• พวกกบฏแบ่งแยกดินแดนยังคงตะแบงอย่างข้างๆ คูๆ และดูเหมือนคำอธิบายที่ผมพยายามเขียนอยู่หลายครั้งก็ดูจะไม่ค่อยไปถึงไหนไกล นี่คือวิทยาศาสตร์ที่ไม่อาจโต้แย้ง และมีแต่ประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องเท่านั้นที่จะพ้องกับวิทยาศาสตร์นี้อย่างลงตัว
    .
    หนึ่งในเรื่องราวที่มีคนรู้น้อยมาก อันที่จริงต้องพูดว่าคนส่วนใหญ่ไม่แยแสสนใจ เป็นเรื่องของชาวเล หรือที่มีชื่อว่าโอรังลาโว้ย (บ้างเรียก อูรักลาโว้ย) เป็นหนึ่งในชนพื้นเมืองเก่าแก่ที่เรียกว่า "โอรังอัสลิ" ที่ซึ่งอันที่จริงเป็นญาติข้างพี่จากสายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของผู้คนในอุษาคเนย์และเกาะแก่งในอุษาสมุทรแทบทั้งหมด.
    .
    Orang หรือ โอรัง มาจากภาษามาเลย์ แปลว่า คน / Asli หรือ อัสลิ แปลว่า เก่าแก่ ดั้งเดิม. โอรังอัสลิ หมายถึง คนดั้งเดิม มีความหมายตามคำเช่นนั้นตามความเป็นจริง ในอุษาคเนย์ตอนกลางจนจรดคาบสมุทรมาเลย์และเกาะในอุษาสมุทร นอกจากพวกปาปัวและออสโตรอะบอริจิ้นแล้ว ไม่มีใครมีดีเอ็นเอเก่าแก่ไปกว่าพวกโอรังอัสลิ พวกที่มี time stamp ในดีเอ็นเอเก่าที่สุดเป็นชนเผ่าที่อาศัยอยู่ในซาบาห์ เกาะบอร์เนียว
    .
    โอรังอัสลิประกอบด้วยชนเผ่ามากมาย ในประเทศไทยมีพวก โอรังลาโว้ย เซมัง มานิ.. อาศัยอยู่ในภาคใต้ ในประเทศมาเลเซีย มีพวกโอรังกัวลา โอรังคานาค จาคุน เตมูน เซเมไล...ฯ ชนพื้นเมืองหลายเผ่าปรับตัวเป็นคนเมืองเรียกรวมๆ ว่าเซนอย ซึ่งท้ายที่สุดกลายเป็นประชากรชาวมาเลย์ทั่วไป มีพวก เตมีอาร์ เชไม เซมัคบารี จาห์ฮัท มะห์เมรี...ฯ ในประเทศอินโดนีเซียมีพวก ดยัค...ฯ ในประเทศฟิลิปปินส์มีพวก บอนทอค อิฟูเกา...ฯ ในฟอร์โมซาหรือไต้หวันมีพวก อตายาล พูยูมะ...ฯ และที่คาดไม่ถึงคือบางส่วนบนเกาะโอกินาวา
    .
    ชนพื้นเมืองเก่าแก่ในประเทศไทยหลายพวกก็เป็นเชื้อสายอัสเลียน เช่น พวกมอญ พวกลั๊วะ (ข่าว้า, ละว้า) พวกข่าหลายเผ่าที่มีชื่อเรียกต่างกันไปเช่น กัมมุ มลาบรี..
    .
    ชนเผ่าพวกนี้ถือเป็นบรรพบุรุษของคนเอเชียที่อาศัยในเมนแลนด์อุษาคเนย์อย่างเรา
    .
    ไม่เพียงเท่านั้น ตอนที่บรรพบุรุษพวกนี้มาถึงแผ่นดินซุนดาเมื่อสามหมื่นกว่าปีก่อน มีมนุษย์ที่เดินทางมาถึงก่อนแล้ว คือพวกอะบอริจิ้นิสท์ พวกนี้มาถึงซุนดาตั้งแต่เมื่อห้าหมื่นปีก่อน ด้วยเหตุผลใดไม่ทราบผู้หญิงอะบอริจิ้นเลือกบรรพบุรุษอัสเลียนเป็นพ่อพันธุ์ บีบให้ผู้ชายอะบอริจิ้นกระจายออกจากเมนแลนด์ซุนดาไปสู่เกาะแก่งโดยรอบในอุษาสมุทร ด้วยเหตุที่คนเอเชียมีแม่พันธ์ใหญ่ถึงสี่สาแหรก ทำให้ประชากรชาวเอเชียขยายตัวไปมากกว่าสาแหรกครอบครัวใดในโลก เฉพาะมนุษย์ผู้ชาย มีจำนวนมากกว่า 75% ของชายชาวเอเชียในปัจจุบัน ใน 75% นี้ รวมถึงผู้ชายชาวจีนที่เป็นส่วนหนึ่งของประชากรโลกจำนวน 1400 ล้านคน ลองคิดดูว่าคนเอเชียจะมีจำนวนเท่าไหร่ในโลกนี้?
    .
    ที่อธิบายนี่ ต้องการให้เห็นภาพว่า
    ผู้คนในอุษาคเนย์ส่วนใหญ่ มีเชื้อทางพ่อเป็นโอรังอัสลิ และมีเชื้อทางแม่เป็นอะบอริจินิสท์ ดังนั้นหากมีคนใดก็ตามที่ดูถูกเหยียดหยามข่มเหงรังแกคนพื้นเมืองพวกนี้ ให้รู้ไว้เถอะว่า พวกแกกำลังรังแกโคตรพ่อโคตรแม่ของพวกแก
    .
    ผมยกเอาภาพจากหนังสือของอาจารย์ประทีป ชุมพล เรื่อง "เสียงเพรียกจากท้องน้ำ" มาโพสตรงนี้ ก็เพราะโศกนาฏกรรมที่มีต่อชนเผ่าพื้นเมืองที่เป็นบรรพบุรุษเราพวกนี้ถูกรังแกและเหยียดหยามเรื่อยมาจนทุกวันนี้ และคนที่เรียกตนเองว่ามาเลย์นี่แหละ มีไม่น้อยที่มีส่วนในการข่มเหงนี้ อ.ประทีป เขียนหนังสือเล่มนี้ในลักษณะนิยายที่สะท้อนความจริงที่น่าเศร้าซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้ว และยังคงดำเนินต่อไป
    .
    ตั้งแต่ราวรัชกาลที่หกมาถึงรัชกาลที่เจ็ดได้มีการจัดสรรที่ทำกินให้ชนเผ่าพวกนี้ เพื่อที่พวกเขาจะได้มีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าที่จะต้องร่อนเร่อยู่กลางทะเล แต่ "คนเมือง" ที่ซึ่งผมได้เกริ่นไปแต่ต้นว่าที่จริงเป็นพี่น้องลูกหลานมาแต่ชนเผ่าเหล่านี้ทั้งนั้น กลับใช้เล่ห์กลเอาเปรียบและแย่งชิงที่ดินของพวกเขาไป ซึ่งมันได้นำพาไปสู่โศกนาฏกรรมในที่สุด เมื่อชนพื้นเมืองพวกนี้กลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งต้องคับแค้นใจจนพากันออกไปฆ่าตัวตายกลางทะเล อ.ประทีปได้กลั่นกรองความรู้สึกจากเรื่องราวเหล่านี้ถ่ายทอดออกมาเป็นหนังสือชื่อ เสียงเพรียกจากท้องน้ำ
    .
    นี่คือเหตุที่ทำไมผมตั้งคำถามกับพวกโจรแยกดินแดนที่ซึ่งล้วนเป็นเซนอยที่มาจากโอรังอัสลิทั้งสิ้นว่า.. แทนที่จะมาทำตัวเป็นอาหรับพลัดถิ่นหรือคนมาเลเซียพลัดถิ่น ถามว่าพวกแกปฏิบัติเช่นไรกับโคตรพ่อโคตรแม่ของพวกแกเหล่านี้? พวกแกได้ดูถูกกดขี่เหยียดหยามแย่งที่ทำกินพวกเขาหรือไม่ เคยเป็นห่วงต่อสู้สิทธิในความเป็นมนุษย์และสิทธิ์ในความเป็นเจ้าของแผ่นดินแต่ดั้งเดิมของพวกเขาหรือไม่? ทำไมไม่เรียกร้อง..."คืนแผ่นดินให้เซมัง....คืนแผ่นดินให้มอเกน????"
    .
    ยังมีไอ้พวกโง่ตอแหลจากสำนักอีซิ่มพร พวกไอ้เฒ่าจิตตก ออกมาตีสำนวนอีกว่า ชาวมลายูอยู่มาก่อนสยาม โพสนี้ตอบคำถามทุกอย่างตามที่เล่า จงถอยกลับไปก่อนการมีประเทศมาเลเซียหรือแม้แต่เมืองท่ามะละกา เมืองท่าปัตตานี... บรรพบุรุษมนุษย์พวกหนึ่งที่จะพัฒนาเป็นคนในเมนแลนด์อุษาคเนย์และเกาะในอุษาสมุทร คนพวกนี้พูดภาษาอัสเลียน ผสมพันธุ์กับพวกออสโตรอะบอริจิ้น ทำให้แตกเป็นภาษาออสโตรนีเชียน และเป็นมาลาโยโพลีนีเชียนตามเกาะแก่ง.. ผสมพันธุ์กับชนเผ่าอื่นๆ ในเมนแลนด์ตอนบนแตกแขนงเป็นออสโตเอเชียติกหรือมอญ-เขมร.. เป็นกรอบเวลาที่ยังไม่มีมนุษย์ที่เรียกว่าคนมาเลย์หรือคนมาลายูเลย ฝรั่งเป็นคนตั้งชื่อดินแดนแถบนี้ว่ามาลายาเมื่อเดินทางมาถึง ในห้วงเวลานั้นดินแดนแถบนั้นไม่มีชื่อหรอก เมื่อเขียนบนแผนที่ก็เลยเป็นที่มาให้เรียกพวกชนชาติแถบนี้รวมๆ ว่าคนมาลายา (แม้แต่จักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญ่ในอดีตก็ไม่ได้เรียกอาณาจักรของตนว่า "จีน" พวกเขาเรียกดินแดนพวกเขาว่า จงกั่ว แต่ฝรั่งเอาแซ่ราชวงศ์จิ๋นของจิ๋นซีหวงตี้มาเรียกเป็นชื่อว่าอาณาจักรจิ๋น แล้วเขียนบนแผนที่ทำให้ชาวโลกเรียกอาณาจักรจีนว่า China มาจนทุกวันนี้.. ที่จริงต้องสะกดตัวละตินว่า Qin ออกเสียง ฉิน) โดยข้อเท็จจริงแล้วประวัติศาสตร์ไม่เคยมีประชาชนมาลายา -มาลายู หรือประเทศมาลายา-มาลายู ไปค้นประวัติศาสตร์ของทุกชาติในเอเชีย เช่น บันทึกจีนโบราณ เป็นต้น จะไม่มีบันทึกของชาติใดปรากฏชื่อที่มีสถานะเป็นอาณาจักรหรือประชาชนในชื่อมาลายา-มาลายูอยู่เลย นอกจากหัวเมืองชายแดนอันแยกกันเป็นเอกเทศหลายเมืองที่ล้วนเคยเป็นประเทศราชของสยามมาก่อน ประเทศมาเลเซียเองเพิ่งปรากฏขึ้นในโลกหลังจากได้เอกราชจากการเป็นอิสระจากอาณานิคมอังกฤษ คนในพื้นที่คาบสมุทรนี้ในยุคก่อนมีราชอาณาจักรสยาม เรียกตัวเองว่า โอรังทั้งนั้น เช่นโอรังบูกิต โอรังเชไม โอรังจาฮัท ฯ... ฝรั่งมันไม่จำหรอก เยอะ.. มันเรียกง่ายๆ ว่าคนมาลายู (ดูแผนที่โบราณที่ผมโพสในคอมเม้นท์ข้างล่างแล้วอ่านคำอธิบาย) เพราะฉนั้น ไม่ใช่แค่คนในอินโด-มาเลเซียที่เป็นพวกอัสเลียน พวกที่เคยเป็นอาณาจักรศรีโพธิ์ อาณาจักรศรีวิชัย พวกศรีธรรมโศกราช พวกพริบพรี พวกละโว้ พวกทวารวดี (ซึ่งต่อมาเป็นพวกสยาม..) พวกมอญ พวกขอม พวกเขมร พวกจาม... ล้วนสืบเชื้อโอรังอัสลิและแม่อะบอริจิ้นมาทั้งนั้น คลานออกมาจากมดลูกเดียวกันทั้งคาบสมุทร!! (เบื่ออธิบายกับพวกแกจริงๆ)
    .
    จะบอกอะไรให้อย่างหนึ่ง ในอุษาคเนย์ มีชนพื้นเมืองพวกหนึ่งคือพวกข่าว้าหรือพวกลั๊วะ (บางทีเรียก ว้า ละว้า ล้า) จากผลตรวจดีเอ็นเอทุกชนเผ่าในมณฑลหยุนหนานโดยโปรเฟสเซอร์จินลี (นักวิทยาศาสตร์จีน) พวกข่าว้านี้มียีนเก่าที่สุด พอๆ กับพวกปู้ยี (จ้วงเหนือ). มีคำปรำปราอันหนึ่งของชนเผ่าไทกล่าวว่า "สางสร้างฟ้า ล้าสร้างเมือง" แปลว่า "เทวดาสร้างสวรรค์ พวกละว้าสร้างเมือง" ชนเผ่าไทยกย่องอย่างนี้ว่า ล้าสร้างเมือง... มีตำนานไทอีกอันเรื่องข้าสี่แสนหมอนม้า ชนเผ่าไทโบราณรบกับพวกละว้าแล้วก็ยึดเมืองจากพวกละว้าได้ ทำให้มีประเพณีที่เมื่อจ้าวไททำพิธีขึ้นกินเมืองจะให้พวกละว้าขึ้นนั่งพระแท่นก่อน แล้วเจ้าไทจึงมาไล่ลง เสร็จแล้วค่อยนั่งครองพระแท่นแทน ธรรมเนียมนี้แสดงว่าคนไทยอมรับว่าล้าสร้างเมืองและเป็นใหญ่มาก่อน แต่เกือบพันปีที่ผ่านมาไม่เคยมีพวกละว้าขอแบ่งแยกดินแดนจากไท-ไทยเลยสักสมัย มีแต่พวกละว้าในพม่าที่เจรจาขอแยกจากการเป็นส่วนหนึ่งของพม่าตอนที่ทำสนธิสัญญาปางโหลงกับนายพลอองซาน. เรื่องของเรื่องก็คือ... ถอยไปอีก พวกนี้ก็มาจากโอรังอัสลิเช่นเดียวกับพวกเซนอยมาลายู แต่เก่ากว่าเป็นพันปี
    .
    เดินไปโรงพยาบาลแล้วขอตรวจดีเอ็นเอ ไอ้พวกโง่ แล้วแกจะได้เห็นว่าแกมีเชื้อเดียวกับเซมัง มอเกน. ในดีเอ็นเอมนุษย์มี time stamp อยู่ในสิ่งที่เรียกว่า genetic marker มันบอกอายุของดีเอ็นเอได้ว่าใครเก่ากว่ากัน และจะโยงพวกแกไปยังบรรพบุรุษเดียวกันในแอฟริกา ถึงตอนนั้นพวกแกจะแปลกใจว่าแกไม่ใช่คนมาลายูแล้ว แต่พวกแกเป็นคน "กอยซาน!!" เข้าใจไหม? คนอย่างไอ้เฒ่าจิตตกนั่นมันไม่รู้สี่รู้แปดอะไรหรอก เคยไปเล่าให้มันฟังแม่งนั่งอ้าปากหวอ
    .
    อย่างที่กล่าว
    คำว่า โอรังอัสลิ เป็นคำในภาษามาเลย์ของพวกแก แปลว่า คนดั้งเดิม
    พวกแกทำไมไม่สู้เพื่อพวกเขาบ้าง? นี่ต่างหาก คนดั้งเดิม
    แต่ไปที่ไหนก็ยังเห็นพวกแกดูถูกพวกเขาอยู่เสมอ
    หรือว่าลืมกำพืด อยากเป็นสุลต่านกัน?
    ถ้าพวกแกมีจิตวิญญาณของนักรบจริง
    ที่กาซ่า พี่น้องมุสลิมชาวปาเลสไตน์กำลังถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยพวกยิว
    ไปสิ จับอาวุธแล้วไปต่อสู้เพื่อพวกเขา กล้าพอไหม?
    ไปชวนพี่น้องแกในมาเลเซียด้วย ถ้าที่นั่นยังมีนักรบนะ
    จิตสำนึกมุสลิมอันยิ่งใหญ่มีอยู่ไหมในมาเลเซีย
    พระเจ้าจะสรรเสริญพวกแกและรับพวกแกไปสู่ญันนะฮฺเมื่อได้สละชีพ
    คงไม่หรอก เพราะพวกแกฆ่าได้แม้กระทั่งเด็กน้อยที่บริสุทธิ์
    ไม่ต่างอะไรกับพวกยิวอิสราเอล
    .
    อัลลาฮฺอักบัร
    .
    #ปาตานี #แบ่งแยกดินแดน #คนมลายูอยู่มาก่อนสยาม #โอรังอัสลิ #โอรังลาโว้ย #เสียงเพรียกจากท้องน้ำ
    พวกกบฏแบ่งแยกดินแดนยังคงตะแบงอย่างข้างๆ คูๆ และดูเหมือนคำอธิบายที่ผมพยายามเขียนอยู่หลายครั้งก็ดูจะไม่ค่อยไปถึงไหนไกล นี่คือวิทยาศาสตร์ที่ไม่อาจโต้แย้ง และมีแต่ประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องเท่านั้นที่จะพ้องกับวิทยาศาสตร์นี้อย่างลงตัว . หนึ่งในเรื่องราวที่มีคนรู้น้อยมาก อันที่จริงต้องพูดว่าคนส่วนใหญ่ไม่แยแสสนใจ เป็นเรื่องของชาวเล หรือที่มีชื่อว่าโอรังลาโว้ย (บ้างเรียก อูรักลาโว้ย) เป็นหนึ่งในชนพื้นเมืองเก่าแก่ที่เรียกว่า "โอรังอัสลิ" ที่ซึ่งอันที่จริงเป็นญาติข้างพี่จากสายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของผู้คนในอุษาคเนย์และเกาะแก่งในอุษาสมุทรแทบทั้งหมด. . Orang หรือ โอรัง มาจากภาษามาเลย์ แปลว่า คน / Asli หรือ อัสลิ แปลว่า เก่าแก่ ดั้งเดิม. โอรังอัสลิ หมายถึง คนดั้งเดิม มีความหมายตามคำเช่นนั้นตามความเป็นจริง ในอุษาคเนย์ตอนกลางจนจรดคาบสมุทรมาเลย์และเกาะในอุษาสมุทร นอกจากพวกปาปัวและออสโตรอะบอริจิ้นแล้ว ไม่มีใครมีดีเอ็นเอเก่าแก่ไปกว่าพวกโอรังอัสลิ พวกที่มี time stamp ในดีเอ็นเอเก่าที่สุดเป็นชนเผ่าที่อาศัยอยู่ในซาบาห์ เกาะบอร์เนียว . โอรังอัสลิประกอบด้วยชนเผ่ามากมาย ในประเทศไทยมีพวก โอรังลาโว้ย เซมัง มานิ.. อาศัยอยู่ในภาคใต้ ในประเทศมาเลเซีย มีพวกโอรังกัวลา โอรังคานาค จาคุน เตมูน เซเมไล...ฯ ชนพื้นเมืองหลายเผ่าปรับตัวเป็นคนเมืองเรียกรวมๆ ว่าเซนอย ซึ่งท้ายที่สุดกลายเป็นประชากรชาวมาเลย์ทั่วไป มีพวก เตมีอาร์ เชไม เซมัคบารี จาห์ฮัท มะห์เมรี...ฯ ในประเทศอินโดนีเซียมีพวก ดยัค...ฯ ในประเทศฟิลิปปินส์มีพวก บอนทอค อิฟูเกา...ฯ ในฟอร์โมซาหรือไต้หวันมีพวก อตายาล พูยูมะ...ฯ และที่คาดไม่ถึงคือบางส่วนบนเกาะโอกินาวา . ชนพื้นเมืองเก่าแก่ในประเทศไทยหลายพวกก็เป็นเชื้อสายอัสเลียน เช่น พวกมอญ พวกลั๊วะ (ข่าว้า, ละว้า) พวกข่าหลายเผ่าที่มีชื่อเรียกต่างกันไปเช่น กัมมุ มลาบรี.. . ชนเผ่าพวกนี้ถือเป็นบรรพบุรุษของคนเอเชียที่อาศัยในเมนแลนด์อุษาคเนย์อย่างเรา . ไม่เพียงเท่านั้น ตอนที่บรรพบุรุษพวกนี้มาถึงแผ่นดินซุนดาเมื่อสามหมื่นกว่าปีก่อน มีมนุษย์ที่เดินทางมาถึงก่อนแล้ว คือพวกอะบอริจิ้นิสท์ พวกนี้มาถึงซุนดาตั้งแต่เมื่อห้าหมื่นปีก่อน ด้วยเหตุผลใดไม่ทราบผู้หญิงอะบอริจิ้นเลือกบรรพบุรุษอัสเลียนเป็นพ่อพันธุ์ บีบให้ผู้ชายอะบอริจิ้นกระจายออกจากเมนแลนด์ซุนดาไปสู่เกาะแก่งโดยรอบในอุษาสมุทร ด้วยเหตุที่คนเอเชียมีแม่พันธ์ใหญ่ถึงสี่สาแหรก ทำให้ประชากรชาวเอเชียขยายตัวไปมากกว่าสาแหรกครอบครัวใดในโลก เฉพาะมนุษย์ผู้ชาย มีจำนวนมากกว่า 75% ของชายชาวเอเชียในปัจจุบัน ใน 75% นี้ รวมถึงผู้ชายชาวจีนที่เป็นส่วนหนึ่งของประชากรโลกจำนวน 1400 ล้านคน ลองคิดดูว่าคนเอเชียจะมีจำนวนเท่าไหร่ในโลกนี้? . ที่อธิบายนี่ ต้องการให้เห็นภาพว่า ผู้คนในอุษาคเนย์ส่วนใหญ่ มีเชื้อทางพ่อเป็นโอรังอัสลิ และมีเชื้อทางแม่เป็นอะบอริจินิสท์ ดังนั้นหากมีคนใดก็ตามที่ดูถูกเหยียดหยามข่มเหงรังแกคนพื้นเมืองพวกนี้ ให้รู้ไว้เถอะว่า พวกแกกำลังรังแกโคตรพ่อโคตรแม่ของพวกแก . ผมยกเอาภาพจากหนังสือของอาจารย์ประทีป ชุมพล เรื่อง "เสียงเพรียกจากท้องน้ำ" มาโพสตรงนี้ ก็เพราะโศกนาฏกรรมที่มีต่อชนเผ่าพื้นเมืองที่เป็นบรรพบุรุษเราพวกนี้ถูกรังแกและเหยียดหยามเรื่อยมาจนทุกวันนี้ และคนที่เรียกตนเองว่ามาเลย์นี่แหละ มีไม่น้อยที่มีส่วนในการข่มเหงนี้ อ.ประทีป เขียนหนังสือเล่มนี้ในลักษณะนิยายที่สะท้อนความจริงที่น่าเศร้าซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้ว และยังคงดำเนินต่อไป . ตั้งแต่ราวรัชกาลที่หกมาถึงรัชกาลที่เจ็ดได้มีการจัดสรรที่ทำกินให้ชนเผ่าพวกนี้ เพื่อที่พวกเขาจะได้มีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าที่จะต้องร่อนเร่อยู่กลางทะเล แต่ "คนเมือง" ที่ซึ่งผมได้เกริ่นไปแต่ต้นว่าที่จริงเป็นพี่น้องลูกหลานมาแต่ชนเผ่าเหล่านี้ทั้งนั้น กลับใช้เล่ห์กลเอาเปรียบและแย่งชิงที่ดินของพวกเขาไป ซึ่งมันได้นำพาไปสู่โศกนาฏกรรมในที่สุด เมื่อชนพื้นเมืองพวกนี้กลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งต้องคับแค้นใจจนพากันออกไปฆ่าตัวตายกลางทะเล อ.ประทีปได้กลั่นกรองความรู้สึกจากเรื่องราวเหล่านี้ถ่ายทอดออกมาเป็นหนังสือชื่อ เสียงเพรียกจากท้องน้ำ . นี่คือเหตุที่ทำไมผมตั้งคำถามกับพวกโจรแยกดินแดนที่ซึ่งล้วนเป็นเซนอยที่มาจากโอรังอัสลิทั้งสิ้นว่า.. แทนที่จะมาทำตัวเป็นอาหรับพลัดถิ่นหรือคนมาเลเซียพลัดถิ่น ถามว่าพวกแกปฏิบัติเช่นไรกับโคตรพ่อโคตรแม่ของพวกแกเหล่านี้? พวกแกได้ดูถูกกดขี่เหยียดหยามแย่งที่ทำกินพวกเขาหรือไม่ เคยเป็นห่วงต่อสู้สิทธิในความเป็นมนุษย์และสิทธิ์ในความเป็นเจ้าของแผ่นดินแต่ดั้งเดิมของพวกเขาหรือไม่? ทำไมไม่เรียกร้อง..."คืนแผ่นดินให้เซมัง....คืนแผ่นดินให้มอเกน????" . ยังมีไอ้พวกโง่ตอแหลจากสำนักอีซิ่มพร พวกไอ้เฒ่าจิตตก ออกมาตีสำนวนอีกว่า ชาวมลายูอยู่มาก่อนสยาม โพสนี้ตอบคำถามทุกอย่างตามที่เล่า จงถอยกลับไปก่อนการมีประเทศมาเลเซียหรือแม้แต่เมืองท่ามะละกา เมืองท่าปัตตานี... บรรพบุรุษมนุษย์พวกหนึ่งที่จะพัฒนาเป็นคนในเมนแลนด์อุษาคเนย์และเกาะในอุษาสมุทร คนพวกนี้พูดภาษาอัสเลียน ผสมพันธุ์กับพวกออสโตรอะบอริจิ้น ทำให้แตกเป็นภาษาออสโตรนีเชียน และเป็นมาลาโยโพลีนีเชียนตามเกาะแก่ง.. ผสมพันธุ์กับชนเผ่าอื่นๆ ในเมนแลนด์ตอนบนแตกแขนงเป็นออสโตเอเชียติกหรือมอญ-เขมร.. เป็นกรอบเวลาที่ยังไม่มีมนุษย์ที่เรียกว่าคนมาเลย์หรือคนมาลายูเลย ฝรั่งเป็นคนตั้งชื่อดินแดนแถบนี้ว่ามาลายาเมื่อเดินทางมาถึง ในห้วงเวลานั้นดินแดนแถบนั้นไม่มีชื่อหรอก เมื่อเขียนบนแผนที่ก็เลยเป็นที่มาให้เรียกพวกชนชาติแถบนี้รวมๆ ว่าคนมาลายา (แม้แต่จักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญ่ในอดีตก็ไม่ได้เรียกอาณาจักรของตนว่า "จีน" พวกเขาเรียกดินแดนพวกเขาว่า จงกั่ว แต่ฝรั่งเอาแซ่ราชวงศ์จิ๋นของจิ๋นซีหวงตี้มาเรียกเป็นชื่อว่าอาณาจักรจิ๋น แล้วเขียนบนแผนที่ทำให้ชาวโลกเรียกอาณาจักรจีนว่า China มาจนทุกวันนี้.. ที่จริงต้องสะกดตัวละตินว่า Qin ออกเสียง ฉิน) โดยข้อเท็จจริงแล้วประวัติศาสตร์ไม่เคยมีประชาชนมาลายา -มาลายู หรือประเทศมาลายา-มาลายู ไปค้นประวัติศาสตร์ของทุกชาติในเอเชีย เช่น บันทึกจีนโบราณ เป็นต้น จะไม่มีบันทึกของชาติใดปรากฏชื่อที่มีสถานะเป็นอาณาจักรหรือประชาชนในชื่อมาลายา-มาลายูอยู่เลย นอกจากหัวเมืองชายแดนอันแยกกันเป็นเอกเทศหลายเมืองที่ล้วนเคยเป็นประเทศราชของสยามมาก่อน ประเทศมาเลเซียเองเพิ่งปรากฏขึ้นในโลกหลังจากได้เอกราชจากการเป็นอิสระจากอาณานิคมอังกฤษ คนในพื้นที่คาบสมุทรนี้ในยุคก่อนมีราชอาณาจักรสยาม เรียกตัวเองว่า โอรังทั้งนั้น เช่นโอรังบูกิต โอรังเชไม โอรังจาฮัท ฯ... ฝรั่งมันไม่จำหรอก เยอะ.. มันเรียกง่ายๆ ว่าคนมาลายู (ดูแผนที่โบราณที่ผมโพสในคอมเม้นท์ข้างล่างแล้วอ่านคำอธิบาย) เพราะฉนั้น ไม่ใช่แค่คนในอินโด-มาเลเซียที่เป็นพวกอัสเลียน พวกที่เคยเป็นอาณาจักรศรีโพธิ์ อาณาจักรศรีวิชัย พวกศรีธรรมโศกราช พวกพริบพรี พวกละโว้ พวกทวารวดี (ซึ่งต่อมาเป็นพวกสยาม..) พวกมอญ พวกขอม พวกเขมร พวกจาม... ล้วนสืบเชื้อโอรังอัสลิและแม่อะบอริจิ้นมาทั้งนั้น คลานออกมาจากมดลูกเดียวกันทั้งคาบสมุทร!! (เบื่ออธิบายกับพวกแกจริงๆ) . จะบอกอะไรให้อย่างหนึ่ง ในอุษาคเนย์ มีชนพื้นเมืองพวกหนึ่งคือพวกข่าว้าหรือพวกลั๊วะ (บางทีเรียก ว้า ละว้า ล้า) จากผลตรวจดีเอ็นเอทุกชนเผ่าในมณฑลหยุนหนานโดยโปรเฟสเซอร์จินลี (นักวิทยาศาสตร์จีน) พวกข่าว้านี้มียีนเก่าที่สุด พอๆ กับพวกปู้ยี (จ้วงเหนือ). มีคำปรำปราอันหนึ่งของชนเผ่าไทกล่าวว่า "สางสร้างฟ้า ล้าสร้างเมือง" แปลว่า "เทวดาสร้างสวรรค์ พวกละว้าสร้างเมือง" ชนเผ่าไทยกย่องอย่างนี้ว่า ล้าสร้างเมือง... มีตำนานไทอีกอันเรื่องข้าสี่แสนหมอนม้า ชนเผ่าไทโบราณรบกับพวกละว้าแล้วก็ยึดเมืองจากพวกละว้าได้ ทำให้มีประเพณีที่เมื่อจ้าวไททำพิธีขึ้นกินเมืองจะให้พวกละว้าขึ้นนั่งพระแท่นก่อน แล้วเจ้าไทจึงมาไล่ลง เสร็จแล้วค่อยนั่งครองพระแท่นแทน ธรรมเนียมนี้แสดงว่าคนไทยอมรับว่าล้าสร้างเมืองและเป็นใหญ่มาก่อน แต่เกือบพันปีที่ผ่านมาไม่เคยมีพวกละว้าขอแบ่งแยกดินแดนจากไท-ไทยเลยสักสมัย มีแต่พวกละว้าในพม่าที่เจรจาขอแยกจากการเป็นส่วนหนึ่งของพม่าตอนที่ทำสนธิสัญญาปางโหลงกับนายพลอองซาน. เรื่องของเรื่องก็คือ... ถอยไปอีก พวกนี้ก็มาจากโอรังอัสลิเช่นเดียวกับพวกเซนอยมาลายู แต่เก่ากว่าเป็นพันปี . เดินไปโรงพยาบาลแล้วขอตรวจดีเอ็นเอ ไอ้พวกโง่ แล้วแกจะได้เห็นว่าแกมีเชื้อเดียวกับเซมัง มอเกน. ในดีเอ็นเอมนุษย์มี time stamp อยู่ในสิ่งที่เรียกว่า genetic marker มันบอกอายุของดีเอ็นเอได้ว่าใครเก่ากว่ากัน และจะโยงพวกแกไปยังบรรพบุรุษเดียวกันในแอฟริกา ถึงตอนนั้นพวกแกจะแปลกใจว่าแกไม่ใช่คนมาลายูแล้ว แต่พวกแกเป็นคน "กอยซาน!!" เข้าใจไหม? คนอย่างไอ้เฒ่าจิตตกนั่นมันไม่รู้สี่รู้แปดอะไรหรอก เคยไปเล่าให้มันฟังแม่งนั่งอ้าปากหวอ . อย่างที่กล่าว คำว่า โอรังอัสลิ เป็นคำในภาษามาเลย์ของพวกแก แปลว่า คนดั้งเดิม พวกแกทำไมไม่สู้เพื่อพวกเขาบ้าง? นี่ต่างหาก คนดั้งเดิม แต่ไปที่ไหนก็ยังเห็นพวกแกดูถูกพวกเขาอยู่เสมอ หรือว่าลืมกำพืด อยากเป็นสุลต่านกัน? ถ้าพวกแกมีจิตวิญญาณของนักรบจริง ที่กาซ่า พี่น้องมุสลิมชาวปาเลสไตน์กำลังถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยพวกยิว ไปสิ จับอาวุธแล้วไปต่อสู้เพื่อพวกเขา กล้าพอไหม? ไปชวนพี่น้องแกในมาเลเซียด้วย ถ้าที่นั่นยังมีนักรบนะ จิตสำนึกมุสลิมอันยิ่งใหญ่มีอยู่ไหมในมาเลเซีย พระเจ้าจะสรรเสริญพวกแกและรับพวกแกไปสู่ญันนะฮฺเมื่อได้สละชีพ คงไม่หรอก เพราะพวกแกฆ่าได้แม้กระทั่งเด็กน้อยที่บริสุทธิ์ ไม่ต่างอะไรกับพวกยิวอิสราเอล . อัลลาฮฺอักบัร . #ปาตานี #แบ่งแยกดินแดน #คนมลายูอยู่มาก่อนสยาม #โอรังอัสลิ #โอรังลาโว้ย #เสียงเพรียกจากท้องน้ำ
    4 Comments 0 Shares 169 Views 0 Reviews
  • ประตูเปิดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

    เดือนนี้ เป็นเพราะการเอาแต่ใจตนเอง คิดเป็นใหญ่เกินตัวจะถูกฟ้องร้องฟ้องศาลให้แพ้คดีความในภายหลัง ควรไตร่ตรองคิดพิจารณาให้รอบคอบรอบด้านก่อนการตัดสินใจลงนามในหนังสือเอกสารสัญญาใดๆก็ตาม อีกทั้งลูกหลานและบริวารจะเป็นต้นเหตุให้เสียหาย รู้จักการวางเฉย ปล่อยวาง ตั้งสติให้มั่น เพราะการคิดไม่ตกจากเรื่องที่ต้องขบคิดทำให้เกิดความเครียดเข้าครอบงำ ควรพิจารณาให้ถึงต้นสายปลายเหตุที่แท้จริงเพราะทุกๆปัญหาย่อมมีหนทางการแก้ไข อีกทั้งยามค่ำคืนควรจะหลีกเลี่ยงที่เปลี่ยว อย่าไปที่ไหนเพียงลำพังคนเดียว อาจจะเกิดเหตุโศกนาฏกรรม อุบัติเหตุ เภทภัยได้ ควรรู้จักนอนหลับพักผ่อนออกกำลังกายให้พอเหมาะ สุขภาพร่างกายจะได้ไม่เจ็บป่วย ไม่ต้องเสียทรัพย์ไปกับการรักษาพยาบาล

    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    ประตูเปิดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เดือนนี้ เป็นเพราะการเอาแต่ใจตนเอง คิดเป็นใหญ่เกินตัวจะถูกฟ้องร้องฟ้องศาลให้แพ้คดีความในภายหลัง ควรไตร่ตรองคิดพิจารณาให้รอบคอบรอบด้านก่อนการตัดสินใจลงนามในหนังสือเอกสารสัญญาใดๆก็ตาม อีกทั้งลูกหลานและบริวารจะเป็นต้นเหตุให้เสียหาย รู้จักการวางเฉย ปล่อยวาง ตั้งสติให้มั่น เพราะการคิดไม่ตกจากเรื่องที่ต้องขบคิดทำให้เกิดความเครียดเข้าครอบงำ ควรพิจารณาให้ถึงต้นสายปลายเหตุที่แท้จริงเพราะทุกๆปัญหาย่อมมีหนทางการแก้ไข อีกทั้งยามค่ำคืนควรจะหลีกเลี่ยงที่เปลี่ยว อย่าไปที่ไหนเพียงลำพังคนเดียว อาจจะเกิดเหตุโศกนาฏกรรม อุบัติเหตุ เภทภัยได้ ควรรู้จักนอนหลับพักผ่อนออกกำลังกายให้พอเหมาะ สุขภาพร่างกายจะได้ไม่เจ็บป่วย ไม่ต้องเสียทรัพย์ไปกับการรักษาพยาบาล ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ 🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 Comments 0 Shares 119 Views 0 Reviews
  • ประเทศที่ตายไปแล้ว แต่ฟื้นขึ้นมาด้วยทฤษฎีหญ้าหน้าบ้าน

    ในโลกที่ข่าวร้ายเดินทางเร็วเฉียดแสง เราอาจไม่ทันได้ยินข่าวดีของประเทศเล็กๆ ที่ค่อยๆ ลุกขึ้นมาจากเถ้าถ่านด้วยความเงียบและสง่างามอย่าง“รวันดา“ ชาติที่เคยถูกสาปจากโศกนาฏกรรมฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เมื่อปี ค.ศ.1994 แต่วันนี้กลับกลายเป็นประเทศสะอาด สงบ โปร่งใส และก้าวหน้าเร็วที่สุดแห่งหนึ่ง

    และที่น่าทึ่งคือ พวกเขาไม่ได้เริ่มจากงบกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่เริ่มจาก “ใจ”

    ใจที่ไม่ยอมฝากความหวังไว้กับการล้างแค้น แต่เลือกจะรักษาความเป็นมนุษย์ให้กันและกัน

    ในวันที่สงครามจบลง รวันดามีผู้ต้องสงสัยเกี่ยวข้องกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์กว่าครึ่งล้านคน ซึ่งถ้าใช้ระบบศาลแบบตะวันตกที่ต้องพิจารณาคดีทีละคน รวันดาคงต้องใช้เวลาเป็นร้อยปี

    แล้วพวกเขาทำยังไง

    พวกเขาหยิบความยุติธรรมแบบดั้งเดิมกลับมาใช้ ที่เรียกกันว่า“กาชาชา” (Gacaca) ถ้าแปลแบบตรงตัวก็แปลว่าหญ้าหน้าบ้าน

    ในอดีต เวลาคนในหมู่บ้านมีข้อขัดแย้งกัน เขาจะไม่ไปฟ้องศาล ไม่จ้างทนาย แต่จะนั่งล้อมวงกลางแจ้งบนหญ้าเตียนๆ คุยกันตรง ๆ ด้วยคำพูดของคนธรรมดา เพื่อหาทางคืนดี

    ฟังดูเรียบง่าย แต่อาจได้ผลงดงามยิ่งกว่าศาลอาญาระหว่างประเทศ

    กาชาชา ไม่ได้เน้น “พิพากษา” แต่มุ่ง “เยียวยา” ผู้กระทำผิดที่สารภาพจะได้รับโอกาสขอขมา เปิดใจฟังผู้เสียหาย และร่วมฟื้นฟูชุมชนด้วยมือของตนเอง เช่น ปลูกต้นไม้ ซ่อมบ้านเหยื่อ หรือช่วยงานสาธารณะ ส่วนผู้เสียหายก็ได้รับโอกาสพูดสิ่งที่อยู่ในใจท่ามกลางชุมชน

    มันไม่ใช่การล้างแค้น แต่มันคือล้างใจ

    วันนี้รวันดาถูกนับได้ว่าเป็นประเทศที่สะอาดมากประเทศหนึ่ง ที่ไม่ใช่เพราะงบ แต่เพราะผู้คนลุกขึ้นมากวาด

    รวันดาแบนพลาสติกแบบไม่มีข้อยกเว้นตั้งแต่ปี 2008 ถุงพลาสติกเข้าประเทศไม่ได้ แม้แต่ในกระเป๋าเดินทาง

    และในวันเสาร์สุดท้ายของทุกเดือน จะเป็นวันอูมูกันดา ที่คนทั้งประเทศออกมาทำความสะอาดร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นคนทำสวนหรือประธานาธิบดี ทุกคนลงมือร่วมกัน (Umuganda แปลว่า การร่วมแรงร่วมใจ)

    ผลลัพธ์คือ “คิกาลี”เมืองหลวงของรวันดากำลังจะกลายเป็นเมืองที่สะอาดที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ทั้งที่รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำกว่าประเทศร่ำรวยหลายสิบเท่า

    นอกจากนี้ รวันดายังสร้างปรัชญาใหม่ให้กับสังคมขึ้นมาว่า “ค่าความอดทนต่อคอร์รัปชันคือศูนย์”

