• อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 636
    ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย
    และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่
    ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย.
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+๒๔๘
    #เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ๖.ธรรมารมณ์
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.18/147/248.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.๑๘/๑๘๐/๒๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=636
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดว่าลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 636 ชื่อบทธรรม : -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+๒๔๘ #เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ๖.ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.18/147/248. http://etipitaka.com/read/thai/18/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ.๑๘/๑๘๐/๒๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=636 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=636 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงกระทำในใจซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยแยบคาย และจงตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเมื่อกระทำในใจซึ่งรูปทั้งหลายโดยแยบคายอยู่ ตามดูความไม่เที่ยงแห่งรูปทั้งหลาย ให้เห็นตามที่เป็นจริงอยู่ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย. เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 258
    ชื่อบทธรรม :- ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    --ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี,
    เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี,
    รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี,
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา
    น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้า ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน(นนฺทิ)​ ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่
    http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=นนฺทิ
    ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่
    ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    เรากล่าวว่า #เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น)
    จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์),
    http://etipitaka.com/read/pali/14/482/?keywords=ทุกฺขสมุทโย
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. 14/481/755.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/361/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=258
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 258 ชื่อบทธรรม :- ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ --ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้า ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน(นนฺทิ)​ ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=นนฺทิ ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. เรากล่าวว่า #เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น) จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์), http://etipitaka.com/read/pali/14/482/?keywords=ทุกฺขสมุทโย ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. 14/481/755. http://etipitaka.com/read/thai/14/361/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/481/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=258 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=258 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    -ความเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่นที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รสที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูป เป็นต้นนั้นไซร้. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิดขึ้น. เรากล่าวว่า เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อขึ้น) จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์), ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 54 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 634
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย
    ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง,
    ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ.
    เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ;
    เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ;
    เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ;
    เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ
    ดังนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ ๖.ธรรมารมณ์
    ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป
    ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้
    ).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/146/246.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=634
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 634 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า #จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=นนฺทิราคกฺขยา+จิตฺตํ+สุวิมุตฺตนฺติ ดังนี้. (ในกรณีแห่ง ๒.เสียง ๓.กลิ่น ๔.รส ๕.โผฏฐัพพะ และ ๖.ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.รูป ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้ ).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/146/246. http://etipitaka.com/read/thai/18/146/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=634 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=634 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง)
    -ลักษณะแห่งจิตที่หลุดพ้นด้วยดี (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ภิกษุเห็น รูปทั้งหลาย ซึ่งไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง, ทิฏฐิของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฏฐิ. เมื่อเห็นอยู่ด้วยสัมมาทิฏฐิ ย่อมเบื่อหน่าย ; เพราะความสิ้นนันทิ ย่อมมีความสิ้นราคะ; เพราะความสิ้นราคะ ย่อมมีความสิ้นนันทิ ; เพราะความสิ้นนันทิและราคะ ก็กล่าวไว้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็มีข้อความที่กล่าวไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่กล่าวไว้ข้างบนนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันนี้เรามาคุยถึงเครื่องประดับชนิดหนึ่งในสมัยราชวงศ์ชิงที่ดูจะไม่ค่อยมีใครกล่าวถึง แต่เพื่อนเพจที่ได้ดูละครของยุคสมัยนั้นอย่างเช่น <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> หรือ <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> จะเห็นนางในมีสร้อยประคำผูกไว้ที่คอเสื้อ จริงๆ แล้วมันก็คือสร้อยประคำมือ เรียกว่า ‘สือปาจื่อ’ (十八子)

    ความมีอยู่ว่า
    ... โจวเซิงเฉินเดินออกมาพอดี เห็นสร้อยประคำมือหยก 18 เม็ดบนข้อมือของเธอ ในแววตาปรากฏความแปลกใจแวบหนึ่ง ในระหว่างเดินทางกลับ เขาค่อยเล่าให้ฟังถึงที่มาของสร้อยประคำนี้: “ยาว 28ซม. เม็ดประคำหยกสิบแปดเม็ด” เขาชี้นิ้วไล่ตามเชือกใต้เม็ดปะการังสีแดง “พลอยทัวร์มารีนสีชมพูแกะสลักเป็นดอกไม้ แล้วยังมีเม็ดปะการังและไข่มุก...เป็นของจากสมัยปลายราชวงศ์หมิงต้นราชวงศ์ชิง”...
    - จาก <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (บทความ Storyฯ แปลเองจ้า)

