๐ ล้านบาท นั่นเลยทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการดิจิตอลวอลเลตในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๘ เพิ่มเป็น ๑๘๗,๗๐๐ ล้านบาทเรียบร้อยแล้ว แต่จะหาจากไหนสำหรับส่วนที่เหลืออีก ๙๗,๓๐๐ ล้านบาทเพื่อให้ครบ ๒๘๕,๐๐๐ ล้านบาท อันนี้น่าสนใจ ผมอยากให้ข้อมูลตรงนี้เพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงโอนย้ายรายจ่ายที่จะจัดสรรให้รัฐวิหาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินของรัฐ ๕ แห่งที่ว่าไปไว้ที่อื่นนั้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรดูเหมือนจะเจอหนักกว่าใครเพื่อน เพราะเงินที่คาดว่าจะได้รับการชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยที่ธ.ก.ส.แบกรับภาระอยู่ประมาณ ๓๑,๒๐๐ ล้านบาท (จากยอดทั้งหมดประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ล้านบาท) จะถูกเลื่อนออกไป แบบนี้อธิบายแบบชาวบ้านก็คือรัฐบาลขอต๊ะหนี้ที่มีกับธ.ก.ส.ไว้ก่อน ส่วนจะชำระคืนเงินต้นและชดเชยดอกเบี้ยให้เมื่อไหร่? ค่อยไปว่ากันในอนาคต เรื่องนี้ผมคัดค้านอย่างเต็มที่ตอนที่ถกเถียงกันในที่ประชุมของคณะกรรมาธิการฯ แต่เมื่อเสียงข้างมากของกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยเฉพาะกรรมาธิการที่มาในสัดส่วนของคณะรัฐมนตรีและพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาลได้ลงมติให้เป็นไปตามนั้น ผมจึงกลายเป็นกรรมาธิการเสียงข้างน้อยในกรณีนี้ แม้ว่าเรื่องนี้ยังไม่จบจะต้องไปว่ากันต่อในที่ประชุมวาระที่ ๒ และ ๓ เพื่อให้สส.ลงมติให้ความเห็นชอบสุดท้ายก็ตามที แต่เรื่องนี้บอกเราได้อย่างหนึ่งว่าโครงการดิจิตอลวอลเลตยังเดินหน้าเต็มตัว แม้จะปรับเปลี่ยนไปเป็นการจ่ายเงินสดให้กลุ่มเปราะบางไปก่อนในเฟสแรกหรือระลอกแรก (หลักๆ คือผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐของผู้มีรายได้น้อย) ทั้งเพื่อให้ทันใช้เงินให้หมดภายในปีงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๗ ซึ่งจะสิ้นสุดภายในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้ ส่วนจะเป็นเท่าไหร่กันแน่ระหว่างวงเงิน ๑๔๕,๐๐๐ หรือ ๑๖๕,๐๐๐ ล้านบาทนั้นคงต้องรอรัฐบาลแถลงนโยบายรัฐสภาต่อไปถึงจะชัดเจน พายุหมุนทางเศรษฐกิจที่พูดๆ กันก่อนหน้านี้คงไม่ใช่แล้วสำหรับตอนนี้ แต่ก็อย่างที่บอกมาโดยตลอดแหละครับว่า ผมจะไม่หมกมุ่นอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งนานเกินความจำเป็น แม้จะมีเรื่องอะไรต่อมิอะไรมากมายอย่างที่ว่าก็จริง แต่ผมก็แบ่งเวลาเพื่อทำงานที่ผมชอบอยู่เสมอ โชคดีว่าเมื่อวันศุกร์ก่อนที่จะเดินทางมาหาดจอมเทียน เพื่อร่วมงานกับธนาคารแห่งประเทศไทย ทางสำนักพิมพ์โรนินได้ส่งต้นฉบับหนังสือสองเล่มมาให้ผมตรวจทานรอบสุดท้าย เที่ยวเขมรฉบับพกพา และ ส่องภาพเขียนที่รัสเซีย ผมก็เลยเพลิดเพลินกับการอ่านหนังสือเล่มตัวอย่างก่อนที่จะส่งไปให้สำนักพิมพ์ไปจัดการให้ทางโรงพิมพ์ดำเนินการพิมพ์เพื่อจำหน่ายจ่ายแจกต่ออีกทอดในอนาคต แต่ที่น่ายินดีเป็นที่สุดก็คือเมื่อจบการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณปีพ.ศ.๒๕๖๘ ในช่วงต้นเดือนกันยายน (วันที่ ๓-๕ กันยายน) ก็ได้เวลาที่ผมจะไปพักผ่อนปลีกวิเวกเป็นการชั่วคราวที่ญี่ปุ่น (ดูภาพเขียน-ออนเซน) พร้อมกับวางแผนเดินทางไปรัสเซีย (ดูภาพเขียนกับเที่ยวชมเมือง) ในช่วงต้นเดือนตุลาคม และเตรียมการจะไปเที่ยวเขมรนครวัด-นครธมในช่วงต้นเดือนธันวาคมนี้ไปพร้อมกันด้วย พ้นจากนั้นจะไปทำอะไรที่ไหนค่อยว่ากันใหม่ เมื่อมองย้อนกลับไปดูสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นปี ๒๕๖๗ มาจนถึงตอนนี้ ต้องบอกเลยว่าปีนี้เป็นปีที่ดีอีกปีหนึ่งของผม ได้ทำอะไรเยอะแยะไปหมด สะสางงานเก่าเริ่มงานใหม่และก้าวเข้าไปในพรมแดนใหม่ที่ไม่เคยคิดว่าจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอีกต่างหาก แม้ว่าบ้านเมืองของเรายามนี้ จะไม่มีอะไรให้เละมากไปกว่านี้ได้แล้วก็ตามที การเจริญอุเบกขาธรรมจึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดครับ ป.