    พวกเขาทำจริงจัง ใครโกงถูกปลดทันที และดำเนินคดีไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าคุณจะเป็นเจ้าหน้าที่ระดับไหน ไม่ใช่แค่กฎหมายที่เข้มงวด แต่คือ “บรรยากาศของความเชื่อมั่น” ที่ผู้คนรู้สึกว่า กฎหมายไม่ได้มีไว้ลงโทษเฉพาะคนจน แต่เอื้อมถึงคนมีอำนาจด้วย

    หลังสงครามจบ รวันดาลงทุนกับการศึกษาแบบสุดทาง เด็กทุกคนได้เรียนฟรีจนถึงมัธยม และมีทุนเรียนต่อมหาวิทยาลัย พวกเขารู้ว่าโลกจากนี้ไปต้องเน้นไปด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    แต่สิ่งที่ลึกซึ้งกว่านั้นคือ เขาเพิ่มวิชาสันติภาพ วิชาการอยู่ร่วมกัน และวิชาการคิดวิเคราะห์เข้าไปในหลักสูตร เพื่อสร้างพลเมืองใหม่ที่ไม่ถูกหลอกด้วย“วาทกรรมชิงชัง”ซ้ำอีก

    ในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ผ่านมาของรวันดา ฝ่ายหนึ่งจะเรียกอีกฝ่ายหนึ่งว่าแมลงสาบ นั่นคือเมื่อคำพูดแปะฉลากคนอื่นว่าไม่ใช่มนุษย์ ความโหดร้ายก็กลายเป็นเรื่องธรรมดา

    รวันดาในวันนี้ จึงไม่เพียงแค่ควบคุมสื่อให้รับผิดชอบ แต่ยังสอนเด็กให้รู้จักพลังของภาษาว่า “คำพูดสามารถสร้างคนได้ และคำพูดก็สามารถฆ่าคนได้ในเวลาเดียวกัน“

    แน่นอน รวันดายังไม่ใช่ประเทศที่เพียบพร้อม ประเทศนี้ยังต้องการการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาอีกมาก แต่บทเรียนของเขาสำคัญตรงนี้

    บางครั้ง ทางออกที่ดีที่สุด ไม่ใช่การยกระบบของใครมาทั้งดุ้น แต่เป็นการกลับมาดู“หญ้าหน้าบ้าน”ของตัวเอง


    cr:fw.line
    ประเทศที่ตายไปแล้ว แต่ฟื้นขึ้นมาด้วยทฤษฎีหญ้าหน้าบ้าน ในโลกที่ข่าวร้ายเดินทางเร็วเฉียดแสง เราอาจไม่ทันได้ยินข่าวดีของประเทศเล็กๆ ที่ค่อยๆ ลุกขึ้นมาจากเถ้าถ่านด้วยความเงียบและสง่างามอย่าง“รวันดา“ ชาติที่เคยถูกสาปจากโศกนาฏกรรมฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เมื่อปี ค.ศ.1994 แต่วันนี้กลับกลายเป็นประเทศสะอาด สงบ โปร่งใส และก้าวหน้าเร็วที่สุดแห่งหนึ่ง และที่น่าทึ่งคือ พวกเขาไม่ได้เริ่มจากงบกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่เริ่มจาก “ใจ” ใจที่ไม่ยอมฝากความหวังไว้กับการล้างแค้น แต่เลือกจะรักษาความเป็นมนุษย์ให้กันและกัน ในวันที่สงครามจบลง รวันดามีผู้ต้องสงสัยเกี่ยวข้องกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์กว่าครึ่งล้านคน ซึ่งถ้าใช้ระบบศาลแบบตะวันตกที่ต้องพิจารณาคดีทีละคน รวันดาคงต้องใช้เวลาเป็นร้อยปี แล้วพวกเขาทำยังไง พวกเขาหยิบความยุติธรรมแบบดั้งเดิมกลับมาใช้ ที่เรียกกันว่า“กาชาชา” (Gacaca) ถ้าแปลแบบตรงตัวก็แปลว่าหญ้าหน้าบ้าน ในอดีต เวลาคนในหมู่บ้านมีข้อขัดแย้งกัน เขาจะไม่ไปฟ้องศาล ไม่จ้างทนาย แต่จะนั่งล้อมวงกลางแจ้งบนหญ้าเตียนๆ คุยกันตรง ๆ ด้วยคำพูดของคนธรรมดา เพื่อหาทางคืนดี ฟังดูเรียบง่าย แต่อาจได้ผลงดงามยิ่งกว่าศาลอาญาระหว่างประเทศ กาชาชา ไม่ได้เน้น “พิพากษา” แต่มุ่ง “เยียวยา” ผู้กระทำผิดที่สารภาพจะได้รับโอกาสขอขมา เปิดใจฟังผู้เสียหาย และร่วมฟื้นฟูชุมชนด้วยมือของตนเอง เช่น ปลูกต้นไม้ ซ่อมบ้านเหยื่อ หรือช่วยงานสาธารณะ ส่วนผู้เสียหายก็ได้รับโอกาสพูดสิ่งที่อยู่ในใจท่ามกลางชุมชน มันไม่ใช่การล้างแค้น แต่มันคือล้างใจ วันนี้รวันดาถูกนับได้ว่าเป็นประเทศที่สะอาดมากประเทศหนึ่ง ที่ไม่ใช่เพราะงบ แต่เพราะผู้คนลุกขึ้นมากวาด รวันดาแบนพลาสติกแบบไม่มีข้อยกเว้นตั้งแต่ปี 2008 ถุงพลาสติกเข้าประเทศไม่ได้ แม้แต่ในกระเป๋าเดินทาง และในวันเสาร์สุดท้ายของทุกเดือน จะเป็นวันอูมูกันดา ที่คนทั้งประเทศออกมาทำความสะอาดร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นคนทำสวนหรือประธานาธิบดี ทุกคนลงมือร่วมกัน (Umuganda แปลว่า การร่วมแรงร่วมใจ) ผลลัพธ์คือ “คิกาลี”เมืองหลวงของรวันดากำลังจะกลายเป็นเมืองที่สะอาดที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ทั้งที่รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำกว่าประเทศร่ำรวยหลายสิบเท่า นอกจากนี้ รวันดายังสร้างปรัชญาใหม่ให้กับสังคมขึ้นมาว่า “ค่าความอดทนต่อคอร์รัปชันคือศูนย์” พวกเขาทำจริงจัง ใครโกงถูกปลดทันที และดำเนินคดีไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าคุณจะเป็นเจ้าหน้าที่ระดับไหน ไม่ใช่แค่กฎหมายที่เข้มงวด แต่คือ “บรรยากาศของความเชื่อมั่น” ที่ผู้คนรู้สึกว่า กฎหมายไม่ได้มีไว้ลงโทษเฉพาะคนจน แต่เอื้อมถึงคนมีอำนาจด้วย หลังสงครามจบ รวันดาลงทุนกับการศึกษาแบบสุดทาง เด็กทุกคนได้เรียนฟรีจนถึงมัธยม และมีทุนเรียนต่อมหาวิทยาลัย พวกเขารู้ว่าโลกจากนี้ไปต้องเน้นไปด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่สิ่งที่ลึกซึ้งกว่านั้นคือ เขาเพิ่มวิชาสันติภาพ วิชาการอยู่ร่วมกัน และวิชาการคิดวิเคราะห์เข้าไปในหลักสูตร เพื่อสร้างพลเมืองใหม่ที่ไม่ถูกหลอกด้วย“วาทกรรมชิงชัง”ซ้ำอีก ในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ผ่านมาของรวันดา ฝ่ายหนึ่งจะเรียกอีกฝ่ายหนึ่งว่าแมลงสาบ นั่นคือเมื่อคำพูดแปะฉลากคนอื่นว่าไม่ใช่มนุษย์ ความโหดร้ายก็กลายเป็นเรื่องธรรมดา รวันดาในวันนี้ จึงไม่เพียงแค่ควบคุมสื่อให้รับผิดชอบ แต่ยังสอนเด็กให้รู้จักพลังของภาษาว่า “คำพูดสามารถสร้างคนได้ และคำพูดก็สามารถฆ่าคนได้ในเวลาเดียวกัน“ แน่นอน รวันดายังไม่ใช่ประเทศที่เพียบพร้อม ประเทศนี้ยังต้องการการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาอีกมาก แต่บทเรียนของเขาสำคัญตรงนี้ บางครั้ง ทางออกที่ดีที่สุด ไม่ใช่การยกระบบของใครมาทั้งดุ้น แต่เป็นการกลับมาดู“หญ้าหน้าบ้าน”ของตัวเอง … cr:fw.line
    0 Comments 0 Shares 263 Views 0 Reviews
  • บินเล็กตกทะเลหัวหิน ตำรวจพลีชีพ 5 นาย เร่งยื้อชีวิตนักบิน "ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์" เครื่องใหม่ลำแรกของรุ่น เพิ่งประจำการ ตร. แค่ 4 ปี 🚨✈️

    ความสูญเสียกลางภารกิจที่ไม่มีวันลืม วันศุกร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2568 ช่วงเช้า 08.15 น. 🌅 ที่หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกิดเหตุการณ์สลดใจ เครื่องบินเล็ก DHC-6 Twin Otter หมายเลข 36964 ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประสบอุบัติเหตุตกลงในทะเล ขณะกำลังทำภารกิจทดสอบการบิน 🌊

    โศกนาฏกรรมครั้งนี้ คร่าชีวิตเจ้าหน้าที่ตำรวจถึง 5 นาย 😢 เหลือเพียง ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์ นักบิน ที่รอดชีวิตมาได้ แม้จะบาดเจ็บสาหัส และยังต้องเฝ้าระวังอาการใกล้ชิด ในโรงพยาบาลหัวหิน

    ลำดับเหตุการณ์ เครื่องตกกลางภารกิจทดสอบการบิน 🚁 เหตุเกิดเช้าวันศุกร์ที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 08.15 น. ที่ชายหาดเบบิ้แกรนด์ ใกล้สนามบินบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่อยู่บนเครื่องมีทั้งหมด 6 นาย ได้แก่...

    พ.ต.อ.ประธาน เขียวขำ นักบิน เสียชีวิต
    พ.ต.ท.ปานเทพ มณิวชิรางกูร นักบิน เสียชีวิต
    ร.ต.ท.ธนวรรษ เมฆประเสริฐสุข วิศวกร เสียชีวิต
    จ.ส.ต.ประวัติ พลหงษ์สา ช่างเครื่อง เสียชีวิต
    ส.ต.ต.จิราวัฒน์ มากสาขา ช่างเครื่อง เสียชีวิต

    ส่วน ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์ นักบิน รอดชีวิต บาดเจ็บสาหัส

    🆘 การช่วยเหลือเกิดขึ้นทันทีหลังเครื่องตก โดยมีการปฏิบัติการกู้ชีพ จากเจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัย และชาวบ้านในพื้นที่ อย่างทันท่วงที

    สภาพเครื่องบินก่อนเกิดเหตุ ซ่อมบำรุง-ทดสอบ-แต่ตกสู่โศกนาฏกรรม ⚙️ การซ่อมบำรุงก่อนบิน

    🔧 เครื่องบินลำนี้ เพิ่งได้รับการซ่อมบำรุงเพียง 2-3 วัน ก่อนเกิดเหตุ
    🔍 มีการทดสอบภาคพื้นดินอย่างละเอียด ซึ่งผลการตรวจสอบ ไม่พบข้อบกพร่องใด ๆ

    ภารกิจในวันเกิดเหตุ ทดสอบการบิน เพื่อเตรียมความพร้อมฝึกกระโดดร่ม ตรวจสอบสภาพอากาศ และสภาวะแวดล้อม ช่วงเวลาขึ้นบินประมาณ 1 นาที เครื่องเกิดเสียการทรงตัว ก่อนตกลงทะเล

    ⛅ สภาพอากาศในวันนั้น มีลมอ่อนถึงปานกลาง แต่ยังไม่ชัดเจนว่า เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุหรือไม่

    ข้อมูลเครื่องบิน DHC-6-400 Twin Otter หมายเลข 36964 📚✈️ ผู้ผลิตคืออ Viking Air Ltd. 🇨🇦 เข้าประจำการที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2564 หมายเลขเครื่อง MSN 964 ทะเบียนเดิมในแคนาดาคือ C-FMVQ ก่อนที่จะถูกส่งมอบให้กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เครื่องบินลำนี้ไม่ได้ถูกใช้งาน โดยสายการบิน หรือหน่วยงานอื่นใด ถือเป็นเครื่องบินใหม่ ที่ยังไม่เคยประจำการที่ไหนมาก่อน

    ลักษณะการใช้งาน เครื่องลำเลียงทางยุทธวิธี เช่น ฝึกกระโดดร่ม ลาดตระเวนชายแดน ส่งกลับสายการแพทย์ 🚑

    สเปกทางเทคนิค ความยาว 15.77 เมตร ช่วงปีก 19.81 เมตร ความสูง 5.94 เมตร น้ำหนักเปล่า 3,380 กก. น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด (MTOW) 5,670 กก. ความเร็วเดินทาง 338 กม./ชม. พิสัยการบิน1,427 กม. เพดานบิน 25,000 ฟุต ระบบขับเคลื่อน 2 × Pratt & Whitney PT6A-34 (750 SHP/ข้าง)

    🛬 ด้วยคุณสมบัติการขึ้น-ลงระยะสั้น (STOL) ทำให้เครื่องบินรุ่นนี้ เหมาะสมกับภารกิจ ในพื้นที่ทุรกันดารอย่างมาก

    จุดเด่น ข้อจำกัดของ DHC-6-400 Twin Otter 🔥

    จุดเด่น 👍
    ✅ ขึ้นลงได้ในพื้นที่สั้น ดิน หญ้า หิมะ หรือน้ำ
    ✅ ทนทานสูง ซ่อมบำรุงง่าย
    ✅ ระบบ Glass Cockpit ทันสมัย
    ✅ รองรับภารกิจหลากหลาย ตั้งแต่พลเรือนไปจนถึงทหาร

    ข้อจำกัด 👎
    ⚠️ ไม่มีระบบความดันภายในห้องโดยสาร
    ⚠️ เสียงเครื่องยนต์ดังมาก
    ⚠️ ระบบตรวจจับสภาพอากาศพื้นฐาน อาจไม่เพียงพอในสภาพอากาศเลวร้าย
    ⚠️ ไม่มีระบบ Fly-by-wire หรือ Auto-throttle ช่วยนักบิน
    ⚠️ โครงสร้างหลักพัฒนาจากแบบดั้งเดิม (1960s)

    ✨ แม้ว่าจะมีข้อจำกัด แต่ในแง่ความแข็งแกร่ง DHC-6-400 ยังคงเป็นหนึ่งในเครื่องบินลำเลียง ที่น่าเชื่อถือมากที่สุด

    การช่วยเหลือ ภารกิจหลังอุบัติเหตุ 🚑🤝 หน่วยกู้ภัยในพื้นที่ ดำเนินการค้นหาและกู้ชีพทันที ร.ต.อ.จตุรงค์ ถูกนำส่งโรงพยาบาลหัวหิน และยังอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผบ.ตร. สั่งการดูแลครอบครัวผู้เสียชีวิต และจัดพิธีศพอย่างสมเกียรติ 🎖️

    👩‍⚕️ การสอบสวนหาสาเหตุอุบัติเหตุ ได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว โดยเน้นการเก็บข้อมูลจากกล่องดำ (Black Box) พยานแวดล้อม ข้อมูลสภาพเครื่องบิน และสภาพอากาศวันเกิดเหตุ

    โศกนาฏกรรมที่ต้องจดจำ บทเรียนเพื่ออนาคต 🕊️ เหตุการณ์เครื่องบินตกครั้งนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความเสียสละ ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่ทำหน้าที่เพื่อประเทศอย่างแท้จริง 🇹🇭 ขณะเดียวกัน ยังเป็นสัญญาณเตือนให้ทุกฝ่าย หันมาใส่ใจในมาตรฐานความปลอดภัย ในการบินอย่างจริงจังยิ่งขึ้น

    ขอร่วมไว้อาลัยแด่ผู้เสียชีวิตทุกนาย และขอให้ "ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์" ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ❤️‍🩹

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 252128 เม.ย. 2568

    🌟 #อุบัติเหตุเครื่องบิน #หัวหิน #ตำรวจไทย #เครื่องบินตก #DHC6TwinOtter #สำนักงานตำรวจแห่งชาติ #รำลึกผู้เสียชีวิต #ภารกิจตำรวจ #ข่าวด่วน #ข่าวประจวบคีรีขันธ์
    บินเล็กตกทะเลหัวหิน ตำรวจพลีชีพ 5 นาย เร่งยื้อชีวิตนักบิน "ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์" เครื่องใหม่ลำแรกของรุ่น เพิ่งประจำการ ตร. แค่ 4 ปี 🚨✈️ ความสูญเสียกลางภารกิจที่ไม่มีวันลืม วันศุกร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2568 ช่วงเช้า 08.15 น. 🌅 ที่หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกิดเหตุการณ์สลดใจ เครื่องบินเล็ก DHC-6 Twin Otter หมายเลข 36964 ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประสบอุบัติเหตุตกลงในทะเล ขณะกำลังทำภารกิจทดสอบการบิน 🌊 โศกนาฏกรรมครั้งนี้ คร่าชีวิตเจ้าหน้าที่ตำรวจถึง 5 นาย 😢 เหลือเพียง ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์ นักบิน ที่รอดชีวิตมาได้ แม้จะบาดเจ็บสาหัส และยังต้องเฝ้าระวังอาการใกล้ชิด ในโรงพยาบาลหัวหิน ลำดับเหตุการณ์ เครื่องตกกลางภารกิจทดสอบการบิน 🚁 เหตุเกิดเช้าวันศุกร์ที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 08.15 น. ที่ชายหาดเบบิ้แกรนด์ ใกล้สนามบินบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่อยู่บนเครื่องมีทั้งหมด 6 นาย ได้แก่... พ.ต.อ.ประธาน เขียวขำ นักบิน เสียชีวิต พ.ต.ท.ปานเทพ มณิวชิรางกูร นักบิน เสียชีวิต ร.ต.ท.ธนวรรษ เมฆประเสริฐสุข วิศวกร เสียชีวิต จ.ส.ต.ประวัติ พลหงษ์สา ช่างเครื่อง เสียชีวิต ส.ต.ต.จิราวัฒน์ มากสาขา ช่างเครื่อง เสียชีวิต ส่วน ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์ นักบิน รอดชีวิต บาดเจ็บสาหัส 🆘 การช่วยเหลือเกิดขึ้นทันทีหลังเครื่องตก โดยมีการปฏิบัติการกู้ชีพ จากเจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัย และชาวบ้านในพื้นที่ อย่างทันท่วงที สภาพเครื่องบินก่อนเกิดเหตุ ซ่อมบำรุง-ทดสอบ-แต่ตกสู่โศกนาฏกรรม ⚙️ การซ่อมบำรุงก่อนบิน 🔧 เครื่องบินลำนี้ เพิ่งได้รับการซ่อมบำรุงเพียง 2-3 วัน ก่อนเกิดเหตุ 🔍 มีการทดสอบภาคพื้นดินอย่างละเอียด ซึ่งผลการตรวจสอบ ไม่พบข้อบกพร่องใด ๆ ภารกิจในวันเกิดเหตุ ทดสอบการบิน เพื่อเตรียมความพร้อมฝึกกระโดดร่ม ตรวจสอบสภาพอากาศ และสภาวะแวดล้อม ช่วงเวลาขึ้นบินประมาณ 1 นาที เครื่องเกิดเสียการทรงตัว ก่อนตกลงทะเล ⛅ สภาพอากาศในวันนั้น มีลมอ่อนถึงปานกลาง แต่ยังไม่ชัดเจนว่า เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุหรือไม่ ข้อมูลเครื่องบิน DHC-6-400 Twin Otter หมายเลข 36964 📚✈️ ผู้ผลิตคืออ Viking Air Ltd. 🇨🇦 เข้าประจำการที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2564 หมายเลขเครื่อง MSN 964 ทะเบียนเดิมในแคนาดาคือ C-FMVQ ก่อนที่จะถูกส่งมอบให้กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เครื่องบินลำนี้ไม่ได้ถูกใช้งาน โดยสายการบิน หรือหน่วยงานอื่นใด ถือเป็นเครื่องบินใหม่ ที่ยังไม่เคยประจำการที่ไหนมาก่อน ลักษณะการใช้งาน เครื่องลำเลียงทางยุทธวิธี เช่น ฝึกกระโดดร่ม ลาดตระเวนชายแดน ส่งกลับสายการแพทย์ 🚑 สเปกทางเทคนิค ความยาว 15.77 เมตร ช่วงปีก 19.81 เมตร ความสูง 5.94 เมตร น้ำหนักเปล่า 3,380 กก. น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด (MTOW) 5,670 กก. ความเร็วเดินทาง 338 กม./ชม. พิสัยการบิน1,427 กม. เพดานบิน 25,000 ฟุต ระบบขับเคลื่อน 2 × Pratt & Whitney PT6A-34 (750 SHP/ข้าง) 🛬 ด้วยคุณสมบัติการขึ้น-ลงระยะสั้น (STOL) ทำให้เครื่องบินรุ่นนี้ เหมาะสมกับภารกิจ ในพื้นที่ทุรกันดารอย่างมาก จุดเด่น ข้อจำกัดของ DHC-6-400 Twin Otter 🔥 จุดเด่น 👍 ✅ ขึ้นลงได้ในพื้นที่สั้น ดิน หญ้า หิมะ หรือน้ำ ✅ ทนทานสูง ซ่อมบำรุงง่าย ✅ ระบบ Glass Cockpit ทันสมัย ✅ รองรับภารกิจหลากหลาย ตั้งแต่พลเรือนไปจนถึงทหาร ข้อจำกัด 👎 ⚠️ ไม่มีระบบความดันภายในห้องโดยสาร ⚠️ เสียงเครื่องยนต์ดังมาก ⚠️ ระบบตรวจจับสภาพอากาศพื้นฐาน อาจไม่เพียงพอในสภาพอากาศเลวร้าย ⚠️ ไม่มีระบบ Fly-by-wire หรือ Auto-throttle ช่วยนักบิน ⚠️ โครงสร้างหลักพัฒนาจากแบบดั้งเดิม (1960s) ✨ แม้ว่าจะมีข้อจำกัด แต่ในแง่ความแข็งแกร่ง DHC-6-400 ยังคงเป็นหนึ่งในเครื่องบินลำเลียง ที่น่าเชื่อถือมากที่สุด การช่วยเหลือ ภารกิจหลังอุบัติเหตุ 🚑🤝 หน่วยกู้ภัยในพื้นที่ ดำเนินการค้นหาและกู้ชีพทันที ร.ต.อ.จตุรงค์ ถูกนำส่งโรงพยาบาลหัวหิน และยังอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผบ.ตร. สั่งการดูแลครอบครัวผู้เสียชีวิต และจัดพิธีศพอย่างสมเกียรติ 🎖️ 👩‍⚕️ การสอบสวนหาสาเหตุอุบัติเหตุ ได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว โดยเน้นการเก็บข้อมูลจากกล่องดำ (Black Box) พยานแวดล้อม ข้อมูลสภาพเครื่องบิน และสภาพอากาศวันเกิดเหตุ โศกนาฏกรรมที่ต้องจดจำ บทเรียนเพื่ออนาคต 🕊️ เหตุการณ์เครื่องบินตกครั้งนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความเสียสละ ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่ทำหน้าที่เพื่อประเทศอย่างแท้จริง 🇹🇭 ขณะเดียวกัน ยังเป็นสัญญาณเตือนให้ทุกฝ่าย หันมาใส่ใจในมาตรฐานความปลอดภัย ในการบินอย่างจริงจังยิ่งขึ้น ขอร่วมไว้อาลัยแด่ผู้เสียชีวิตทุกนาย และขอให้ "ร.ต.อ.จตุรงค์ วัฒนไพรสาณฑ์" ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ❤️‍🩹 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 252128 เม.ย. 2568 🌟 #อุบัติเหตุเครื่องบิน #หัวหิน #ตำรวจไทย #เครื่องบินตก #DHC6TwinOtter #สำนักงานตำรวจแห่งชาติ #รำลึกผู้เสียชีวิต #ภารกิจตำรวจ #ข่าวด่วน #ข่าวประจวบคีรีขันธ์
    0 Comments 0 Shares 361 Views 0 Reviews
  • "ความหวาดกลัวคือความเขลา"
    18 เมษา 68...ขอลองเขียนเล่าเรื่องดาร์ก ๆ ดูบ้าง
    ....
    ความหวาดกลัวมีพื้นฐานจากความโง่เขลา เรื่องนี้ lit nit รู้ดี ทุกครั้งที่เกิดความกลัวในเรื่องใด lit nit จะเผชิญหน้ากับมัน ท้าทายมัน และบุกตะลุยให้ความกลัวกระเจิดกระเจิง เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้ไม่กลัวกับเรื่องนั้นอีกแล้ว
    ....
    แต่ lit nit ยังมีความกลัวอย่างหนึ่งที่หลับใหลอยู่ในส่วนลึกของสำนึก กลัวถึงขนาดที่แม้จะเขียนนิยามของมันออกมาก็ไม่ได้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อสามสิบกว่าปีก่อน มันเป็นเหตุการณ์เล็ก ๆ สำหรับใครหลาย ๆ คนที่อยู่ด้วยในวันนั้น แต่สำหรับ lit nit แม่งคือ "โศกนาฏกรรมของชีวิต !"
    ....
    เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ lit nit หวาดกลัวสิ่งนี้ มันหลับอยู่ในมุมที่มืดที่สุดไม่แสดงตัวให้ใครเห็น จน lit nit เองยังคิดว่ามันจากไปแล้วด้วยซ้ำ แต่ความจริงมันเปล่าเลย มันเคยถูกปลุกให้ตื่นอยู่บางช่วงเวลาของชีวิต มันเขย่าประสาท lit nit จนหลอน มันหยอกล้อเหยียบย่ำ lit nit สนุกสนาน lit nit รู้ดีว่ามีเพียงความกล้าและปัญญาเท่านั้นที่จะจัดการมันได้เบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่นี่มันคือจุดอ่อนแอที่สุด เป็นปมเดียวของชีวิต อยากให้ใครสักคนโยนเชือกมาฉุด lit nit ขึ้นไปจากหลุมดำแห่งนี้ เพื่อยื้อชีวิตต่อเวลาให้ได้ขัดเกลาความกล้าและปัญญาจนแหลมคม เพื่อวันหนึ่งข้างหน้า lit nit จะอาจหาญกล้าตะลุยความหวาดกลัวนี้ให้สะบั้นกันไปข้างหนึ่ง อยากขอเวลาเพิ่มอีกสักนิดจริง ๆ
    ....
    "ความกลัวคือความเขลา"
    ไม่ว่าใครก็โปรดอย่าถามว่าสิ่งนั้นคืออะไร เพราะ lit nit กลัวจนยากที่จะเรียกนิยามของมัน ขอให้ lit nit รับรู้ถึงมันเพียงคนเดียวก็พอ ที่เขียนมันออกมาเพราะอยากลองเขียนเรื่องดาร์ก ๆ ดูบ้างก็เท่านั้น

    lit nit
    18 เมษายน 2568
    "ความหวาดกลัวคือความเขลา" 18 เมษา 68...ขอลองเขียนเล่าเรื่องดาร์ก ๆ ดูบ้าง .... ความหวาดกลัวมีพื้นฐานจากความโง่เขลา เรื่องนี้ lit nit รู้ดี ทุกครั้งที่เกิดความกลัวในเรื่องใด lit nit จะเผชิญหน้ากับมัน ท้าทายมัน และบุกตะลุยให้ความกลัวกระเจิดกระเจิง เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้ไม่กลัวกับเรื่องนั้นอีกแล้ว .... แต่ lit nit ยังมีความกลัวอย่างหนึ่งที่หลับใหลอยู่ในส่วนลึกของสำนึก กลัวถึงขนาดที่แม้จะเขียนนิยามของมันออกมาก็ไม่ได้ จุดเริ่มต้นมันเกิดขึ้นเมื่อสามสิบกว่าปีก่อน มันเป็นเหตุการณ์เล็ก ๆ สำหรับใครหลาย ๆ คนที่อยู่ด้วยในวันนั้น แต่สำหรับ lit nit แม่งคือ "โศกนาฏกรรมของชีวิต !" .... เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ lit nit หวาดกลัวสิ่งนี้ มันหลับอยู่ในมุมที่มืดที่สุดไม่แสดงตัวให้ใครเห็น จน lit nit เองยังคิดว่ามันจากไปแล้วด้วยซ้ำ แต่ความจริงมันเปล่าเลย มันเคยถูกปลุกให้ตื่นอยู่บางช่วงเวลาของชีวิต มันเขย่าประสาท lit nit จนหลอน มันหยอกล้อเหยียบย่ำ lit nit สนุกสนาน lit nit รู้ดีว่ามีเพียงความกล้าและปัญญาเท่านั้นที่จะจัดการมันได้เบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่นี่มันคือจุดอ่อนแอที่สุด เป็นปมเดียวของชีวิต อยากให้ใครสักคนโยนเชือกมาฉุด lit nit ขึ้นไปจากหลุมดำแห่งนี้ เพื่อยื้อชีวิตต่อเวลาให้ได้ขัดเกลาความกล้าและปัญญาจนแหลมคม เพื่อวันหนึ่งข้างหน้า lit nit จะอาจหาญกล้าตะลุยความหวาดกลัวนี้ให้สะบั้นกันไปข้างหนึ่ง อยากขอเวลาเพิ่มอีกสักนิดจริง ๆ .... "ความกลัวคือความเขลา" ไม่ว่าใครก็โปรดอย่าถามว่าสิ่งนั้นคืออะไร เพราะ lit nit กลัวจนยากที่จะเรียกนิยามของมัน ขอให้ lit nit รับรู้ถึงมันเพียงคนเดียวก็พอ ที่เขียนมันออกมาเพราะอยากลองเขียนเรื่องดาร์ก ๆ ดูบ้างก็เท่านั้น lit nit 18 เมษายน 2568
    0 Comments 0 Shares 194 Views 0 Reviews
  • 258 ปี สิ้น “ขุนหลวงขี้เรื้อน” จุดจบราชวงศ์บ้านพลูหลวง 👑 ราชบัลลังก์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา และชะตากรรมที่โลกไม่ลืม

    เส้นทางชีวิตของพระเจ้าเอกทัศ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา กับบทสรุปแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผู้ที่ถูกเรียกขานว่า “ขุนหลวงขี้เรื้อน” 📜

    ประวัติศาสตร์ไทยต้องจารึก การสิ้นสุดของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผ่านพระเจ้าเอกทัศ หรือที่ชาวบ้านรู้จักกันในนาม “ขุนหลวงขี้เรื้อน” กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา กับเรื่องราวชีวิตที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง โรคร้าย และโศกนาฏกรรมแห่งชาติ 🇹🇭📖

    🕰️ ประวัติศาสตร์ไม่เคยหลับใหล 🕰️ 258 ปี ผ่านไป นับแต่วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2310 เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่สอง ชาติไทยได้สูญเสียสิ่งที่ประเมินค่าไม่ได้ นั่นคือเอกราชแห่งแผ่นดิน และราชวงศ์ที่ปกครองสืบเนื่อง มายาวนานกว่า 400 ปี

    หนึ่งในผู้ที่มีบทบาทสำคัญในห้วงเวลานี้คือ “พระเจ้าเอกทัศ” หรือที่ราษฎรทั่วไปเรียกว่า “ขุนหลวงขี้เรื้อน” ชื่อที่แฝงไปด้วยความเจ็บปวด เย้ยหยัน และประวัติศาสตร์ที่แสนซับซ้อน ของกษัตริย์องค์สุดท้าย แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผู้สิ้นราชย์ ในห้วงยามแห่งความล่มสลายของชาติ 💔

    👑กษัตริย์ที่ราชบัลลังก์ไม่เคยพร้อมให้ครอง "พระเจ้าเอกทัศ" หรือสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 ทรงมีพระนามหลากหลาย ทั้ง "พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์" และ "ขุนหลวงขี้เรื้อน" ซึ่งเป็นคำเรียกขานโดยราษฎร เนื่องจากพระองค์มีอาการประชวร ด้วยโรคผิวหนัง ที่สันนิษฐานว่าอาจเป็นโรคเรื้อน หรือกลากเกลื้อนเรื้อรัง 🩺

    จุดเริ่มต้นของการขึ้นครองราชย์ หลังการสวรรคตของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ รัชทายาทที่เหมาะสมตามสายพระโลหิตคือ “เจ้าฟ้าอุทุมพร” แต่ด้วยแรงปรารถนาจะขึ้นครองราชย์อย่างแรงกล้า เจ้าฟ้าเอกทัศซึ่งเป็นเชษฐา ได้เสด็จกลับจากการผนวช และปรี่ขึ้นประทับบนพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ดั่งการตีตราจองราชบัลลังก์ ไว้ด้วยพระองค์เอง 🤴

    เจ้าฟ้าอุทุมพรจึงสละราชสมบัติให้ หลังครองราชย์เพียง 10 วัน แล้วเสด็จออกผนวชเป็น “ขุนหลวงหาวัด” หวังหลีกเร้นจากวังวนอำนาจ 👣

    สาเหตุการสิ้นพระชนม์ของขุนหลวงขี้เรื้อน ☠️

    หลักฐานไทย บันทึกของฝ่ายไทยกล่าวว่า พระองค์หนีภัยสงครามไปหลบซ่อนที่บ้านจิก ใกล้วัดสังฆาวาส และสิ้นพระชนม์เพราะอดพระกระยาหารนานเกิน 10 วัน

    พงศาวดารพม่า 🐘 กล่าวว่าพระองค์ถูกยิงเสียชีวิต ขณะหลบหนีระหว่างกรุงแตก บริเวณประตูท้ายวัง

    คำให้การของฝรั่ง "แอนโทนี โกยาตัน" บันทึกว่า พระเจ้าเอกทัศถูกปลงพระชนม์โดยชาวสยาม หรืออาจทรงวางยาพิษพระองค์เอง 🧪

    พระศพและพิธีพระเพลิง นายทองสุกนำพระบรมศพ ไปฝังที่โคกพระเมรุ หน้าพระวิหารพระมงคลบพิตร ก่อนจะถูกอัญเชิญถวายพระเพลิง ในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

    😇 ขุนหลวงหาวัด กับขุนหลวงขี้เรื้อน 😈

    "พระเจ้าอุทุมพร" กษัตริย์ผู้สละบัลลังก์เพื่อความสงบ พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาท แต่เลือกสละราชสมบัติ เพื่อความสงบภายใน พระองค์จึงกลายเป็น "ขุนหลวงหาวัด" ผู้ปลีกวิเวกที่พระตำหนักคำหยาด จังหวัดอ่างทอง 🏯

    "พระเจ้าเอกทัศ" กษัตริย์ผู้ไม่ยอมเสียราชบัลลังก์ ตรงกันข้าม พระเจ้าเอกทัศมีความกระหายอำนาจ แม้จะมีข้อจำกัดจากพระวรกาย ทรงใช้บัลลังก์เป็นตราจองอำนาจ โดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อบ้านเมือง

    "ขุนหลวงขี้เรื้อน" เป็นโรคเรื้อนจริงหรือแค่คำเล่าลือ? 🧬

    หลักฐานจากตะวันตก ฝรั่งเศส "สังฆราชปีแยร์ บรีโกต์" ระบุว่า พระองค์มีอาการของโรคเรื้อน และไม่ทรงปรากฏพระวรกายต่อผู้ใด ส่วนดัตช์รายงานของ "นิโกลาส บัง" ใช้คำว่า "ลาซารัส" อันเป็นคำเปรียบเทียบถึงโรคเรื้อน

    แต่...โรคเรื้อนห้ามบวช! พระวินัยระบุว่า ผู้ที่เป็นโรคเรื้อนห้ามบวช ซึ่งขัดแย้งกับข้อมูลที่ว่า พระเจ้าเอกทัศเคยออกผนวช จึงอาจหมายถึงโรคผิวหนังอื่น ที่คล้ายคลึงกัน เช่น กลากเกลื้อน หรือโรคผิวหนังเรื้อรัง 😕

    ความขัดแย้งในแผ่นดิน การแตกความสามัคคีในยุคปลายอยุธยา ⚔️ ขุนนางฉ้อฉล ข่มเหงประชาชน พระเจ้าเอกทัศไม่แสดงพระองค์แก่ประชาชน ฝ่ายในมีอำนาจครอบงำการเมือง ราษฎรถูกรีดไถ จนหมดศรัทธา

    ถึงแม้จะมีหลักฐาน ที่กล่าวถึงคุณงามความดีของพระองค์ ในคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม แต่ภาพรวมกลับเป็นลบ ต่อสายตาประวัติศาสตร์

    📖 คำให้การจากผู้ถูกกวาดต้อน มุมมองที่แตกต่าง ใน "คำให้การของชาวกรุงเก่า" พระเจ้าเอกทัศกลับถูกยกย่องว่า

    “...ทรงพระกรุณากับอาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง แผ่เมตตาไปทั่วสารพัดสัตว์ทั้งปวง”

    คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ยังเสริมว่า พระองค์มีศีลธรรม ทศพิธราชธรรม และทำนุบำรุงบ้านเมือง พัฒนามาตราฐานตวงวัด และยกเลิกภาษี 3 ปี 🎯

    🏚️ จุดจบราชวงศ์บ้านพลูหลวง และบทเรียนจากความล่มสลาย พระเจ้าเอกทัศถูกมองว่า เป็นต้นเหตุการเสียกรุง ทั้งจากราษฎรไทยในสมัยธนบุรี ไปจนถึงกษัตริย์ยุคต่อมา เช่น รัชกาลที่ 5 ที่ทรงกลัวจะถูกกล่าวขานในแบบเดียวกัน

    ประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่แค่การจดจำบุคคล แต่เป็นกระจกสะท้อนสังคม วัฒนธรรม และการเมืองในยุคที่ความมั่นคง พังทลายด้วยความทะยานอยากของอำนาจ ⚖️

    🕯️ กษัตริย์ผู้ถูกลืม หรือถูกจำในมุมผิด? “ขุนหลวงขี้เรื้อน” อาจเป็นเพียงนามที่ประชาชนผู้สิ้นศรัทธา ใช้เรียกผู้มีอำนาจที่ไร้ความสามารถ แต่ในอีกแง่หนึ่ง พระเจ้าเอกทัศอาจเป็นเพียงเหยื่อของช่วงเวลา แรงกดดัน และความไม่พร้อมของแผ่นดิน

    เรื่องราวของพระองค์ จึงไม่ใช่แค่ประวัติศาสตร์ของความพ่ายแพ้ แต่คือบทเรียนของการเมืองไทย ที่วนเวียนไม่รู้จบ 🌪️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 171927 เม.ย. 2568