    สร้อยประคำมือที่กล่าวถึงในบทความข้างต้นนั้นมีลูกประคำ 18 เม็ด ซึ่งมีความหมายทางศาสนาพุทธ บ้างก็ว่าหมายถึง 18 อรหันต์ แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ที่ Storyฯ ค้นพบจะบอกว่าหมายถึง 6 ผัสสะซึ่งก็คือ:
    1. จักขุสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางตา คือ ตา+รูป+จักขุวิญญาณ
    2. โสตสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางหู คือ หู+เสียง+โสตวิญญาณ
    3. ฆานสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางจมูก คือ จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ
    4. ชิวหาสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ
    5. กายสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางกาย คือ กาย+โผฏฐัพพะ (เช่น ร้อน เย็น อ่อน แข็ง) +กายวิญญาณ
    6. มโนสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางใจ คือ ใจ+ธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด) +มโนวิญญาณ

    สร้อยประคำมือนี้เดิมมีไว้ใช้ตอนสวดมนต์ ต่อมากลายเป็นเครื่องประดับในสมัยราชวงศ์ชิง การนำมาใช้เป็นเครื่องประดับนี้เริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่แน่ชัด รู้แต่ว่าในสมัยกลางของราชวงศ์ชิงยังไม่มีการกล่าวถึงนัก ต่อมาจึงเห็นจากภาพวาดในช่วงปลายราชวงศ์ชิงว่ามันได้กลายเป็นเครื่องประดับติดกายที่นิยมอย่างมากทั้งในหญิงและชาย (ดูรูปแรก)

    แรกเริ่มใช้กันในวัง แต่มันไม่ใช่เครื่องประดับอย่างเป็นทางการ ดังนั้นจึงใช้ได้ทุกระดับยศและเลือกใช้วัสดุได้หลากหลาย แต่แน่นอนว่ายศยิ่งสูง วัสดุที่ใช้ก็ยิ่งเลอค่า ต่อมาความนิยมนี้แพร่หลายออกมานอกวัง แต่ยังอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอย่างเช่นคนในตระกูลกองธงต่างๆ รูปแบบหรือองค์ประกอบของสร้อยก็มีการแปลงง่ายลงโดยคงไว้ซึ่งส่วนสำคัญของสร้อยประคำเท่านั้น ซึ่งก็คือส่วนที่เรียกว่าเศียรพระพุทธเจ้า เม็ดคั่น และเม็ดหลัก 18 เม็ด (ดูรูปสองบน)

    ตำแหน่งที่แขวนสร้อยประคำมือเป็นเครื่องประดับนั้น หากเป็นเสื้อสาบเฉียงให้ห้อยไว้ทางด้านขวา หากเป็นสาบตรงให้ห้อยไว้ที่กระดุมเม็ดที่สองข้างหน้า

    ใครตามละครเรื่องราวในวังยุคสมัยราชวงศ์ชิงอยู่ลองสังเกตดูนะคะ Storyฯ เห็นอยู่ในหลายเรื่องเลย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.sohu.com/a/491583437_515879
    https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html
    https://m.xing73.com/zt/yiL5Lmo5Q2a5Q_o5p_I6Q2a5rWY5B2Y5.html
    https://kknews.cc/culture/6er9xv.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://new.qq.com/omn/20191012/20191012A0N7RC00.html
    https://www.sohu.com/a/249960097_105772
    https://kknews.cc/collect/q5k3bvb.html
    https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html
    https://www.baanjomyut.com/pratripidok/41.html