ล. เรื่องการฟอร์มคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร นี่ต้องบอกว่าไม่ง่ายเลยครับ งานนี้เราต้องปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเมืองไทย อย่าเพิ่งรำคาญอย่าไปหงุดหงิด แม้จะดูแล้วเละตุ้มเป๊ะได้ถึงขนาดนี้ พรรคพลังประชารัฐกับพรรคประชาธิปัตย์จะพาตัวเองให้รอดจากสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นความขัดแย้งรุนแรงในภายพรรคในเวลานี้ เพราะประเด็นการร่วมรัฐบาลของพรรคและการเป็นรัฐมนตรีของผู้บริหารของพรรคได้อย่างไร คงจะมีคำตอบภายในเร็ววันนี้ การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐในช่วงวันที่ ๑๗-๑๘ กันยายนที่จะถึงนี้ ถ้าหากฟังจากที่นายเจอโรม พาวเวล (Jerome Powell) ประธานธนาคารกลางไปพูดที่เมืองตากอากาศแจคสันโฮล ในรัฐไวโอมิงว่าถึงเวลาต้องปรับนโยบายการเงินด้วยการลดดอกเบี้ยนโยบายได้แล้ว เพราะหมดห่วงเรื่องเงินเฟ้อแล้ว แต่มาห่วงเรื่องการว่างงานแทนจึงทำให้ต้องลดดอกเบี้ย นั่นก็หมายความว่าการลดอัตราดอกเบี้ยนนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐที่กำหนดไว้ร้อยละ ๕.๒๕-๕.๕๐ ในปัจจุบันจะเริ่มแล้วตั้งแต่เดือนกันยายนนี้เป็นต้นไป จะลดมากน้อยลดเร็วช้าแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับทิศทางของดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาลงอย่างชัดเจน ค่าเงิน หุ้น และอะไรที่ผูกโยงกับนโยบายการเงินของสหรัฐคงต้องปรับตัวตามไปด้วย สำหรับบ้านเราอัตราดอกเบี้ยนโยบายซึ่งในปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ ๒.๕๐ นั้น เท่าที่ฟังจากเกณฑ์ในการตัดสินเรื่องนี้จากผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นกรรมการเสียงข้างน้อยในคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่เจอกันสุดสัปดาห์นี้ คิดว่าคงยังไม่ถึงเวลาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายครับ งานนี้คงต้องมีเรื่องมีราวเรื่องลดไม่ลดดอกเบี้ยระหว่างรัฐบาลคุณแพทองธาร ชินวัตร กับธนาคารแห่งประเทศไทยไปอีกสักระยะหนึ่งครับ บันทึกเอาไว้กันลืมว่าเดือนสิงหาคม มีผู้นำสามประเทศในเอเชียต้องเผชิญชะตากรรมที่ทำให้พ้นจากตำแหน่งแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นบังกลาเทศ (เหมือน ๑๔ ตุลาคมปี ๒๕๑๖ ในบ้านเรา) ไทย (คงไม่ต้องบอกอะไรเพิ่มเติม) และญี่ปุ่น ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีฟูมิโอ คิชิดะ (Fumio Kishida) ได้ประกาศวางมือลงจากตำแหน่ง ส่วนกระบวนการคัดเลือกคนมาเป็นนายกรัฐมนตรีของพรรคเสรีประชาธิปไตย (LDP) ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลของเขาน่าสนใจครับ ถ้ามีเวลาจะหาโอกาสมาคุยให้ฟัง ขอจบลงตรงนี้ด้วยการแจ้งให้ทราบว่าพรบ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณพ.ศ๒๕๖๗ วงเงิน ๑๒๒,๐๐๐ ล้านบาทมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ ๒๓ สิงหาคม หลังจากได้นำประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ ๒๒ สิงหาคมที่ผ่านมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ใครที่รอแจกเงินสดเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ไม่ใช่โครงการดิจิตอลเลตเตรียมรับได้เลย วีระ ธีรภัทร วันอาทิตย์ที่ ๒๕ สิงหาคม 2567” ที่มา https://www.facebook.com/share/p/ZPvoLGVkV5QkhJNR/?mibextid=CTbP7E Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1171 มุมมอง 0 รีวิว