    📢 #ขุนหลวงขี้เรื้อน #กรุงศรีอยุธยา #ประวัติศาสตร์ไทย #พระเจ้าเอกทัศ #ราชวงศ์บ้านพลูหลวง #ขุนหลวงหาวัด #คำให้การชาวกรุงเก่า #กษัตริย์ไทย #โบราณสถาน #พระตำหนักคำหยาด
    258 ปี สิ้น “ขุนหลวงขี้เรื้อน” จุดจบราชวงศ์บ้านพลูหลวง 👑 ราชบัลลังก์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา และชะตากรรมที่โลกไม่ลืม เส้นทางชีวิตของพระเจ้าเอกทัศ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา กับบทสรุปแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผู้ที่ถูกเรียกขานว่า “ขุนหลวงขี้เรื้อน” 📜 ประวัติศาสตร์ไทยต้องจารึก การสิ้นสุดของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผ่านพระเจ้าเอกทัศ หรือที่ชาวบ้านรู้จักกันในนาม “ขุนหลวงขี้เรื้อน” กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา กับเรื่องราวชีวิตที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง โรคร้าย และโศกนาฏกรรมแห่งชาติ 🇹🇭📖 🕰️ ประวัติศาสตร์ไม่เคยหลับใหล 🕰️ 258 ปี ผ่านไป นับแต่วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2310 เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่สอง ชาติไทยได้สูญเสียสิ่งที่ประเมินค่าไม่ได้ นั่นคือเอกราชแห่งแผ่นดิน และราชวงศ์ที่ปกครองสืบเนื่อง มายาวนานกว่า 400 ปี หนึ่งในผู้ที่มีบทบาทสำคัญในห้วงเวลานี้คือ “พระเจ้าเอกทัศ” หรือที่ราษฎรทั่วไปเรียกว่า “ขุนหลวงขี้เรื้อน” ชื่อที่แฝงไปด้วยความเจ็บปวด เย้ยหยัน และประวัติศาสตร์ที่แสนซับซ้อน ของกษัตริย์องค์สุดท้าย แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ผู้สิ้นราชย์ ในห้วงยามแห่งความล่มสลายของชาติ 💔 👑กษัตริย์ที่ราชบัลลังก์ไม่เคยพร้อมให้ครอง "พระเจ้าเอกทัศ" หรือสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 ทรงมีพระนามหลากหลาย ทั้ง "พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์" และ "ขุนหลวงขี้เรื้อน" ซึ่งเป็นคำเรียกขานโดยราษฎร เนื่องจากพระองค์มีอาการประชวร ด้วยโรคผิวหนัง ที่สันนิษฐานว่าอาจเป็นโรคเรื้อน หรือกลากเกลื้อนเรื้อรัง 🩺 จุดเริ่มต้นของการขึ้นครองราชย์ หลังการสวรรคตของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ รัชทายาทที่เหมาะสมตามสายพระโลหิตคือ “เจ้าฟ้าอุทุมพร” แต่ด้วยแรงปรารถนาจะขึ้นครองราชย์อย่างแรงกล้า เจ้าฟ้าเอกทัศซึ่งเป็นเชษฐา ได้เสด็จกลับจากการผนวช และปรี่ขึ้นประทับบนพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ดั่งการตีตราจองราชบัลลังก์ ไว้ด้วยพระองค์เอง 🤴 เจ้าฟ้าอุทุมพรจึงสละราชสมบัติให้ หลังครองราชย์เพียง 10 วัน แล้วเสด็จออกผนวชเป็น “ขุนหลวงหาวัด” หวังหลีกเร้นจากวังวนอำนาจ 👣 สาเหตุการสิ้นพระชนม์ของขุนหลวงขี้เรื้อน ☠️ หลักฐานไทย บันทึกของฝ่ายไทยกล่าวว่า พระองค์หนีภัยสงครามไปหลบซ่อนที่บ้านจิก ใกล้วัดสังฆาวาส และสิ้นพระชนม์เพราะอดพระกระยาหารนานเกิน 10 วัน พงศาวดารพม่า 🐘 กล่าวว่าพระองค์ถูกยิงเสียชีวิต ขณะหลบหนีระหว่างกรุงแตก บริเวณประตูท้ายวัง คำให้การของฝรั่ง "แอนโทนี โกยาตัน" บันทึกว่า พระเจ้าเอกทัศถูกปลงพระชนม์โดยชาวสยาม หรืออาจทรงวางยาพิษพระองค์เอง 🧪 พระศพและพิธีพระเพลิง นายทองสุกนำพระบรมศพ ไปฝังที่โคกพระเมรุ หน้าพระวิหารพระมงคลบพิตร ก่อนจะถูกอัญเชิญถวายพระเพลิง ในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี 😇 ขุนหลวงหาวัด กับขุนหลวงขี้เรื้อน 😈 "พระเจ้าอุทุมพร" กษัตริย์ผู้สละบัลลังก์เพื่อความสงบ พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาท แต่เลือกสละราชสมบัติ เพื่อความสงบภายใน พระองค์จึงกลายเป็น "ขุนหลวงหาวัด" ผู้ปลีกวิเวกที่พระตำหนักคำหยาด จังหวัดอ่างทอง 🏯 "พระเจ้าเอกทัศ" กษัตริย์ผู้ไม่ยอมเสียราชบัลลังก์ ตรงกันข้าม พระเจ้าเอกทัศมีความกระหายอำนาจ แม้จะมีข้อจำกัดจากพระวรกาย ทรงใช้บัลลังก์เป็นตราจองอำนาจ โดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อบ้านเมือง "ขุนหลวงขี้เรื้อน" เป็นโรคเรื้อนจริงหรือแค่คำเล่าลือ? 🧬 หลักฐานจากตะวันตก ฝรั่งเศส "สังฆราชปีแยร์ บรีโกต์" ระบุว่า พระองค์มีอาการของโรคเรื้อน และไม่ทรงปรากฏพระวรกายต่อผู้ใด ส่วนดัตช์รายงานของ "นิโกลาส บัง" ใช้คำว่า "ลาซารัส" อันเป็นคำเปรียบเทียบถึงโรคเรื้อน แต่...โรคเรื้อนห้ามบวช! พระวินัยระบุว่า ผู้ที่เป็นโรคเรื้อนห้ามบวช ซึ่งขัดแย้งกับข้อมูลที่ว่า พระเจ้าเอกทัศเคยออกผนวช จึงอาจหมายถึงโรคผิวหนังอื่น ที่คล้ายคลึงกัน เช่น กลากเกลื้อน หรือโรคผิวหนังเรื้อรัง 😕 ความขัดแย้งในแผ่นดิน การแตกความสามัคคีในยุคปลายอยุธยา ⚔️ ขุนนางฉ้อฉล ข่มเหงประชาชน พระเจ้าเอกทัศไม่แสดงพระองค์แก่ประชาชน ฝ่ายในมีอำนาจครอบงำการเมือง ราษฎรถูกรีดไถ จนหมดศรัทธา ถึงแม้จะมีหลักฐาน ที่กล่าวถึงคุณงามความดีของพระองค์ ในคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม แต่ภาพรวมกลับเป็นลบ ต่อสายตาประวัติศาสตร์ 📖 คำให้การจากผู้ถูกกวาดต้อน มุมมองที่แตกต่าง ใน "คำให้การของชาวกรุงเก่า" พระเจ้าเอกทัศกลับถูกยกย่องว่า “...ทรงพระกรุณากับอาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง แผ่เมตตาไปทั่วสารพัดสัตว์ทั้งปวง” คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ยังเสริมว่า พระองค์มีศีลธรรม ทศพิธราชธรรม และทำนุบำรุงบ้านเมือง พัฒนามาตราฐานตวงวัด และยกเลิกภาษี 3 ปี 🎯 🏚️ จุดจบราชวงศ์บ้านพลูหลวง และบทเรียนจากความล่มสลาย พระเจ้าเอกทัศถูกมองว่า เป็นต้นเหตุการเสียกรุง ทั้งจากราษฎรไทยในสมัยธนบุรี ไปจนถึงกษัตริย์ยุคต่อมา เช่น รัชกาลที่ 5 ที่ทรงกลัวจะถูกกล่าวขานในแบบเดียวกัน ประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่แค่การจดจำบุคคล แต่เป็นกระจกสะท้อนสังคม วัฒนธรรม และการเมืองในยุคที่ความมั่นคง พังทลายด้วยความทะยานอยากของอำนาจ ⚖️ 🕯️ กษัตริย์ผู้ถูกลืม หรือถูกจำในมุมผิด? “ขุนหลวงขี้เรื้อน” อาจเป็นเพียงนามที่ประชาชนผู้สิ้นศรัทธา ใช้เรียกผู้มีอำนาจที่ไร้ความสามารถ แต่ในอีกแง่หนึ่ง พระเจ้าเอกทัศอาจเป็นเพียงเหยื่อของช่วงเวลา แรงกดดัน และความไม่พร้อมของแผ่นดิน เรื่องราวของพระองค์ จึงไม่ใช่แค่ประวัติศาสตร์ของความพ่ายแพ้ แต่คือบทเรียนของการเมืองไทย ที่วนเวียนไม่รู้จบ 🌪️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 171927 เม.ย. 2568 📢 #ขุนหลวงขี้เรื้อน #กรุงศรีอยุธยา #ประวัติศาสตร์ไทย #พระเจ้าเอกทัศ #ราชวงศ์บ้านพลูหลวง #ขุนหลวงหาวัด #คำให้การชาวกรุงเก่า #กษัตริย์ไทย #โบราณสถาน #พระตำหนักคำหยาด
    0 Comments 0 Shares 656 Views 0 Reviews
  • MITRE กำลังจะ ยุติโครงการ Common Vulnerabilities and Exposures (CVE) หลังจาก กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐฯ (DHS) ไม่ต่อสัญญา ซึ่งส่งผลกระทบต่อการติดตามช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทั่วโลก

    ✅ MITRE จะหยุดดำเนินโครงการ CVE ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2025
    - DHS ไม่ต่อสัญญา หลังจากให้ทุนสนับสนุนโครงการมานานกว่า 25 ปี
    - CVE เป็นฐานข้อมูลช่องโหว่ที่สำคัญสำหรับ การจัดการความปลอดภัยทางไซเบอร์ทั่วโลก

    ✅ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมความปลอดภัยไซเบอร์
    - CVE เป็น รากฐานของระบบติดตามช่องโหว่ ที่ใช้โดยองค์กรทั่วโลก
    - การยุติโครงการอาจทำให้ การระบุและจัดการช่องโหว่เป็นไปอย่างล่าช้า

    ✅ ความพยายามในการรักษาโครงการ
    - MITRE ยืนยันว่าจะพยายาม รักษา CVE เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะ
    - ข้อมูล CVE ที่มีอยู่จะยังคงสามารถเข้าถึงได้ผ่าน GitHub

    ✅ ความกังวลจากผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย
    - นักวิจัยจาก Rand Corporation และ Bitsight ระบุว่าการยุติโครงการเป็น "โศกนาฏกรรม"
    - อาจทำให้ การติดตามช่องโหว่ใหม่และการจัดลำดับความสำคัญของแพตช์มีความยุ่งยากขึ้น

    https://www.csoonline.com/article/3963190/cve-program-faces-swift-end-after-dhs-fails-to-renew-contract-leaving-security-flaw-tracking-in-limbo.html
    MITRE กำลังจะ ยุติโครงการ Common Vulnerabilities and Exposures (CVE) หลังจาก กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐฯ (DHS) ไม่ต่อสัญญา ซึ่งส่งผลกระทบต่อการติดตามช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทั่วโลก ✅ MITRE จะหยุดดำเนินโครงการ CVE ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2025 - DHS ไม่ต่อสัญญา หลังจากให้ทุนสนับสนุนโครงการมานานกว่า 25 ปี - CVE เป็นฐานข้อมูลช่องโหว่ที่สำคัญสำหรับ การจัดการความปลอดภัยทางไซเบอร์ทั่วโลก ✅ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมความปลอดภัยไซเบอร์ - CVE เป็น รากฐานของระบบติดตามช่องโหว่ ที่ใช้โดยองค์กรทั่วโลก - การยุติโครงการอาจทำให้ การระบุและจัดการช่องโหว่เป็นไปอย่างล่าช้า ✅ ความพยายามในการรักษาโครงการ - MITRE ยืนยันว่าจะพยายาม รักษา CVE เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะ - ข้อมูล CVE ที่มีอยู่จะยังคงสามารถเข้าถึงได้ผ่าน GitHub ✅ ความกังวลจากผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย - นักวิจัยจาก Rand Corporation และ Bitsight ระบุว่าการยุติโครงการเป็น "โศกนาฏกรรม" - อาจทำให้ การติดตามช่องโหว่ใหม่และการจัดลำดับความสำคัญของแพตช์มีความยุ่งยากขึ้น https://www.csoonline.com/article/3963190/cve-program-faces-swift-end-after-dhs-fails-to-renew-contract-leaving-security-flaw-tracking-in-limbo.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    CVE program faces swift end after DHS fails to renew contract, leaving security flaw tracking in limbo
    MITRE’s 25-year-old Common Vulnerabilities and Exposures (CVE) program will end April 16 after DHS did not renew its funding contract for reasons unspecified. Experts say ending the program, which served as the crux for most cybersecurity defense programs, is a tragedy.
    0 Comments 0 Shares 239 Views 0 Reviews
  • 🌊 113 ปี “เรือไททานิค” ล่ม! 🚢 โศกนาฏกรรมกลางมหาสมุทรจาก “ความประมาท” ไม่ใช่ภัยธรรมชาติ ปิดตำนาน "เรือที่ไม่มีวันจม

    💡 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม "RMS Titanic" ความทรงจำล่มกลางมหาสมุทร จาก "เรือที่ไม่มีวันจม" สู่บทเรียนครั้งใหญ่ของโลก ✍️

    📌 เรือไททานิคที่ถูกขนานนามว่า “เรือที่ไม่มีวันจม” ได้กลายเป็นโศกนาฏกรรมทางมหาสมุทร ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตกว่า 1,500 ศพ จะพาย้อนกลับไปยังเหตุการณ์ในคืนนั้น พร้อมไขทุกข้อเท็จจริง ที่ถูกซ่อนไว้ ทั้งเรื่องความประมาท การจัดการผิดพลาด และผลกระทบต่อโลกใบนี้จนถึงทุกวันนี้ 🔗

    🧭 จากความยิ่งใหญ่ สู่ความอับปางกลางมหาสมุทร ในโลกนี้มีเรื่องเล่ามากมาย เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ "มนุษย์" สร้างขึ้นด้วยความมั่นใจสุดขีดว่า "ไม่มีทางพัง" และในบรรดาเรื่องราวเหล่านั้น "ไททานิค" คือหนึ่งในตำนาน ที่ยังคงตราตรึงใจผู้คนทั่วโลก แม้ผ่านมาแล้ว 113 ปี

    "เรือที่ไม่มีวันจม" กลายเป็น ซากใต้น้ำลึกกว่า 3,800 เมตร ภายในเวลาไม่ถึง 3 ชั่วโมง หลังจากชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็ง กลางมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ 💥

    คำถามที่ยังคงหลอกหลอนประวัติศาสตร์คือ... เรือใหญ่ขนาดนี้จมได้ยังไง? เป็นเพราะโชคร้าย หรือเป็นเพราะความประมาท?

    🚢 "ไททานิค" สุดยอดเรือเดินสมุทรที่โลกเคยรู้จัก จุดเริ่มต้นของความทะเยอทะยาน "อาร์เอ็มเอส ไททานิค" (RMS Titanic ) สร้างโดยบริษัท Harland and Wolff ในเมืองเบลฟาสต์ ประเทศไอร์แลนด์เหนือ และเป็นเรือของสายการเดินเรือ White Star Line เปิดตัวในปี 1912 ด้วยความตั้งใจให้เป็นเรือเดินสมุทรที่ "หรูหราและปลอดภัยที่สุดในโลก" ✨

    เรือมีความยาวถึง 882.5 ฟุต หรือประมาณ 269 เมตร น้ำหนักมากกว่า 46,000 ตัน และสามารถรองรับผู้โดยสาร และลูกเรือได้ถึง 3,547 คน

    ✅ เครื่องยนต์ใหญ่ที่สุดในยุคนั้น สูงกว่า 4 ชั้น

    ✅ ระบบผนังกันน้ำในห้องใต้ท้องเรือ

    ✅ ระบบขับเคลื่อนด้วยกังหัน และใบจักรขนาดยักษ์

    ✅ ห้องโดยสารเฟิร์สต์คลาส หรูหราระดับพระราชวัง

    ✅ มีห้องอ่านหนังสือ, ห้องยิม, ร้านตัดผม, ห้องอาบน้ำตุรกี และลิฟต์ไฟฟ้า

    🛳️ แต่สิ่งที่ผู้คนจดจำ ไม่ใช่ความอลังการ แต่คือ "จุดจบ" ของไททานิค…

    🧊 ชนกับภูเขาน้ำแข็ง จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์

    🚨 คำเตือนที่ถูกมองข้าม ตลอดวันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2455 ไททานิคได้รับ 6 คำเตือน เรื่องภูเขาน้ำแข็งลอยทะเล จากเรือลำอื่น

    แต่คำเตือนเหล่านั้น...
    ❌ บางข้อความไม่ได้ถูกส่งถึงกัปตัน
    ❌ บางข้อความถูกพนักงานวิทยุละเลย เพราะมัวส่งข้อความส่วนตัวของผู้โดยสาร
    ❌ ความเร็วของเรือยังคงอยู่ที่ 22 นอต หรือ 41 กม./ชม. ใกล้ความเร็วสูงสุดที่ 24 นอต

    “แล่นไปข้างหน้า และไว้ใจคนเฝ้าระวัง” แนวคิดของการเดินเรือในยุคนั้น

    🕰️ 23.40 น. คืนวันอาทิตย์ เวลาแห่งหายนะ เมื่อพนักงานเฝ้าระวังเห็นภูเขาน้ำแข็ง ก็สายเกินไปแล้ว... ต้นเรือสั่ง "หักหลบขวาเต็มที่ และถอยเครื่อง" แต่กลไกเรือ และขนาดของไททานิค ทำให้ไม่ทัน ⛔️

    เรือไถลเฉี่ยวภูเขาน้ำแข็งทางกราบขวา ก่อให้เกิดรอยรั่วใน 5 ห้องใต้ท้องเรือ ทั้งที่ไททานิครองรับน้ำได้เพียง 4 ห้องเท่านั้น! 😨

    🧱 ความผิดพลาดในการออกแบบ และการตัดสินใจ 📉 ผนังกันน้ำที่ "ไม่กันจริง" แม้มีห้องผนังกั้นน้ำ 16 ห้อง แต่ผนังสูงไม่พอ เมื่อห้องแรกเต็ม น้ำก็ไหลล้นไปห้องต่อไป… 📌 คล้ายกับน้ำในถาดน้ำแข็งเมื่อเอียง ค่อย ๆ ล้นทีละช่อง

    🪓 เหล็กและหมุดตอกตัวเรือ การวิจัยพบว่า เหล็กที่ใช้ในบางจุดเปราะแตกง่าย หมุดบางตัวไม่ได้มาตรฐาน แผ่นเหล็กในบริเวณหัวเรือ หลุดออกเมื่อชน ทำให้น้ำทะลัก

    🆘 เรือชูชีพไม่พอ การอพยพที่โกลาหล 🚤 เรือลำใหญ่แต่เรือชูชีพมีแค่ 20 ลำ ไททานิคออกแบบให้ติดตั้งเรือชูชีพได้ถึง 68 ลำ แต่เพื่อความ “สวยงาม” ของดาดฟ้า ผู้บริหารสั่งให้ติดแค่ 20 ลำ รองรับคนได้เพียง 1,178 คน จาก 2,224 คน ทั้งที่ต้นทุนเรือชูชีพ แค่เศษเสี้ยวของมูลค่าทั้งเรือ!

    💔 การอพยพที่แย่ที่สุดในประวัติศาสตร์ บางลำปล่อยทั้งที่ยังไม่เต็มคน ผู้โดยสารชั้นสามเข้าไม่ถึงจุดรวมพล เจ้าหน้าที่ไม่มีการฝึกซ้อมมาก่อน ผู้หญิงและเด็กบางคน ไม่ได้รับแจ้งว่าควรขึ้นเรือชูชีพ และ... หลายคน “ปฏิเสธ” ที่จะลงเรือ เพราะไม่เชื่อว่าเรือจะจมจริง 😔

    ❄️ น้ำเย็น = ความตายที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ 🌡️ อุณหภูมิน้ำทะเลในคืนนั้นคือ -2°C ภายในไม่กี่นาทีหลังจากตกน้ำ ร่างกายจะเข้าสู่ภาวะ Hypothermia กล้ามเนื้อหยุดทำงาน หัวใจเต้นช้าลง หมดสติและเสียชีวิตภายใน 15-20 นาที เสียงกรีดร้องของผู้คนค่อย ๆ เบาลง… จนกระทั่ง เงียบสงัด 🕯️

    🧑‍✈️ เสียงจากผู้รอดชีวิต เรื่องเล่าจากคืนที่โลกเปลี่ยนไป แม้จะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1,500 คน แต่ยังมีผู้รอดชีวิตราว 700 คน ที่รอดมาได้อย่างปาฏิหาริย์ หลายคนได้ให้สัมภาษณ์ในเวลาต่อมา พร้อมเล่าประสบการณ์ตรงสุดสะเทือนใจ...

    “การตกลงไปในน้ำเย็น มันเหมือนถูกมีดนับพันเล่มแทงเข้าใส่” : "ชาร์ล ไลท์โทลเลอร์" (Charles Lightoller) ผู้ช่วยต้นเรือคนที่ 2

    บางคนรอดเพราะโชคช่วย บางคนรอดเพราะสัญชาตญาณ แต่...คนส่วนใหญ่รอดเพราะอยู่ในชั้นหนึ่ง ซึ่งเข้าถึงเรือชูชีพได้ก่อน 😢

    ⚖️ ความเหลื่อมล้ำที่ฆ่าคน เด็กและผู้หญิงชั้นหนึ่ง รอดมากกว่า 90% เด็กชั้นสาม เสียชีวิตมากกว่า 66% ผู้ชายชั้นสอง เสียชีวิตถึง 92% ลูกเรือเกือบ 80% เสียชีวิต

    🚸 มีแม้กระทั่งแม่ชาวไอริชที่เล่านิทานให้ลูกฟัง ก่อนจะจมน้ำไปพร้อมกันทั้งครอบครัว

    🎬 Titanic (2540) จากเรือที่จม สู่หนังที่ตราตรึง แม้โศกนาฏกรรมจะผ่านไปกว่าศตวรรษ แต่ชื่อ "Titanic" กลับดังขึ้นอีกครั้งในปี 2540 จากภาพยนตร์โดย "เจมส์ คาเมรอน" (James Cameron) ที่ทำให้โลกทั้งใบสะเทือนใจ 😭🌍

    🎥 หนังทำรายได้ทะลุ 1.8 พันล้านเหรียญ คว้า 11 รางวัลออสการ์ รวมทั้ง ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และผู้กำกับยอดเยี่ยม เพลงประกอบ "My Heart Will Go On" กลายเป็นตำนาน ผู้ชมจดจำฉาก “I'm the king of the world!” และ “You jump, I jump” อย่างไม่มีวันลืม

    🤔 ความจริงกับสิ่งแต่งเติม เรือไททานิคล่มเวลา 02.20 น. ของเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 ตัวละครแจ็ค ดอว์สัน ไม่มีอยู่จริง มีคู่สามีภรรยานอนกอดกันในห้อง โรสเป็นการรวมคาแรกเตอร์จากหลายบุคคล พ่อครัว Charles Joughin รอดจากการจมน้ำ ฉากโรแมนติกบนกระดานไม้ ถูกสร้างเพิ่ม

    🤯 จริง ๆ แล้วภาพวาดโรส "สวมแต่สร้อย" นั้น "เจมส์ คาเมรอน" เป็นคนวาดเอง!

    🕵️‍♂️ 25 เกร็ดลับเบื้องหลังหนัง Titanic ที่อาจไม่เคยรู้

    1. ภาพวาดโรส เป็นฝีมือของเจมส์ คาเมรอน ✍️
    2. ฉากที่โรสถ่มน้ำลายใส่คาล...เคต วินสเล็ต ด้นสดเอง 😆
    3. น้ำที่ใช้ถ่ายฉากท้ายเรื่อง เย็นจนทำให้นักแสดงป่วย Hypothermia ❄️
    4. พรมในหนัง ทอจากโรงงานเดียวกับพรมเรือจริง 🧶
    5. ฉากบันไดหลักถ่ายได้เพียงครั้งเดียว 💦
    6. ฉากเด็กเล่นลูกข่าง อ้างอิงจากภาพถ่ายจริง 👦🏻
    4. แจ็คพูดว่า "น้ำเย็นเหมือนโดนแทงด้วยมีดพันเล่ม" มาจากคำบอกเล่าจริงของผู้รอดชีวิต
    8. รถเรโนลต์ในหนังคือรถจริงที่อยู่บนไททานิค 🚗
    9. หมาของโรสพันธุ์พอเมอเรเนียน — รอดจริงในเหตุการณ์ 🐶
    10. มีดพับของฟาบริซิโอใช้ตัดเชือกเรือชูชีพจริง 🗡️
    11. มาดอนนา เคยเกือบได้เล่นเป็นโรส
    12. พ่อครัวที่เมาเหล้ารอดชีวิตเพราะ “แอลกอฮอล์” 🔥
    13. ดวงดาวบนฟ้าผิด คาเมรอนจึงแก้ไขในเวอร์ชัน 3D 🌌
    14. กล้อง Close-Up มือที่วาดโรส คือมือของคาเมรอนเอง
    15. กลับซ้ายเป็นขวาในฉากเรือออกจากท่า 🔄
    16. โรสขี่ม้าที่ซานตาโมนิกา ตามสัญญาของแจ็ค 🐎
    17. มีการใช้คาเวียร์ของจริงในการถ่ายฉากดินเนอร์ 🥂
    18. เสื้อโค้ตของเคต วินสเล็ตเคยติดประตูเกือบจมน้ำ
    19. ซากเรือจริงในหนัง คาเมรอนดำน้ำไปถ่ายเอง 🛥️
    20. แจ็คพูดถึงทะเลสาบที่ยังไม่สร้างตอนปี 2455 ❌
    21. ปล่องไฟที่ 4 ของเรือ ไม่มีควันเพราะไม่ต่อกับเตาไฟ
    22. เรือพับได้ในหนังมีจริง และถูกใช้จริง
    23. ชุดที่โรสใส่ขณะหนีไฟไหม้ ทำซ้ำกว่า 30 ชุด
    24. ทรายใต้กระดานไม้ฉากสุดท้าย เป็นทรายจริง
    25. แฟนหนังจำนวนมากไปเยี่ยม “หลุมศพ J. Dawson” จริง 🪦

    📜 มรดกจากโศกนาฏกรรม บทเรียนราคาแพง 🚢 SOLAS กฎแห่งท้องทะเล หลังโศกนาฏกรรมไททานิค โลกทั้งใบตื่นรู้ว่า "ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ" และได้นำไปสู่การจัดตั้ง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (SOLAS) ปี 2457

    SOLAS กำหนดให้เรือทุกลำต้องมีเรือชูชีพเพียงพอ ระบบวิทยุต้องเปิดตลอด 24 ชั่วโมง มีการซ้อมหนีภัยจริงจัง ปรับปรุงการออกแบบเรือให้รัดกุมยิ่งขึ้น

    ✨ 113 ปี แห่งการเตือนใจ เรือไททานิคคือเครื่องเตือนใจของโลก ว่า “ความมั่นใจมากเกินไป” นั้นอันตราย “ความประมาท” สามารถพรากชีวิตผู้คนได้เกินพัน ภายในไม่กี่ชั่วโมง แม้จะใช้เทคโนโลยีล้ำหน้า แต่หากไร้การวางแผน และความระมัดระวัง ก็อาจนำสู่หายนะ ไททานิคจม แต่บทเรียน… ยังคงลอยอยู่เหนือผิวน้ำเสมอ

    📌 เรื่องราวของไททานิค ไม่ใช่เพียงตำนานเรือใหญ่ล่ม แต่คือสัญลักษณ์ของ “ความมั่นใจเกินขีดจำกัด” ของมนุษย์ ที่นำมาซึ่งโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ ความประมาท ความละเลย และระบบที่ไม่พร้อม คือสาเหตุหลักของการสูญเสียชีวิตนับพัน ในเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 และยังคงเตือนใจมนุษย์ในทุกยุคว่า “ไม่มีสิ่งใดในโลกที่ไม่มีวันจม” 🌊🕯️

    🔚 เมื่อ “ไม่มีวันจม” กลายเป็น “จมจริง” 🚢 จุดจบของเรือที่เคยถูกยกย่องว่า “ไม่มีวันจม”

    ...แต่คือจุดเริ่มต้นของกฎหมายความปลอดภัยทางทะเล ที่ช่วยชีวิตผู้คนนับล้านในศตวรรษต่อมา 🌍

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 151322 เม.ย. 2568

    📲 #ไททานิค #Titanic #เรือไททานิคล่ม #เรื่องจริงไททานิค #แจ็คโรส #โศกนาฏกรรมไททานิค #TitanicFacts #ไททานิค113ปี #หนังTitanic #MyHeartWillGoOn

    🌊 113 ปี “เรือไททานิค” ล่ม! 🚢 โศกนาฏกรรมกลางมหาสมุทรจาก “ความประมาท” ไม่ใช่ภัยธรรมชาติ ปิดตำนาน "เรือที่ไม่มีวันจม 💡 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม "RMS Titanic" ความทรงจำล่มกลางมหาสมุทร จาก "เรือที่ไม่มีวันจม" สู่บทเรียนครั้งใหญ่ของโลก ✍️ 📌 เรือไททานิคที่ถูกขนานนามว่า “เรือที่ไม่มีวันจม” ได้กลายเป็นโศกนาฏกรรมทางมหาสมุทร ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตกว่า 1,500 ศพ จะพาย้อนกลับไปยังเหตุการณ์ในคืนนั้น พร้อมไขทุกข้อเท็จจริง ที่ถูกซ่อนไว้ ทั้งเรื่องความประมาท การจัดการผิดพลาด และผลกระทบต่อโลกใบนี้จนถึงทุกวันนี้ 🔗 🧭 จากความยิ่งใหญ่ สู่ความอับปางกลางมหาสมุทร ในโลกนี้มีเรื่องเล่ามากมาย เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ "มนุษย์" สร้างขึ้นด้วยความมั่นใจสุดขีดว่า "ไม่มีทางพัง" และในบรรดาเรื่องราวเหล่านั้น "ไททานิค" คือหนึ่งในตำนาน ที่ยังคงตราตรึงใจผู้คนทั่วโลก แม้ผ่านมาแล้ว 113 ปี "เรือที่ไม่มีวันจม" กลายเป็น ซากใต้น้ำลึกกว่า 3,800 เมตร ภายในเวลาไม่ถึง 3 ชั่วโมง หลังจากชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็ง กลางมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ 💥 คำถามที่ยังคงหลอกหลอนประวัติศาสตร์คือ... เรือใหญ่ขนาดนี้จมได้ยังไง? เป็นเพราะโชคร้าย หรือเป็นเพราะความประมาท? 🚢 "ไททานิค" สุดยอดเรือเดินสมุทรที่โลกเคยรู้จัก จุดเริ่มต้นของความทะเยอทะยาน "อาร์เอ็มเอส ไททานิค" (RMS Titanic ) สร้างโดยบริษัท Harland and Wolff ในเมืองเบลฟาสต์ ประเทศไอร์แลนด์เหนือ และเป็นเรือของสายการเดินเรือ White Star Line เปิดตัวในปี 1912 ด้วยความตั้งใจให้เป็นเรือเดินสมุทรที่ "หรูหราและปลอดภัยที่สุดในโลก" ✨ เรือมีความยาวถึง 882.5 ฟุต หรือประมาณ 269 เมตร น้ำหนักมากกว่า 46,000 ตัน และสามารถรองรับผู้โดยสาร และลูกเรือได้ถึง 3,547 คน ✅ เครื่องยนต์ใหญ่ที่สุดในยุคนั้น สูงกว่า 4 ชั้น ✅ ระบบผนังกันน้ำในห้องใต้ท้องเรือ ✅ ระบบขับเคลื่อนด้วยกังหัน และใบจักรขนาดยักษ์ ✅ ห้องโดยสารเฟิร์สต์คลาส หรูหราระดับพระราชวัง ✅ มีห้องอ่านหนังสือ, ห้องยิม, ร้านตัดผม, ห้องอาบน้ำตุรกี และลิฟต์ไฟฟ้า 🛳️ แต่สิ่งที่ผู้คนจดจำ ไม่ใช่ความอลังการ แต่คือ "จุดจบ" ของไททานิค… 🧊 ชนกับภูเขาน้ำแข็ง จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ 🚨 คำเตือนที่ถูกมองข้าม ตลอดวันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2455 ไททานิคได้รับ 6 คำเตือน เรื่องภูเขาน้ำแข็งลอยทะเล จากเรือลำอื่น แต่คำเตือนเหล่านั้น... ❌ บางข้อความไม่ได้ถูกส่งถึงกัปตัน ❌ บางข้อความถูกพนักงานวิทยุละเลย เพราะมัวส่งข้อความส่วนตัวของผู้โดยสาร ❌ ความเร็วของเรือยังคงอยู่ที่ 22 นอต หรือ 41 กม./ชม. ใกล้ความเร็วสูงสุดที่ 24 นอต “แล่นไปข้างหน้า และไว้ใจคนเฝ้าระวัง” แนวคิดของการเดินเรือในยุคนั้น 🕰️ 23.40 น. คืนวันอาทิตย์ เวลาแห่งหายนะ เมื่อพนักงานเฝ้าระวังเห็นภูเขาน้ำแข็ง ก็สายเกินไปแล้ว... ต้นเรือสั่ง "หักหลบขวาเต็มที่ และถอยเครื่อง" แต่กลไกเรือ และขนาดของไททานิค ทำให้ไม่ทัน ⛔️ เรือไถลเฉี่ยวภูเขาน้ำแข็งทางกราบขวา ก่อให้เกิดรอยรั่วใน 5 ห้องใต้ท้องเรือ ทั้งที่ไททานิครองรับน้ำได้เพียง 4 ห้องเท่านั้น! 😨 🧱 ความผิดพลาดในการออกแบบ และการตัดสินใจ 📉 ผนังกันน้ำที่ "ไม่กันจริง" แม้มีห้องผนังกั้นน้ำ 16 ห้อง แต่ผนังสูงไม่พอ เมื่อห้องแรกเต็ม น้ำก็ไหลล้นไปห้องต่อไป… 📌 คล้ายกับน้ำในถาดน้ำแข็งเมื่อเอียง ค่อย ๆ ล้นทีละช่อง 🪓 เหล็กและหมุดตอกตัวเรือ การวิจัยพบว่า เหล็กที่ใช้ในบางจุดเปราะแตกง่าย หมุดบางตัวไม่ได้มาตรฐาน แผ่นเหล็กในบริเวณหัวเรือ หลุดออกเมื่อชน ทำให้น้ำทะลัก 🆘 เรือชูชีพไม่พอ การอพยพที่โกลาหล 🚤 เรือลำใหญ่แต่เรือชูชีพมีแค่ 20 ลำ ไททานิคออกแบบให้ติดตั้งเรือชูชีพได้ถึง 68 ลำ แต่เพื่อความ “สวยงาม” ของดาดฟ้า ผู้บริหารสั่งให้ติดแค่ 20 ลำ รองรับคนได้เพียง 1,178 คน จาก 2,224 คน ทั้งที่ต้นทุนเรือชูชีพ แค่เศษเสี้ยวของมูลค่าทั้งเรือ! 💔 การอพยพที่แย่ที่สุดในประวัติศาสตร์ บางลำปล่อยทั้งที่ยังไม่เต็มคน ผู้โดยสารชั้นสามเข้าไม่ถึงจุดรวมพล เจ้าหน้าที่ไม่มีการฝึกซ้อมมาก่อน ผู้หญิงและเด็กบางคน ไม่ได้รับแจ้งว่าควรขึ้นเรือชูชีพ และ... หลายคน “ปฏิเสธ” ที่จะลงเรือ เพราะไม่เชื่อว่าเรือจะจมจริง 😔 ❄️ น้ำเย็น = ความตายที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ 🌡️ อุณหภูมิน้ำทะเลในคืนนั้นคือ -2°C ภายในไม่กี่นาทีหลังจากตกน้ำ ร่างกายจะเข้าสู่ภาวะ Hypothermia กล้ามเนื้อหยุดทำงาน หัวใจเต้นช้าลง หมดสติและเสียชีวิตภายใน 15-20 นาที เสียงกรีดร้องของผู้คนค่อย ๆ เบาลง… จนกระทั่ง เงียบสงัด 🕯️ 🧑‍✈️ เสียงจากผู้รอดชีวิต เรื่องเล่าจากคืนที่โลกเปลี่ยนไป แม้จะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1,500 คน แต่ยังมีผู้รอดชีวิตราว 700 คน ที่รอดมาได้อย่างปาฏิหาริย์ หลายคนได้ให้สัมภาษณ์ในเวลาต่อมา พร้อมเล่าประสบการณ์ตรงสุดสะเทือนใจ... “การตกลงไปในน้ำเย็น มันเหมือนถูกมีดนับพันเล่มแทงเข้าใส่” : "ชาร์ล ไลท์โทลเลอร์" (Charles Lightoller) ผู้ช่วยต้นเรือคนที่ 2 บางคนรอดเพราะโชคช่วย บางคนรอดเพราะสัญชาตญาณ แต่...คนส่วนใหญ่รอดเพราะอยู่ในชั้นหนึ่ง ซึ่งเข้าถึงเรือชูชีพได้ก่อน 😢 ⚖️ ความเหลื่อมล้ำที่ฆ่าคน เด็กและผู้หญิงชั้นหนึ่ง รอดมากกว่า 90% เด็กชั้นสาม เสียชีวิตมากกว่า 66% ผู้ชายชั้นสอง เสียชีวิตถึง 92% ลูกเรือเกือบ 80% เสียชีวิต 🚸 มีแม้กระทั่งแม่ชาวไอริชที่เล่านิทานให้ลูกฟัง ก่อนจะจมน้ำไปพร้อมกันทั้งครอบครัว 🎬 Titanic (2540) จากเรือที่จม สู่หนังที่ตราตรึง แม้โศกนาฏกรรมจะผ่านไปกว่าศตวรรษ แต่ชื่อ "Titanic" กลับดังขึ้นอีกครั้งในปี 2540 จากภาพยนตร์โดย "เจมส์ คาเมรอน" (James Cameron) ที่ทำให้โลกทั้งใบสะเทือนใจ 😭🌍 🎥 หนังทำรายได้ทะลุ 1.8 พันล้านเหรียญ คว้า 11 รางวัลออสการ์ รวมทั้ง ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และผู้กำกับยอดเยี่ยม เพลงประกอบ "My Heart Will Go On" กลายเป็นตำนาน ผู้ชมจดจำฉาก “I'm the king of the world!” และ “You jump, I jump” อย่างไม่มีวันลืม 🤔 ความจริงกับสิ่งแต่งเติม เรือไททานิคล่มเวลา 02.20 น. ของเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 ตัวละครแจ็ค ดอว์สัน ไม่มีอยู่จริง มีคู่สามีภรรยานอนกอดกันในห้อง โรสเป็นการรวมคาแรกเตอร์จากหลายบุคคล พ่อครัว Charles Joughin รอดจากการจมน้ำ ฉากโรแมนติกบนกระดานไม้ ถูกสร้างเพิ่ม 🤯 จริง ๆ แล้วภาพวาดโรส "สวมแต่สร้อย" นั้น "เจมส์ คาเมรอน" เป็นคนวาดเอง! 🕵️‍♂️ 25 เกร็ดลับเบื้องหลังหนัง Titanic ที่อาจไม่เคยรู้ 1. ภาพวาดโรส เป็นฝีมือของเจมส์ คาเมรอน ✍️ 2. ฉากที่โรสถ่มน้ำลายใส่คาล...เคต วินสเล็ต ด้นสดเอง 😆 3. น้ำที่ใช้ถ่ายฉากท้ายเรื่อง เย็นจนทำให้นักแสดงป่วย Hypothermia ❄️ 4. พรมในหนัง ทอจากโรงงานเดียวกับพรมเรือจริง 🧶 5. ฉากบันไดหลักถ่ายได้เพียงครั้งเดียว 💦 6. ฉากเด็กเล่นลูกข่าง อ้างอิงจากภาพถ่ายจริง 👦🏻 4. แจ็คพูดว่า "น้ำเย็นเหมือนโดนแทงด้วยมีดพันเล่ม" มาจากคำบอกเล่าจริงของผู้รอดชีวิต 8. รถเรโนลต์ในหนังคือรถจริงที่อยู่บนไททานิค 🚗 9. หมาของโรสพันธุ์พอเมอเรเนียน — รอดจริงในเหตุการณ์ 🐶 10. มีดพับของฟาบริซิโอใช้ตัดเชือกเรือชูชีพจริง 🗡️ 11. มาดอนนา เคยเกือบได้เล่นเป็นโรส 12. พ่อครัวที่เมาเหล้ารอดชีวิตเพราะ “แอลกอฮอล์” 🔥 13. ดวงดาวบนฟ้าผิด คาเมรอนจึงแก้ไขในเวอร์ชัน 3D 🌌 14. กล้อง Close-Up มือที่วาดโรส คือมือของคาเมรอนเอง 15. กลับซ้ายเป็นขวาในฉากเรือออกจากท่า 🔄 16. โรสขี่ม้าที่ซานตาโมนิกา ตามสัญญาของแจ็ค 🐎 17. มีการใช้คาเวียร์ของจริงในการถ่ายฉากดินเนอร์ 🥂 18. เสื้อโค้ตของเคต วินสเล็ตเคยติดประตูเกือบจมน้ำ 19. ซากเรือจริงในหนัง คาเมรอนดำน้ำไปถ่ายเอง 🛥️ 20. แจ็คพูดถึงทะเลสาบที่ยังไม่สร้างตอนปี 2455 ❌ 21. ปล่องไฟที่ 4 ของเรือ ไม่มีควันเพราะไม่ต่อกับเตาไฟ 22. เรือพับได้ในหนังมีจริง และถูกใช้จริง 23. ชุดที่โรสใส่ขณะหนีไฟไหม้ ทำซ้ำกว่า 30 ชุด 24. ทรายใต้กระดานไม้ฉากสุดท้าย เป็นทรายจริง 25. แฟนหนังจำนวนมากไปเยี่ยม “หลุมศพ J. Dawson” จริง 🪦 📜 มรดกจากโศกนาฏกรรม บทเรียนราคาแพง 🚢 SOLAS กฎแห่งท้องทะเล หลังโศกนาฏกรรมไททานิค โลกทั้งใบตื่นรู้ว่า "ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ" และได้นำไปสู่การจัดตั้ง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (SOLAS) ปี 2457 SOLAS กำหนดให้เรือทุกลำต้องมีเรือชูชีพเพียงพอ ระบบวิทยุต้องเปิดตลอด 24 ชั่วโมง มีการซ้อมหนีภัยจริงจัง ปรับปรุงการออกแบบเรือให้รัดกุมยิ่งขึ้น ✨ 113 ปี แห่งการเตือนใจ เรือไททานิคคือเครื่องเตือนใจของโลก ว่า “ความมั่นใจมากเกินไป” นั้นอันตราย “ความประมาท” สามารถพรากชีวิตผู้คนได้เกินพัน ภายในไม่กี่ชั่วโมง แม้จะใช้เทคโนโลยีล้ำหน้า แต่หากไร้การวางแผน และความระมัดระวัง ก็อาจนำสู่หายนะ ไททานิคจม แต่บทเรียน… ยังคงลอยอยู่เหนือผิวน้ำเสมอ 📌 เรื่องราวของไททานิค ไม่ใช่เพียงตำนานเรือใหญ่ล่ม แต่คือสัญลักษณ์ของ “ความมั่นใจเกินขีดจำกัด” ของมนุษย์ ที่นำมาซึ่งโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ ความประมาท ความละเลย และระบบที่ไม่พร้อม คือสาเหตุหลักของการสูญเสียชีวิตนับพัน ในเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 และยังคงเตือนใจมนุษย์ในทุกยุคว่า “ไม่มีสิ่งใดในโลกที่ไม่มีวันจม” 🌊🕯️ 🔚 เมื่อ “ไม่มีวันจม” กลายเป็น “จมจริง” 🚢 จุดจบของเรือที่เคยถูกยกย่องว่า “ไม่มีวันจม” ...แต่คือจุดเริ่มต้นของกฎหมายความปลอดภัยทางทะเล ที่ช่วยชีวิตผู้คนนับล้านในศตวรรษต่อมา 🌍 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 151322 เม.ย. 2568 📲 #ไททานิค #Titanic #เรือไททานิคล่ม #เรื่องจริงไททานิค #แจ็คโรส #โศกนาฏกรรมไททานิค #TitanicFacts #ไททานิค113ปี #หนังTitanic #MyHeartWillGoOn
    0 Comments 0 Shares 833 Views 0 Reviews
  • อันเดรย์ เยอร์มัค หัวหน้าสำนักงานประธานาธิบดียูเครน ออกมาตอบโต้นักการเมืองฝ่ายตรงข้ามบางคนที่พยายามใช้เหตุการณ์ในเมืองซูมีเพื่อสร้างความแตกแยกในยูเครน