    #กระดูกงดงาม #สร้อยประคำมือ #สือปาจื่อ #ผัสสะ #เครื่องแต่งกายสตรีจีนโบราณ #ราชวงศ์ชิง
    วันนี้เรามาคุยถึงเครื่องประดับชนิดหนึ่งในสมัยราชวงศ์ชิงที่ดูจะไม่ค่อยมีใครกล่าวถึง แต่เพื่อนเพจที่ได้ดูละครของยุคสมัยนั้นอย่างเช่น <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> หรือ <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> จะเห็นนางในมีสร้อยประคำผูกไว้ที่คอเสื้อ จริงๆ แล้วมันก็คือสร้อยประคำมือ เรียกว่า ‘สือปาจื่อ’ (十八子) ความมีอยู่ว่า ... โจวเซิงเฉินเดินออกมาพอดี เห็นสร้อยประคำมือหยก 18 เม็ดบนข้อมือของเธอ ในแววตาปรากฏความแปลกใจแวบหนึ่ง ในระหว่างเดินทางกลับ เขาค่อยเล่าให้ฟังถึงที่มาของสร้อยประคำนี้: “ยาว 28ซม. เม็ดประคำหยกสิบแปดเม็ด” เขาชี้นิ้วไล่ตามเชือกใต้เม็ดปะการังสีแดง “พลอยทัวร์มารีนสีชมพูแกะสลักเป็นดอกไม้ แล้วยังมีเม็ดปะการังและไข่มุก...เป็นของจากสมัยปลายราชวงศ์หมิงต้นราชวงศ์ชิง”... - จาก <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (บทความ Storyฯ แปลเองจ้า) สร้อยประคำมือที่กล่าวถึงในบทความข้างต้นนั้นมีลูกประคำ 18 เม็ด ซึ่งมีความหมายทางศาสนาพุทธ บ้างก็ว่าหมายถึง 18 อรหันต์ แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ที่ Storyฯ ค้นพบจะบอกว่าหมายถึง 6 ผัสสะซึ่งก็คือ: 1. จักขุสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางตา คือ ตา+รูป+จักขุวิญญาณ 2. โสตสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางหู คือ หู+เสียง+โสตวิญญาณ 3. ฆานสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางจมูก คือ จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ 4. ชิวหาสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ 5. กายสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางกาย คือ กาย+โผฏฐัพพะ (เช่น ร้อน เย็น อ่อน แข็ง) +กายวิญญาณ 6. มโนสัมผัส หมายถึง ความกระทบทางใจ คือ ใจ+ธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด) +มโนวิญญาณ สร้อยประคำมือนี้เดิมมีไว้ใช้ตอนสวดมนต์ ต่อมากลายเป็นเครื่องประดับในสมัยราชวงศ์ชิง การนำมาใช้เป็นเครื่องประดับนี้เริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่แน่ชัด รู้แต่ว่าในสมัยกลางของราชวงศ์ชิงยังไม่มีการกล่าวถึงนัก ต่อมาจึงเห็นจากภาพวาดในช่วงปลายราชวงศ์ชิงว่ามันได้กลายเป็นเครื่องประดับติดกายที่นิยมอย่างมากทั้งในหญิงและชาย (ดูรูปแรก) แรกเริ่มใช้กันในวัง แต่มันไม่ใช่เครื่องประดับอย่างเป็นทางการ ดังนั้นจึงใช้ได้ทุกระดับยศและเลือกใช้วัสดุได้หลากหลาย แต่แน่นอนว่ายศยิ่งสูง วัสดุที่ใช้ก็ยิ่งเลอค่า ต่อมาความนิยมนี้แพร่หลายออกมานอกวัง แต่ยังอยู่เฉพาะในกลุ่มชนชั้นสูงอย่างเช่นคนในตระกูลกองธงต่างๆ รูปแบบหรือองค์ประกอบของสร้อยก็มีการแปลงง่ายลงโดยคงไว้ซึ่งส่วนสำคัญของสร้อยประคำเท่านั้น ซึ่งก็คือส่วนที่เรียกว่าเศียรพระพุทธเจ้า เม็ดคั่น และเม็ดหลัก 18 เม็ด (ดูรูปสองบน) ตำแหน่งที่แขวนสร้อยประคำมือเป็นเครื่องประดับนั้น หากเป็นเสื้อสาบเฉียงให้ห้อยไว้ทางด้านขวา หากเป็นสาบตรงให้ห้อยไว้ที่กระดุมเม็ดที่สองข้างหน้า ใครตามละครเรื่องราวในวังยุคสมัยราชวงศ์ชิงอยู่ลองสังเกตดูนะคะ Storyฯ เห็นอยู่ในหลายเรื่องเลย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/491583437_515879 https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html https://m.xing73.com/zt/yiL5Lmo5Q2a5Q_o5p_I6Q2a5rWY5B2Y5.html https://kknews.cc/culture/6er9xv.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://new.qq.com/omn/20191012/20191012A0N7RC00.html https://www.sohu.com/a/249960097_105772 https://kknews.cc/collect/q5k3bvb.html https://kknews.cc/collect/jjzjqoe.html https://www.baanjomyut.com/pratripidok/41.html #กระดูกงดงาม #สร้อยประคำมือ #สือปาจื่อ #ผัสสะ #เครื่องแต่งกายสตรีจีนโบราณ #ราชวงศ์ชิง