    "บางคนพยายามใช้โศกนาฏกรรมและอาชญากรรมสงครามของรัสเซียเพื่อโปรโมตตัวเองบนโซเชียลมีเดีย" เยอร์มัค กล่าวพาดพิงไปถึง ส.ส. มารีอานา เบซูห์ลา ซึ่งกล่าวว่าการโจมตีซูมีของรัสเซียมาจากการปล่อยให้กองทหารยูเครนที่รวมตัวกันในพื้นที่ดังกล่าว

    ขณะเดียวกัน นายกเทศมนตรีเมืองโคโนท็อปได้เรียกร้องให้หัวหน้าฝ่ายบริหารภูมิภาคซูมีและผู้บัญชาการทหารของภูมิภาคลาออกทันที

    รวมถึงอดีต ส.ส. ยูเครน อิกอร์ โมซิชุก ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการโจมตีด้วยขีปนาวุธของรัสเซีย โดยกล่าวว่าหัวหน้าฝ่ายบริหารระดับภูมิภาค นายอาร์ตุค และ ส.ส. นายอานันเชนโก ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง ควรจะถูกจับกุมตัว เนื่องจากปล่อยให้มีการจัดพิธีทหารเนื่องในโอกาสครบรอบ 7 ปีของกองพลป้องกันดินแดนที่ 117

    อันเดรย์ เยอร์มัค หัวหน้าสำนักงานประธานาธิบดียูเครน ออกมาตอบโต้นักการเมืองฝ่ายตรงข้ามบางคนที่พยายามใช้เหตุการณ์ในเมืองซูมีเพื่อสร้างความแตกแยกในยูเครน "บางคนพยายามใช้โศกนาฏกรรมและอาชญากรรมสงครามของรัสเซียเพื่อโปรโมตตัวเองบนโซเชียลมีเดีย" เยอร์มัค กล่าวพาดพิงไปถึง ส.ส. มารีอานา เบซูห์ลา ซึ่งกล่าวว่าการโจมตีซูมีของรัสเซียมาจากการปล่อยให้กองทหารยูเครนที่รวมตัวกันในพื้นที่ดังกล่าว ขณะเดียวกัน นายกเทศมนตรีเมืองโคโนท็อปได้เรียกร้องให้หัวหน้าฝ่ายบริหารภูมิภาคซูมีและผู้บัญชาการทหารของภูมิภาคลาออกทันที รวมถึงอดีต ส.ส. ยูเครน อิกอร์ โมซิชุก ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการโจมตีด้วยขีปนาวุธของรัสเซีย โดยกล่าวว่าหัวหน้าฝ่ายบริหารระดับภูมิภาค นายอาร์ตุค และ ส.ส. นายอานันเชนโก ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง ควรจะถูกจับกุมตัว เนื่องจากปล่อยให้มีการจัดพิธีทหารเนื่องในโอกาสครบรอบ 7 ปีของกองพลป้องกันดินแดนที่ 117
    0 Comments 0 Shares 319 Views 0 Reviews
  • คนคำนวนหรือจะสู้ฟ้าลิขิต

    บ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 เกิดเหตุภัยพิบัติที่เมียนมาทิศตะวันตกรัศมี 225 ถึง 315 องศาของประเทศไทย โดยแผ่นดินไหวในครั้งนี้มีการปลดปล่อยพลังงานเทียบเท่าระเบิดนิวเคลียร์กว่า 334 ลูก ทิ้งร่องรอยความเสียหายเป็นซากปรักหักพังสร้างความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงต่อทรัพย์สินและชีวิตผู้คนเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นประเทศต้นทางภัยพิบัติหรือบ้านใกล้เรือนเคียงอย่างประเทศไทยต่างก็ได้รับผลกระทบมากหรือน้อยเช่นกัน เฉกเช่น “โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน” ย่านจตุจักร เกิดถล่มในเวลาไล่หลังกัน

    จากมุมมองของนักฮวงจุ้ยวิทยา ที่ว่าด้วยศาสตร์แห่งความสัมพันธ์ระหว่างทิศทาง กับ ช่วงห้วงเวลา ก่อเกิดกระแสพลังธรรมชาติคู่ศัตรูธาตุตรงข้ามที่ขัดแย้งปะทะห้ำหั่นต่อกัน ที่เรียกว่า กระแสพลังอัปมงคล “3 อสูร” หรือ “三煞”(ซาสั่วะ) ที่มีลักษณะวิบากต่างๆเป็นปัจจัยจุดชนวนให้เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นวิบากจากถนน ช่องลม มุมตึก ป้ายโฆษณา หรือแม้แต่การกระทบกระทั่งต่อพื้นดิน โดยเฉพาะตัวอาคารหลังอิงพิงทิศตะวันตก ราศีระกา “酉”(อิ้ว) ธาตุทอง ปะทะกับเดือนเถาะ “卯”(เบ้า) มีนาคมที่เป็นทิศแตกสลาย 月破(ง๊วยผั่ว) อีกทั้งทางหลักเบญจธาตุรูปทรงตัวอาคารสูงเป็นธาตุไม้ถูกทิศประธานที่เป็นธาตุทองพิฆาต กระตุ้นกระแสพลังอัปมงคลปะทุเกิดเหตุอาคารถล่มใน“โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน” ย่านจตุจักร ณ วันศุกร์ที่ 28 เดือนมีนาคม พ.ศ.2568 ปรากฏความเลวร้ายที่ไม่คาดคิด โศกนาฏกรรมที่ไม่คาดฝัน เป็นภัยพิบัติแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งที่ไม่เคยประสบมาก่อน

    ความสูญเสียและความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวในครั้งนี้ ย่อมมีผู้สูญเสียและผู้ได้รับบาดเจ็บ ต่างล้วนเป็นเหยื่อจากกระแสวิบากพลังจักรวาลที่เป็นกฎแห่งความเป็นจริงอันสูงสุดของพลังธรรมชาติ ขณะที่บทสรุปจากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบหาความจริงเชิงสถาปัตยกรรมจากแบบแปลนในการคำนวนออกแบบตลอดจนกระบวนการการก่อสร้างทุกๆขั้นตอนเพื่อหาผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อเหตุอาคารถล่มในครั้งนี้ซึ่งยังคงต้องรอพิสูจน์ต่อไป

    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    คนคำนวนหรือจะสู้ฟ้าลิขิต บ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 เกิดเหตุภัยพิบัติที่เมียนมาทิศตะวันตกรัศมี 225 ถึง 315 องศาของประเทศไทย โดยแผ่นดินไหวในครั้งนี้มีการปลดปล่อยพลังงานเทียบเท่าระเบิดนิวเคลียร์กว่า 334 ลูก ทิ้งร่องรอยความเสียหายเป็นซากปรักหักพังสร้างความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงต่อทรัพย์สินและชีวิตผู้คนเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นประเทศต้นทางภัยพิบัติหรือบ้านใกล้เรือนเคียงอย่างประเทศไทยต่างก็ได้รับผลกระทบมากหรือน้อยเช่นกัน เฉกเช่น “โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน” ย่านจตุจักร เกิดถล่มในเวลาไล่หลังกัน จากมุมมองของนักฮวงจุ้ยวิทยา ที่ว่าด้วยศาสตร์แห่งความสัมพันธ์ระหว่างทิศทาง กับ ช่วงห้วงเวลา ก่อเกิดกระแสพลังธรรมชาติคู่ศัตรูธาตุตรงข้ามที่ขัดแย้งปะทะห้ำหั่นต่อกัน ที่เรียกว่า กระแสพลังอัปมงคล “3 อสูร” หรือ “三煞”(ซาสั่วะ) ที่มีลักษณะวิบากต่างๆเป็นปัจจัยจุดชนวนให้เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นวิบากจากถนน ช่องลม มุมตึก ป้ายโฆษณา หรือแม้แต่การกระทบกระทั่งต่อพื้นดิน โดยเฉพาะตัวอาคารหลังอิงพิงทิศตะวันตก ราศีระกา “酉”(อิ้ว) ธาตุทอง ปะทะกับเดือนเถาะ “卯”(เบ้า) มีนาคมที่เป็นทิศแตกสลาย 月破(ง๊วยผั่ว) อีกทั้งทางหลักเบญจธาตุรูปทรงตัวอาคารสูงเป็นธาตุไม้ถูกทิศประธานที่เป็นธาตุทองพิฆาต กระตุ้นกระแสพลังอัปมงคลปะทุเกิดเหตุอาคารถล่มใน“โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน” ย่านจตุจักร ณ วันศุกร์ที่ 28 เดือนมีนาคม พ.ศ.2568 ปรากฏความเลวร้ายที่ไม่คาดคิด โศกนาฏกรรมที่ไม่คาดฝัน เป็นภัยพิบัติแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งที่ไม่เคยประสบมาก่อน ความสูญเสียและความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวในครั้งนี้ ย่อมมีผู้สูญเสียและผู้ได้รับบาดเจ็บ ต่างล้วนเป็นเหยื่อจากกระแสวิบากพลังจักรวาลที่เป็นกฎแห่งความเป็นจริงอันสูงสุดของพลังธรรมชาติ ขณะที่บทสรุปจากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบหาความจริงเชิงสถาปัตยกรรมจากแบบแปลนในการคำนวนออกแบบตลอดจนกระบวนการการก่อสร้างทุกๆขั้นตอนเพื่อหาผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อเหตุอาคารถล่มในครั้งนี้ซึ่งยังคงต้องรอพิสูจน์ต่อไป ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 Comments 0 Shares 371 Views 0 Reviews
  • ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย

    📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ

    🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ

    เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳

    📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀

    จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน

    แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ

    ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ

    📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต
    🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น.
    - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ
    - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ
    - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน
    - ผู้สูญหาย 47 คน
    - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน

    การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D
    📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย
    📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย
    📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย

    การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย

    💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว

    🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร

    👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ

    โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง

    🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน

    โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น
    - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน”
    - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form)
    - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ
    - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว

    👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น...

    🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน
    - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้

    - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง”

    - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น

    🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง
    – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

    – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส

    – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก

    ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด

    หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568

    🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย 📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ 🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳 📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀 จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ 📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต 🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น. - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน - ผู้สูญหาย 47 คน - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D 📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย 📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย 📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย 💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว 🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร 👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง 🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน” - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form) - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว 👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น... 🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้ - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง” - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น 🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568 🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    0 Comments 0 Shares 990 Views 0 Reviews
  • จุดจบวัฒนธรรมพิการ ศาลสั่งประหาร! “อั้ม-อนาวิน แก้วเก็บ” มือยิง “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด”

    ✍️ จากวัฒนธรรมรับน้องผิดเพี้ยน สู่บทสรุปคดีสะเทือนขวัญ วัยรุ่นไทยควรได้บทเรียนอะไร จากโศกนาฏกรรมนี้? ศาลสั่งประหาร “อั้ม-อนาวิน” คดียิง “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด” สะเทือนใจทั้งประเทศ จุดจบวัฒนธรรมพิการต้องจบที่รุ่นเรา เหยื่อบริสุทธิ์จากวัฒนธรรมรับน้องผิดๆ จุดเริ่มต้นของการล้มล้างความรุนแรง แฝงในระบบการศึกษาไทย

    🔵 ความสูญเสียที่ต้องไม่สูญเปล่า วันที่ 28 มีนาคม 2568 กลายเป็นวันที่หลายคนจดจำ เมื่อศาลอาญากรุงเทพใต้ มีคำพิพากษาชั้นต้นให้ “ประหารชีวิตนายอนาวิน แก้วเก็บ” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “อั้ม” มือยิงผู้บริสุทธิ์สองราย ได้แก่ “ครูเจี๊ยบ” และ “น้องหยอด” จากเหตุการณ์เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2566

    เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ “คดีฆาตกรรม” แต่สะท้อนปัญหาฝังลึกในสังคม คือ “วัฒนธรรมรับน้องอันรุนแรง” ที่ปลูกฝังความเชื่อผิดๆ และส่งต่อกันมาโดยไร้การตรวจสอบ ❌

    🔴 “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด” ผู้บริสุทธิ์ที่ไม่มีวันกลับมา คดีเริ่มต้นจากความตั้งใจของกลุ่มอดีตเด็กช่าง ที่ต้องการ “สร้างผลงาน” เพื่อไปอวดในวันรับน้องของสถาบันแห่งหนึ่ง โดยนายอนาวิน วางแผนมาก่อนแล้วว่า จะก่อเหตุในวันที่ 11 พ.ย. 2566 ซึ่งเป็นวันก่อนวันรับน้อง 1 วัน

    📍 สถานที่เกิดเหตุ หน้าธนาคาร TTB สาขาคลองเตย ใจกลางกรุงเทพฯ

    🔫 เหยื่อ
    - นางสาวศิรดา สินประเสริฐ หรือครูเจี๊ยบ อายุ 45 ปี ครูสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพระหฤทัยคอนเวนต์
    - นายธนสรณ์ ห้องสวัสดิ์ หรือน้องหยอด อายุ 19 ปี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

    การยิงเกิดจาก “กระสุนพลาดเป้า” ซึ่งเดิมทีตั้งใจจะยิงน้องหยอด แต่กลับทำให้ครูเจี๊ยบเสียชีวิตทันที 😢

    🟠 บทเรียนจากการล่า 24 ผู้ต้องหา ปฏิบัติการ “ปิดเมือง” หลังเกิดเหตุ ตำรวจเปิดปฏิบัติการครั้งใหญ่ “ปิดเมืองล่ามือยิง” ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ใช้เวลากว่า 1 เดือน กว่าจะจับตัวผู้ต้องหาทั้งหมด 24 คนจาก 26 หมายจับ 💣

    🔍 ตรวจสอบกล้องวงจรกว่า 1,000 ตัว
    🚔 ปิดล้อม 14 จุดทั่วกรุงและปริมณฑล
    🔫 ตรวจสอบกลุ่มแชตลับ 103 คน มีแผนฆ่า มีระบบดูแลคนใน
    📱 ใช้ไลน์กลุ่มลับ 84 คน วางแผนคล้าย "องค์กรอาชญากรรม"

    หนึ่งในตำรวจสืบสวนเล่าว่า การไล่ล่าครั้งนี้ “ยิ่งกว่านิยายไล่ล่าตี๋ใหญ่” เพราะผู้ต้องหาหนีอย่างแนบเนียน เปลี่ยนสีรถ, เปลี่ยนทะเบียน, เปลี่ยนเสื้อผ้า, วางจุดลวงสับสนเจ้าหน้าที่

    🟡 จุดแตกหัก จับกุม “อั้ม-อนาวิน” บนดอยปุย 🎯 หลังไล่ล่าจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม่ ตำรวจไล่ติดตามจนกระทั่งพบตัว “อนาวิน” พร้อม “กฤติ” เพื่อนร่วมขบวนการ ที่กำลังนอนอยู่ในเต็นท์บนดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงเช้าของวันที่ 19 ธันวาคม 2566

    👮‍♂️ ตำรวจคุกเข่าร้องไห้ด้วยความดีใจ หลังจากตามล่ามา 1 เดือนเต็ม 🥹

    🟢 ศาลตัดสิน “ประหารชีวิต” เพื่อยุติวัฏจักร วันที่ 28 มีนาคม 2568 ศาลอาญากรุงเทพใต้พิพากษา “ประหารชีวิตนายอนาวิน แก้วเก็บ” พร้อมสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหาย แก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต 6 ล้านบาท

    👉 ความผิดตามกฎหมาย
    - ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
    - มีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต
    - ยิงปืนในที่ชุมชน
    - สมคบก่ออาชญากรรม

    🔵 วัฒนธรรมรับน้อง = จุดเริ่มของโศกนาฏกรรม จากการสอบปากคำ “อั้ม-อนาวิน” ยอมรับว่า ต้องการสร้าง “ผลงาน” เพื่อเอาไปโชว์ในวันรับน้อง ซึ่งมาจากการปลูกฝังของรุ่นพี่ 💣

    พร้อมมีการพูดคุยผ่านไลน์กลุ่มลับว่า “ใครฆ่าอริได้ จะเป็นฮีโร่ของกลุ่ม”

    “ขอแสดงความยินดีกับน้อง ช.ก... ที่พาน้องไปเกิดได้อย่างสมศักดิ์ศรีช่างกล” นี่คือคำพูดในแชตลับที่ชวนให้ขนลุก 😨
    มันไม่ใช่แค่ “การแกล้ง” หรือ “กิจกรรมรุ่นพี่-รุ่นน้อง” อีกต่อไป แต่เป็นการหล่อหลอมความรุนแรง

    🔴 จุดจบของ “วัฒนธรรมพิการ” ต้องจบที่รุ่นเรา คดีนี้เป็น ภาพสะท้อนของปัญหาสังคมไทย ที่สั่งสมมานาน
    วัฒนธรรมรับน้องที่ขาดจรรยาบรรณ สร้างเงื่อนไขของการยอมรับผ่านความรุนแรง อวดอำนาจเหนือผู้อื่น

    🧠 คำถามที่ต้องถามคือ...

    👉 วัฒนธรรมที่ต้องมีคนตาย ถึงจะได้รับการยอมรับ เราจะยังเรียกมันว่า “วัฒนธรรม” ได้อีกหรือ?

    🟣 บทสรุป ความยุติธรรม และภารกิจต่อไปของสังคม คดีนี้ไม่เพียงปิดฉากด้วย “คำสั่งประหารชีวิต” แต่มันคือเสียงร้องของสังคมที่ว่า…

    🔊 ถึงเวลา “ล้มล้างวัฒนธรรมพิการ”
    🔊 ถึงเวลาทบทวนระบบสถาบัน ที่หล่อหลอมความรุนแรงให้เป็นเรื่องปกติ
    🔊 ถึงเวลาสร้างสังคมที่ปลอดภัยสำหรับทุกคน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 281803 มี.ค. 2568

    📢 #จุดจบวัฒนธรรมพิการ #คดีครูเจี๊ยบ #น้องหยอดอุเทน #อนาวินแก้วเก็บ #ประหารชีวิต #อาชญากรรมไทย #ยิงกลางกรุง #รับน้องผิดๆ #ยุติธรรมไทย #ตำรวจไทยไล่ล่า
    จุดจบวัฒนธรรมพิการ ศาลสั่งประหาร! “อั้ม-อนาวิน แก้วเก็บ” มือยิง “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด” ✍️ จากวัฒนธรรมรับน้องผิดเพี้ยน สู่บทสรุปคดีสะเทือนขวัญ วัยรุ่นไทยควรได้บทเรียนอะไร จากโศกนาฏกรรมนี้? ศาลสั่งประหาร “อั้ม-อนาวิน” คดียิง “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด” สะเทือนใจทั้งประเทศ จุดจบวัฒนธรรมพิการต้องจบที่รุ่นเรา เหยื่อบริสุทธิ์จากวัฒนธรรมรับน้องผิดๆ จุดเริ่มต้นของการล้มล้างความรุนแรง แฝงในระบบการศึกษาไทย 🔵 ความสูญเสียที่ต้องไม่สูญเปล่า วันที่ 28 มีนาคม 2568 กลายเป็นวันที่หลายคนจดจำ เมื่อศาลอาญากรุงเทพใต้ มีคำพิพากษาชั้นต้นให้ “ประหารชีวิตนายอนาวิน แก้วเก็บ” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “อั้ม” มือยิงผู้บริสุทธิ์สองราย ได้แก่ “ครูเจี๊ยบ” และ “น้องหยอด” จากเหตุการณ์เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2566 เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ “คดีฆาตกรรม” แต่สะท้อนปัญหาฝังลึกในสังคม คือ “วัฒนธรรมรับน้องอันรุนแรง” ที่ปลูกฝังความเชื่อผิดๆ และส่งต่อกันมาโดยไร้การตรวจสอบ ❌ 🔴 “ครูเจี๊ยบ-น้องหยอด” ผู้บริสุทธิ์ที่ไม่มีวันกลับมา คดีเริ่มต้นจากความตั้งใจของกลุ่มอดีตเด็กช่าง ที่ต้องการ “สร้างผลงาน” เพื่อไปอวดในวันรับน้องของสถาบันแห่งหนึ่ง โดยนายอนาวิน วางแผนมาก่อนแล้วว่า จะก่อเหตุในวันที่ 11 พ.ย. 2566 ซึ่งเป็นวันก่อนวันรับน้อง 1 วัน 📍 สถานที่เกิดเหตุ หน้าธนาคาร TTB สาขาคลองเตย ใจกลางกรุงเทพฯ 🔫 เหยื่อ - นางสาวศิรดา สินประเสริฐ หรือครูเจี๊ยบ อายุ 45 ปี ครูสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพระหฤทัยคอนเวนต์ - นายธนสรณ์ ห้องสวัสดิ์ หรือน้องหยอด อายุ 19 ปี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย การยิงเกิดจาก “กระสุนพลาดเป้า” ซึ่งเดิมทีตั้งใจจะยิงน้องหยอด แต่กลับทำให้ครูเจี๊ยบเสียชีวิตทันที 😢 🟠 บทเรียนจากการล่า 24 ผู้ต้องหา ปฏิบัติการ “ปิดเมือง” หลังเกิดเหตุ ตำรวจเปิดปฏิบัติการครั้งใหญ่ “ปิดเมืองล่ามือยิง” ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ใช้เวลากว่า 1 เดือน กว่าจะจับตัวผู้ต้องหาทั้งหมด 24 คนจาก 26 หมายจับ 💣 🔍 ตรวจสอบกล้องวงจรกว่า 1,000 ตัว 🚔 ปิดล้อม 14 จุดทั่วกรุงและปริมณฑล 🔫 ตรวจสอบกลุ่มแชตลับ 103 คน มีแผนฆ่า มีระบบดูแลคนใน 📱 ใช้ไลน์กลุ่มลับ 84 คน วางแผนคล้าย "องค์กรอาชญากรรม" หนึ่งในตำรวจสืบสวนเล่าว่า การไล่ล่าครั้งนี้ “ยิ่งกว่านิยายไล่ล่าตี๋ใหญ่” เพราะผู้ต้องหาหนีอย่างแนบเนียน เปลี่ยนสีรถ, เปลี่ยนทะเบียน, เปลี่ยนเสื้อผ้า, วางจุดลวงสับสนเจ้าหน้าที่ 🟡 จุดแตกหัก จับกุม “อั้ม-อนาวิน” บนดอยปุย 🎯 หลังไล่ล่าจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม่ ตำรวจไล่ติดตามจนกระทั่งพบตัว “อนาวิน” พร้อม “กฤติ” เพื่อนร่วมขบวนการ ที่กำลังนอนอยู่ในเต็นท์บนดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงเช้าของวันที่ 19 ธันวาคม 2566 👮‍♂️ ตำรวจคุกเข่าร้องไห้ด้วยความดีใจ หลังจากตามล่ามา 1 เดือนเต็ม 🥹 🟢 ศาลตัดสิน “ประหารชีวิต” เพื่อยุติวัฏจักร วันที่ 28 มีนาคม 2568 ศาลอาญากรุงเทพใต้พิพากษา “ประหารชีวิตนายอนาวิน แก้วเก็บ” พร้อมสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหาย แก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต 6 ล้านบาท 👉 ความผิดตามกฎหมาย - ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน - มีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต - ยิงปืนในที่ชุมชน - สมคบก่ออาชญากรรม 🔵 วัฒนธรรมรับน้อง = จุดเริ่มของโศกนาฏกรรม จากการสอบปากคำ “อั้ม-อนาวิน” ยอมรับว่า ต้องการสร้าง “ผลงาน” เพื่อเอาไปโชว์ในวันรับน้อง ซึ่งมาจากการปลูกฝังของรุ่นพี่ 💣 พร้อมมีการพูดคุยผ่านไลน์กลุ่มลับว่า “ใครฆ่าอริได้ จะเป็นฮีโร่ของกลุ่ม” “ขอแสดงความยินดีกับน้อง ช.ก... ที่พาน้องไปเกิดได้อย่างสมศักดิ์ศรีช่างกล” นี่คือคำพูดในแชตลับที่ชวนให้ขนลุก 😨 มันไม่ใช่แค่ “การแกล้ง” หรือ “กิจกรรมรุ่นพี่-รุ่นน้อง” อีกต่อไป แต่เป็นการหล่อหลอมความรุนแรง 🔴 จุดจบของ “วัฒนธรรมพิการ” ต้องจบที่รุ่นเรา คดีนี้เป็น ภาพสะท้อนของปัญหาสังคมไทย ที่สั่งสมมานาน วัฒนธรรมรับน้องที่ขาดจรรยาบรรณ สร้างเงื่อนไขของการยอมรับผ่านความรุนแรง อวดอำนาจเหนือผู้อื่น 🧠 คำถามที่ต้องถามคือ... 👉 วัฒนธรรมที่ต้องมีคนตาย ถึงจะได้รับการยอมรับ เราจะยังเรียกมันว่า “วัฒนธรรม” ได้อีกหรือ? 🟣 บทสรุป ความยุติธรรม และภารกิจต่อไปของสังคม คดีนี้ไม่เพียงปิดฉากด้วย “คำสั่งประหารชีวิต” แต่มันคือเสียงร้องของสังคมที่ว่า… 🔊 ถึงเวลา “ล้มล้างวัฒนธรรมพิการ” 🔊 ถึงเวลาทบทวนระบบสถาบัน ที่หล่อหลอมความรุนแรงให้เป็นเรื่องปกติ 🔊 ถึงเวลาสร้างสังคมที่ปลอดภัยสำหรับทุกคน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 281803 มี.ค. 2568 📢 #จุดจบวัฒนธรรมพิการ #คดีครูเจี๊ยบ #น้องหยอดอุเทน #อนาวินแก้วเก็บ #ประหารชีวิต #อาชญากรรมไทย #ยิงกลางกรุง #รับน้องผิดๆ #ยุติธรรมไทย #ตำรวจไทยไล่ล่า
    0 Comments 0 Shares 1078 Views 0 Reviews
  • 📰 61 ปี หนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” จากบางกอกเดลิเมล์ สู่เดลินิวส์ออนไลน์ บันทึกความทรงจำของสื่อไทย ที่เติบโตเคียงข้างประชาชน

    ✨ 61 ปี แห่งการเปลี่ยนผ่านของสื่อที่ไม่หยุดนิ่ง ในยุคที่โลกหมุนเร็วด้วยข่าวสารและเทคโนโลยี 🌐 มีไม่กี่สื่อ ที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษ แต่ “เดลินิวส์” คือหนึ่งในนั้น 🙌

    จากวันแรกของการก่อตั้ง เมื่อวันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 สู่การเป็นผู้นำข่าวระดับประเทศ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และออนไลน์ 🖥️ เส้นทางของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์นั้น ไม่เพียงแต่สะท้อนวิวัฒนาการ ของวงการสื่อไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นกระจกเงาสำคัญของประวัติศาสตร์ สังคม และการเมืองไทยตลอด 61 ปี ที่ผ่านมา

    📆 ย้อนเวลาสำรวจเส้นทางของหนังสือพิมพ์ ที่เริ่มต้นจาก “บางกอกเดลิเมล์” สู่การเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” และ “เดลินิวส์ออนไลน์” ในวันนี้ พร้อมทั้งเผยเบื้องหลังความเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ และจุดยืนของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งภารกิจเพื่อประชาชนไทย 🇹🇭

    🕰 จุดเริ่มต้นจากบางกอกเดลิเมล์ ความกล้าในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2493 ประเทศไทยอยู่ในยุคหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง 📜 สื่อยังถูกควบคุมโดยรัฐอย่างเข้มงวด การเปิดตัวหนังสือพิมพ์ใหม่ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ “นายห้างแสง เหตระกูล” ผู้มีประสบการณ์ในธุรกิจ "โรงพิมพ์ประชาช่าง" กลับกล้าเสี่ยง 🔍

    นายห้างแสงตัดสินใจซื้อกิจการ "หนังสือพิมพ์บางกอกเดลิเมล์" (Bangkok Daily Mail) ของนายหลุย คีรีวัตน์ ซึ่งได้หยุดดำเนินการไปตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 และรื้อฟื้นมันขึ้นใหม่ ในรูปแบบหนังสือพิมพ์รายปักษ์ชื่อว่า “เดลิเมล์วันจันทร์” ออกฉบับแรกเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 📅

    ฉบับแรกมีพาดหัวว่า “นักศึกษา มธก.รากเลือดค้าน ก.พ.” เป็นการสะท้อนจุดยืนของสื่อ ที่กล้าแตะประเด็นทางสังคม การเมืองอย่างตรงไปตรงมา

    📰 เปลี่ยนผ่านอย่างมีทิศทาง จากเดลิเมล์ สู่แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์ ในช่วง พ.ศ. 2500 “บางกอกเดลิเมล์รายวัน” ขยับสู่การเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน อย่างเต็มรูปแบบ ขยายขนาดหน้ากระดาษจาก 7 เป็น 8 คอลัมน์นิ้ว 🖨 ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ในวงการสื่อขณะนั้น 📈

    แต่แล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็เกิดขึ้น เมื่อรัฐบาล "จอมพลแปลก พิบูลสงคราม" ถูกโค่นล้มโดย "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ซึ่งส่งผลให้สื่อหลายฉบับถูกตรวจสอบ และปิดตัวลง ❌

    ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 “เดลิเมล์รายวัน” ถูกสั่งปิดโดยคำสั่งคณะปฏิวัติ มีการ ล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ และลงครั่งประทับ ปิดฉากความกล้าหาญของสื่อเสรีในยุคนั้น อย่างสิ้นเชิง

    📢 เดลินิวส์ฉบับแรก กำเนิดเกิดใหม่ในนาม “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” แม้จะถูกสั่งปิด แต่ “นายห้างแสง” ไม่ยอมแพ้ ✊ เดินหน้าสู่บทใหม่ ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ “แนวหน้า” และรวมเข้ากับชื่อเดิม กลายเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” 🗞

    วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ออกวางแผงเป็นครั้งแรก โดยมี "นายประพันธ์ เหตระกูล" บุตรชายเป็นบรรณาธิการบริหาร

    พาดหัวฉบับแรกสร้างเสียงฮือฮาทันที “เมียน้อยจอมพลสฤษดิ์ท้องในอเมริกา พบรักแท้กับนักเรียนไทยวัยรุ่น” 😲 นำเสนอข่าวแบบเจาะลึกถึงตัวบุคคล และโครงสร้างอำนาจการเมือง

    🔍 ข่าวเด่นยุคแรก กล้าท้าชนอำนาจรัฐ เดลินิวส์มีจุดขายที่ชัดเจน คือการเสนอข่าวที่ตรงไปตรงมา 💥 โดยเฉพาะเรื่องของ "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอนุภรรยากว่า 103 คน และทรัพย์สินมูลค่ากว่า 2,874 ล้านบาท 😮

    นอกจากนี้ยังเปิดโปงคดีอาชญากรรม การทุจริต และประเด็นอ่อนไหวที่สื่ออื่นหลีกเลี่ยง จึงได้รับความนิยมจากผู้อ่านในวงกว้าง และถือเป็น “กระบอกเสียงของประชาชน” ที่แท้จริง

    📈 ก้าวข้ามวิกฤตเศรษฐกิจ ปรับคุณภาพเพื่อความอยู่รอด ช่วง พ.ศ. 2516 - 2517 ทั่วโลกประสบปัญหาน้ำมันขาดแคลน ทำให้ต้นทุนการผลิตหนังสือพิมพ์สูงขึ้น 📉 หนังสือพิมพ์หลายฉบับต้องขึ้นราคาขาย เดลินิวส์ก็เช่นกัน โดยปรับขึ้น 50 สตางค์ 💸

    แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ เดลินิวส์ ไม่ลดคุณภาพข่าว ตรงกันข้ามกลับเพิ่มคอลัมน์ วิเคราะห์การเมือง และข่าวสังคม มากขึ้น ส่งผลให้ได้รับความเชื่อถือจากผู้อ่าน อย่างต่อเนื่อง ✨

    📚 เปลี่ยนชื่อเป็น “เดลินิวส์” อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2522 บริษัทสี่พระยาการพิมพ์ จำกัด ได้ยื่นเรื่องเปลี่ยนชื่อหนังสือพิมพ์เป็น “เดลินิวส์” และได้รับอนุญาตในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 🎉

    ต่อมา เดลินิวส์ได้ขยายสำนักงานจากถนนสี่พระยา มาที่ถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบัน 🏢 พร้อมขยายจำนวนหน้าจาก 16 เป็น 48 หน้า และเพิ่มราคาจำหน่ายจาก 1 บาท เป็น 10 บาทในปัจจุบัน

    🖨 นวัตกรรมการพิมพ์ ก้าวสู่งานข่าวสีเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2529 เดลินิวส์เริ่มพิมพ์ภาพข่าวสี่สีครั้งแรก คือ ภาพโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศ “แชลเลนเจอร์” 🚀 และต่อมาในปี พ.ศ. 2531 ตีพิมพ์ภาพ “ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก” คว้ามงกุฎนางงามจักรวาลที่ไต้หวัน 👑

    พร้อมลงทุนในระบบพิมพ์ แซตเติลไลต์ ยูนิต และโฟร์ไฮ ที่สามารถพิมพ์ได้เร็วถึง 120,000 ฉบับ ต่อชั่วโมง 🚀 สร้างมาตรฐานใหม่ให้วงการสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

    🌐 เดลินิวส์ออนไลน์ ปฏิวัติวงการข่าวดิจิทัล ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 เดลินิวส์เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มตัว เปิดเว็บไซต์ www.dailynews.co.th 💻 พร้อมคอนเซปต์ว่า...

    “ให้ข่าวสารพาไปไกลกว่าแค่ ‘รู้’ แต่คือ รู้ลึก รู้จริง และรู้เท่าทันทุกสถานการณ์”

    ในวันนี้ เดลินิวส์ออนไลน์ครอบคลุมทุกหมวดหมู่ข่าว 🗂️ ไม่ว่าจะเป็นข่าวการเมือง เศรษฐกิจ สังคม บันเทิง กีฬา ไลฟ์สไตล์ รวมถึง วิดีโอ, อินโฟกราฟิก และ คอนเทนต์แบบเรียลไทม์ 24 ชั่วโมง ⏱

    💡 ปณิธานของ “เดลินิวส์” ข่าวเพื่อประชาชน สิ่งที่ทำให้ “เดลินิวส์” อยู่ได้มากว่า 61 ปี ไม่ใช่เพียงเพราะยอดขายหรือชื่อเสียง 🏆 แต่เป็นเพราะความตั้งใจจริงของคณะผู้บริหาร ในการทำสื่อเพื่อประชาชน

    เดลินิวส์นำเสนอข่าวสารที่ครอบคลุม ทั้งข่าวสังคมที่ใกล้ตัว และข่าวเศรษฐกิจระดับชาติ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรมข่าว สร้างความเข้าใจ ที่มากกว่าแค่การรับรู้ข้อมูล 📘

    📌 เดลินิวส์…มากกว่าข่าว คือความเข้าใจ จาก “บางกอกเดลิเมล์” ที่เคยถูกล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ จนถึง “เดลินิวส์ออนไลน์” ที่ไหลลื่นในโลกดิจิทัล 🌐

    เส้นทางกว่า 61 ปี ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ สะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และบทบาทของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งประชาชน 💞

    และไม่ว่ากาลเวลาจะเปลี่ยนไปอย่างไร เดลินิวส์ยังคงทำหน้าที่ ด้วยหัวใจของนักข่าวเพื่อประชาชน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 280955 มี.ค. 2568

    📢 #เดลินิวส์ #ประวัติเดลินิวส์ #หนังสือพิมพ์ไทย #สื่อไทย #ข่าวออนไลน์ #เดลินิวส์ออนไลน์ #ข่าวเพื่อประชาชน #61ปีเดลินิวส์ #DailyNewsTH #ข่าวไทย
    📰 61 ปี หนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” จากบางกอกเดลิเมล์ สู่เดลินิวส์ออนไลน์ บันทึกความทรงจำของสื่อไทย ที่เติบโตเคียงข้างประชาชน ✨ 61 ปี แห่งการเปลี่ยนผ่านของสื่อที่ไม่หยุดนิ่ง ในยุคที่โลกหมุนเร็วด้วยข่าวสารและเทคโนโลยี 🌐 มีไม่กี่สื่อ ที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษ แต่ “เดลินิวส์” คือหนึ่งในนั้น 🙌 จากวันแรกของการก่อตั้ง เมื่อวันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 สู่การเป็นผู้นำข่าวระดับประเทศ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และออนไลน์ 🖥️ เส้นทางของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์นั้น ไม่เพียงแต่สะท้อนวิวัฒนาการ ของวงการสื่อไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นกระจกเงาสำคัญของประวัติศาสตร์ สังคม และการเมืองไทยตลอด 61 ปี ที่ผ่านมา 📆 ย้อนเวลาสำรวจเส้นทางของหนังสือพิมพ์ ที่เริ่มต้นจาก “บางกอกเดลิเมล์” สู่การเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” และ “เดลินิวส์ออนไลน์” ในวันนี้ พร้อมทั้งเผยเบื้องหลังความเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ และจุดยืนของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งภารกิจเพื่อประชาชนไทย 🇹🇭 🕰 จุดเริ่มต้นจากบางกอกเดลิเมล์ ความกล้าในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2493 ประเทศไทยอยู่ในยุคหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง 📜 สื่อยังถูกควบคุมโดยรัฐอย่างเข้มงวด การเปิดตัวหนังสือพิมพ์ใหม่ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ “นายห้างแสง เหตระกูล” ผู้มีประสบการณ์ในธุรกิจ "โรงพิมพ์ประชาช่าง" กลับกล้าเสี่ยง 🔍 นายห้างแสงตัดสินใจซื้อกิจการ "หนังสือพิมพ์บางกอกเดลิเมล์" (Bangkok Daily Mail) ของนายหลุย คีรีวัตน์ ซึ่งได้หยุดดำเนินการไปตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 และรื้อฟื้นมันขึ้นใหม่ ในรูปแบบหนังสือพิมพ์รายปักษ์ชื่อว่า “เดลิเมล์วันจันทร์” ออกฉบับแรกเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 📅 ฉบับแรกมีพาดหัวว่า “นักศึกษา มธก.รากเลือดค้าน ก.พ.” เป็นการสะท้อนจุดยืนของสื่อ ที่กล้าแตะประเด็นทางสังคม การเมืองอย่างตรงไปตรงมา 📰 เปลี่ยนผ่านอย่างมีทิศทาง จากเดลิเมล์ สู่แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์ ในช่วง พ.ศ. 2500 “บางกอกเดลิเมล์รายวัน” ขยับสู่การเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน อย่างเต็มรูปแบบ ขยายขนาดหน้ากระดาษจาก 7 เป็น 8 คอลัมน์นิ้ว 🖨 ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ในวงการสื่อขณะนั้น 📈 แต่แล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็เกิดขึ้น เมื่อรัฐบาล "จอมพลแปลก พิบูลสงคราม" ถูกโค่นล้มโดย "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ซึ่งส่งผลให้สื่อหลายฉบับถูกตรวจสอบ และปิดตัวลง ❌ ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 “เดลิเมล์รายวัน” ถูกสั่งปิดโดยคำสั่งคณะปฏิวัติ มีการ ล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ และลงครั่งประทับ ปิดฉากความกล้าหาญของสื่อเสรีในยุคนั้น อย่างสิ้นเชิง 📢 เดลินิวส์ฉบับแรก กำเนิดเกิดใหม่ในนาม “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” แม้จะถูกสั่งปิด แต่ “นายห้างแสง” ไม่ยอมแพ้ ✊ เดินหน้าสู่บทใหม่ ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ “แนวหน้า” และรวมเข้ากับชื่อเดิม กลายเป็น “แนวหน้าแห่งยุคเดลินิวส์” 🗞 วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ออกวางแผงเป็นครั้งแรก โดยมี "นายประพันธ์ เหตระกูล" บุตรชายเป็นบรรณาธิการบริหาร พาดหัวฉบับแรกสร้างเสียงฮือฮาทันที “เมียน้อยจอมพลสฤษดิ์ท้องในอเมริกา พบรักแท้กับนักเรียนไทยวัยรุ่น” 😲 นำเสนอข่าวแบบเจาะลึกถึงตัวบุคคล และโครงสร้างอำนาจการเมือง 🔍 ข่าวเด่นยุคแรก กล้าท้าชนอำนาจรัฐ เดลินิวส์มีจุดขายที่ชัดเจน คือการเสนอข่าวที่ตรงไปตรงมา 💥 โดยเฉพาะเรื่องของ "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอนุภรรยากว่า 103 คน และทรัพย์สินมูลค่ากว่า 2,874 ล้านบาท 😮 นอกจากนี้ยังเปิดโปงคดีอาชญากรรม การทุจริต และประเด็นอ่อนไหวที่สื่ออื่นหลีกเลี่ยง จึงได้รับความนิยมจากผู้อ่านในวงกว้าง และถือเป็น “กระบอกเสียงของประชาชน” ที่แท้จริง 📈 ก้าวข้ามวิกฤตเศรษฐกิจ ปรับคุณภาพเพื่อความอยู่รอด ช่วง พ.ศ. 2516 - 2517 ทั่วโลกประสบปัญหาน้ำมันขาดแคลน ทำให้ต้นทุนการผลิตหนังสือพิมพ์สูงขึ้น 📉 หนังสือพิมพ์หลายฉบับต้องขึ้นราคาขาย เดลินิวส์ก็เช่นกัน โดยปรับขึ้น 50 สตางค์ 💸 แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ เดลินิวส์ ไม่ลดคุณภาพข่าว ตรงกันข้ามกลับเพิ่มคอลัมน์ วิเคราะห์การเมือง และข่าวสังคม มากขึ้น ส่งผลให้ได้รับความเชื่อถือจากผู้อ่าน อย่างต่อเนื่อง ✨ 📚 เปลี่ยนชื่อเป็น “เดลินิวส์” อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2522 บริษัทสี่พระยาการพิมพ์ จำกัด ได้ยื่นเรื่องเปลี่ยนชื่อหนังสือพิมพ์เป็น “เดลินิวส์” และได้รับอนุญาตในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 🎉 ต่อมา เดลินิวส์ได้ขยายสำนักงานจากถนนสี่พระยา มาที่ถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบัน 🏢 พร้อมขยายจำนวนหน้าจาก 16 เป็น 48 หน้า และเพิ่มราคาจำหน่ายจาก 1 บาท เป็น 10 บาทในปัจจุบัน 🖨 นวัตกรรมการพิมพ์ ก้าวสู่งานข่าวสีเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2529 เดลินิวส์เริ่มพิมพ์ภาพข่าวสี่สีครั้งแรก คือ ภาพโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศ “แชลเลนเจอร์” 🚀 และต่อมาในปี พ.ศ. 2531 ตีพิมพ์ภาพ “ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก” คว้ามงกุฎนางงามจักรวาลที่ไต้หวัน 👑 พร้อมลงทุนในระบบพิมพ์ แซตเติลไลต์ ยูนิต และโฟร์ไฮ ที่สามารถพิมพ์ได้เร็วถึง 120,000 ฉบับ ต่อชั่วโมง 🚀 สร้างมาตรฐานใหม่ให้วงการสื่อสิ่งพิมพ์ไทย 🌐 เดลินิวส์ออนไลน์ ปฏิวัติวงการข่าวดิจิทัล ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 เดลินิวส์เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มตัว เปิดเว็บไซต์ www.dailynews.co.th 💻 พร้อมคอนเซปต์ว่า... “ให้ข่าวสารพาไปไกลกว่าแค่ ‘รู้’ แต่คือ รู้ลึก รู้จริง และรู้เท่าทันทุกสถานการณ์” ในวันนี้ เดลินิวส์ออนไลน์ครอบคลุมทุกหมวดหมู่ข่าว 🗂️ ไม่ว่าจะเป็นข่าวการเมือง เศรษฐกิจ สังคม บันเทิง กีฬา ไลฟ์สไตล์ รวมถึง วิดีโอ, อินโฟกราฟิก และ คอนเทนต์แบบเรียลไทม์ 24 ชั่วโมง ⏱ 💡 ปณิธานของ “เดลินิวส์” ข่าวเพื่อประชาชน สิ่งที่ทำให้ “เดลินิวส์” อยู่ได้มากว่า 61 ปี ไม่ใช่เพียงเพราะยอดขายหรือชื่อเสียง 🏆 แต่เป็นเพราะความตั้งใจจริงของคณะผู้บริหาร ในการทำสื่อเพื่อประชาชน เดลินิวส์นำเสนอข่าวสารที่ครอบคลุม ทั้งข่าวสังคมที่ใกล้ตัว และข่าวเศรษฐกิจระดับชาติ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรมข่าว สร้างความเข้าใจ ที่มากกว่าแค่การรับรู้ข้อมูล 📘 📌 เดลินิวส์…มากกว่าข่าว คือความเข้าใจ จาก “บางกอกเดลิเมล์” ที่เคยถูกล่ามแท่นพิมพ์ด้วยโซ่ จนถึง “เดลินิวส์ออนไลน์” ที่ไหลลื่นในโลกดิจิทัล 🌐 เส้นทางกว่า 61 ปี ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ สะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และบทบาทของสื่อ ที่ไม่เคยละทิ้งประชาชน 💞 และไม่ว่ากาลเวลาจะเปลี่ยนไปอย่างไร เดลินิวส์ยังคงทำหน้าที่ ด้วยหัวใจของนักข่าวเพื่อประชาชน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 280955 มี.ค. 2568 📢 #เดลินิวส์ #ประวัติเดลินิวส์ #หนังสือพิมพ์ไทย #สื่อไทย #ข่าวออนไลน์ #เดลินิวส์ออนไลน์ #ข่าวเพื่อประชาชน #61ปีเดลินิวส์ #DailyNewsTH #ข่าวไทย
    0 Comments 0 Shares 1279 Views 0 Reviews
  • 48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก

    🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน

    ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน

    ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴

    เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก

    🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨
    - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน
    - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน

    หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ

    🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am

    ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที

    📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน

    ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน!

    สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡

    📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า

    “We are now at takeoff.”

    ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า

    “OK, stand by for takeoff, I will call you.”

    แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ

    🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น

    ผลลัพธ์คือ ❌

    ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง

    💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที

    - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0)
    - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน)

    😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍
    ปัจจัยมนุษย์ (Human Error)
    - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒
    - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻
    - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️

    ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
    - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌
    - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️
    - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫

    📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง
    ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology)
    ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน
    ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ
    ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก

    😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬
    เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️
    - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน
    - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน

    เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱

    🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠

    แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568

    📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก 🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴 เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก 🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨 - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ 🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที 📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน! สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡 📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า “We are now at takeoff.” ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า “OK, stand by for takeoff, I will call you.” แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ 🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น ผลลัพธ์คือ ❌ ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง 💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0) - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน) 😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍 ปัจจัยมนุษย์ (Human Error) - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒 - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻 - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌ - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️ - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫 📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology) ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก 😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬 เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️ - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱 🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠 แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568 📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    0 Comments 0 Shares 998 Views 0 Reviews
  • 🕌🇸🇦 50 ปี ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุดีอาระเบีย ราชนัดดามีอาการทางจิต ปลิดชีพลุง 3 นัดซ้อน เสยคาง-ข้างหู เบื้องลึกโศกนาฏกรรมสะเทือนโลก 🕊️🔫

    📌 ย้อนเหตุการณ์สะเทือนโลก เมื่อ 50 ปี ที่ผ่านมา เหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุฯ โดยเจ้าชายผู้มีอาการทางจิต พร้อมเผยข้อเท็จจริงที่หลายคนไม่เคยรู้ ผลกระทบที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน

    🕌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรมแห่งราชวงศ์ซาอุฯ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518... เช้าวันอังคารที่เงียบเหงาในกรุงริยาด กลับกลายเป็นวันแห่งโศกนาฏกรรมระดับโลก เมื่อ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ผู้นำสูงสุดแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยฝีมือของเจ้าชาย ซึ่งเป็น "หลานชายแท้ ๆ" จากการลอบยิงระยะประชิด 3 นัดซ้อน ในพระราชวังหลวง... 💔🔫

    เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ความสูญเสียของราชวงศ์ หากแต่ส่งผลสะเทือนทั้งโลก โดยเฉพาะโลกมุสลิม ที่ยังคงสั่นคลอน กับคำถามที่ยังไม่มีคำตอบอย่างแท้จริงว่า...

    "ทำไมเจ้าชายจึงลั่นไก?" 🤯

    📖 เรื่องราวแห่งประวัติศาสตร์ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2507 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะกษัตริย์ผู้มีวิสัยทัศน์ 🌍✨

    พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการลดการพึ่งพาน้ำมัน ⛽️ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 🏗️ การส่งเสริมการศึกษา 📚 และการวางแผนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว

    นอกจากนี้ กษัตริย์ไฟซาลยังเป็นผู้นำ ในการต่อต้านอิสราเอลอย่างแข็งกร้าว ในช่วงสงคราม Yom Kippur และมีบทบาทสำคัญในการใช้ “นโยบายน้ำมันเป็นอาวุธ” (Oil Weapon Policy) กดดันตะวันตก ในช่วงวิกฤตน้ำมันปี 2516 🛢️⚖️

    พระองค์จึงเป็นทั้งผู้นำเชิงกลยุทธ์ และนักปฏิรูปผู้ทรงพลังของซาอุดีอาระเบีย

    😱 เหตุการณ์ลอบสังหาร เช้าแห่งความมืดมิด เช้าวันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518 ในพระราชวังหลวง กรุงริยาด 🇸🇦 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด บิน อับดุลลาซิซ อัล ซาอุด" หลานชายแท้ ๆ ของกษัตริย์ไฟซาล ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระราชาธิบดี พร้อมคณะผู้แทนจากประเทศคูเวต

    ขณะนั้นไม่มีผู้ใดคาดคิดว่า…

    ทันทีที่กษัตริย์โน้มพระองค์ลง เพื่อจุมพิตเจ้าชายตามธรรมเนียม เจ้าชายกลับชักปืนพกสั้นออกมา แล้วยิงไปที่คางและข้างพระกรรณของกษัตริย์ 3 นัดซ้อน 🔫💥

    ราชองครักษ์พยายามจะโต้ตอบทันที แต่ “ชีค อาห์เมด ซากีห์ ยามานี” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงปิโตรเลียมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้ตะโกนห้ามไม่ให้สังหารเจ้าชายผู้ก่อเหตุ ทำให้เจ้าชายถูกจับกุมแทน

    👑 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายมูซาอิด พระอนุชาของกษัตริย์ไฟซาล เคยศึกษาที่สหรัฐอเมริกา 🇺🇸 และมีประวัติพฤติกรรมแปลกประหลาดหลายอย่าง เช่น...

    - ถูกจับที่สหรัฯอเมริกา จากคดีครอบครองยาเสพติด 💊
    - มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม และมีแนวคิดเสรีนิยมแบบตะวันตก 🌐
    - เคยมีความขัดแย้งภายในราชวงศ์ 📉

    รายงานจากนักจิตแพทย์หลายฝ่ายตรงกันว่า เจ้าชายทรงมีอาการ “โรคจิตเภท” (Schizophrenia) 😵‍💫

    อาการที่สังเกตได้คือ
    - ความหวาดระแวง (Paranoia)
    - ความคิดหลงผิด (Delusions)
    - พฤติกรรมรุนแรง และขาดการควบคุมตนเอง

    ❓ แรงจูงใจเบื้องหลังการลอบสังหาร แม้การสอบสวนจะสรุปว่า เจ้าชายไฟซาลก่อเหตุเพียงลำพัง แต่แรงจูงใจยังคงเป็นปริศนา 🤔

    ข้อสันนิษฐานที่เป็นไปได้ ได้แก่
    - แก้แค้นให้เจ้าชายคาลิด พระเชษฐาซึ่งเสียชีวิตจากการต่อสู้ กับกองกำลังรัฐในปี 2509 ⚔️
    - อาการป่วยจิตเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมรุนแรง โดยไม่มีแรงจูงใจทางการเมืองชัดเจน 💭
    - ความไม่พอใจต่อราชวงศ์ เจ้าชายรู้สึกถูกจำกัดเสรีภาพ หลังกลับจากสหรัฐฯ 🗽
    - แรงกระตุ้นจากภายนอก บางฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าอาจมี "ตะวันตก" อยู่เบื้องหลัง 🤫 แม้ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน

    ⚖️ หลังจากเหตุการณ์ไม่นาน "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" ถูกนำตัวขึ้นศาล ในข้อหาลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์

    ศาลตัดสินให้ บั่นพระเศียรกลางจัตุรัสสาธารณะ ในกรุงริยาด ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายชารีอะห์ ของซาอุดีอาระเบีย ✝️⚔️

    การลงโทษต่อหน้าประชาชน ถูกใช้เพื่อส่งสารถึงประชาชนว่า ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย แม้จะเป็นเจ้าชายก็ตาม 👑❌⚖️

    🧠 จิตวิทยากับโศกนาฏกรรม ความเชื่อมโยงของ "โรคจิตเภท" จากคำวินิจฉัยของคณะจิตแพทย์พบว่าเจ้าชายไฟซาลมีอาการของ "โรคจิตเภท" ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดที่หลงผิด ไม่สามารถแยกแยะความจริง จากจินตนาการได้อย่างถูกต้อง 🤯

    อาการเด่นที่สังเกตได้คือ
    - ความหวาดระแวงว่า ถูกคุกคาม
    - อารมณ์ไม่คงที่
    - มีการตัดสินใจที่ผิดเพี้ยน
    - การรับรู้ผิดปกติอย่างรุนแรง

    💡สิ่งสำคัญคือ โรคจิตเภทไม่ใช่ความผิดของผู้ป่วย แต่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในเวลานั้น การวินิจฉัยและการรักษา ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร

    🕵️‍♂️ เรื่องจริงที่โลกไม่ค่อยรู้
    📌 เจ้าชายเคยถูกจับในสหรัฐอเมริกา ในคดีครอบครองยาเสพติด
    📌 กษัตริย์ไฟซาลมีเป้าหมายลดการพึ่งพาน้ำมัน พัฒนาการศึกษา
    📌 บางแหล่งข่าวสงสัยว่า ตะวันตกอาจเกี่ยวข้องกับการลอบสังหาร
    📌 "ชีค ยามานี" รัฐมนตรีน้ำมัน เป็นผู้หยุดราชองครักษ์ ไม่ให้สังหารเจ้าชายทันที

    🧩 โศกนาฏกรรมที่กลายเป็นบทเรียนแห่งโลก สะท้อนให้เห็นว่า... แม้จะอยู่ในพระราชวังสูงสุด หรือมีพระยศสูงส่งเพียงใด ก็ไม่อาจหนีจาก "ความเป็นมนุษย์" และ "ความเปราะบางของจิตใจ" ได้เลย

    กษัตริย์ไฟซาล อาจจากโลกนี้ไปด้วยความเจ็บปวด... แต่พระองค์ได้ทิ้งมรดกแห่งวิสัยทัศน์ ไว้ให้ซาอุดีอาระเบียก้าวหน้า ต่อมาอีกหลายทศวรรษ 🕊️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 251024 มี.ค. 2568

    📲 #กษัตริย์ไฟซาล #ลอบสังหารซาอุ #ประวัติศาสตร์ซาอุ #โศกนาฏกรรมซาอุดีอาระเบีย #จิตเวชในราชวงศ์ #ซาอุยุค70 #เจ้าชายไฟซาล #ราชวงศ์อาหรับ #เรื่องจริงไม่เคยรู้ #FaisalBinAbdulAziz
    🕌🇸🇦 50 ปี ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุดีอาระเบีย ราชนัดดามีอาการทางจิต ปลิดชีพลุง 3 นัดซ้อน เสยคาง-ข้างหู เบื้องลึกโศกนาฏกรรมสะเทือนโลก 🕊️🔫 📌 ย้อนเหตุการณ์สะเทือนโลก เมื่อ 50 ปี ที่ผ่านมา เหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์กษัตริย์ไฟซาล แห่งซาอุฯ โดยเจ้าชายผู้มีอาการทางจิต พร้อมเผยข้อเท็จจริงที่หลายคนไม่เคยรู้ ผลกระทบที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน 🕌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรมแห่งราชวงศ์ซาอุฯ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518... เช้าวันอังคารที่เงียบเหงาในกรุงริยาด กลับกลายเป็นวันแห่งโศกนาฏกรรมระดับโลก เมื่อ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ผู้นำสูงสุดแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยฝีมือของเจ้าชาย ซึ่งเป็น "หลานชายแท้ ๆ" จากการลอบยิงระยะประชิด 3 นัดซ้อน ในพระราชวังหลวง... 💔🔫 เหตุการณ์นี้ไม่ใช่แค่ความสูญเสียของราชวงศ์ หากแต่ส่งผลสะเทือนทั้งโลก โดยเฉพาะโลกมุสลิม ที่ยังคงสั่นคลอน กับคำถามที่ยังไม่มีคำตอบอย่างแท้จริงว่า... "ทำไมเจ้าชายจึงลั่นไก?" 🤯 📖 เรื่องราวแห่งประวัติศาสตร์ "สมเด็จพระราชาธิบดีไฟซาล บิน อับดุล อาซิซ อัล ซาอุด" ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2507 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะกษัตริย์ผู้มีวิสัยทัศน์ 🌍✨ พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการลดการพึ่งพาน้ำมัน ⛽️ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 🏗️ การส่งเสริมการศึกษา 📚 และการวางแผนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว นอกจากนี้ กษัตริย์ไฟซาลยังเป็นผู้นำ ในการต่อต้านอิสราเอลอย่างแข็งกร้าว ในช่วงสงคราม Yom Kippur และมีบทบาทสำคัญในการใช้ “นโยบายน้ำมันเป็นอาวุธ” (Oil Weapon Policy) กดดันตะวันตก ในช่วงวิกฤตน้ำมันปี 2516 🛢️⚖️ พระองค์จึงเป็นทั้งผู้นำเชิงกลยุทธ์ และนักปฏิรูปผู้ทรงพลังของซาอุดีอาระเบีย 😱 เหตุการณ์ลอบสังหาร เช้าแห่งความมืดมิด เช้าวันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2518 ในพระราชวังหลวง กรุงริยาด 🇸🇦 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด บิน อับดุลลาซิซ อัล ซาอุด" หลานชายแท้ ๆ ของกษัตริย์ไฟซาล ได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระราชาธิบดี พร้อมคณะผู้แทนจากประเทศคูเวต ขณะนั้นไม่มีผู้ใดคาดคิดว่า… ทันทีที่กษัตริย์โน้มพระองค์ลง เพื่อจุมพิตเจ้าชายตามธรรมเนียม เจ้าชายกลับชักปืนพกสั้นออกมา แล้วยิงไปที่คางและข้างพระกรรณของกษัตริย์ 3 นัดซ้อน 🔫💥 ราชองครักษ์พยายามจะโต้ตอบทันที แต่ “ชีค อาห์เมด ซากีห์ ยามานี” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงปิโตรเลียมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้ตะโกนห้ามไม่ให้สังหารเจ้าชายผู้ก่อเหตุ ทำให้เจ้าชายถูกจับกุมแทน 👑 "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายมูซาอิด พระอนุชาของกษัตริย์ไฟซาล เคยศึกษาที่สหรัฐอเมริกา 🇺🇸 และมีประวัติพฤติกรรมแปลกประหลาดหลายอย่าง เช่น... - ถูกจับที่สหรัฯอเมริกา จากคดีครอบครองยาเสพติด 💊 - มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม และมีแนวคิดเสรีนิยมแบบตะวันตก 🌐 - เคยมีความขัดแย้งภายในราชวงศ์ 📉 รายงานจากนักจิตแพทย์หลายฝ่ายตรงกันว่า เจ้าชายทรงมีอาการ “โรคจิตเภท” (Schizophrenia) 😵‍💫 อาการที่สังเกตได้คือ - ความหวาดระแวง (Paranoia) - ความคิดหลงผิด (Delusions) - พฤติกรรมรุนแรง และขาดการควบคุมตนเอง ❓ แรงจูงใจเบื้องหลังการลอบสังหาร แม้การสอบสวนจะสรุปว่า เจ้าชายไฟซาลก่อเหตุเพียงลำพัง แต่แรงจูงใจยังคงเป็นปริศนา 🤔 ข้อสันนิษฐานที่เป็นไปได้ ได้แก่ - แก้แค้นให้เจ้าชายคาลิด พระเชษฐาซึ่งเสียชีวิตจากการต่อสู้ กับกองกำลังรัฐในปี 2509 ⚔️ - อาการป่วยจิตเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมรุนแรง โดยไม่มีแรงจูงใจทางการเมืองชัดเจน 💭 - ความไม่พอใจต่อราชวงศ์ เจ้าชายรู้สึกถูกจำกัดเสรีภาพ หลังกลับจากสหรัฐฯ 🗽 - แรงกระตุ้นจากภายนอก บางฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าอาจมี "ตะวันตก" อยู่เบื้องหลัง 🤫 แม้ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน ⚖️ หลังจากเหตุการณ์ไม่นาน "เจ้าชายไฟซาล บิน มูซาอิด" ถูกนำตัวขึ้นศาล ในข้อหาลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ ศาลตัดสินให้ บั่นพระเศียรกลางจัตุรัสสาธารณะ ในกรุงริยาด ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายชารีอะห์ ของซาอุดีอาระเบีย ✝️⚔️ การลงโทษต่อหน้าประชาชน ถูกใช้เพื่อส่งสารถึงประชาชนว่า ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย แม้จะเป็นเจ้าชายก็ตาม 👑❌⚖️ 🧠 จิตวิทยากับโศกนาฏกรรม ความเชื่อมโยงของ "โรคจิตเภท" จากคำวินิจฉัยของคณะจิตแพทย์พบว่าเจ้าชายไฟซาลมีอาการของ "โรคจิตเภท" ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดที่หลงผิด ไม่สามารถแยกแยะความจริง จากจินตนาการได้อย่างถูกต้อง 🤯 อาการเด่นที่สังเกตได้คือ - ความหวาดระแวงว่า ถูกคุกคาม - อารมณ์ไม่คงที่ - มีการตัดสินใจที่ผิดเพี้ยน - การรับรู้ผิดปกติอย่างรุนแรง 💡สิ่งสำคัญคือ โรคจิตเภทไม่ใช่ความผิดของผู้ป่วย แต่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในเวลานั้น การวินิจฉัยและการรักษา ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร 🕵️‍♂️ เรื่องจริงที่โลกไม่ค่อยรู้ 📌 เจ้าชายเคยถูกจับในสหรัฐอเมริกา ในคดีครอบครองยาเสพติด 📌 กษัตริย์ไฟซาลมีเป้าหมายลดการพึ่งพาน้ำมัน พัฒนาการศึกษา 📌 บางแหล่งข่าวสงสัยว่า ตะวันตกอาจเกี่ยวข้องกับการลอบสังหาร 📌 "ชีค ยามานี" รัฐมนตรีน้ำมัน เป็นผู้หยุดราชองครักษ์ ไม่ให้สังหารเจ้าชายทันที 🧩 โศกนาฏกรรมที่กลายเป็นบทเรียนแห่งโลก สะท้อนให้เห็นว่า... แม้จะอยู่ในพระราชวังสูงสุด หรือมีพระยศสูงส่งเพียงใด ก็ไม่อาจหนีจาก "ความเป็นมนุษย์" และ "ความเปราะบางของจิตใจ" ได้เลย กษัตริย์ไฟซาล อาจจากโลกนี้ไปด้วยความเจ็บปวด... แต่พระองค์ได้ทิ้งมรดกแห่งวิสัยทัศน์ ไว้ให้ซาอุดีอาระเบียก้าวหน้า ต่อมาอีกหลายทศวรรษ 🕊️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 251024 มี.ค. 2568 📲 #กษัตริย์ไฟซาล #ลอบสังหารซาอุ #ประวัติศาสตร์ซาอุ #โศกนาฏกรรมซาอุดีอาระเบีย #จิตเวชในราชวงศ์ #ซาอุยุค70 #เจ้าชายไฟซาล #ราชวงศ์อาหรับ #เรื่องจริงไม่เคยรู้ #FaisalBinAbdulAziz
    0 Comments 0 Shares 1024 Views 0 Reviews
  • 10 ปี โศกนาฏกรรม Germanwings เที่ยวบิน 4U9525 เครื่องบินตกที่เทือกเขาแอลป์ จากเหตุ “นักบินผู้ช่วยป่วยจิต” เจตนาฆ่ายกลำ 150 ศพ!

    ✈️ เหตุการณ์เครื่องบินตกของสายการบิน Germanwings เที่ยวบิน 4U9525 ถือเป็นโศกนาฏกรรมทางอากาศ ครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่ง ในประวัติศาสตร์การบินของเยอรมนี และกลายเป็นคดีสะเทือนขวัญ ที่ยังคงถูกพูดถึง แม้เวลาจะล่วงเลยไปกว่า 10 ปีแล้ว 🚨

    เพราะสิ่งที่ยิ่งกว่าความสูญเสียคือ “ข้อเท็จจริงอันน่าสยดสยอง” ว่าผู้ช่วยนักบิน ตั้งใจทำให้เครื่องบินตก นำไปสู่การเสียชีวิตของผู้โดยสาร และลูกเรือทั้ง 150 คนบนเครื่อง ✈️

    ✈️ โศกนาฏกรรม เที่ยวบิน 4U9525 วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558 เวลา 10:41 น. สายการบิน Germanwings เที่ยวบินที่ 4U9525 ได้บินจากบาร์เซโลนา ประเทศสเปน มุ่งหน้าสู่ดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ด้วยเครื่องบิน Airbus A320-200 ที่มีอายุการใช้งาน 24 ปี ผู้โดยสารบนเครื่องมีทั้งหมด 144 คน และลูกเรือ 6 คน รวมถึงกัปตัน " แพทริก ซอน เดนไฮเมอร์" (Patrick Son Denheimer) และผู้ช่วยนักบิน "อันเดรียส ลูบริซ" (Andreas Lubitz) 👨‍✈️

    การเดินทางที่ควรจะ "ปกติ" เริ่มต้นได้อย่างราบรื่น เครื่องบินไต่ระดับขึ้นไปที่ 38,000 ฟุต ⛰️ แต่เพียงไม่นาน... เครื่องบินก็เริ่มลดระดับลงอย่างผิดปกติ โดยไม่มีการติดต่อกลับจากนักบินผู้ช่วย ⚠️

    🚨 สิบนาทีสุดท้าย ก่อนพุ่งชนเทือกเขาแอลป์ ในช่วงเวลาสิบกว่านาทีสุดท้ายของเที่ยวบิน ลูบิตซ์ นักบินผู้ช่วย ได้ใช้โอกาสที่กัปตันเดนไฮเมอร์ ออกไปจากห้องนักบิน กดล็อกประตูไม่ให้กัปตันกลับเข้าไป และตั้งค่าระบบนำร่องอัตโนมัติ ให้เครื่องบินพุ่งต่ำลงเรื่อยๆ จนกระทั่งชนภูเขาในเขต Massif des Trois-Évêchés ของเทือกเขาแอลป์ 🏔️

    เสียงในห้องนักบินที่บันทึกโดยกล่องดำ (CVR) เผยให้เห็นว่าลูบิตซ์เงียบตลอดเวลาดำเนินการ และไม่ตอบสนองต่อการติดต่อใดๆ แม้แต่เสียงร้องขอความช่วยเหลือของกัปตันเดนไฮเมอร์ และเสียงกรีดร้องของผู้โดยสาร ที่ตระหนักถึงชะตากรรมของตนเอง 😢

    ⚠️ นักบินผู้ช่วยที่ป่วยจิต… และระบบที่พังทลาย ลูบิตซ์มีประวัติเป็นโรคซึมเศร้า และมีอาการจิตเวชที่ซับซ้อนมาก่อน เคยหยุดการฝึกบินกลางคันในปี 2552 ด้วยปัญหาทางจิตใจ แต่ได้รับใบรับรองแพทย์คืนหลังจากผ่านการรักษา ✅

    แม้จะหายป่วยในช่วงหนึ่ง แต่ภายหลังอาการกลับมาอีกครั้งในปี 2557-2558 โดยไม่มีใครในสายการบินรับรู้ เพราะลูบิตซ์เลือก "ปกปิด" ไม่แจ้งข้อมูลนี้กับบริษัท และเพื่อนร่วมงาน เพราะกลัวสูญเสียอาชีพการบิน ที่หลงใหลมาตลอดชีวิต 🛩️

    👉 ปัญหานี้ชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่อง ในระบบตรวจสอบสุขภาพจิตของนักบิน ที่เน้นแต่การคัดกรองและป้องกัน โดยไม่ได้ให้ความสำคัญกับระบบสนับสนุน และการฟื้นฟูผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ อย่างแท้จริง

    🔍 เบื้องหลังอาชญากรรม "อันเดรียส ลูบิตซ์" เป็นชายหนุ่มชาวเยอรมัน ที่เติบโตในเมือง Montabaur รักการบินมาตั้งแต่เด็ก เริ่มฝึกบินเครื่องร่อนตั้งแต่อายุ 14 ปี มีเส้นทางที่ดูเหมือนจะรุ่งโรจน์ในอาชีพนักบิน แต่ด้วยปัญหาสุขภาพจิต ที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้กลายเป็นฆาตกรในคราบนักบิน ✈️

    ลูบิตซ์ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรัง เคยมีความคิดฆ่าตัวตายหลายครั้ง และสุดท้าย ก็เลือกจบชีวิตตัวเองบนเครื่องบิน พร้อมกับพรากชีวิตคนอีก 149 คนไปพร้อมกัน ⚰️

    📜 มาตรการความปลอดภัย ที่เปลี่ยนแปลงหลังเหตุการณ์
    มาตรการเร่งด่วนที่ถูกนำมาใช้ทันที
    - ต้องมีนักบินสองคนในห้องนักบินตลอดเวลา (Two-Person Cockpit Rule)
    - เข้มงวดกับการตรวจสุขภาพจิตของนักบินมากขึ้น 📝
    - ให้สิทธิ์แพทย์ ในการแจ้งข้อมูลสุขภาพจิตของนักบิน ในกรณีเสี่ยงต่อความปลอดภัย ⚖️

    แต่ปัจจุบัน หลายฝ่ายมองว่านโยบายเหล่านี้ อาจไม่ได้ป้องกันปัญหาที่แท้จริง เพราะระบบยังคงขาดความยืดหยุ่น ในการจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตของนักบิน 😔

    💡 บทเรียนที่ยังคงถูกถกเถียงในวงการการบิน
    - นักบินหลายคนเลือก "โกหก" เพื่อไม่ให้ประวัติสุขภาพจิต มาทำลายอาชีพการบินของตนเอง
    - ความเข้มงวดเกินไปในระบบใบรับรองแพทย์ อาจทำให้ปัญหาซ่อนอยู่ มากกว่าการเปิดเผยความจริง
    - จำเป็นต้องสร้างวัฒนธรรมการยอมรับและสนับสนุน ไม่ใช่การลงโทษคนที่ขอความช่วยเหลือ

    🎯 คำถามคือ เราจะป้องกันไม่ให้เกิด "Andreas Lubitz คนต่อไป" ได้อย่างไร?

    ✨ เหตุการณ์ที่โลกไม่มีวันลืม โศกนาฏกรรมเที่ยวบิน 4U9525 เป็นตัวอย่างสะท้อนความสำคัญ ของการตรวจสอบสุขภาพจิตนักบิน อย่างเป็นระบบและมีมนุษยธรรม หากไม่มีการปรับปรุง ระบบเดิมจะยังคงสร้างช่องว่าง ให้โศกนาฏกรรมเกิดขึ้นได้อีกครั้ง 💔

    10 ปีผ่านไป... แต่รอยแผลจากวันนั้นยังคงอยู่ และคำถามที่ไร้คำตอบก็คือ "ถ้าย้อนเวลากลับไปได้ สิ่งนี้จะป้องกันได้ไหม?" ⏳

    ✈️ ความเชื่อใจในนักบินเป็นสิ่งสำคัญ แต่ "ระบบ" ที่สนับสนุนความปลอดภัยนั้น สำคัญยิ่งกว่า!

    10 ปีแห่งบทเรียนที่ไม่มีวันลืม...

    🕊️ เพื่อความปลอดภัยของทุกชีวิตบนท้องฟ้า 🌤️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 241018 มี.ค. 2568

    📌 #เที่ยวบิน9525 #Germanwings #โศกนาฏกรรมการบิน #AndreasLubitz #สุขภาพจิตนักบิน #โศกนาฏกรรมเยอรมันวิงส์ #ความปลอดภัยทางการบิน #ห้องนักบิน #อุบัติเหตุการบิน #บินปลอดภัย
    10 ปี โศกนาฏกรรม Germanwings เที่ยวบิน 4U9525 เครื่องบินตกที่เทือกเขาแอลป์ จากเหตุ “นักบินผู้ช่วยป่วยจิต” เจตนาฆ่ายกลำ 150 ศพ! ✈️ เหตุการณ์เครื่องบินตกของสายการบิน Germanwings เที่ยวบิน 4U9525 ถือเป็นโศกนาฏกรรมทางอากาศ ครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่ง ในประวัติศาสตร์การบินของเยอรมนี และกลายเป็นคดีสะเทือนขวัญ ที่ยังคงถูกพูดถึง แม้เวลาจะล่วงเลยไปกว่า 10 ปีแล้ว 🚨 เพราะสิ่งที่ยิ่งกว่าความสูญเสียคือ “ข้อเท็จจริงอันน่าสยดสยอง” ว่าผู้ช่วยนักบิน ตั้งใจทำให้เครื่องบินตก นำไปสู่การเสียชีวิตของผู้โดยสาร และลูกเรือทั้ง 150 คนบนเครื่อง ✈️ ✈️ โศกนาฏกรรม เที่ยวบิน 4U9525 วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558 เวลา 10:41 น. สายการบิน Germanwings เที่ยวบินที่ 4U9525 ได้บินจากบาร์เซโลนา ประเทศสเปน มุ่งหน้าสู่ดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี ด้วยเครื่องบิน Airbus A320-200 ที่มีอายุการใช้งาน 24 ปี ผู้โดยสารบนเครื่องมีทั้งหมด 144 คน และลูกเรือ 6 คน รวมถึงกัปตัน " แพทริก ซอน เดนไฮเมอร์" (Patrick Son Denheimer) และผู้ช่วยนักบิน "อันเดรียส ลูบริซ" (Andreas Lubitz) 👨‍✈️ การเดินทางที่ควรจะ "ปกติ" เริ่มต้นได้อย่างราบรื่น เครื่องบินไต่ระดับขึ้นไปที่ 38,000 ฟุต ⛰️ แต่เพียงไม่นาน... เครื่องบินก็เริ่มลดระดับลงอย่างผิดปกติ โดยไม่มีการติดต่อกลับจากนักบินผู้ช่วย ⚠️ 🚨 สิบนาทีสุดท้าย ก่อนพุ่งชนเทือกเขาแอลป์ ในช่วงเวลาสิบกว่านาทีสุดท้ายของเที่ยวบิน ลูบิตซ์ นักบินผู้ช่วย ได้ใช้โอกาสที่กัปตันเดนไฮเมอร์ ออกไปจากห้องนักบิน กดล็อกประตูไม่ให้กัปตันกลับเข้าไป และตั้งค่าระบบนำร่องอัตโนมัติ ให้เครื่องบินพุ่งต่ำลงเรื่อยๆ จนกระทั่งชนภูเขาในเขต Massif des Trois-Évêchés ของเทือกเขาแอลป์ 🏔️ เสียงในห้องนักบินที่บันทึกโดยกล่องดำ (CVR) เผยให้เห็นว่าลูบิตซ์เงียบตลอดเวลาดำเนินการ และไม่ตอบสนองต่อการติดต่อใดๆ แม้แต่เสียงร้องขอความช่วยเหลือของกัปตันเดนไฮเมอร์ และเสียงกรีดร้องของผู้โดยสาร ที่ตระหนักถึงชะตากรรมของตนเอง 😢 ⚠️ นักบินผู้ช่วยที่ป่วยจิต… และระบบที่พังทลาย ลูบิตซ์มีประวัติเป็นโรคซึมเศร้า และมีอาการจิตเวชที่ซับซ้อนมาก่อน เคยหยุดการฝึกบินกลางคันในปี 2552 ด้วยปัญหาทางจิตใจ แต่ได้รับใบรับรองแพทย์คืนหลังจากผ่านการรักษา ✅ แม้จะหายป่วยในช่วงหนึ่ง แต่ภายหลังอาการกลับมาอีกครั้งในปี 2557-2558 โดยไม่มีใครในสายการบินรับรู้ เพราะลูบิตซ์เลือก "ปกปิด" ไม่แจ้งข้อมูลนี้กับบริษัท และเพื่อนร่วมงาน เพราะกลัวสูญเสียอาชีพการบิน ที่หลงใหลมาตลอดชีวิต 🛩️ 👉 ปัญหานี้ชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่อง ในระบบตรวจสอบสุขภาพจิตของนักบิน ที่เน้นแต่การคัดกรองและป้องกัน โดยไม่ได้ให้ความสำคัญกับระบบสนับสนุน และการฟื้นฟูผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ อย่างแท้จริง 🔍 เบื้องหลังอาชญากรรม "อันเดรียส ลูบิตซ์" เป็นชายหนุ่มชาวเยอรมัน ที่เติบโตในเมือง Montabaur รักการบินมาตั้งแต่เด็ก เริ่มฝึกบินเครื่องร่อนตั้งแต่อายุ 14 ปี มีเส้นทางที่ดูเหมือนจะรุ่งโรจน์ในอาชีพนักบิน แต่ด้วยปัญหาสุขภาพจิต ที่ไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้กลายเป็นฆาตกรในคราบนักบิน ✈️ ลูบิตซ์ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรัง เคยมีความคิดฆ่าตัวตายหลายครั้ง และสุดท้าย ก็เลือกจบชีวิตตัวเองบนเครื่องบิน พร้อมกับพรากชีวิตคนอีก 149 คนไปพร้อมกัน ⚰️ 📜 มาตรการความปลอดภัย ที่เปลี่ยนแปลงหลังเหตุการณ์ มาตรการเร่งด่วนที่ถูกนำมาใช้ทันที - ต้องมีนักบินสองคนในห้องนักบินตลอดเวลา (Two-Person Cockpit Rule) - เข้มงวดกับการตรวจสุขภาพจิตของนักบินมากขึ้น 📝 - ให้สิทธิ์แพทย์ ในการแจ้งข้อมูลสุขภาพจิตของนักบิน ในกรณีเสี่ยงต่อความปลอดภัย ⚖️ แต่ปัจจุบัน หลายฝ่ายมองว่านโยบายเหล่านี้ อาจไม่ได้ป้องกันปัญหาที่แท้จริง เพราะระบบยังคงขาดความยืดหยุ่น ในการจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตของนักบิน 😔 💡 บทเรียนที่ยังคงถูกถกเถียงในวงการการบิน - นักบินหลายคนเลือก "โกหก" เพื่อไม่ให้ประวัติสุขภาพจิต มาทำลายอาชีพการบินของตนเอง - ความเข้มงวดเกินไปในระบบใบรับรองแพทย์ อาจทำให้ปัญหาซ่อนอยู่ มากกว่าการเปิดเผยความจริง - จำเป็นต้องสร้างวัฒนธรรมการยอมรับและสนับสนุน ไม่ใช่การลงโทษคนที่ขอความช่วยเหลือ 🎯 คำถามคือ เราจะป้องกันไม่ให้เกิด "Andreas Lubitz คนต่อไป" ได้อย่างไร? ✨ เหตุการณ์ที่โลกไม่มีวันลืม โศกนาฏกรรมเที่ยวบิน 4U9525 เป็นตัวอย่างสะท้อนความสำคัญ ของการตรวจสอบสุขภาพจิตนักบิน อย่างเป็นระบบและมีมนุษยธรรม หากไม่มีการปรับปรุง ระบบเดิมจะยังคงสร้างช่องว่าง ให้โศกนาฏกรรมเกิดขึ้นได้อีกครั้ง 💔 10 ปีผ่านไป... แต่รอยแผลจากวันนั้นยังคงอยู่ และคำถามที่ไร้คำตอบก็คือ "ถ้าย้อนเวลากลับไปได้ สิ่งนี้จะป้องกันได้ไหม?" ⏳ ✈️ ความเชื่อใจในนักบินเป็นสิ่งสำคัญ แต่ "ระบบ" ที่สนับสนุนความปลอดภัยนั้น สำคัญยิ่งกว่า! 10 ปีแห่งบทเรียนที่ไม่มีวันลืม... 🕊️ เพื่อความปลอดภัยของทุกชีวิตบนท้องฟ้า 🌤️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 241018 มี.ค. 2568 📌 #เที่ยวบิน9525 #Germanwings #โศกนาฏกรรมการบิน #AndreasLubitz #สุขภาพจิตนักบิน #โศกนาฏกรรมเยอรมันวิงส์ #ความปลอดภัยทางการบิน #ห้องนักบิน #อุบัติเหตุการบิน #บินปลอดภัย
    0 Comments 0 Shares 1070 Views 0 Reviews
  • ระเบิดบังเกอร์บัสเตอร์ (bunker buster) ของสหรัฐฯ ถูกอิสราเอลทิ้งลงบนเต็นท์ที่พักของพลเรือนชาวปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา นับเป็นโศกนาฏกรรมของมนุษยชาติครั้งรุนแรงที่สุดจากฝีมือชาวยิวที่โอดครวญว่าในอดีตพวกเขาโดนข่มเหงรังแก
    ระเบิดบังเกอร์บัสเตอร์ (bunker buster) ของสหรัฐฯ ถูกอิสราเอลทิ้งลงบนเต็นท์ที่พักของพลเรือนชาวปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา นับเป็นโศกนาฏกรรมของมนุษยชาติครั้งรุนแรงที่สุดจากฝีมือชาวยิวที่โอดครวญว่าในอดีตพวกเขาโดนข่มเหงรังแก
    0 Comments 0 Shares 285 Views 20 0 Reviews
  • 🔥 19 ปี โศกนาฏกรรมศาลท้าวมหาพรหม หนุ่มป่วยจิตบุกทุบ รุมสกรัมดับกลางราชประสงค์! 😱

    📝 ย้อนเหตุการณ์ช็อก 19 ปี ที่ผ่านมา! หนุ่มป่วยจิตบุกทุบศาลท้าวมหาพรหม ชาวบ้านรุมสกรัมจนเสียชีวิต แรงศรัทธาและแรงแค้น ปะทะกันอย่างรุนแรง!