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 232 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 630
    ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !”
    --ท่านผู้จอมเทพ !
    รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี,
    เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี,
    รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ;
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ;
    และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น,
    วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว
    ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี.
    --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย
    ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 630 ชื่อบทธรรม :- การปรินิพพานในทิฏฐธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 เนื้อความทั้งหมด :- --การปรินิพพานในทิฏฐธรรม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” --ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. --ท่านผู้จอมเทพ ! #ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/18/129/?keywords=ปรินิพฺพายติ --ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/104/179. http://etipitaka.com/read/thai/18/104/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๒๘/๑๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=630 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=630 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปรินิพพานในทิฏฐธรรม
    -การปรินิพพานในทิฏฐธรรม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้ พระเจ้าข้า !” ท่านผู้จอมเทพ ! รูป ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยตาก็ดี, เสียง ทั้งหลายที่รู้แจ้งด้วยหูก็ดี, กลิ่น ทั้งหลาย รู้แจ้งด้วยจมูกก็ดี, รส ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยผิวกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี ; อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจที่ยั่วยวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ; และภิกษุก็ไม่เป็นผู้เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้น, วิญญาณนั้น อันตัณหาในอารมณ์มีรูปเป็นต้นอาศัยแล้ว ย่อมไม่มีแก่เธอนั้น วิญญาณที่จะเป็นอุปาทานย่อมไม่มี. ท่านผู้จอมเทพ ! ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพาน. ท่านผู้จอมเทพ ! นี้แล เป็นเหตุ นี้เป็นปัจจัย ที่ทำให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรมนี้, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
    สัทธรรมลำดับที่ : 247
    ชื่อบทธรรม :- ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=247
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ
    ตัณหาในรูป,
    ตัณหาในเสียง,
    ตัณหาในกลิ่น,
    ตัณหาในรส,
    ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และ
    ตัณหาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/10.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90

    สัทธรรมลำดับที่ : 248
    ชื่อบทธรรม : -ภพโดยวิภาค สามอย่าง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=248
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภพโดยวิภาค สามอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภพ มีสามอย่างเหล่านี้ คือ:-
    ๑. กามภพ ภพมีกาม ;
    ๒. รูปภพ ภพมีรูป ;
    ๓. อรูปภพ ภพไม่มีรูป.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.-
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/8.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%98

    สัทธรรมลำดับที่ : 249
    ชื่อบทธรรม : -ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหามีสามอย่างเหล่านี้, สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สามอย่างคือ :-
    ๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม ;
    ๒. วิภวตัณหา ตัณหาในความมีความเป็น ;
    ๓. วิภวตัณหา ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ตัณหาสามอย่าง.

    #ทุกขสุมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. 19/85/329.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๖/๓๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/86/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=249
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=247
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง สัทธรรมลำดับที่ : 247 ชื่อบทธรรม :- ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=247 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง --ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป, ตัณหาในเสียง, ตัณหาในกลิ่น, ตัณหาในรส, ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และ ตัณหาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ตัณหา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/10. http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 สัทธรรมลำดับที่ : 248 ชื่อบทธรรม : -ภพโดยวิภาค สามอย่าง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=248 เนื้อความทั้งหมด :- --ภพโดยวิภาค สามอย่าง --ภิกษุ ท. ! ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภพ มีสามอย่างเหล่านี้ คือ:- ๑. กามภพ ภพมีกาม ; ๒. รูปภพ ภพมีรูป ; ๓. อรูปภพ ภพไม่มีรูป. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ภพ.- อ้างอิงสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/3/8. http://etipitaka.com/read/thai/16/3/?keywords=%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๓/๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/3/?keywords=%E0%B9%98 สัทธรรมลำดับที่ : 249 ชื่อบทธรรม : -ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาโดยวิภาค สามอย่าง --ภิกษุ ท. ! ตัณหามีสามอย่างเหล่านี้, สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ :- ๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม ; ๒. วิภวตัณหา ตัณหาในความมีความเป็น ; ๓. วิภวตัณหา ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ตัณหาสามอย่าง. #ทุกขสุมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. 19/85/329. http://etipitaka.com/read/thai/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๖/๓๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/86/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=249 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=247 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง
    -ตัณหาโดยวิภาคแห่งอารมณ์หกอย่าง ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งตัณหาหกอย่างเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป, ตัณหาในเสียง, ตัณหาในกลิ่น, ตัณหาในรส, ตัณหาในโผฏฐัพพะ, และตัณหาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ตัณหา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 624
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ;
    เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ;
    ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย.
    --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ.
    +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ;
    นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาติ,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน
    ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.-

    (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้
    ในสูตรอื่น
    [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘
    http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​
    ได้ตรัสไว้ว่า
    +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า
    สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ
    ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ สัทธรรมลำดับที่ : 624 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน ). --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.- (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘ http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​ ได้ตรัสไว้ว่า +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458. http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    -อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ ภิกษุ ท. ! .... ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 201 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    สัทธรรมลำดับที่ : 229
    ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน.
    --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ?
    --ภิกษุ ท. !
    ตา เป็นของร้อน,
    รูป เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน,
    สัมผัสทางตา เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม
    ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ

    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟคือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน
    เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. !
    จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ
    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก
    เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ
    และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้แล.-
    --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่าย
    ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส
    ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย...
    โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ
    ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส
    ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย
    เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด
    จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว
    รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน สัทธรรมลำดับที่ : 229 ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 เนื้อความทั้งหมด :- --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? --ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.- --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย... โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31. http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    -กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ. ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 227
    ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท
    หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ;
    ดังนั้นจึงกล่าวว่า
    ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต
    ).
    --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา,
    เพลิดเพลินอยู่กับหู,
    เพลิดเพลินอยู่กับจมูก,
    เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น,
    เพลิดเพลินอยู่กับกาย,
    และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ

    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป,
    เพลิดเพลินอยู่กับเสียง,
    เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น,
    เพลิดเพลินอยู่กับรส,
    เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ,
    เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ;
    ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) สัทธรรมลำดับที่ : 227 ชื่อบทธรรม :- ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะหก(ผัสสะ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 เนื้อความทั้งหมด :- (คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต ). --ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=นาภินนฺทติ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/11/19, 20. http://etipitaka.com/read/thai/18/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๑๖/๑๙, ๒๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=227 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=227 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ
    -(คำว่า ผัสสะ ในที่นี้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาท หรือกระแสแห่งการปรุงแต่งในทางจิต, มิใช่บุคคล ; ดังนั้นจึงกล่าวว่า ทุกข์นี้ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น เป็นเพียงกระแส แห่งการปรุงแต่งทางจิต). ไม่พ้นทุกข์เพราะมัวเพลินในอายตนะ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับตา, เพลิดเพลินอยู่กับหู, เพลิดเพลินอยู่กับจมูก, เพลิดเพลินอยู่กับลิ้น, เพลิดเพลินอยู่กับกาย, และเพลิดเพลินอยู่กับใจ ; ผู้นั้น ชื่อว่าเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใดเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่กับรูป, เพลิดเพลินอยู่กับเสียง, เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่น, เพลิดเพลินอยู่กับรส, เพลิดเพลินอยู่กับโผฏฐัพพะ, เพลิดเพลินอยู่กับธรรมารมณ์ ; ผู้นั้น ชื่อว่า เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 223
    ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
    เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ สัทธรรมลำดับที่ : 223 ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 เนื้อความทั้งหมด :- --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์. เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218. http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    -เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 227 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 222
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์
    เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก
    แห่งรูป ตามเป็นจริง
    ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข
    แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).-