    📚 ✨ 19 ปี ผ่านไป กับเหตุการณ์ที่ยังฝังใจคนไทย วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🌙 เช้ามืดที่ราชประสงค์ เวลาตีหนึ่ง กลายเป็นเวทีของเหตุการณ์ ที่คนไทยทั้งประเทศไม่อาจลืม... เมื่อชายหนุ่มรายหนึ่ง บุกเข้าไปในศาลท้าวมหาพรหม กลางสี่แยกสำคัญ ทุบองค์พระพรหมจนแตกละเอียด ก่อนจะถูกชาวบ้านรุมทำร้าย จนเสียชีวิตต่อหน้าสายตาคนมากมาย 😢

    เรื่องราวครั้งนั้น ไม่ใช่เพียงข่าวฆาตกรรม แต่เป็นโศกนาฏกรรมที่ก่อให้เกิดคำถาม และข้อถกเถียงเกี่ยวกับศรัทธา ความเชื่อ และปัญหาทางสุขภาพจิตในสังคมไทย 📖

    🔎 เวลาประมาณตีหนึ่งของวันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🚨 เจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ลุมพินี ได้รับแจ้งเหตุ มีชายคนหนึ่งถูกรุมทำร้ายจนเสียชีวิต หน้าทางเข้าโรงแรมเอราวัณ จุดศูนย์กลางของศรัทธาและแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กลางกรุงเทพมหานคร 🏙️

    🎯 ชายคนดังกล่าว อายุประมาณ 30 ปี สวมเสื้อยืดสีขาว กางเกงขายาว พับขาขึ้นมา เขามีรอยสักคำว่า "อามีน" บริเวณแผ่นหลัง พบค้อนและเหล็กเสียบร่ม ในพื้นที่ใกล้ศพ องค์ท้าวมหาพรหมถูกทุบจนแตกละเอียด เหลือแต่ฐาน 😢 ไม่มีเอกสารแสดงตัวตน พบเพียงบุหรี่ ยาเส้น ไฟแช็ก และเงิน 8 บาท
    ต่อมา

    พ่อของชายหนุ่มได้มายืนยันตัวตน ว่าผู้เคราะห์ร้ายชื่อ นายธนกร ภักดีผล อายุ 27 ปี ป่วยเป็นโรคจิตเวชมานานกว่า 6 ปี 🧠

    🛕 ศาลท้าวมหาพรหม สี่แยกราชประสงค์ เป็นมากกว่าสถานที่สักการะ 😇 แต่เป็นศูนย์รวมความเชื่อของคนไทย และชาวต่างชาติที่ศรัทธาใน "องค์มหาพรหม" เทพผู้ประทานพรให้สมปรารถนาในสิ่งที่หวัง

    📌 สร้างขึ้นปี 2499 โดยบริษัทสหโรงแรมไทย และการท่องเที่ยว จำกัด เพื่อแก้เคล็ดฤกษ์ที่ไม่ดี ตามความเชื่อโหราศาสตร์ องค์พระพรหมปั้นจากปูนปลาสเตอร์ ปิดทอง โดยกรมศิลปากร กลายเป็นที่พึ่งพิงทางจิตใจ ผู้คนมาขอพรเรื่องความสำเร็จ ในชีวิตและการงาน 🙏

    💥 ความเชื่อกับความกลัว ปฏิกิริยาของผู้คนต่อเหตุการณ์ หลังเหตุการณ์ หน้าศาลท้าวมหาพรหม เต็มไปด้วยความเศร้าโศก และตื่นตระหนก 😭 ผู้ศรัทธาหลายคนร่ำไห้ เชื่อว่านี่คือ "ลางร้าย" ที่บอกเหตุการณ์ไม่ดี ที่จะเกิดขึ้นในบ้านเมืองไทย 🇹🇭

    นายภิญโญ พงศ์เจริญ นักโหราศาสตร์ชื่อดัง กล่าวว่า นี่เป็นสัญญาณจากฟ้าดิน ว่าเกิดสิ่งไม่เป็นมงคล ⚡

    🩺 ประเด็นปัญหาทางสังคม บทเรียนจากโศกนาฏกรรม สุขภาพจิต คือเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม! 🧠 นายธนกรป่วยเป็นโรคจิตเวชมานาน แต่ไม่มีระบบสวัสดิการที่เพียงพอ ในการดูแลรักษา พ่อต้องพาไปโรงพยาบาลถึง 4 แห่ง แต่ไม่ได้ผลถาวร 😓

    🚨 ประเด็นที่สังคมควรถาม
    - ทำไมถึงไม่มีการช่วยเหลือทันทีจากตำรวจ 191 ที่พ่อโทรแจ้งก่อนเหิดเหตุ?
    - ระบบสุขภาพจิตของไทย รองรับผู้ป่วยเรื้อรังเพียงพอหรือไม่?
    - ประชาทัณฑ์คือความยุติธรรม หรืออารมณ์ชั่ววูบ?

    🛠️ บูรณะศาลท้าวมหาพรหม เยียวยาความรู้สึกคนไทย หลังเหตุการณ์ โรงแรมเอราวัณและกรมศิลปากร เร่งบูรณะองค์ท้าวมหาพรหม 🔧 โดยใช้เทคนิคใหม่ เช่น ใยหิน ปูนเขียว แกนสเตนเลส และทองเหลืองจากสวีเดน พร้อมปิดทองใหม่ทุกจุด ✨

    📅 ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มีพิธีบวงสรวงใหญ่ และเชิญองค์ท้าวมหาพรหม กลับประดิษฐาน ณ จุดเดิม ช่วยปลุกขวัญ และฟื้นฟูศรัทธาประชาชนอีกครั้ง 🙏

    💣 เหตุการณ์ระเบิดปี 2558 ฝันร้ายซ้ำสองที่ไม่มีใครอยากจำ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.55 น. เกิดเหตุระเบิดกลางศาลท้าวมหาพรหมอีกครั้ง 🔥 ด้วยระเบิดทีเอ็นทีหนัก 5 กก. มีผู้เสียชีวิตทันที 16 ราย และบาดเจ็บกว่า 70 คน

    แรงระเบิดทำให้องค์มหาพรหม เสียหายอย่างหนัก ต้องบูรณะด้วยงบประมาณกว่า 70,000 บาท ภายในเวลาเพียง 9 วัน ⚒️

    📉 วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม ศรัทธา และความมั่นคง คำถามใหญ่ที่เกิดขึ้น 🤔 รัฐบาลและหน่วยงานความมั่นคง สามารถป้องกันเหตุการณ์แบบนี้ได้แค่ไหน? ศรัทธายังเป็นพลังบวก หรือกำลังกลายเป็นเครื่องมือสร้างความหวาดกลัวในสังคม?

    💡 ทางออกที่ควรพิจารณา เพิ่มการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และสร้างระบบรับมือวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีประสิทธิภาพ เสริมความเข้มแข็งในการป้องกันเหตุอาชญากรรม ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์

    📝 ศรัทธา...ยังคงอยู่ หรือเลือนหายไป? 19 ปีผ่านไป เหตุการณ์ที่ศาลท้าวมหาพรหม ยังสอนว่า "ศรัทธา" อาจเป็นทั้งพลังสร้างสรรค์ และพลังทำลายได้ ถ้าไม่รู้จักใช้มันให้ถูกที่ถูกทาง 🙏✨

    สิ่งสำคัญที่สุดคือการเรียนรู้จากอดีต ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ในรูปแบบใหม่อีกครั้ง 💔

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 210927 มี.ค. 2568

    📣 #ท้าวมหาพรหม #ศาลเอราวัณ #ศรัทธามหาชน #เหตุการณ์ราชประสงค์ #สุขภาพจิต #รุมประชาทัณฑ์ #บูรณะศาลท้าวมหาพรหม #ระเบิดราชประสงค์ #ข่าวอาชญากรรม #สังคมไทยวันนี้
    🔥 19 ปี โศกนาฏกรรมศาลท้าวมหาพรหม หนุ่มป่วยจิตบุกทุบ รุมสกรัมดับกลางราชประสงค์! 😱 📝 ย้อนเหตุการณ์ช็อก 19 ปี ที่ผ่านมา! หนุ่มป่วยจิตบุกทุบศาลท้าวมหาพรหม ชาวบ้านรุมสกรัมจนเสียชีวิต แรงศรัทธาและแรงแค้น ปะทะกันอย่างรุนแรง! 📚 ✨ 19 ปี ผ่านไป กับเหตุการณ์ที่ยังฝังใจคนไทย วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🌙 เช้ามืดที่ราชประสงค์ เวลาตีหนึ่ง กลายเป็นเวทีของเหตุการณ์ ที่คนไทยทั้งประเทศไม่อาจลืม... เมื่อชายหนุ่มรายหนึ่ง บุกเข้าไปในศาลท้าวมหาพรหม กลางสี่แยกสำคัญ ทุบองค์พระพรหมจนแตกละเอียด ก่อนจะถูกชาวบ้านรุมทำร้าย จนเสียชีวิตต่อหน้าสายตาคนมากมาย 😢 เรื่องราวครั้งนั้น ไม่ใช่เพียงข่าวฆาตกรรม แต่เป็นโศกนาฏกรรมที่ก่อให้เกิดคำถาม และข้อถกเถียงเกี่ยวกับศรัทธา ความเชื่อ และปัญหาทางสุขภาพจิตในสังคมไทย 📖 🔎 เวลาประมาณตีหนึ่งของวันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🚨 เจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ลุมพินี ได้รับแจ้งเหตุ มีชายคนหนึ่งถูกรุมทำร้ายจนเสียชีวิต หน้าทางเข้าโรงแรมเอราวัณ จุดศูนย์กลางของศรัทธาและแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กลางกรุงเทพมหานคร 🏙️ 🎯 ชายคนดังกล่าว อายุประมาณ 30 ปี สวมเสื้อยืดสีขาว กางเกงขายาว พับขาขึ้นมา เขามีรอยสักคำว่า "อามีน" บริเวณแผ่นหลัง พบค้อนและเหล็กเสียบร่ม ในพื้นที่ใกล้ศพ องค์ท้าวมหาพรหมถูกทุบจนแตกละเอียด เหลือแต่ฐาน 😢 ไม่มีเอกสารแสดงตัวตน พบเพียงบุหรี่ ยาเส้น ไฟแช็ก และเงิน 8 บาท ต่อมา พ่อของชายหนุ่มได้มายืนยันตัวตน ว่าผู้เคราะห์ร้ายชื่อ นายธนกร ภักดีผล อายุ 27 ปี ป่วยเป็นโรคจิตเวชมานานกว่า 6 ปี 🧠 🛕 ศาลท้าวมหาพรหม สี่แยกราชประสงค์ เป็นมากกว่าสถานที่สักการะ 😇 แต่เป็นศูนย์รวมความเชื่อของคนไทย และชาวต่างชาติที่ศรัทธาใน "องค์มหาพรหม" เทพผู้ประทานพรให้สมปรารถนาในสิ่งที่หวัง 📌 สร้างขึ้นปี 2499 โดยบริษัทสหโรงแรมไทย และการท่องเที่ยว จำกัด เพื่อแก้เคล็ดฤกษ์ที่ไม่ดี ตามความเชื่อโหราศาสตร์ องค์พระพรหมปั้นจากปูนปลาสเตอร์ ปิดทอง โดยกรมศิลปากร กลายเป็นที่พึ่งพิงทางจิตใจ ผู้คนมาขอพรเรื่องความสำเร็จ ในชีวิตและการงาน 🙏 💥 ความเชื่อกับความกลัว ปฏิกิริยาของผู้คนต่อเหตุการณ์ หลังเหตุการณ์ หน้าศาลท้าวมหาพรหม เต็มไปด้วยความเศร้าโศก และตื่นตระหนก 😭 ผู้ศรัทธาหลายคนร่ำไห้ เชื่อว่านี่คือ "ลางร้าย" ที่บอกเหตุการณ์ไม่ดี ที่จะเกิดขึ้นในบ้านเมืองไทย 🇹🇭 นายภิญโญ พงศ์เจริญ นักโหราศาสตร์ชื่อดัง กล่าวว่า นี่เป็นสัญญาณจากฟ้าดิน ว่าเกิดสิ่งไม่เป็นมงคล ⚡ 🩺 ประเด็นปัญหาทางสังคม บทเรียนจากโศกนาฏกรรม สุขภาพจิต คือเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม! 🧠 นายธนกรป่วยเป็นโรคจิตเวชมานาน แต่ไม่มีระบบสวัสดิการที่เพียงพอ ในการดูแลรักษา พ่อต้องพาไปโรงพยาบาลถึง 4 แห่ง แต่ไม่ได้ผลถาวร 😓 🚨 ประเด็นที่สังคมควรถาม - ทำไมถึงไม่มีการช่วยเหลือทันทีจากตำรวจ 191 ที่พ่อโทรแจ้งก่อนเหิดเหตุ? - ระบบสุขภาพจิตของไทย รองรับผู้ป่วยเรื้อรังเพียงพอหรือไม่? - ประชาทัณฑ์คือความยุติธรรม หรืออารมณ์ชั่ววูบ? 🛠️ บูรณะศาลท้าวมหาพรหม เยียวยาความรู้สึกคนไทย หลังเหตุการณ์ โรงแรมเอราวัณและกรมศิลปากร เร่งบูรณะองค์ท้าวมหาพรหม 🔧 โดยใช้เทคนิคใหม่ เช่น ใยหิน ปูนเขียว แกนสเตนเลส และทองเหลืองจากสวีเดน พร้อมปิดทองใหม่ทุกจุด ✨ 📅 ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มีพิธีบวงสรวงใหญ่ และเชิญองค์ท้าวมหาพรหม กลับประดิษฐาน ณ จุดเดิม ช่วยปลุกขวัญ และฟื้นฟูศรัทธาประชาชนอีกครั้ง 🙏 💣 เหตุการณ์ระเบิดปี 2558 ฝันร้ายซ้ำสองที่ไม่มีใครอยากจำ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.55 น. เกิดเหตุระเบิดกลางศาลท้าวมหาพรหมอีกครั้ง 🔥 ด้วยระเบิดทีเอ็นทีหนัก 5 กก. มีผู้เสียชีวิตทันที 16 ราย และบาดเจ็บกว่า 70 คน แรงระเบิดทำให้องค์มหาพรหม เสียหายอย่างหนัก ต้องบูรณะด้วยงบประมาณกว่า 70,000 บาท ภายในเวลาเพียง 9 วัน ⚒️ 📉 วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม ศรัทธา และความมั่นคง คำถามใหญ่ที่เกิดขึ้น 🤔 รัฐบาลและหน่วยงานความมั่นคง สามารถป้องกันเหตุการณ์แบบนี้ได้แค่ไหน? ศรัทธายังเป็นพลังบวก หรือกำลังกลายเป็นเครื่องมือสร้างความหวาดกลัวในสังคม? 💡 ทางออกที่ควรพิจารณา เพิ่มการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และสร้างระบบรับมือวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีประสิทธิภาพ เสริมความเข้มแข็งในการป้องกันเหตุอาชญากรรม ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ 📝 ศรัทธา...ยังคงอยู่ หรือเลือนหายไป? 19 ปีผ่านไป เหตุการณ์ที่ศาลท้าวมหาพรหม ยังสอนว่า "ศรัทธา" อาจเป็นทั้งพลังสร้างสรรค์ และพลังทำลายได้ ถ้าไม่รู้จักใช้มันให้ถูกที่ถูกทาง 🙏✨ สิ่งสำคัญที่สุดคือการเรียนรู้จากอดีต ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ในรูปแบบใหม่อีกครั้ง 💔 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 210927 มี.ค. 2568 📣 #ท้าวมหาพรหม #ศาลเอราวัณ #ศรัทธามหาชน #เหตุการณ์ราชประสงค์ #สุขภาพจิต #รุมประชาทัณฑ์ #บูรณะศาลท้าวมหาพรหม #ระเบิดราชประสงค์ #ข่าวอาชญากรรม #สังคมไทยวันนี้
    0 Comments 0 Shares 1055 Views 0 Reviews
  • 111 ปี สิ้น “เจ้าน้อยศุขเกษม” ปิดตำนานรักสาวชาวพม่า “มะเมียะ” เรื่องจริง หรือแค่…อิงนิยาย?

    🕰️ ตำนานรักข้ามชาติ ที่คนรุ่นหลังยังคงกล่าวขาน 🕰️

    📝 111 ปีที่ผ่านไป…เรื่องราวความรักระหว่าง "เจ้าน้อยศุขเกษม" แห่งนครเชียงใหม่ และ "มะเมียะ" สาวงามจากเมืองมะละแหม่ง ยังคงเป็นเรื่องเล่าที่อบอวล ด้วยกลิ่นอายของความโรแมนติก และโศกเศร้า แต่คำถามที่หลายคนยังสงสัยคือ... เรื่องนี้มีมูลความจริงแค่ไหน? หรือเป็นเพียงตำนาน ที่แต่งเติมเสริมสีสันให้ดูหวานซึ้งเท่านั้น?

    ย้อนรอยตำนานรักข้ามพรมแดน พร้อมเปิดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อค้นหาคำตอบ ว่าความจริงในตำนานรักอมตะนี้ เป็นเรื่องจริง...หรือเป็นเพียงนิยายที่แต่งขึ้นมา ให้คนล้านนาหลงใหล 💔✨

    💡 "เจ้าน้อยศุขเกษม" หรือในบรรดาศักดิ์ที่รู้จักกันในนาม "เจ้าอุตรการโกศล" เป็นโอรสองค์โตของ เจ้าแก้วนวรัฐ ผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย กับเจ้าจามรีวงศ์ เป็นผู้มีเชื้อสายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักรแห่งล้านนา

    เจ้าน้อยเกิดปี พ.ศ. 2423 ต่อมาในปี พ.ศ. 2441 ถูกส่งไปศึกษา ที่เมืองมะละแหม่ง ประเทศพม่า ซึ่งได้พบ "มะเมียะ" หญิงสาวแม่ค้าชาวพม่า ผู้เปลี่ยนชะตาชีวิตเจ้าน้อยศุขเกษม ไปตลอดกาล

    ได้รับแต่งตั้งเป็น "เจ้าอุตรการโกศล" ถือศักดินา 1,600 แต่ไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าหลวง เนื่องจากอุปนิสัยรักสนุก ไม่เอาการเอางาน กระทั่งถึงแก่กรรม ในวันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2457 สิริอายุ 32 ปี (หากนับแบบโบราณ ตรงกับ พ.ศ. 2456 อายุ 33 ปี)

    🌸 ตำนานรักที่กล่าวขาน “มะเมียะ” หญิงงามจากแดนพม่า ถูกขนานนามว่า เป็นแม่ค้าสาวงามชาวพม่าจากเมืองมะละแหม่ง ทั้งสองพบรักกันขณะเจ้าน้อยไปศึกษายังโรงเรียนเซนต์แพทริค โดยคำบอกเล่าต่างๆ ระบุว่า

    ❤️ เจ้าน้อยศุขเกษมใช้ชีวิตร่วมกับมะเมียะฉันสามีภรรยา ด้วยการสนับสนุนจากทางบ้านของฝ่ายหญิง
    ❤️ ต่อมาเมื่อข่าวแพร่ถึงเชียงใหม่ เจ้าน้อยถูกเรียกกลับคุ้ม พร้อมคำสั่งให้เลิกคบหากับมะเมียะ อย่างเด็ดขาด
    ❤️ มะเมียะจำต้องปลอมตัวเป็นชาย เพื่อตามขบวนเจ้าน้อยกลับเชียงใหม่ แต่สุดท้ายก็ไม่อาจหลีกพ้นคำสั่ง ของผู้มีอำนาจในคุ้มเชียงใหม่ได้
    ❤️ เรื่องราวจบลงด้วยการที่มะเมียะ ถูกบีบให้เดินทางกลับบ้านเกิด น้ำตารินไหลพรากจากชายคนรักตลอดกาล…😢

    📚 ข้อเท็จจริงในหน้าประวัติศาสตร์ จากเอกสาร และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ พบว่า

    📌 ไม่มีหลักฐานใดยืนยันได้ว่า "เจ้าน้อยศุขเกษม" มีความสัมพันธ์กับ "มะเมียะ" จริงในประวัติศาสตร์
    📌 เรื่องราวที่ "ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง" นำไปเผยแพร่ในหนังสือ "เพ็ชร์ลานนา" และ ชีวิตรักเจ้าเชียงใหม่ อาจมีโครงเรื่องบางส่วน ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ของ "เจ้าวงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่" ผู้เป็นน้องชายต่างพระมารดาของเจ้าน้อย
    📌 หลักฐานต่างๆ ชี้ชัดว่า เจ้าน้อยศุขเกษมไม่ได้มีบทบาทสำคัญ ในการสืบราชสันตติวงศ์ของเชียงใหม่ และมีนิสัยไม่รับผิดชอบ จึงได้รับแต่งตั้งเพียงตำแหน่ง "เจ้าอุตรการโกศล"
    📌 เจ้าศุขเกษมสิ้นชีพ ด้วยโรคเส้นประสาทพิการเรื้อรัง ไม่ใช่เพราะตรอมใจ จากการพลัดพรากกับคนรัก

    🧐 ตำนานที่สร้างจากเรื่องจริง…หรือเพียงจินตนาการ? การบอกเล่าต่อๆ กันในหมู่เจ้านายฝ่ายเหนือและประชาชนล้านนาในยุคหลัง ได้ขยายความ และเติมแต่งจนเรื่องราวความรักนี้ กลายเป็นนิยายโศกนาฏกรรม ที่ชวนให้คนฟังหลงใหล

    🌿 "จรัล มโนเพ็ชร" นำเรื่องนี้ไปประพันธ์เป็นบทเพลง "มะเมี้ยะ" และขับร้องด้วยน้ำเสียงเศร้าสร้อย ทำให้ตำนานนี้ กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
    🌿 เมื่อเรื่องราวถูกถ่ายทอดผ่านเพลง และสื่อหนังสือพิมพ์มากขึ้น ผู้คนจำนวนมากเชื่อว่า นี่คือเรื่องจริงของ "เจ้าน้อยศุขเกษม"
    🌿 แท้จริงแล้ว ตำนานดังกล่าว น่าจะได้รับแรงบันดาลใจจากชีวิตของ "เจ้าวงษ์ตวัน" ซึ่งเคยมีปัญหาเรื่องพาผู้หญิงหลบหนี และถูกส่งตัวกลับเชียงใหม่ ตามจดหมายเหตุในสมัยรัชกาลที่ 5 และ 6

    📖 หลักฐานสนับสนุนจากประวัติศาสตร์ล้านนา
    📜 จดหมายเหตุรายวัน ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    📜 รายงานการศึกษาของเจ้าวงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่ ที่เล่าเรียนในโรงเรียนราชวิทยาลัย
    📜 บันทึกการแต่งตั้งตำแหน่ง "เจ้าอุตรการโกศล" ของเจ้าน้อยศุขเกษม
    📜 บทสัมภาษณ์เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ ผู้ร่วมสมัยที่กล่าวถึงเหตุการณ์ เรียกตัวเจ้าน้อยศุขเกษมกลับเชียงใหม่

    🔍 วิเคราะห์และตีความใหม่ เรื่องราวความรักที่เล่าขานระหว่าง "เจ้าน้อยศุขเกษม" กับ "มะเมียะ"
    ✅ มีเค้าโครงจากเรื่องจริงบางส่วน ในราชสำนักเชียงใหม่
    ✅ ถูกเติมแต่งให้มีความโรแมนติกและดราม่า เพื่อให้ชาวบ้านและคนรุ่นหลังเข้าถึง และจดจำได้ง่าย
    ✅ สะท้อนภาพชีวิตในยุคล้านนา ที่ยังคงเคร่งครัดในระบบชนชั้น และการสมรสตามขนบธรรมเนียม
    ✅ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของความรักต้องห้าม และการต่อสู้กับกรอบประเพณีเก่าก่อน

    ❤️ "เจ้าน้อยศุขเกษม" กับ "มะเมียะ" ตำนานที่ยังคงมีชีวิต แม้จะไม่มีหลักฐานชี้ชัดว่า ความรักครั้งนี้เป็นจริง แต่เรื่องราว "เจ้าน้อยศุขเกษม" และ "มะเมียะ" ก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของ "รักแท้ที่ไม่มีวันสมหวัง"

    🌸 ถูกถ่ายทอดเป็นนิยาย เพลง บทละคร และศิลปวัฒนธรรมในล้านนา
    🌸 กลายเป็นเครื่องเตือนใจ ถึงข้อจำกัดทางชนชั้น และการเมืองในอดีต
    🌸 ยังเป็นตำนานที่คนรุ่นใหม่ศึกษา ซาบซึ้งในแง่มุมของความรัก และความเสียสละ

    📌 สรุปข้อเท็จจริง
    📝 ตำนานรัก "เจ้าน้อยศุขเกษม กับ มะเมียะ" คือ นิยายประวัติศาสตร์ ที่แต่งเติมจากเรื่องจริงบางส่วน
    📝 ข้อเท็จจริงประวัติศาสตร์ยืนยันว่า "เจ้าวงษ์ตวัน" มีชีวิตที่คล้ายกับตำนานดังกล่าวมากกว่า
    📝 การเล่าขานที่ต่อเติมจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้ความจริงและเรื่องแต่ง ผสมปนเปกันอย่างลงตัว
    📝 ตำนานนี้ยังคงมีเสน่ห์และคุณค่า ในฐานะเรื่องเล่าแห่งความรักของชาวล้านนา

    🌟 ความรักอาจไม่มีพรมแดน... แต่ขนบธรรมเนียมและประเพณีในอดีตต่างหาก ที่เป็นกำแพงยากจะข้ามได้ 🌟

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 200807 มี.ค. 2568

    📚 🏷️ #ตำนานรักมะเมียะ #เจ้าน้อยศุขเกษม #ล้านนาประวัติศาสตร์ #เชียงใหม่ในอดีต #เพลงมะเมี้ยะ #เรื่องจริงหรือนิยาย #ประวัติศาสตร์ล้านนา #เชียงใหม่เมืองโบราณ #ตำนานล้านนา #รักข้ามพรมแดน
    111 ปี สิ้น “เจ้าน้อยศุขเกษม” ปิดตำนานรักสาวชาวพม่า “มะเมียะ” เรื่องจริง หรือแค่…อิงนิยาย? 🕰️ ตำนานรักข้ามชาติ ที่คนรุ่นหลังยังคงกล่าวขาน 🕰️ 📝 111 ปีที่ผ่านไป…เรื่องราวความรักระหว่าง "เจ้าน้อยศุขเกษม" แห่งนครเชียงใหม่ และ "มะเมียะ" สาวงามจากเมืองมะละแหม่ง ยังคงเป็นเรื่องเล่าที่อบอวล ด้วยกลิ่นอายของความโรแมนติก และโศกเศร้า แต่คำถามที่หลายคนยังสงสัยคือ... เรื่องนี้มีมูลความจริงแค่ไหน? หรือเป็นเพียงตำนาน ที่แต่งเติมเสริมสีสันให้ดูหวานซึ้งเท่านั้น? ย้อนรอยตำนานรักข้ามพรมแดน พร้อมเปิดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อค้นหาคำตอบ ว่าความจริงในตำนานรักอมตะนี้ เป็นเรื่องจริง...หรือเป็นเพียงนิยายที่แต่งขึ้นมา ให้คนล้านนาหลงใหล 💔✨ 💡 "เจ้าน้อยศุขเกษม" หรือในบรรดาศักดิ์ที่รู้จักกันในนาม "เจ้าอุตรการโกศล" เป็นโอรสองค์โตของ เจ้าแก้วนวรัฐ ผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย กับเจ้าจามรีวงศ์ เป็นผู้มีเชื้อสายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักรแห่งล้านนา เจ้าน้อยเกิดปี พ.ศ. 2423 ต่อมาในปี พ.ศ. 2441 ถูกส่งไปศึกษา ที่เมืองมะละแหม่ง ประเทศพม่า ซึ่งได้พบ "มะเมียะ" หญิงสาวแม่ค้าชาวพม่า ผู้เปลี่ยนชะตาชีวิตเจ้าน้อยศุขเกษม ไปตลอดกาล ได้รับแต่งตั้งเป็น "เจ้าอุตรการโกศล" ถือศักดินา 1,600 แต่ไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าหลวง เนื่องจากอุปนิสัยรักสนุก ไม่เอาการเอางาน กระทั่งถึงแก่กรรม ในวันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2457 สิริอายุ 32 ปี (หากนับแบบโบราณ ตรงกับ พ.ศ. 2456 อายุ 33 ปี) 🌸 ตำนานรักที่กล่าวขาน “มะเมียะ” หญิงงามจากแดนพม่า ถูกขนานนามว่า เป็นแม่ค้าสาวงามชาวพม่าจากเมืองมะละแหม่ง ทั้งสองพบรักกันขณะเจ้าน้อยไปศึกษายังโรงเรียนเซนต์แพทริค โดยคำบอกเล่าต่างๆ ระบุว่า ❤️ เจ้าน้อยศุขเกษมใช้ชีวิตร่วมกับมะเมียะฉันสามีภรรยา ด้วยการสนับสนุนจากทางบ้านของฝ่ายหญิง ❤️ ต่อมาเมื่อข่าวแพร่ถึงเชียงใหม่ เจ้าน้อยถูกเรียกกลับคุ้ม พร้อมคำสั่งให้เลิกคบหากับมะเมียะ อย่างเด็ดขาด ❤️ มะเมียะจำต้องปลอมตัวเป็นชาย เพื่อตามขบวนเจ้าน้อยกลับเชียงใหม่ แต่สุดท้ายก็ไม่อาจหลีกพ้นคำสั่ง ของผู้มีอำนาจในคุ้มเชียงใหม่ได้ ❤️ เรื่องราวจบลงด้วยการที่มะเมียะ ถูกบีบให้เดินทางกลับบ้านเกิด น้ำตารินไหลพรากจากชายคนรักตลอดกาล…😢 📚 ข้อเท็จจริงในหน้าประวัติศาสตร์ จากเอกสาร และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ พบว่า 📌 ไม่มีหลักฐานใดยืนยันได้ว่า "เจ้าน้อยศุขเกษม" มีความสัมพันธ์กับ "มะเมียะ" จริงในประวัติศาสตร์ 📌 เรื่องราวที่ "ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง" นำไปเผยแพร่ในหนังสือ "เพ็ชร์ลานนา" และ ชีวิตรักเจ้าเชียงใหม่ อาจมีโครงเรื่องบางส่วน ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ของ "เจ้าวงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่" ผู้เป็นน้องชายต่างพระมารดาของเจ้าน้อย 📌 หลักฐานต่างๆ ชี้ชัดว่า เจ้าน้อยศุขเกษมไม่ได้มีบทบาทสำคัญ ในการสืบราชสันตติวงศ์ของเชียงใหม่ และมีนิสัยไม่รับผิดชอบ จึงได้รับแต่งตั้งเพียงตำแหน่ง "เจ้าอุตรการโกศล" 📌 เจ้าศุขเกษมสิ้นชีพ ด้วยโรคเส้นประสาทพิการเรื้อรัง ไม่ใช่เพราะตรอมใจ จากการพลัดพรากกับคนรัก 🧐 ตำนานที่สร้างจากเรื่องจริง…หรือเพียงจินตนาการ? การบอกเล่าต่อๆ กันในหมู่เจ้านายฝ่ายเหนือและประชาชนล้านนาในยุคหลัง ได้ขยายความ และเติมแต่งจนเรื่องราวความรักนี้ กลายเป็นนิยายโศกนาฏกรรม ที่ชวนให้คนฟังหลงใหล 🌿 "จรัล มโนเพ็ชร" นำเรื่องนี้ไปประพันธ์เป็นบทเพลง "มะเมี้ยะ" และขับร้องด้วยน้ำเสียงเศร้าสร้อย ทำให้ตำนานนี้ กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย 🌿 เมื่อเรื่องราวถูกถ่ายทอดผ่านเพลง และสื่อหนังสือพิมพ์มากขึ้น ผู้คนจำนวนมากเชื่อว่า นี่คือเรื่องจริงของ "เจ้าน้อยศุขเกษม" 🌿 แท้จริงแล้ว ตำนานดังกล่าว น่าจะได้รับแรงบันดาลใจจากชีวิตของ "เจ้าวงษ์ตวัน" ซึ่งเคยมีปัญหาเรื่องพาผู้หญิงหลบหนี และถูกส่งตัวกลับเชียงใหม่ ตามจดหมายเหตุในสมัยรัชกาลที่ 5 และ 6 📖 หลักฐานสนับสนุนจากประวัติศาสตร์ล้านนา 📜 จดหมายเหตุรายวัน ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 📜 รายงานการศึกษาของเจ้าวงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่ ที่เล่าเรียนในโรงเรียนราชวิทยาลัย 📜 บันทึกการแต่งตั้งตำแหน่ง "เจ้าอุตรการโกศล" ของเจ้าน้อยศุขเกษม 📜 บทสัมภาษณ์เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ ผู้ร่วมสมัยที่กล่าวถึงเหตุการณ์ เรียกตัวเจ้าน้อยศุขเกษมกลับเชียงใหม่ 🔍 วิเคราะห์และตีความใหม่ เรื่องราวความรักที่เล่าขานระหว่าง "เจ้าน้อยศุขเกษม" กับ "มะเมียะ" ✅ มีเค้าโครงจากเรื่องจริงบางส่วน ในราชสำนักเชียงใหม่ ✅ ถูกเติมแต่งให้มีความโรแมนติกและดราม่า เพื่อให้ชาวบ้านและคนรุ่นหลังเข้าถึง และจดจำได้ง่าย ✅ สะท้อนภาพชีวิตในยุคล้านนา ที่ยังคงเคร่งครัดในระบบชนชั้น และการสมรสตามขนบธรรมเนียม ✅ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของความรักต้องห้าม และการต่อสู้กับกรอบประเพณีเก่าก่อน ❤️ "เจ้าน้อยศุขเกษม" กับ "มะเมียะ" ตำนานที่ยังคงมีชีวิต แม้จะไม่มีหลักฐานชี้ชัดว่า ความรักครั้งนี้เป็นจริง แต่เรื่องราว "เจ้าน้อยศุขเกษม" และ "มะเมียะ" ก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของ "รักแท้ที่ไม่มีวันสมหวัง" 🌸 ถูกถ่ายทอดเป็นนิยาย เพลง บทละคร และศิลปวัฒนธรรมในล้านนา 🌸 กลายเป็นเครื่องเตือนใจ ถึงข้อจำกัดทางชนชั้น และการเมืองในอดีต 🌸 ยังเป็นตำนานที่คนรุ่นใหม่ศึกษา ซาบซึ้งในแง่มุมของความรัก และความเสียสละ 📌 สรุปข้อเท็จจริง 📝 ตำนานรัก "เจ้าน้อยศุขเกษม กับ มะเมียะ" คือ นิยายประวัติศาสตร์ ที่แต่งเติมจากเรื่องจริงบางส่วน 📝 ข้อเท็จจริงประวัติศาสตร์ยืนยันว่า "เจ้าวงษ์ตวัน" มีชีวิตที่คล้ายกับตำนานดังกล่าวมากกว่า 📝 การเล่าขานที่ต่อเติมจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้ความจริงและเรื่องแต่ง ผสมปนเปกันอย่างลงตัว 📝 ตำนานนี้ยังคงมีเสน่ห์และคุณค่า ในฐานะเรื่องเล่าแห่งความรักของชาวล้านนา 🌟 ความรักอาจไม่มีพรมแดน... แต่ขนบธรรมเนียมและประเพณีในอดีตต่างหาก ที่เป็นกำแพงยากจะข้ามได้ 🌟 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 200807 มี.ค. 2568 📚 🏷️ #ตำนานรักมะเมียะ #เจ้าน้อยศุขเกษม #ล้านนาประวัติศาสตร์ #เชียงใหม่ในอดีต #เพลงมะเมี้ยะ #เรื่องจริงหรือนิยาย #ประวัติศาสตร์ล้านนา #เชียงใหม่เมืองโบราณ #ตำนานล้านนา #รักข้ามพรมแดน
    0 Comments 0 Shares 884 Views 0 Reviews
  • พันตำรวจโท "หัวโจก!" จัดฉากอุบัติเหตุ ฆาตกรรมอำพราง ชนซ้ำ 3 คัน 22 กรมธรรม์ หวังเงินประกัน 14 ล้าน 💰🚗

    เจาะลึกคดีสะเทือนขวัญ! พันตำรวจโทผู้บงการใหญ่ จัดฉากอุบัติเหตุชนซ้ำ 3 คัน สะสม 22 กรมธรรม์ หวังเงินประกัน 14 ล้านบาท เรื่องจริงที่ซับซ้อนกว่าที่คิด!

    🔥 เปิดโปงแผนฆาตกรรมอำพราง! พันตำรวจโท หัวโจก จัดฉากอุบัติเหตุหวังเงินประกัน 14 ล้าน 🚨

    🚓 คดีสะเทือนวงการ! วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 วงการประกันภัยต้องสะเทือน เมื่อบริษัทประกันภัยหลากหลายแห่ง รวมตัวกันเดินทางไปยัง ภ.จว.สกลนคร เพื่อร้องขอให้ตรวจสอบอุบัติเหตุรถชนซ้ำถึง 3 คัน เมื่อกลางดึกวันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 ซึ่งทำให้นายวิเชียร จิตเย็น อายุ 32 ปี เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ความผิดปกติที่ปรากฏ ทำให้หลายฝ่ายตั้งข้อสงสัยว่า นี่อาจไม่ใช่อุบัติเหตุธรรมดา แต่เป็น "ฆาตกรรมอำพราง" ที่มีการวางแผนอย่างแยบยล!

    ประเด็นร้อน คือมีการทำประกันภัยรถยนต์ถึง 22 กรมธรรม์ คาดว่าจะได้รับเงินประกันรวมสูงถึง 14 ล้านบาท! แต่ที่น่าสะพรึงยิ่งกว่าคือ การพบว่าเบื้องหลังขบวนการนี้ มีชื่อของ "พันตำรวจโท" เข้ามาเกี่ยวข้อง ในฐานะหัวหน้าแก๊ง! 😱

    🤔 คดีฆาตกรรมอำพราง หรือ อุบัติเหตุธรรมดา? เหตุการณ์ในคืนสยองขวัญ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 21.10 น. ตำรวจโรงพักวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ได้รับแจ้งเหตุรถชน บริเวณถนนระหว่างบ้านนาบัว-เจริญศิลป์ กม.ที่ 15 ตำบลธาตุ พบผู้เสียชีวิตคาที่คือนายวิเชียร จิตเย็น จากข้อมูลเบื้องต้น เหมือนจะเป็นอุบัติเหตุ แต่ความจริง กลับซับซ้อนเกินกว่าจะจินตนาการ! 😨

    3 คัน 22 กรมธรรม์... แค่บังเอิญจริงหรือ?
    - รถคันแรก ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ 4 ประตู สีขาว หมายเลขทะเบียน กพ 2576 สกลนคร ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 12 กรมธรรม์
    - รถคันที่สอง ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ สีขาว หมายเลขทะเบียน บษ 1720 กาฬสินธุ์ ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 5 กรมธรรม์
    - รถคันที่สาม ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ 4 ประตู สีขาว หมายเลขทะเบียน ผผ 2872 อุดรธานี ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 5 กรมธรรม์

    รวมทั้งสิ้น 22 กรมธรรม์!!! คิดเป็นวงเงินประกันกว่า 14 ล้านบาท 💸

    การทำประกันหลายฉบับในเวลาสั้น ๆ ทำให้บริษัทประกันภัยต่างสงสัยว่า คดีนี้ไม่ใช่อุบัติเหตุธรรมดา แต่เป็นแผนฆาตกรรมอำพราง ที่ถูกจัดฉากขึ้นอย่างแนบเนียน

    🕵️‍♀️ ปมเบื้องหลัง และพี่สาวผู้ตายกับเบาะแสชิ้นสำคัญ คำพูดที่กลายเป็นชนวนโศกนาฏกรรม นางสาวบัวเรียน อายุ 33 ปี พี่สาวของผู้ตายเผยว่า ก่อนหน้านี้เคยระบายความในใจว่า อยากให้นายวิเชียร “ไปตายเสียที่ไหนก็ได้” เพราะทนพฤติกรรมไม่ไหว แต่คำพูดนั้นกลับถูกนายสกล ญาติคนสนิท นำไปตีความและจัดการ “สั่งสอน” ในแบบของตัวเอง...

    นายสกล... คนใกล้ตัวที่กลายเป็นฆาตกรเลือดเย็น หลังจากที่นายสกลรับปากว่า จะพานายวิเชียรไปสั่งสอน กลับกลายเป็น การวางแผนฆาตกรรมอำพรางที่ซับซ้อน ร่วมกับนายตำรวจระดับสูงยศ "พันตำรวจโท"และพรรคพวก 😨

    🔪 เผยแผนจัดฉากอุบัติเหตุสุดโหด! การเดินทางที่เต็มไปด้วยกับดัก
    - จุดเริ่มต้น โรงบรรจุน้ำอ่อนสุระทุม
    - จุดรับเหยื่อ บ้านสุวรรณคีรี
    - จุดตัดผมและซื้อเสื้อผ้า อ.เจริญศิลป์
    - จุดดื่มสุรา ร้านบัวชมพู

    ทุกอย่างดูปกติ... แต่แท้จริงแล้วคือ แผนหลอกล่อเหยื่อให้ติดกับ!

    ฉากจบที่กิโลเมตรที่ 15... ถนนสายบ้านนาบัว-เจริญศิลป์ กับความตายที่ถูกจัดฉาก นายวิเชียรซึ่งอยู่ในอากาศเมามายอย่างหนัก ครองสติตัวเองไม่ได้ ถูกหลอกให้ลงจากหลังกระบะรถ ลากร่างนอนคว่ำหน้ากลางถนนลาดยาง ก่อนจะถูกขับรถเหยียบทับซ้ำ! จากนั้นก็พากันขับรถกลับไปจอด ที่โรงน้ำเพื่ออำพรางความผิด...😡

    🕴️ พันตำรวจโท... หัวโจกผู้บงการเบื้องหลัง! บทบาทของนายตำรวจในคดีนี้ ในระหว่างการวางแผน มีรถตราโล่ในราชการตำรว จจอดหลบอยู่ในลานริมถนน ใกล้ที่กเกิดเหตุ และมีนายตำรวจระดับสารวัตรสอบสวน โรงพักที่เกิดเหตุ แต่งเครื่องแบบพันตำรวจโทเต็มยศ ยืนอยู่หน้ารถโล่ แม้ว่าตำรวจนายนี้จะไม่ได้ลงมือโดยตรง แต่การมีตัวตนในเหตุการณ์ สะท้อนถึงการพัวพันคดี อย่างไม่อาจปฏิเสธได้

    ตำรวจสืบสวนเชื่อว่า พันตำรวจโทนายนี้คือ "หัวโจกตัวจริง!" เป็นคนวางแผน ประสานงาน และกำกับการฆาตกรรมอำพรางในครั้งนี้ อย่างแยบยล 👮‍♂️

    4 ผู้ต้องหา ถูกจับกุมและเปิดโปงความจริง! 👊
    1. นายสมศักดิ์ หรือแอะ โวเบ้า อายุ 56 ปี
    2. นายพีรพัฒน์ หรือป้อม รักกุศล อายุ 30 ปี
    3. นายสกล สอนแก้ว อายุ 38 ปี
    4. นายพรชนก หรือเก่ง อ่อนสุระทุม อายุ 41 ปี

    ทุกคนถูกแจ้งข้อหา "ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน"!

    🚔 บทสรุป: เรื่องจริงที่ยังไม่จบ! ตำรวจยังเดินหน้าสืบสวน เพื่อรวบรวมหลักฐานเพิ่มเติม และขยายผลไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะพันตำรวจโทผู้บงการใหญ่ ที่กำลังตกเป็นเป้าหมายหลัก ในการดำเนินคดีครั้งนี้!

    คดีนี้ไม่ใช่แค่เรื่องเงินประกัน 14 ล้านบาท... แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่เตือนให้สังคมเห็นถึง อันตรายของความโลภ และอิทธิพลที่แอบแฝง อยู่ในเงามืดของกฎหมาย

    คดีนี้เป็นเป็นการจัดฉากอุบัติเหตุ ที่มีแผนวางไว้ล่วงหน้า โดยมีเป้าหมายเพื่อเรียกเงินประกันภัย จาก 22 กรมธรรม์ รวมวงเงิน 14 ล้านบาท

    ผู้บงการหลักในคดีนี้ คือนายตำรวจยศพันตำรวจโท ที่ถูกระบุว่าเป็นหัวโจกใหญ่ ที่มีบทบาทสำคัญในขบวนการนี้

    นายวิเชียรถูกเลือกเป็นเหยื่อ เพราะพฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในครอบครัว และคำพูดของพี่สาว ที่ถูกตีความผิด ทำให้ถูกวางแผนฆ่าทิ้ง เพื่อหวังเงินประกัน

    จากข้อมูลที่ได้รับ มีการตกลงชดใช้เงินให้พี่สาวผู้ตายจำนวน 150,000 บาท เพื่อปิดปาก แต่ความจริงก็ถูกเปิดเผยในภายหลัง

    บริษัทประกันภัยตรวจพบความผิดปกติ ในการทำประกันภัยจำนวนมาก จึงได้ร้องเรียน และร่วมมือกับตำรวจ ในการเปิดโปงคดีนี้

    มีแนวโน้มสูง! ที่จะมีผู้ต้องหารายอื่นถูกจับเพิ่มอีก เนื่องจากการสืบสวนพบว่า มีขบวนการที่กว้างขวาง และอาจมีเจ้าหน้าที่รัฐคนอื่นเกี่ยวข้องด้วย

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121544 มี.ค. 2568

    🔖 #ฆาตกรรมอำพราง #จัดฉากอุบัติเหตุ #โกงประกัน #พันตำรวจโท #คดีดังสกลนคร #รถชนซ้ำ #14ล้านประกัน #ข่าวเด่นวันนี้ #คดีอาชญากรรม #เปิดโปงขบวนการ
    พันตำรวจโท "หัวโจก!" จัดฉากอุบัติเหตุ ฆาตกรรมอำพราง ชนซ้ำ 3 คัน 22 กรมธรรม์ หวังเงินประกัน 14 ล้าน 💰🚗 เจาะลึกคดีสะเทือนขวัญ! พันตำรวจโทผู้บงการใหญ่ จัดฉากอุบัติเหตุชนซ้ำ 3 คัน สะสม 22 กรมธรรม์ หวังเงินประกัน 14 ล้านบาท เรื่องจริงที่ซับซ้อนกว่าที่คิด! 🔥 เปิดโปงแผนฆาตกรรมอำพราง! พันตำรวจโท หัวโจก จัดฉากอุบัติเหตุหวังเงินประกัน 14 ล้าน 🚨 🚓 คดีสะเทือนวงการ! วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 วงการประกันภัยต้องสะเทือน เมื่อบริษัทประกันภัยหลากหลายแห่ง รวมตัวกันเดินทางไปยัง ภ.จว.สกลนคร เพื่อร้องขอให้ตรวจสอบอุบัติเหตุรถชนซ้ำถึง 3 คัน เมื่อกลางดึกวันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 ซึ่งทำให้นายวิเชียร จิตเย็น อายุ 32 ปี เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ความผิดปกติที่ปรากฏ ทำให้หลายฝ่ายตั้งข้อสงสัยว่า นี่อาจไม่ใช่อุบัติเหตุธรรมดา แต่เป็น "ฆาตกรรมอำพราง" ที่มีการวางแผนอย่างแยบยล! ประเด็นร้อน คือมีการทำประกันภัยรถยนต์ถึง 22 กรมธรรม์ คาดว่าจะได้รับเงินประกันรวมสูงถึง 14 ล้านบาท! แต่ที่น่าสะพรึงยิ่งกว่าคือ การพบว่าเบื้องหลังขบวนการนี้ มีชื่อของ "พันตำรวจโท" เข้ามาเกี่ยวข้อง ในฐานะหัวหน้าแก๊ง! 😱 🤔 คดีฆาตกรรมอำพราง หรือ อุบัติเหตุธรรมดา? เหตุการณ์ในคืนสยองขวัญ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 21.10 น. ตำรวจโรงพักวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ได้รับแจ้งเหตุรถชน บริเวณถนนระหว่างบ้านนาบัว-เจริญศิลป์ กม.ที่ 15 ตำบลธาตุ พบผู้เสียชีวิตคาที่คือนายวิเชียร จิตเย็น จากข้อมูลเบื้องต้น เหมือนจะเป็นอุบัติเหตุ แต่ความจริง กลับซับซ้อนเกินกว่าจะจินตนาการ! 😨 3 คัน 22 กรมธรรม์... แค่บังเอิญจริงหรือ? - รถคันแรก ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ 4 ประตู สีขาว หมายเลขทะเบียน กพ 2576 สกลนคร ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 12 กรมธรรม์ - รถคันที่สอง ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ สีขาว หมายเลขทะเบียน บษ 1720 กาฬสินธุ์ ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 5 กรมธรรม์ - รถคันที่สาม ปิกอัพอีซูซุ ดีแมกซ์ 4 ประตู สีขาว หมายเลขทะเบียน ผผ 2872 อุดรธานี ทำประกัน พ.ร.บ. ภาคบังคับ 5 กรมธรรม์ รวมทั้งสิ้น 22 กรมธรรม์!!! คิดเป็นวงเงินประกันกว่า 14 ล้านบาท 💸 การทำประกันหลายฉบับในเวลาสั้น ๆ ทำให้บริษัทประกันภัยต่างสงสัยว่า คดีนี้ไม่ใช่อุบัติเหตุธรรมดา แต่เป็นแผนฆาตกรรมอำพราง ที่ถูกจัดฉากขึ้นอย่างแนบเนียน 🕵️‍♀️ ปมเบื้องหลัง และพี่สาวผู้ตายกับเบาะแสชิ้นสำคัญ คำพูดที่กลายเป็นชนวนโศกนาฏกรรม นางสาวบัวเรียน อายุ 33 ปี พี่สาวของผู้ตายเผยว่า ก่อนหน้านี้เคยระบายความในใจว่า อยากให้นายวิเชียร “ไปตายเสียที่ไหนก็ได้” เพราะทนพฤติกรรมไม่ไหว แต่คำพูดนั้นกลับถูกนายสกล ญาติคนสนิท นำไปตีความและจัดการ “สั่งสอน” ในแบบของตัวเอง... นายสกล... คนใกล้ตัวที่กลายเป็นฆาตกรเลือดเย็น หลังจากที่นายสกลรับปากว่า จะพานายวิเชียรไปสั่งสอน กลับกลายเป็น การวางแผนฆาตกรรมอำพรางที่ซับซ้อน ร่วมกับนายตำรวจระดับสูงยศ "พันตำรวจโท"และพรรคพวก 😨 🔪 เผยแผนจัดฉากอุบัติเหตุสุดโหด! การเดินทางที่เต็มไปด้วยกับดัก - จุดเริ่มต้น โรงบรรจุน้ำอ่อนสุระทุม - จุดรับเหยื่อ บ้านสุวรรณคีรี - จุดตัดผมและซื้อเสื้อผ้า อ.เจริญศิลป์ - จุดดื่มสุรา ร้านบัวชมพู ทุกอย่างดูปกติ... แต่แท้จริงแล้วคือ แผนหลอกล่อเหยื่อให้ติดกับ! ฉากจบที่กิโลเมตรที่ 15... ถนนสายบ้านนาบัว-เจริญศิลป์ กับความตายที่ถูกจัดฉาก นายวิเชียรซึ่งอยู่ในอากาศเมามายอย่างหนัก ครองสติตัวเองไม่ได้ ถูกหลอกให้ลงจากหลังกระบะรถ ลากร่างนอนคว่ำหน้ากลางถนนลาดยาง ก่อนจะถูกขับรถเหยียบทับซ้ำ! จากนั้นก็พากันขับรถกลับไปจอด ที่โรงน้ำเพื่ออำพรางความผิด...😡 🕴️ พันตำรวจโท... หัวโจกผู้บงการเบื้องหลัง! บทบาทของนายตำรวจในคดีนี้ ในระหว่างการวางแผน มีรถตราโล่ในราชการตำรว จจอดหลบอยู่ในลานริมถนน ใกล้ที่กเกิดเหตุ และมีนายตำรวจระดับสารวัตรสอบสวน โรงพักที่เกิดเหตุ แต่งเครื่องแบบพันตำรวจโทเต็มยศ ยืนอยู่หน้ารถโล่ แม้ว่าตำรวจนายนี้จะไม่ได้ลงมือโดยตรง แต่การมีตัวตนในเหตุการณ์ สะท้อนถึงการพัวพันคดี อย่างไม่อาจปฏิเสธได้ ตำรวจสืบสวนเชื่อว่า พันตำรวจโทนายนี้คือ "หัวโจกตัวจริง!" เป็นคนวางแผน ประสานงาน และกำกับการฆาตกรรมอำพรางในครั้งนี้ อย่างแยบยล 👮‍♂️ 4 ผู้ต้องหา ถูกจับกุมและเปิดโปงความจริง! 👊 1. นายสมศักดิ์ หรือแอะ โวเบ้า อายุ 56 ปี 2. นายพีรพัฒน์ หรือป้อม รักกุศล อายุ 30 ปี 3. นายสกล สอนแก้ว อายุ 38 ปี 4. นายพรชนก หรือเก่ง อ่อนสุระทุม อายุ 41 ปี ทุกคนถูกแจ้งข้อหา "ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน"! 🚔 บทสรุป: เรื่องจริงที่ยังไม่จบ! ตำรวจยังเดินหน้าสืบสวน เพื่อรวบรวมหลักฐานเพิ่มเติม และขยายผลไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะพันตำรวจโทผู้บงการใหญ่ ที่กำลังตกเป็นเป้าหมายหลัก ในการดำเนินคดีครั้งนี้! คดีนี้ไม่ใช่แค่เรื่องเงินประกัน 14 ล้านบาท... แต่เป็นบทเรียนสำคัญ ที่เตือนให้สังคมเห็นถึง อันตรายของความโลภ และอิทธิพลที่แอบแฝง อยู่ในเงามืดของกฎหมาย คดีนี้เป็นเป็นการจัดฉากอุบัติเหตุ ที่มีแผนวางไว้ล่วงหน้า โดยมีเป้าหมายเพื่อเรียกเงินประกันภัย จาก 22 กรมธรรม์ รวมวงเงิน 14 ล้านบาท ผู้บงการหลักในคดีนี้ คือนายตำรวจยศพันตำรวจโท ที่ถูกระบุว่าเป็นหัวโจกใหญ่ ที่มีบทบาทสำคัญในขบวนการนี้ นายวิเชียรถูกเลือกเป็นเหยื่อ เพราะพฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในครอบครัว และคำพูดของพี่สาว ที่ถูกตีความผิด ทำให้ถูกวางแผนฆ่าทิ้ง เพื่อหวังเงินประกัน จากข้อมูลที่ได้รับ มีการตกลงชดใช้เงินให้พี่สาวผู้ตายจำนวน 150,000 บาท เพื่อปิดปาก แต่ความจริงก็ถูกเปิดเผยในภายหลัง บริษัทประกันภัยตรวจพบความผิดปกติ ในการทำประกันภัยจำนวนมาก จึงได้ร้องเรียน และร่วมมือกับตำรวจ ในการเปิดโปงคดีนี้ มีแนวโน้มสูง! ที่จะมีผู้ต้องหารายอื่นถูกจับเพิ่มอีก เนื่องจากการสืบสวนพบว่า มีขบวนการที่กว้างขวาง และอาจมีเจ้าหน้าที่รัฐคนอื่นเกี่ยวข้องด้วย ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121544 มี.ค. 2568 🔖 #ฆาตกรรมอำพราง #จัดฉากอุบัติเหตุ #โกงประกัน #พันตำรวจโท #คดีดังสกลนคร #รถชนซ้ำ #14ล้านประกัน #ข่าวเด่นวันนี้ #คดีอาชญากรรม #เปิดโปงขบวนการ
    0 Comments 0 Shares 1233 Views 0 Reviews
  • 21 ปี "11-M" วินาศกรรมระเบิดรถไฟมาดริด กวาดชีวิต 200 ศพ บาดเจ็บกว่า 1,800 ราย 🚆💣 ไขปริศนาเบื้องหลัง โศกนาฏกรรมสะเทือนขวัญ ที่เปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์สเปน ไปตลอดกาล

    📝 เสียงระเบิดที่เปลี่ยนสเปนไปตลอดกาล วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในช่วงช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้าตรู่เหมือนทุกวัน รถไฟโดยสารสาย Cercanías ของกรุงมาดริด ประเทศสเปน กำลังวิ่งเข้าเทียบชานชาลา ที่สถานีอาโตชา (Atocha) อย่างปกติ ก่อนที่เสียงระเบิดลูกแรกจะดังขึ้น และตามด้วยระเบิดอีก 12 ลูก ในเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้ขบวนรถไฟ 4 ขบวน ที่บรรทุกผู้โดยสารไปทำงานในช่วงเร่งด่วน กลายเป็นซากเศษเหล็กในพริบตา 💥

    เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือที่ชาวสเปนเรียกกันว่า "11-M" (Once de Marzo) ถือเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมก่อการร้าย ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป มีผู้เสียชีวิตถึง 200 ศพ และผู้บาดเจ็บอีกกว่า 1,800 ราย มันไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตผู้คน แต่ยังสั่นคลอนเสถียรภาพของรัฐบาล และเปลี่ยนผลการเลือกตั้งในสเปน โดยสิ้นเชิง 🗳️

    📚 เหตุการณ์ที่โลกไม่อาจลืม เหตุระเบิดรถไฟที่กรุงมาดริด หรือ 11-M เป็นปฏิบัติการก่อการร้าย ที่ประสานงานกันอย่างซับซ้อน โดยมือระเบิดใช้อุปกรณ์ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) วางไว้ในกระเป๋าเป้ และนำขึ้นรถไฟ ที่มุ่งหน้าเข้าสู่สถานีหลักของกรุงมาดริด

    ✨ กลุ่มผู้ต้องสงสัย คือกลุ่มอิสลามหัวรุนแรง ที่ต่อต้านการมีส่วนร่วมของสเปนใ นสงครามอิรัก เหตุการณ์นี้นับเป็นการโจมตีพลเรือน ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่เหตุการณ์ ระเบิดเครื่องบิน Pan Am เที่ยวบิน 103 เมื่อปี 2531 และกลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง และความมั่นคงของประเทศสเปน ในเวลานั้น 📍

    🔎 ไทม์ไลน์วินาศกรรม 11-M นาทีชีวิตในกรุงมาดริด
    07.01 - 07.14 น. รถไฟทั้งสี่ขบวนออกจาก Alcalá de Henares มุ่งหน้าสู่สถานี Atocha

    07.37 - 07.40 น. ระเบิดลูกแรกระเบิดขึ้นที่ ขบวน 21431 บริเวณ ฃสถานี Atocha ตามด้วยอีกสองลูกในเวลาไม่ถึง 4 วินาที 🚆💥
    ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ที่สถานี El Pozo
    ขบวน 21713 ระเบิดที่สถานีSanta Eugenia
    ขบวน 17305 เกิดระเบิด 4 จุด บริเวณ Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha

    08.00 น. เป็นต้นไป หน่วยกู้ภัยฉุกเฉินและทีม TEDAX หน่วยเก็บกู้วัตถุระเบิด เข้าพื้นที่

    08.30 น. ตั้งโรงพยาบาลสนามที่สนามกีฬา Daoiz y Velarde

    09.00 น. ตำรวจยืนยันมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 30 ศพ สุดท้าย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 200 ราย และรายสุดท้ายเสียชีวิตในปี 2557 หลังจากโคม่า 10 ปี

    🚨 จุดระเบิด 13 จุด ของแต่ละสถานี
    📍 สถานี Atocha ขบวน 21431 เกิดระเบิด 3 ลูก อีก 1 ลูก ถูกทีม TEDAX จุดระเบิดควบคุมในเวลาต่อมา

    📍 สถานี El Pozo ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ในตู้ที่ 4 และ 5 พบระเบิดอีก 1 ลูกในตู้รถที่ 3 ถูกควบคุมระเบิดโดย TEDAX

    📍 สถานี Santa Eugenia ขบวน 21713 ระเบิดลูกเดียวที่ตู้ที่ 4

    📍 Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha ขบวน 17305 ระเบิด 4 ลูกที่ตู้ 1, 4, 5 และ 6

    🕵️‍♂️ ผู้ต้องสงสัย เบื้องหลังการโจมตี หลักฐานที่ค้นพบในรถตู้ Renault Kangoo ซึ่งจอดอยู่หน้าสถานี Alcalá de Henares ได้แก่ ตัวจุดชนวน เทปเสียงอัดบทกวีจากคัมภีร์อัลกุรอาน และโทรศัพท์มือถือที่ใช้จุดระเบิด

    ตำรวจสเปนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 5 คน ในวันเดียวกัน เป็นชาวโมร็อกโก 3 คน และปากีสถาน 2 คน โดยเฉพาะ "จามาล ซูกัม" (Jamal Zougam) ชาวโมร็อกโก ที่ถูกดำเนินคดีในที่สุด

    การโจมตีครั้งนี้เชื่อว่า เป็นการตอบโต้สเปนที่เข้าร่วมสงครามอิรัก กับสหรัฐอเมริกาในปี 2546

    ❗ ข้อถกเถียงและการเมืองที่ลุกเป็นไฟ เหตุการณ์ 11-M เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเพียง 3 วัน พรรค Partido Popular (PP) ภายใต้การนำของ "โฆเซ มาเรีย อัซนาร์" พยายามโยงความผิดให้กลุ่ม ETA โดนพรรคฝ่ายค้าน PSOE กล่าวหาว่ารัฐบาลบิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเสียคะแนนเสียง

    ผลการเลือกตั้งพลิกล็อก พรรค PSOE ภายใต้การนำของ "โฆเซ หลุยส์ โรดริเกซ" ซาปาเตโร ได้รับชัยชนะ และขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของสเปน

    ⚖️ ผลการสอบสวนและคำพิพากษา หลังจากการสืบสวน 21 เดือน มีผู้ถูกตัดสินว่ามีส่วนร่วมในการโจมตีทั้งหมด 21 คน ไม่มีหลักฐานชัดเจน ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะห์ วัตถุระเบิดที่ใช้คือ Goma-2 ECO ผลิตในสเปน

    🌍 ผลกระทบที่สะท้อนถึงโลกใบนี้ เหตุการณ์ 11-M ถูกเปรียบเทียบกับการโจมตี 11 กันยายน 2001 (9/11) ที่สหรัฐฯ ทั้งในแง่ของขนาดของการวางแผน ผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศ การลุกฮือของประชาชนเรียกร้อง “ความจริง” จากรัฐบาล และยังกระตุ้นให้เกิด มาตรการความปลอดภัย ในระบบขนส่งมวลชนทั่วโลก 🚆🛑

    🧠 บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 11-M ความโปร่งใสของรัฐบาล เป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความไว้วางใจ การเฝ้าระวังระบบขนส่งสาธารณะ ต้องได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเมืองและการก่อการร้าย เป็นเรื่องที่แยกจากกันไม่ได้ ในยุคโลกาภิวัตน์

    📌 เหตุการณ์ก่อการร้าย ที่สะท้อนภาพโศกนาฏกรรมปี 2547
    🎒 เหตุการณ์เบสลัน (Beslan Siege) วันที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2547 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชชเนีย จับตัวประกันที่โรงเรียน มีผู้เสียชีวิตกว่า 330 ศพ ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน เป็นอีกตัวอย่างของความโหดร้าย จากการก่อการร้ายที่โลกไม่มีวันลืม 💔

    ✅ ความทรงจำยังคงอยู่ 21 ปีหลังเหตุการณ์ 11-M สเปนและโลกยังคงรำลึกถึงเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่เสียชีวิตในวันนั้น และบทเรียนที่ได้รับ ยังคงชัดเจนอยู่ทุกวินาที การเปลี่ยนแปลงในนโยบายความมั่นคง การเลือกตั้ง และบทบาททางการเมืองที่พลิกผัน เป็นสิ่งที่ทำให้ 11 มีนาคม ไม่ใช่เพียงวันแห่งความเศร้า แต่ยังเป็นวันที่ทำให้มนุษยชาติหยุดคิด และตั้งคำถามกับความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในโลกใบนี้ 🌍🙏

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 110922 มี.ค. 2568

    🔖 📌 #11M #MadridBombings #ก่อการร้าย #ประวัติศาสตร์สเปน #PSOE #PP #สงครามอิรัก #ก่อการร้ายยุโรป #มาดริด #TerrorismHistory 🚆💣
    21 ปี "11-M" วินาศกรรมระเบิดรถไฟมาดริด กวาดชีวิต 200 ศพ บาดเจ็บกว่า 1,800 ราย 🚆💣 ไขปริศนาเบื้องหลัง โศกนาฏกรรมสะเทือนขวัญ ที่เปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์สเปน ไปตลอดกาล 📝 เสียงระเบิดที่เปลี่ยนสเปนไปตลอดกาล วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในช่วงช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้าตรู่เหมือนทุกวัน รถไฟโดยสารสาย Cercanías ของกรุงมาดริด ประเทศสเปน กำลังวิ่งเข้าเทียบชานชาลา ที่สถานีอาโตชา (Atocha) อย่างปกติ ก่อนที่เสียงระเบิดลูกแรกจะดังขึ้น และตามด้วยระเบิดอีก 12 ลูก ในเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้ขบวนรถไฟ 4 ขบวน ที่บรรทุกผู้โดยสารไปทำงานในช่วงเร่งด่วน กลายเป็นซากเศษเหล็กในพริบตา 💥 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือที่ชาวสเปนเรียกกันว่า "11-M" (Once de Marzo) ถือเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมก่อการร้าย ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป มีผู้เสียชีวิตถึง 200 ศพ และผู้บาดเจ็บอีกกว่า 1,800 ราย มันไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตผู้คน แต่ยังสั่นคลอนเสถียรภาพของรัฐบาล และเปลี่ยนผลการเลือกตั้งในสเปน โดยสิ้นเชิง 🗳️ 📚 เหตุการณ์ที่โลกไม่อาจลืม เหตุระเบิดรถไฟที่กรุงมาดริด หรือ 11-M เป็นปฏิบัติการก่อการร้าย ที่ประสานงานกันอย่างซับซ้อน โดยมือระเบิดใช้อุปกรณ์ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) วางไว้ในกระเป๋าเป้ และนำขึ้นรถไฟ ที่มุ่งหน้าเข้าสู่สถานีหลักของกรุงมาดริด ✨ กลุ่มผู้ต้องสงสัย คือกลุ่มอิสลามหัวรุนแรง ที่ต่อต้านการมีส่วนร่วมของสเปนใ นสงครามอิรัก เหตุการณ์นี้นับเป็นการโจมตีพลเรือน ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่เหตุการณ์ ระเบิดเครื่องบิน Pan Am เที่ยวบิน 103 เมื่อปี 2531 และกลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง และความมั่นคงของประเทศสเปน ในเวลานั้น 📍 🔎 ไทม์ไลน์วินาศกรรม 11-M นาทีชีวิตในกรุงมาดริด 07.01 - 07.14 น. รถไฟทั้งสี่ขบวนออกจาก Alcalá de Henares มุ่งหน้าสู่สถานี Atocha 07.37 - 07.40 น. ระเบิดลูกแรกระเบิดขึ้นที่ ขบวน 21431 บริเวณ ฃสถานี Atocha ตามด้วยอีกสองลูกในเวลาไม่ถึง 4 วินาที 🚆💥 ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ที่สถานี El Pozo ขบวน 21713 ระเบิดที่สถานีSanta Eugenia ขบวน 17305 เกิดระเบิด 4 จุด บริเวณ Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha 08.00 น. เป็นต้นไป หน่วยกู้ภัยฉุกเฉินและทีม TEDAX หน่วยเก็บกู้วัตถุระเบิด เข้าพื้นที่ 08.30 น. ตั้งโรงพยาบาลสนามที่สนามกีฬา Daoiz y Velarde 09.00 น. ตำรวจยืนยันมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 30 ศพ สุดท้าย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 200 ราย และรายสุดท้ายเสียชีวิตในปี 2557 หลังจากโคม่า 10 ปี 🚨 จุดระเบิด 13 จุด ของแต่ละสถานี 📍 สถานี Atocha ขบวน 21431 เกิดระเบิด 3 ลูก อีก 1 ลูก ถูกทีม TEDAX จุดระเบิดควบคุมในเวลาต่อมา 📍 สถานี El Pozo ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ในตู้ที่ 4 และ 5 พบระเบิดอีก 1 ลูกในตู้รถที่ 3 ถูกควบคุมระเบิดโดย TEDAX 📍 สถานี Santa Eugenia ขบวน 21713 ระเบิดลูกเดียวที่ตู้ที่ 4 📍 Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha ขบวน 17305 ระเบิด 4 ลูกที่ตู้ 1, 4, 5 และ 6 🕵️‍♂️ ผู้ต้องสงสัย เบื้องหลังการโจมตี หลักฐานที่ค้นพบในรถตู้ Renault Kangoo ซึ่งจอดอยู่หน้าสถานี Alcalá de Henares ได้แก่ ตัวจุดชนวน เทปเสียงอัดบทกวีจากคัมภีร์อัลกุรอาน และโทรศัพท์มือถือที่ใช้จุดระเบิด ตำรวจสเปนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 5 คน ในวันเดียวกัน เป็นชาวโมร็อกโก 3 คน และปากีสถาน 2 คน โดยเฉพาะ "จามาล ซูกัม" (Jamal Zougam) ชาวโมร็อกโก ที่ถูกดำเนินคดีในที่สุด การโจมตีครั้งนี้เชื่อว่า เป็นการตอบโต้สเปนที่เข้าร่วมสงครามอิรัก กับสหรัฐอเมริกาในปี 2546 ❗ ข้อถกเถียงและการเมืองที่ลุกเป็นไฟ เหตุการณ์ 11-M เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเพียง 3 วัน พรรค Partido Popular (PP) ภายใต้การนำของ "โฆเซ มาเรีย อัซนาร์" พยายามโยงความผิดให้กลุ่ม ETA โดนพรรคฝ่ายค้าน PSOE กล่าวหาว่ารัฐบาลบิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเสียคะแนนเสียง ผลการเลือกตั้งพลิกล็อก พรรค PSOE ภายใต้การนำของ "โฆเซ หลุยส์ โรดริเกซ" ซาปาเตโร ได้รับชัยชนะ และขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของสเปน ⚖️ ผลการสอบสวนและคำพิพากษา หลังจากการสืบสวน 21 เดือน มีผู้ถูกตัดสินว่ามีส่วนร่วมในการโจมตีทั้งหมด 21 คน ไม่มีหลักฐานชัดเจน ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะห์ วัตถุระเบิดที่ใช้คือ Goma-2 ECO ผลิตในสเปน 🌍 ผลกระทบที่สะท้อนถึงโลกใบนี้ เหตุการณ์ 11-M ถูกเปรียบเทียบกับการโจมตี 11 กันยายน 2001 (9/11) ที่สหรัฐฯ ทั้งในแง่ของขนาดของการวางแผน ผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศ การลุกฮือของประชาชนเรียกร้อง “ความจริง” จากรัฐบาล และยังกระตุ้นให้เกิด มาตรการความปลอดภัย ในระบบขนส่งมวลชนทั่วโลก 🚆🛑 🧠 บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 11-M ความโปร่งใสของรัฐบาล เป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความไว้วางใจ การเฝ้าระวังระบบขนส่งสาธารณะ ต้องได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเมืองและการก่อการร้าย เป็นเรื่องที่แยกจากกันไม่ได้ ในยุคโลกาภิวัตน์ 📌 เหตุการณ์ก่อการร้าย ที่สะท้อนภาพโศกนาฏกรรมปี 2547 🎒 เหตุการณ์เบสลัน (Beslan Siege) วันที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2547 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชชเนีย จับตัวประกันที่โรงเรียน มีผู้เสียชีวิตกว่า 330 ศพ ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน เป็นอีกตัวอย่างของความโหดร้าย จากการก่อการร้ายที่โลกไม่มีวันลืม 💔 ✅ ความทรงจำยังคงอยู่ 21 ปีหลังเหตุการณ์ 11-M สเปนและโลกยังคงรำลึกถึงเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่เสียชีวิตในวันนั้น และบทเรียนที่ได้รับ ยังคงชัดเจนอยู่ทุกวินาที การเปลี่ยนแปลงในนโยบายความมั่นคง การเลือกตั้ง และบทบาททางการเมืองที่พลิกผัน เป็นสิ่งที่ทำให้ 11 มีนาคม ไม่ใช่เพียงวันแห่งความเศร้า แต่ยังเป็นวันที่ทำให้มนุษยชาติหยุดคิด และตั้งคำถามกับความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในโลกใบนี้ 🌍🙏 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 110922 มี.ค. 2568 🔖 📌 #11M #MadridBombings #ก่อการร้าย #ประวัติศาสตร์สเปน #PSOE #PP #สงครามอิรัก #ก่อการร้ายยุโรป #มาดริด #TerrorismHistory 🚆💣
    0 Comments 0 Shares 1303 Views 0 Reviews
  • ปิดตำนานถุงดำอำมหิต! เสียชีวิตปริศนาในเรือนจำ “ผู้กำกับโจ้” ถูกปองร้าย หรือว่า... ฆ่าตัวตาย?

    📌 การเสียชีวิตอย่างกะทันหันของ พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ "ผู้กำกับโจ้" อดีตผู้กำกับการ สภ.เมืองนครสวรรค์ ในเรือนจำกลางคลองเปรม ได้สร้างข้อกังขามากมายให้กับสังคม เกิดคำถามว่า เป็นการฆ่าตัวตายจริง หรือถูกปองร้าย? โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากประวัติ ที่เต็มไปด้วยความอื้อฉาว ทั้งคดีรีดไถ และการคลุมถุงดำผู้ต้องหาจนเสียชีวิต

    แม้ว่ากรมราชทัณฑ์จะออกมาแถลงว่า "ผู้กำกับโจ้เสียชีวิต จากการผูกคอภายในห้องขัง" แต่ญาติและทนายความ กลับสงสัยถึงความเป็นไปได้ ของการถูกทำร้ายในเรือนจำ เรื่องราวนี้จะลงเอยอย่างไร? และมีเงื่อนงำอะไรที่ต้องจับตา?

    📍 ผู้กำกับโจ้เสียชีวิตปริศนาในเรือนจำ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2568 เวลา 20.50 น. เจ้าหน้าที่เรือนจำกลางคลองเปรมพบ พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ "ผู้กำกับโจ้" นั่งพิงประตูห้องขังในท่าทีผิดปกติ เมื่อตรวจสอบพบว่า ใช้ผ้าขนหนูผูกคอ และไม่มีชีพจร จึงเร่งนำตัวส่งแพทย์ แต่ไม่สามารถยื้อชีวิตไว้ได้

    💬 เรือนจำกลางคลองเปรมยืนยันว่า
    - ไม่พบร่องรอยถูกทำร้ายบนร่างกาย
    - กล้องวงจรปิดไม่พบใครเข้าออกห้องขัง ในช่วงเวลาก่อนเสียชีวิต
    - ผู้กำกับโจ้มีประวัติ "วิตกกังวลและหวาดระแวง" เนื่องจากเป็นอดีตตำรวจ จึงถูกแยกขังเดี่ยว เพื่อความปลอดภัย

    แต่อีกด้านหนึ่ง ทนายความ และครอบครัวของผู้กำกับโจ้ กลับตั้งข้อสังเกตว่า การเสียชีวิตอาจมีเงื่อนงำ เนื่องจากก่อนหน้านี้ มีการแจ้งความว่า ถูกทำร้ายร่างกายในเรือนจำ 🚨

    🔍 คำถามที่สังคมสงสัย ผู้กำกับโจ้ถูกสังหาร หรือว่า... ฆ่าตัวตาย?
    📌 หลักฐานที่สนับสนุนว่า เป็นการฆ่าตัวตาย
    ✔️ ถูกขังเดี่ยว ไม่มีผู้ต้องขังคนอื่นในห้องขัง
    ✔️ ภาพจากกล้องวงจรปิด ไม่มีใครเข้าออกห้องขัง
    ✔️ ประวัติอาการทางจิตเวช มีภาวะเครียด วิตกกังวล และหวาดระแวง
    ✔️ คำให้การของเรือนจำระบุว่า ผู้กำกับโจ้มีพฤติกรรมซึมเศร้า และวิตกกังวลมานาน

    ❗ หลักฐานที่บ่งชี้ว่า อาจถูกฆาตกรรม
    ❌ เคยแจ้งความว่า ถูกทำร้ายร่างกายในเรือนจำ มีใบรับรองแพทย์ยืนยันรอยฟกช้ำ
    ❌ ถูกปฏิเสธการเข้าเยี่ยมจากทนาย ก่อนเสียชีวิต ทนายของผู้กำกับโจ้ ถูกห้ามไม่ให้เข้าไปพบ
    ❌ ปริศนาเรื่องอาวุธที่ใช้ฆ่าตัวตาย ใช้เพียง "ผ้าขนหนู" ผูกคอซึ่งอาจไม่แข็งแรงพอ

    🔎 ข้อสังเกต หากการเสียชีวิตของผู้กำกับโจ้ เป็น "การฆ่าตัวตาย" จริง คำถามสำคัญคือ เหตุใดคนที่เคยเป็นตำรวจผู้มีอิทธิพล และมีเครือข่ายมากมาย จึงตัดสินใจเช่นนี้? หรืออาจเป็นไปได้ว่า มีผู้ไม่ต้องการให้ผู้กำกับโจ้ เปิดเผยข้อมูลบางอย่าง?

    📜 ย้อนรอยคดี "ถุงดำอำมหิต" ต้นเหตุของโศกนาฏกรรม "ผู้กำกับโจ้" กับคดีฆาตกรรม ที่สะเทือนขวัญทั้งประเทศ 🔴

    ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2564 เกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญเมื่อ พันตำรวจเอกธิติสรรค์ อุทธนผล หรือผู้กำกับโจ้ ถูกเปิดโปงว่า ใช้ถุงดำคลุมหัวรีดเงินผู้ต้องหาคดียาเสพติด จนเสียชีวิต ภายในห้องสอบสวน สภ.เมืองนครสวรรค์

    💣 หลักฐานสำคัญ กล้องวงจรปิดเผยให้เห็นชัดว่า ผู้ต้องหาถูกทรมานจนขาดอากาศหายใจ ซึ่งขัดแย้งกับคำชี้แจงของตำรวจ ที่อ้างว่าผู้ต้องหาเสียชีวิต เพราะเสพยาเสพติดเกินขนาด

    ⚖️ ศาลชั้นต้นพิพากษา "ประหารชีวิต" ผู้กำกับโจ้ แต่ลดโทษเหลือ จำคุกตลอดชีวิต เนื่องจากให้การเป็นประโยชน์ ส่วนลูกน้องตำรวจที่ร่วมกระทำผิด ได้รับโทษแตกต่างกัน

    ⚡ ชีวิตในเรือนจำ ผู้กำกับโจ้ถูกคุมขังตั้งแต่ 27 สิงหาคม 2564 มีทรัพย์สินมากมายกว่า สองพันล้านบาท จากคดีทุจริตต่างๆ เคยหวังว่า จะสามารถใช้เส้นสาย และทรัพย์สินช่วยให้พ้นโทษ

    📌 สุดท้ายแล้ว… แม้จะรอดพ้นจากโทษประหาร แต่ชีวิตของผู้กำกับโจ้ ก็ต้องจบลงในเรือนจำ

    🏛️ ความลับที่อาจถูกฝังไปพร้อมกับ "ผู้กำกับโจ้" คำถามสำคัญที่ต้องจับตาต่อไปคือ 🕵🏻‍♂️
    - ผู้กำกับโจ้กำลังซ่อนความลับอะไรอยู่?
    - มีใครต้องการปิดปากผู้กำกับโจ้หรือไม่?
    - มีเครือข่ายอำนาจ หรือกลุ่มผลประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องหรือเปล่า?

    🔥 หรือท้ายที่สุดแล้ว การเสียชีวิตของผู้กำกับโจ้ จะเป็นเพียงโศกนาฏกรรมของ "อดีตตำรวจใหญ่" ที่เคยคิดว่า ตัวเองจะอยู่เหนือกฎหมาย?

    🔮 "คดีนี้จบแล้วจริงหรือ?" การเสียชีวิตของ "ผู้กำกับโจ้" ได้สร้างคำถาม ที่ยังไม่มีคำตอบที่แน่ชัด แม้ว่าทางกรมราชทัณฑ์ จะยืนยันว่าเป็น "การฆ่าตัวตาย" แต่หลักฐานหลายอย่าง ทำให้หลายคนอดสงสัยไม่ได้ว่า "มีใครบางคน อยู่เบื้องหลังหรือไม่?" 📢

    ⏳ ขณะนี้อยู่ระหว่างการรอผลชันสูตรศพ ซึ่งอาจเป็นกุญแจสำคัญ ในการไขปริศนาครั้งนี้

    ❗ คดีนี้ยังไม่จบ... และอาจมีเงื่อนงำที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง รอวันถูกเปิดเผย!

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 081808 มี.ค. 2568

    📢 #ผู้กำกับโจ้ #ถุงดำอำมหิต #ตายปริศนา #คดีดัง #ตำรวจไทย #เรือนจำคลองเปรม #ฆ่าตัวตายหรือฆาตกรรม #เปิดโปงความจริง #อำนาจมืด #สะเทือนขวัญ
    ปิดตำนานถุงดำอำมหิต! เสียชีวิตปริศนาในเรือนจำ “ผู้กำกับโจ้” ถูกปองร้าย หรือว่า... ฆ่าตัวตาย? 📌 การเสียชีวิตอย่างกะทันหันของ พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ "ผู้กำกับโจ้" อดีตผู้กำกับการ สภ.เมืองนครสวรรค์ ในเรือนจำกลางคลองเปรม ได้สร้างข้อกังขามากมายให้กับสังคม เกิดคำถามว่า เป็นการฆ่าตัวตายจริง หรือถูกปองร้าย? โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากประวัติ ที่เต็มไปด้วยความอื้อฉาว ทั้งคดีรีดไถ และการคลุมถุงดำผู้ต้องหาจนเสียชีวิต แม้ว่ากรมราชทัณฑ์จะออกมาแถลงว่า "ผู้กำกับโจ้เสียชีวิต จากการผูกคอภายในห้องขัง" แต่ญาติและทนายความ กลับสงสัยถึงความเป็นไปได้ ของการถูกทำร้ายในเรือนจำ เรื่องราวนี้จะลงเอยอย่างไร? และมีเงื่อนงำอะไรที่ต้องจับตา? 📍 ผู้กำกับโจ้เสียชีวิตปริศนาในเรือนจำ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2568 เวลา 20.50 น. เจ้าหน้าที่เรือนจำกลางคลองเปรมพบ พ.ต.อ.ธิติสรรค์ อุทธนผล หรือ "ผู้กำกับโจ้" นั่งพิงประตูห้องขังในท่าทีผิดปกติ เมื่อตรวจสอบพบว่า ใช้ผ้าขนหนูผูกคอ และไม่มีชีพจร จึงเร่งนำตัวส่งแพทย์ แต่ไม่สามารถยื้อชีวิตไว้ได้ 💬 เรือนจำกลางคลองเปรมยืนยันว่า - ไม่พบร่องรอยถูกทำร้ายบนร่างกาย - กล้องวงจรปิดไม่พบใครเข้าออกห้องขัง ในช่วงเวลาก่อนเสียชีวิต - ผู้กำกับโจ้มีประวัติ "วิตกกังวลและหวาดระแวง" เนื่องจากเป็นอดีตตำรวจ จึงถูกแยกขังเดี่ยว เพื่อความปลอดภัย แต่อีกด้านหนึ่ง ทนายความ และครอบครัวของผู้กำกับโจ้ กลับตั้งข้อสังเกตว่า การเสียชีวิตอาจมีเงื่อนงำ เนื่องจากก่อนหน้านี้ มีการแจ้งความว่า ถูกทำร้ายร่างกายในเรือนจำ 🚨 🔍 คำถามที่สังคมสงสัย ผู้กำกับโจ้ถูกสังหาร หรือว่า... ฆ่าตัวตาย? 📌 หลักฐานที่สนับสนุนว่า เป็นการฆ่าตัวตาย ✔️ ถูกขังเดี่ยว ไม่มีผู้ต้องขังคนอื่นในห้องขัง ✔️ ภาพจากกล้องวงจรปิด ไม่มีใครเข้าออกห้องขัง ✔️ ประวัติอาการทางจิตเวช มีภาวะเครียด วิตกกังวล และหวาดระแวง ✔️ คำให้การของเรือนจำระบุว่า ผู้กำกับโจ้มีพฤติกรรมซึมเศร้า และวิตกกังวลมานาน ❗ หลักฐานที่บ่งชี้ว่า อาจถูกฆาตกรรม ❌ เคยแจ้งความว่า ถูกทำร้ายร่างกายในเรือนจำ มีใบรับรองแพทย์ยืนยันรอยฟกช้ำ ❌ ถูกปฏิเสธการเข้าเยี่ยมจากทนาย ก่อนเสียชีวิต ทนายของผู้กำกับโจ้ ถูกห้ามไม่ให้เข้าไปพบ ❌ ปริศนาเรื่องอาวุธที่ใช้ฆ่าตัวตาย ใช้เพียง "ผ้าขนหนู" ผูกคอซึ่งอาจไม่แข็งแรงพอ 🔎 ข้อสังเกต หากการเสียชีวิตของผู้กำกับโจ้ เป็น "การฆ่าตัวตาย" จริง คำถามสำคัญคือ เหตุใดคนที่เคยเป็นตำรวจผู้มีอิทธิพล และมีเครือข่ายมากมาย จึงตัดสินใจเช่นนี้? หรืออาจเป็นไปได้ว่า มีผู้ไม่ต้องการให้ผู้กำกับโจ้ เปิดเผยข้อมูลบางอย่าง? 📜 ย้อนรอยคดี "ถุงดำอำมหิต" ต้นเหตุของโศกนาฏกรรม "ผู้กำกับโจ้" กับคดีฆาตกรรม ที่สะเทือนขวัญทั้งประเทศ 🔴 ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2564 เกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญเมื่อ พันตำรวจเอกธิติสรรค์ อุทธนผล หรือผู้กำกับโจ้ ถูกเปิดโปงว่า ใช้ถุงดำคลุมหัวรีดเงินผู้ต้องหาคดียาเสพติด จนเสียชีวิต ภายในห้องสอบสวน สภ.เมืองนครสวรรค์ 💣 หลักฐานสำคัญ กล้องวงจรปิดเผยให้เห็นชัดว่า ผู้ต้องหาถูกทรมานจนขาดอากาศหายใจ ซึ่งขัดแย้งกับคำชี้แจงของตำรวจ ที่อ้างว่าผู้ต้องหาเสียชีวิต เพราะเสพยาเสพติดเกินขนาด ⚖️ ศาลชั้นต้นพิพากษา "ประหารชีวิต" ผู้กำกับโจ้ แต่ลดโทษเหลือ จำคุกตลอดชีวิต เนื่องจากให้การเป็นประโยชน์ ส่วนลูกน้องตำรวจที่ร่วมกระทำผิด ได้รับโทษแตกต่างกัน ⚡ ชีวิตในเรือนจำ ผู้กำกับโจ้ถูกคุมขังตั้งแต่ 27 สิงหาคม 2564 มีทรัพย์สินมากมายกว่า สองพันล้านบาท จากคดีทุจริตต่างๆ เคยหวังว่า จะสามารถใช้เส้นสาย และทรัพย์สินช่วยให้พ้นโทษ 📌 สุดท้ายแล้ว… แม้จะรอดพ้นจากโทษประหาร แต่ชีวิตของผู้กำกับโจ้ ก็ต้องจบลงในเรือนจำ 🏛️ ความลับที่อาจถูกฝังไปพร้อมกับ "ผู้กำกับโจ้" คำถามสำคัญที่ต้องจับตาต่อไปคือ 🕵🏻‍♂️ - ผู้กำกับโจ้กำลังซ่อนความลับอะไรอยู่? - มีใครต้องการปิดปากผู้กำกับโจ้หรือไม่? - มีเครือข่ายอำนาจ หรือกลุ่มผลประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องหรือเปล่า? 🔥 หรือท้ายที่สุดแล้ว การเสียชีวิตของผู้กำกับโจ้ จะเป็นเพียงโศกนาฏกรรมของ "อดีตตำรวจใหญ่" ที่เคยคิดว่า ตัวเองจะอยู่เหนือกฎหมาย? 🔮 "คดีนี้จบแล้วจริงหรือ?" การเสียชีวิตของ "ผู้กำกับโจ้" ได้สร้างคำถาม ที่ยังไม่มีคำตอบที่แน่ชัด แม้ว่าทางกรมราชทัณฑ์ จะยืนยันว่าเป็น "การฆ่าตัวตาย" แต่หลักฐานหลายอย่าง ทำให้หลายคนอดสงสัยไม่ได้ว่า "มีใครบางคน อยู่เบื้องหลังหรือไม่?" 📢 ⏳ ขณะนี้อยู่ระหว่างการรอผลชันสูตรศพ ซึ่งอาจเป็นกุญแจสำคัญ ในการไขปริศนาครั้งนี้ ❗ คดีนี้ยังไม่จบ... และอาจมีเงื่อนงำที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง รอวันถูกเปิดเผย! ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 081808 มี.ค. 2568 📢 #ผู้กำกับโจ้ #ถุงดำอำมหิต #ตายปริศนา #คดีดัง #ตำรวจไทย #เรือนจำคลองเปรม #ฆ่าตัวตายหรือฆาตกรรม #เปิดโปงความจริง #อำนาจมืด #สะเทือนขวัญ
    0 Comments 0 Shares 1164 Views 0 Reviews
  • 33 ปี โศกนาฏกรรมตายหมู่! ทัวร์แสวงบุญเกาะสีชัง เรือบรรทุกน้ำมันชนเรือโดยสาร เสียชีวิต 119 ศพ รอดแค่ 15 คน

    ⏳ ย้อนรอยเหตุการณ์สุดสลด หนึ่งในอุบัติเหตุทางน้ำ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในไทย

    🔴 เมื่อเส้นทางบุญกลายเป็นเส้นทางมรณะ วันอาทิตย์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2535 กลายเป็นวันที่ชาวไทยไม่มีวันลืม 💔 วันนั้นมีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เดินทางไปยังเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เพื่อเข้าร่วมพิธีนมัสการเจ้าพ่อเขาใหญ่ เทศกาลสำคัญที่จัดขึ้นทุกปีโ ดยเฉพาะช่วงตรุษจีน แต่การเดินทางกลับของกรุ๊ปทัวร์แสวงบุญ กลับกลายเป็นโศกนาฏกรรมทางน้ำ ครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย 😢

    ⛴️ เรือโดยสาร "นาวาประทีป 111" ที่บรรทุกนักแสวงบุญกว่า 134 คน ต้องจบเส้นทางลงกลางทะเล เมื่อถูก เรือบรรทุกน้ำมัน "บีพีพี 9" พุ่งชนอย่างจัง ทำให้เรือแตกเป็นสองท่อน และจมลงสู้ก้นทะเลอย่างรวดเร็ว

    เหตุการณ์นี้ทำให้มีผู้เสียชีวิต 119 ศพ รอดชีวิตเพียง 15 คน เท่านั้น!

    📍 จุดเกิดเหตุบริเวณกลางอ่าวไทย ห่างจากฝั่งศรีราชา 7 กิโลเมตร ⚠️

    ⏳ ไทม์ไลน์ของโศกนาฏกรรม
    ✅ 04.00 น. "นาวาประทีป 111" ออกเดินทางจากเกาะสีชัง มุ่งหน้าสู่ฝั่งศรีราชา
    ✅ 04.15 น. "บีพีพี 9" เรือบรรทุกน้ำมันกำลังแล่นมา ใกล้เส้นทางเรือโดยสาร
    ✅ 04.20 น. บีพีพี 9 เปิดหวูดเตือน 🚨 แต่ "นาวาประทีป 111" ยังคงเร่งเครื่อง
    ✅ 04.22 น. การชนเกิดขึ้น! เรือนาวาประทีป 111 ถูกชนตรงกลางลำจน ขาดออกเป็นสองท่อน
    ✅ 04.23 น. เรือจมลงภายใน ไม่กี่นาที

    💔 ผู้โดยสารส่วนใหญ่ติดอยู่ในห้องโดยสารชั้นล่าง และไม่สามารถหนีออกมาได้ เพราะหน้าต่างกระจกปิดแน่น

    🛑 สาเหตุที่แท้จริงของโศกนาฏกรรม
    🚢 ข้อผิดพลาดของคนขับเรือ วันนั้นกัปตันเรือตัวจริงไม่มาทำงาน 😡 นายช่างเครื่องเป็นคนขับแทน แต่ไม่มีทักษะเพียงพอ ตัดสินใจเร่งเครื่องผ่านหน้าเรือบรรทุกน้ำมัน ทำให้พุ่งชนเต็มแรง

    ⛑️ มาตรฐานความปลอดภัยที่ต่ำ เรือไม่มีเสื้อชูชีพเพียงพอ ❌ ไม่มีแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
    ผู้โดยสารส่วนใหญ่นอนหลับ และไม่รู้ตัวทันทีที่เกิดเหตุ

    💤 3ขับเรือโดยประมาท + อาจเกิดหลับใน คนขับเรือเกิดอาการหลับใน หรือขาดประสบการณ์
    ไม่มีการใช้สัญญาณเตือนที่เหมาะสม ระหว่างสองเรือ

    🚨 ความผิดพลาดในการสื่อสาร แม้เรือบรรทุกน้ำมันจะเปิดหวูดเตือน แต่เรือโดยสารกลับไม่ตอบสนองทัน อีกทั้งยังไม่มีการแจ้งเตือนผู้โดยสาร ให้เตรียมพร้อมหนี

    🆘 ผู้โดยสารที่รอดชีวิต ถูกช่วยขึ้นจากทะเล โดยเรือชาวประมงและกองทัพเรือ 🛳️ ทีมกู้ภัยต้องใช้เวลาหลายวัน กว่าจะกู้ร่างผู้เสียชีวิตทั้งหมดขึ้นมาได้ 💔 สร้างความเศร้าโศกให้กับครอบครัวผู้สูญเสีย และกลายเป็นข่าวใหญ่ระดับประเทศ

    🚢 มาตรการความปลอดภัย ที่เพิ่มขึ้นหลังเหตุการณ์
    🏛️ หลังเหตุการณ์นี้ รัฐบาลไทยออกมาตรการ ควบคุมเรือโดยสารเข้มงวดขึ้น
    ✅ ต้องมีเสื้อชูชีพ เพียงพอต่อจำนวนผู้โดยสาร
    ✅ กัปตันเรือต้องมีใบอนุญาตขับเรือ ที่ได้รับการรับรอง
    ✅ เพิ่มกฎควบคุมการใช้สัญญาณเตือน ระหว่างเรือขนาดใหญ่
    ✅ เพิ่มเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความปลอดภัย ของเรือโดยสารก่อนออกเดินทาง

    📌 บทเรียนจากโศกนาฏกรรมที่ไม่มีวันลืม
    🔹 "ความประมาท" อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง
    🔹 การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย ส่งผลต่อชีวิตของผู้โดยสาร
    🔹 เสื้อชูชีพ = ชีวิต ผู้โดยสารทุกคน ควรได้รับอุปกรณ์ช่วยชีวิตที่เพียงพอ
    🔹 คนขับเรือต้องมีทักษะ และความรับผิดชอบสูง ห้ามให้ผู้ไม่มีใบอนุญาตขับแทนเด็ดขาด

    📍 แม้เวลาจะผ่านไป ความสูญเสียยังคงอยู่ แม้ว่าเหตุการณ์นี้จะผ่านมาแล้วกว่า 33 ปี แต่ยังคงเป็น เครื่องเตือนใจ ให้ทุกคนเห็นถึงความสำคัญ ของความปลอดภัยทางน้ำ ⛴️

    🏝️ "เกาะสีชัง" ยังคงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่งดงาม แต่ทุกคนที่เดินทาง ควรคำนึงถึงมาตรฐานความปลอดภัยเสมอ เพราะความประมาทเพียงเสี้ยววินาที อาจเปลี่ยนชีวิตไปตลอดกาล

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 081450 มี.ค. 2568

    📢 #โศกนาฏกรรมเรือโดยสาร #เรือบรรทุกน้ำมันชนเรือโดยสาร #119ศพเรือล่ม #ความปลอดภัยทางน้ำ #33ปีแห่งความสูญเสีย #เกาะสีชัง #เรืออับปาง #อุบัติเหตุทางน้ำ #อย่าประมาท #ความปลอดภัยต้องมาก่อน
    33 ปี โศกนาฏกรรมตายหมู่! ทัวร์แสวงบุญเกาะสีชัง เรือบรรทุกน้ำมันชนเรือโดยสาร เสียชีวิต 119 ศพ รอดแค่ 15 คน ⏳ ย้อนรอยเหตุการณ์สุดสลด หนึ่งในอุบัติเหตุทางน้ำ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในไทย 🔴 เมื่อเส้นทางบุญกลายเป็นเส้นทางมรณะ วันอาทิตย์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2535 กลายเป็นวันที่ชาวไทยไม่มีวันลืม 💔 วันนั้นมีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เดินทางไปยังเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เพื่อเข้าร่วมพิธีนมัสการเจ้าพ่อเขาใหญ่ เทศกาลสำคัญที่จัดขึ้นทุกปีโ ดยเฉพาะช่วงตรุษจีน แต่การเดินทางกลับของกรุ๊ปทัวร์แสวงบุญ กลับกลายเป็นโศกนาฏกรรมทางน้ำ ครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย 😢 ⛴️ เรือโดยสาร "นาวาประทีป 111" ที่บรรทุกนักแสวงบุญกว่า 134 คน ต้องจบเส้นทางลงกลางทะเล เมื่อถูก เรือบรรทุกน้ำมัน "บีพีพี 9" พุ่งชนอย่างจัง ทำให้เรือแตกเป็นสองท่อน และจมลงสู้ก้นทะเลอย่างรวดเร็ว เหตุการณ์นี้ทำให้มีผู้เสียชีวิต 119 ศพ รอดชีวิตเพียง 15 คน เท่านั้น! 📍 จุดเกิดเหตุบริเวณกลางอ่าวไทย ห่างจากฝั่งศรีราชา 7 กิโลเมตร ⚠️ ⏳ ไทม์ไลน์ของโศกนาฏกรรม ✅ 04.00 น. "นาวาประทีป 111" ออกเดินทางจากเกาะสีชัง มุ่งหน้าสู่ฝั่งศรีราชา ✅ 04.15 น. "บีพีพี 9" เรือบรรทุกน้ำมันกำลังแล่นมา ใกล้เส้นทางเรือโดยสาร ✅ 04.20 น. บีพีพี 9 เปิดหวูดเตือน 🚨 แต่ "นาวาประทีป 111" ยังคงเร่งเครื่อง ✅ 04.22 น. การชนเกิดขึ้น! เรือนาวาประทีป 111 ถูกชนตรงกลางลำจน ขาดออกเป็นสองท่อน ✅ 04.23 น. เรือจมลงภายใน ไม่กี่นาที 💔 ผู้โดยสารส่วนใหญ่ติดอยู่ในห้องโดยสารชั้นล่าง และไม่สามารถหนีออกมาได้ เพราะหน้าต่างกระจกปิดแน่น 🛑 สาเหตุที่แท้จริงของโศกนาฏกรรม 🚢 ข้อผิดพลาดของคนขับเรือ วันนั้นกัปตันเรือตัวจริงไม่มาทำงาน 😡 นายช่างเครื่องเป็นคนขับแทน แต่ไม่มีทักษะเพียงพอ ตัดสินใจเร่งเครื่องผ่านหน้าเรือบรรทุกน้ำมัน ทำให้พุ่งชนเต็มแรง ⛑️ มาตรฐานความปลอดภัยที่ต่ำ เรือไม่มีเสื้อชูชีพเพียงพอ ❌ ไม่มีแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้โดยสารส่วนใหญ่นอนหลับ และไม่รู้ตัวทันทีที่เกิดเหตุ 💤 3ขับเรือโดยประมาท + อาจเกิดหลับใน คนขับเรือเกิดอาการหลับใน หรือขาดประสบการณ์ ไม่มีการใช้สัญญาณเตือนที่เหมาะสม ระหว่างสองเรือ 🚨 ความผิดพลาดในการสื่อสาร แม้เรือบรรทุกน้ำมันจะเปิดหวูดเตือน แต่เรือโดยสารกลับไม่ตอบสนองทัน อีกทั้งยังไม่มีการแจ้งเตือนผู้โดยสาร ให้เตรียมพร้อมหนี 🆘 ผู้โดยสารที่รอดชีวิต ถูกช่วยขึ้นจากทะเล โดยเรือชาวประมงและกองทัพเรือ 🛳️ ทีมกู้ภัยต้องใช้เวลาหลายวัน กว่าจะกู้ร่างผู้เสียชีวิตทั้งหมดขึ้นมาได้ 💔 สร้างความเศร้าโศกให้กับครอบครัวผู้สูญเสีย และกลายเป็นข่าวใหญ่ระดับประเทศ 🚢 มาตรการความปลอดภัย ที่เพิ่มขึ้นหลังเหตุการณ์ 🏛️ หลังเหตุการณ์นี้ รัฐบาลไทยออกมาตรการ ควบคุมเรือโดยสารเข้มงวดขึ้น ✅ ต้องมีเสื้อชูชีพ เพียงพอต่อจำนวนผู้โดยสาร ✅ กัปตันเรือต้องมีใบอนุญาตขับเรือ ที่ได้รับการรับรอง ✅ เพิ่มกฎควบคุมการใช้สัญญาณเตือน ระหว่างเรือขนาดใหญ่ ✅ เพิ่มเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความปลอดภัย ของเรือโดยสารก่อนออกเดินทาง 📌 บทเรียนจากโศกนาฏกรรมที่ไม่มีวันลืม 🔹 "ความประมาท" อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง 🔹 การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย ส่งผลต่อชีวิตของผู้โดยสาร 🔹 เสื้อชูชีพ = ชีวิต ผู้โดยสารทุกคน ควรได้รับอุปกรณ์ช่วยชีวิตที่เพียงพอ 🔹 คนขับเรือต้องมีทักษะ และความรับผิดชอบสูง ห้ามให้ผู้ไม่มีใบอนุญาตขับแทนเด็ดขาด 📍 แม้เวลาจะผ่านไป ความสูญเสียยังคงอยู่ แม้ว่าเหตุการณ์นี้จะผ่านมาแล้วกว่า 33 ปี แต่ยังคงเป็น เครื่องเตือนใจ ให้ทุกคนเห็นถึงความสำคัญ ของความปลอดภัยทางน้ำ ⛴️ 🏝️ "เกาะสีชัง" ยังคงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่งดงาม แต่ทุกคนที่เดินทาง ควรคำนึงถึงมาตรฐานความปลอดภัยเสมอ เพราะความประมาทเพียงเสี้ยววินาที อาจเปลี่ยนชีวิตไปตลอดกาล ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 081450 มี.ค. 2568 📢 #โศกนาฏกรรมเรือโดยสาร #เรือบรรทุกน้ำมันชนเรือโดยสาร #119ศพเรือล่ม #ความปลอดภัยทางน้ำ #33ปีแห่งความสูญเสีย #เกาะสีชัง #เรืออับปาง #อุบัติเหตุทางน้ำ #อย่าประมาท #ความปลอดภัยต้องมาก่อน
    0 Comments 0 Shares 997 Views 0 Reviews
  • 5 ปี สิ้นผู้พิพากษา "คณากร" เสียงสะท้อนการแทรกแซงศาล คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน

    📌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม 5 ปี "คณากร เพียรชนะ" ผู้พิพากษาที่มุ่งมั่นเรียกร้องความยุติธรรม แต่กลับจบชีวิต ด้วยปลายกระบอกปืนของตนเอง

    🔍 คดีที่สะเทือนศรัทธาในกระบวนการยุติธรรมไทย เมื่อเช้าวันเสาร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2563 นายคณากร เพียรชนะ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นศาลจังหวัดยะลา ได้ลั่นไกปืนปลิดชีพตนเอง ที่บ้านพักในอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ในวัยเพียง 50 ปี การตัดสินใจครั้งสุดท้ายของผู้พิพากษาคณากรไม่เพียงเป็นโศกนาฏกรรมของชีวิต แต่ยังเป็นเสียงสะท้อนถึงปัญหา การแทรกแซงในกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข

    ก่อนหน้านี้ ผู้พิพากษาคณากร เคยพยายามยิงตัวเองในห้องพิจารณาคดีที่ 4 ศาลจังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2562 หลังจากอ่านคำพิพากษายกฟ้องจำเลยทั้ง 5 ในคดีความมั่นคง และเปิดเผยว่าถูก "แทรกแซงให้เปลี่ยนคำพิพากษา" โดยฝ่ายบริหารศาล

    🛑 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน"

    วลีนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรมของตุลาการ ซึ่งยังคงถูกพูดถึง แม้เวลาจะล่วงเลยมา 5 ปี

    ⚖️ จากห้องพิจารณาคดี สู่การสูญเสีย
    📅 4 ตุลาคม 2562 ผู้พิพากษาคณากร ยิงตัวเองครั้งแรกในห้องพิจารณาคดี ศาลจังหวัดยะลา
    📌 ผู้พิพากษาคณากร พิจารณาคดีหมายเลขดำที่ 3428/2561 ซึ่งจำเลย 5 คน ถูกกล่าวหาว่าเป็นกลุ่มก่อความไม่สงบ
    📌 พยานหลักฐานอ่อน ไม่มีน้ำหนักพอจะลงโทษ จึงมีคำพิพากษาให้ยกฟ้องจำเลยทั้งหมด
    📌 แต่ก่อนจะอ่านคำพิพากษา ผู้พิพากษาคณากรได้รับคำสั่งลับ ให้แก้ไขคำพิพากษา ตัดสินลงโทษจำเลย 3 คนให้ประหารชีวิต และอีก 2 คนให้จำคุกตลอดชีวิต
    📌 ผู้พิพากษาคณากรปฏิเสธที่จะทำตามคำสั่ง และเผยแพร่คำแถลงการณ์ 25 หน้า ผ่านโซเชียลมีเดีย
    📌 หลังอ่านคำพิพากษา ผู้พิพากษาคณากรยิงตัวเองบริเวณหัวใจ ต่อหน้าผู้เข้าฟังในห้องพิจารณาคดี แต่โชคดีรอดชีวิต

    🗣 "หากยอมแก้คำพิพากษา ก็เท่ากับว่า ผมไม่ได้เป็นผู้พิพากษาอีกต่อไป" คณากร เพียรชนะ จากคำแถลงการณ์ก่อนยิงตัวเอง

    📅 7 มีนาคม 2563 ผู้พิพากษาคณากรปลิดชีพตนเองที่บ้านพัก
    📌 ผู้พิพากษาคณากรถูกสั่งย้ายไปช่วยราชการ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 5 เชียงใหม่ และอยู่ระหว่างการสอบสวนวินัยร้ายแรง
    📌 เช้าวันเสาร์ที่ 7 มีนาคม 2563 เวลา 08.00 น. ผู้พิพากษาคณากรเขียนจดหมายลา 2 หน้า และตัดสินใจ ยิงตัวเองเป็นครั้งที่สอง
    📌 ภรรยากลับบ้านมาประสบเหตุ จึงเเจ้งรถพยาบาลนำส่งโรงพยาบาลดอยสะเก็ด เเต่เมื่อพบว่าอาการหนัก จึงทำการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลแมคคอร์มิค กระทั่งเสียชีวิตในเวลาต่อมา
    📌 งานศพจัดขึ้นที่สุสานสันกู่เหล็ก เชียงใหม่ ท่ามกลางผู้พิพากษา และประชาชนร่วมไว้อาลัย

    😔 เหตุการณ์นี้ได้ตอกย้ำ ถึงความสิ้นหวังของผู้พิพากษา ในระบบศาลไทย

    🔍 การแทรกแซงตุลาการ ปัญหาที่ผู้พิพากษาคณากรต่อสู้ หนึ่งในข้อเรียกร้องสำคัญ คือ
    📌 การตรวจร่างคำพิพากษา ก่อนอ่านให้คู่ความฟัง
    📌 การแทรกแซงคำพิพากษา โดยอธิบดีผู้พิพากษาภาค
    📌 ความไม่เป็นธรรมทางการเงิน แก่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น

    📢 "ศาลต้องเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมือง และอำนาจบริหารภายในองค์กร" นี่คือสิ่งที่ผู้พิพากษาคณากร พยายามต่อสู้มาตลอดชีวิต

    📌 กรณีคดี 3428/2561 ที่ศาลจังหวัดยะลา ในคำแถลงการณ์ ผู้พิพากษาคณากรอ้างว่า อธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ได้สั่งให้เปลี่ยนคำพิพากษา โดยระบุว่า "หากยืนยันจะยกฟ้อง ก็ให้ขังจำเลยระหว่างอุทธรณ์"

    📌 พยานหลักฐานทั้งหมดเกิดขึ้น ระหว่างที่จำเลยถูกควบคุมตัวตามกฎอัยการศึก ซึ่งขัดต่อหลักนิติธรรม

    5 ปีผ่านไป คำถามยังคงอยู่ กระบวนการยุติธรรมของไทย มีอิสระจริงหรือไม่?

    📜 คำแถลงการณ์สุดท้ายของผู้พิพากษาคณากร ก่อนตัดสินใจจบชีวิต ได้เขียนจดหมายลาฉบับสุดท้าย ซึ่งมีใจความว่า

    📝 "ผมทำเพื่อความยุติธรรม ไม่เสียใจที่ได้กระทำ"
    📝 "ขอให้ประชาชนเข้าใจว่า ผู้พิพากษาที่ดี ต้องมีอิสระในการตัดสิน"
    📝 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน"

    📊 เสียงสะท้อนจากสังคมและผลกระทบ
    📌 การประท้วงทั่วประเทศ
    📌 การเรียกร้องให้ปฏิรูประบบศาล
    📌 การตื่นตัวของประชาชน เรื่องการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรม

    ⏳ 5 ปีต่อมา ระบบศาลไทยเปลี่ยนไปหรือยัง?
    📌 การตรวจร่างคำพิพากษายังคงมีอยู่
    📌 ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นยังคงเผชิญแรงกดดัน ในการพิจารณาคดี
    📌 กระบวนการยุติธรรมของไทย ยังคงถูกตั้งคำถาม

    😔 5 ปีผ่านไป ปัญหายังไม่ถูกแก้ไข

    📌 ชื่อของผู้พิพากษาคณากร ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ ของการต่อสู้เพื่อความยุติธรรม
    📌 เรื่องราวของผู้พิพากษาคณากร สะท้อนถึงปัญหาในกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
    📌 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน" จะยังคงเป็นวลีที่สังคมต้องจดจำ

    📢 "5 ปีผ่านไป อย่าให้เสียงของผู้พิพากษาคณากรถูกลืม"

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 070830 มี.ค. 2568

    #️⃣ #คณากรเพียรชนะ #คืนความยุติธรรมให้ประชาชน #ผู้พิพากษา #ปฏิรูประบบศาล #แทรกแซงตุลาการ #ความยุติธรรม #ศาลไทย #สิทธิมนุษยชน #ThailandJustice #FreeJudiciary
    5 ปี สิ้นผู้พิพากษา "คณากร" เสียงสะท้อนการแทรกแซงศาล คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน 📌 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม 5 ปี "คณากร เพียรชนะ" ผู้พิพากษาที่มุ่งมั่นเรียกร้องความยุติธรรม แต่กลับจบชีวิต ด้วยปลายกระบอกปืนของตนเอง 🔍 คดีที่สะเทือนศรัทธาในกระบวนการยุติธรรมไทย เมื่อเช้าวันเสาร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2563 นายคณากร เพียรชนะ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นศาลจังหวัดยะลา ได้ลั่นไกปืนปลิดชีพตนเอง ที่บ้านพักในอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ในวัยเพียง 50 ปี การตัดสินใจครั้งสุดท้ายของผู้พิพากษาคณากรไม่เพียงเป็นโศกนาฏกรรมของชีวิต แต่ยังเป็นเสียงสะท้อนถึงปัญหา การแทรกแซงในกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข ก่อนหน้านี้ ผู้พิพากษาคณากร เคยพยายามยิงตัวเองในห้องพิจารณาคดีที่ 4 ศาลจังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2562 หลังจากอ่านคำพิพากษายกฟ้องจำเลยทั้ง 5 ในคดีความมั่นคง และเปิดเผยว่าถูก "แทรกแซงให้เปลี่ยนคำพิพากษา" โดยฝ่ายบริหารศาล 🛑 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน" วลีนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรมของตุลาการ ซึ่งยังคงถูกพูดถึง แม้เวลาจะล่วงเลยมา 5 ปี ⚖️ จากห้องพิจารณาคดี สู่การสูญเสีย 📅 4 ตุลาคม 2562 ผู้พิพากษาคณากร ยิงตัวเองครั้งแรกในห้องพิจารณาคดี ศาลจังหวัดยะลา 📌 ผู้พิพากษาคณากร พิจารณาคดีหมายเลขดำที่ 3428/2561 ซึ่งจำเลย 5 คน ถูกกล่าวหาว่าเป็นกลุ่มก่อความไม่สงบ 📌 พยานหลักฐานอ่อน ไม่มีน้ำหนักพอจะลงโทษ จึงมีคำพิพากษาให้ยกฟ้องจำเลยทั้งหมด 📌 แต่ก่อนจะอ่านคำพิพากษา ผู้พิพากษาคณากรได้รับคำสั่งลับ ให้แก้ไขคำพิพากษา ตัดสินลงโทษจำเลย 3 คนให้ประหารชีวิต และอีก 2 คนให้จำคุกตลอดชีวิต 📌 ผู้พิพากษาคณากรปฏิเสธที่จะทำตามคำสั่ง และเผยแพร่คำแถลงการณ์ 25 หน้า ผ่านโซเชียลมีเดีย 📌 หลังอ่านคำพิพากษา ผู้พิพากษาคณากรยิงตัวเองบริเวณหัวใจ ต่อหน้าผู้เข้าฟังในห้องพิจารณาคดี แต่โชคดีรอดชีวิต 🗣 "หากยอมแก้คำพิพากษา ก็เท่ากับว่า ผมไม่ได้เป็นผู้พิพากษาอีกต่อไป" คณากร เพียรชนะ จากคำแถลงการณ์ก่อนยิงตัวเอง 📅 7 มีนาคม 2563 ผู้พิพากษาคณากรปลิดชีพตนเองที่บ้านพัก 📌 ผู้พิพากษาคณากรถูกสั่งย้ายไปช่วยราชการ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 5 เชียงใหม่ และอยู่ระหว่างการสอบสวนวินัยร้ายแรง 📌 เช้าวันเสาร์ที่ 7 มีนาคม 2563 เวลา 08.00 น. ผู้พิพากษาคณากรเขียนจดหมายลา 2 หน้า และตัดสินใจ ยิงตัวเองเป็นครั้งที่สอง 📌 ภรรยากลับบ้านมาประสบเหตุ จึงเเจ้งรถพยาบาลนำส่งโรงพยาบาลดอยสะเก็ด เเต่เมื่อพบว่าอาการหนัก จึงทำการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลแมคคอร์มิค กระทั่งเสียชีวิตในเวลาต่อมา 📌 งานศพจัดขึ้นที่สุสานสันกู่เหล็ก เชียงใหม่ ท่ามกลางผู้พิพากษา และประชาชนร่วมไว้อาลัย 😔 เหตุการณ์นี้ได้ตอกย้ำ ถึงความสิ้นหวังของผู้พิพากษา ในระบบศาลไทย 🔍 การแทรกแซงตุลาการ ปัญหาที่ผู้พิพากษาคณากรต่อสู้ หนึ่งในข้อเรียกร้องสำคัญ คือ 📌 การตรวจร่างคำพิพากษา ก่อนอ่านให้คู่ความฟัง 📌 การแทรกแซงคำพิพากษา โดยอธิบดีผู้พิพากษาภาค 📌 ความไม่เป็นธรรมทางการเงิน แก่ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น 📢 "ศาลต้องเป็นอิสระจากอำนาจทางการเมือง และอำนาจบริหารภายในองค์กร" นี่คือสิ่งที่ผู้พิพากษาคณากร พยายามต่อสู้มาตลอดชีวิต 📌 กรณีคดี 3428/2561 ที่ศาลจังหวัดยะลา ในคำแถลงการณ์ ผู้พิพากษาคณากรอ้างว่า อธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ได้สั่งให้เปลี่ยนคำพิพากษา โดยระบุว่า "หากยืนยันจะยกฟ้อง ก็ให้ขังจำเลยระหว่างอุทธรณ์" 📌 พยานหลักฐานทั้งหมดเกิดขึ้น ระหว่างที่จำเลยถูกควบคุมตัวตามกฎอัยการศึก ซึ่งขัดต่อหลักนิติธรรม 5 ปีผ่านไป คำถามยังคงอยู่ กระบวนการยุติธรรมของไทย มีอิสระจริงหรือไม่? 📜 คำแถลงการณ์สุดท้ายของผู้พิพากษาคณากร ก่อนตัดสินใจจบชีวิต ได้เขียนจดหมายลาฉบับสุดท้าย ซึ่งมีใจความว่า 📝 "ผมทำเพื่อความยุติธรรม ไม่เสียใจที่ได้กระทำ" 📝 "ขอให้ประชาชนเข้าใจว่า ผู้พิพากษาที่ดี ต้องมีอิสระในการตัดสิน" 📝 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน" 📊 เสียงสะท้อนจากสังคมและผลกระทบ 📌 การประท้วงทั่วประเทศ 📌 การเรียกร้องให้ปฏิรูประบบศาล 📌 การตื่นตัวของประชาชน เรื่องการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรม ⏳ 5 ปีต่อมา ระบบศาลไทยเปลี่ยนไปหรือยัง? 📌 การตรวจร่างคำพิพากษายังคงมีอยู่ 📌 ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นยังคงเผชิญแรงกดดัน ในการพิจารณาคดี 📌 กระบวนการยุติธรรมของไทย ยังคงถูกตั้งคำถาม 😔 5 ปีผ่านไป ปัญหายังไม่ถูกแก้ไข 📌 ชื่อของผู้พิพากษาคณากร ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ ของการต่อสู้เพื่อความยุติธรรม 📌 เรื่องราวของผู้พิพากษาคณากร สะท้อนถึงปัญหาในกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข 📌 "คืนคำพิพากษาให้ผู้พิพากษา คืนความยุติธรรมให้ประชาชน" จะยังคงเป็นวลีที่สังคมต้องจดจำ 📢 "5 ปีผ่านไป อย่าให้เสียงของผู้พิพากษาคณากรถูกลืม" ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 070830 มี.ค. 2568 #️⃣ #คณากรเพียรชนะ #คืนความยุติธรรมให้ประชาชน #ผู้พิพากษา #ปฏิรูประบบศาล #แทรกแซงตุลาการ #ความยุติธรรม #ศาลไทย #สิทธิมนุษยชน #ThailandJustice #FreeJudiciary
    0 Comments 0 Shares 966 Views 0 Reviews
  • BIG Story [ตอนที่ 2] | เพชรสีเลือด: ตามรอยเพชรซาอุฯ สู่คดีอุ้มฆ่า

    จาก "อาถรรพ์เพชรซาอุฯ" ที่หายไป สู่โศกนาฏกรรมที่สะเทือนสังคมไทย
    2 แม่ลูกศรีธนะขัณฑ์ ถูกอุ้มฆ่าในคดีที่เต็มไปด้วยปริศนา และเงื่อนงำที่ไม่มีใครกล้าพูดถึง

    📌 จากคดีโจรกรรมเครื่องเพชรมูลค่ามหาศาล
    📌 ถึงปริศนาอุ้มฆ่าที่ไร้คำตอบ
    📌 ความจริงที่ยังไม่ถูกเปิดเผยอย่างหมดเปลือก

    #BigStory #เพชรสีเลือด #คดีอุ้มฆ่า #อาถรรพ์เพชรซาอุ #ปริศนาที่รอการไข #ThaiTimes
    BIG Story [ตอนที่ 2] | เพชรสีเลือด: ตามรอยเพชรซาอุฯ สู่คดีอุ้มฆ่า จาก "อาถรรพ์เพชรซาอุฯ" ที่หายไป สู่โศกนาฏกรรมที่สะเทือนสังคมไทย 2 แม่ลูกศรีธนะขัณฑ์ ถูกอุ้มฆ่าในคดีที่เต็มไปด้วยปริศนา และเงื่อนงำที่ไม่มีใครกล้าพูดถึง 📌 จากคดีโจรกรรมเครื่องเพชรมูลค่ามหาศาล 📌 ถึงปริศนาอุ้มฆ่าที่ไร้คำตอบ 📌 ความจริงที่ยังไม่ถูกเปิดเผยอย่างหมดเปลือก #BigStory #เพชรสีเลือด #คดีอุ้มฆ่า #อาถรรพ์เพชรซาอุ #ปริศนาที่รอการไข #ThaiTimes
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 1139 Views 25 0 Reviews
More Results