    --คาถาท้ายพระสูตร--
    รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด
    รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก
    สมมติว่าเป็นสุข
    ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น
    เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์
    ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ
    (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข
    การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย
    ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข
    เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้
    ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ
    เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ
    เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา
    ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้
    อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ
    ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ
    เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน
    บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 222 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).- --คาถาท้ายพระสูตร-- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก สมมติว่าเป็นสุข ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์ ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์ บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์ พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้ ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้ อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216. http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    -ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ย่อม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุขแม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 235 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    สัทธรรมลำดับที่ : 610
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
    ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
    เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
    +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
    “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
    ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
    ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
    ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
    ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
    ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
    ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป สัทธรรมลำดับที่ : 610 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ” http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69. http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    -อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี เพราะความดับแห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 226 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 594
    ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    ....
    ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ
    ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ
    ดังนี้
    ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย
    .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์)..
    .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์)..
    .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์)..
    .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
    เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
    พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์
    ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ
    *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓
    *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ....
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน,
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว
    ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ
    การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย
    "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ
    โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่งการ
    ๒.ฟังเสียงด้วยหู
    ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก
    ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ
    ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ สัทธรรมลำดับที่ : 594 ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 เนื้อความทั้งหมด :- --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ .... ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ ดังนี้ ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์).. .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์).. .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์).. .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓ *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 .... --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน, รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ? http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. (ในกรณีแห่งการ ๒.ฟังเสียงด้วยหู ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 324 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 164
    ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164

    สัทธรรมลำดับที่ : 165
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ
    สัญเจตนาในเรื่องรูป
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    สัญเจตนาในเรื่องรส
    สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น
    เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
    และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส
    แล.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165

    สัทธรรมลำดับที่ : 166
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    --ภิกษุ ท. !
    +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น,
    +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท
    +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว
    +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166

    สัทธรรมลำดับที่ : 167
    ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา
    คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ,
    และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง ....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 164 ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475. http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164 สัทธรรมลำดับที่ : 165 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ สัญเจตนาในเรื่องรูป สัญเจตนาในเรื่องเสียง สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น สัญเจตนาในเรื่องรส สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491. http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165 สัทธรรมลำดับที่ : 166 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร --ภิกษุ ท. ! +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น, +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ; http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ; -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.- http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122. http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166 สัทธรรมลำดับที่ : 167 ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย, http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง .... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    -สังขารมีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 415 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 161
    ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161

    สัทธรรมลำดับที่ : 162
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่
    ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ
    สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น
    ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป,
    ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา,
    ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา,
    ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ
    ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162

    สัทธรรมลำดับที่ : 163
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสังขาร
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่,
    เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า.
    เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้.
    เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก.
    บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น
    ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น
    ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 161 ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 เนื้อความทั้งหมด :- --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161 สัทธรรมลำดับที่ : 162 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สังขาร” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร. -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป, ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา, ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา, ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162 สัทธรรมลำดับที่ : 163 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสังขาร --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่, เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า. เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้. เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก. บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    -๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ สังขารหก ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา หกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 258 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 157
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
    ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157

    สัทธรรมลำดับที่ : 158
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
    ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ
    นั่นเท่ากับ
    เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
    และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158

    สัทธรรมลำดับที่ : 159
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. !
    สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ;
    สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ,
    อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.-

    อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159

    สัทธรรมลำดับที่ : 160
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
    ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา,
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 157 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157 ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญามีธรรมดาแปรปรวน http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474. http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157 สัทธรรมลำดับที่ : 158 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158 ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่นเท่ากับ เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489. http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158 สัทธรรมลำดับที่ : 159 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ; สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ, อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.- อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59 http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159 สัทธรรมลำดับที่ : 160 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160 ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา. ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา, -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
    -สัญญามีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 397 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    สัทธรรมลำดับที่ : 156
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้ นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ)
    เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. !
    สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา
    ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล,
    เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา
    โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา

    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง
    เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา สัทธรรมลำดับที่ : 156 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้ นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูปก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรสก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เป็นอย่างหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เรากล่าวสัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูด ไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 258 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 153
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    --สัญญาหกประการ
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153

    สัทธรรมลำดับที่ : 154
    ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154

    สัทธรรมลำดับที่ : 155
    ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสัญญา
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
    ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
    มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 153 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ --สัญญาหกประการ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153 สัทธรรมลำดับที่ : 154 ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สัญญา” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154 สัทธรรมลำดับที่ : 155 ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสัญญา --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่, ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    -๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ สัญญาหก ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 209 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ)
    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ
    อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา
    อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา
    สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา
    อานาปานสติ.
    --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า
    “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง;
    สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา

    --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา;
    หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา;
    จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา;
    ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา;
    กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา;
    ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา

    --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร;
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา

    --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น,
    กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด
    ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม
    โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว
    โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร
    อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน
    ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม
    ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย
    การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ”
    ดังนี้;
    เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา

    --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา
    กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว
    ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา

    --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา.
    --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต
    : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความดับ เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้
    : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน)
    ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่,
    เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ
    งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่
    : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง
    : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง).
    -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา

    (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่,
    และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน).

    --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก.
    1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว ,
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ;
    2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น ,
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า,
    ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า,
    ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า,
    ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า,
    ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก.
    : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ

    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์
    แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้
    ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน
    เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร.
    ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย
    แล.-

    (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร
    ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร.
    บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป
    หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ.
    ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า
    อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป
    ดุจดังว่าหายจากอาพาธ;
    กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ;
    ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย;
    เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ สัทธรรมลำดับที่ : 956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. 1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; 2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา 3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.- (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60. http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐ http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    -ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญาสัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนิจจสัญญา. อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนัตตสัญญา. อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อสุภสัญญา. อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา. อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า ปหานสัญญา. อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า นิโรธสัญญา. อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. นี้เรียกว่า อานาปานสติ. อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 589 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    สัทธรรมลำดับที่ : 585
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่.
    --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา
    น่ารักใคร่น่าพอใจ
    ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท

    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ ....

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า
    ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’.
    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์
    โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    (คาถาผนวกท้ายพระสูตร)
    ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว
    ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว
    ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน
    ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก.
    เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง
    ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ;
    ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ;
    ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง สัทธรรมลำดับที่ : 585 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288. http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    -ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้นมอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    ๑.ความรักเกิดจากความรัก
    ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก
    ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด
    ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น.
    ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง
    &ทุติยฌาน ....
    &ตติยฌาน ....
    &จตุตถฌาน ....
    http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ
    แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.

    (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ
    ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก
    พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว”
    ).-

    ​#สัมมาสมาธิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เนื้อความทั้งหมด :- --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ๑.ความรักเกิดจากความรัก ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง &ทุติยฌาน .... &ตติยฌาน .... &จตุตถฌาน .... http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ).- ​#สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200. http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    -(ในสูตรอื่น (ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖) ตรัสว่า การระลึกถึง ตถาคต ถึงพระธรรม ถึงพระสงฆ์ ถึงศีล ถึงจาคะ ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วยราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิตออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้น). ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกิดจากความรัก ความรักเกิดจากความเกลียด ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึงทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ที่หน้า ๖๓๗ แห่งหนังสือนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 225 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 583
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี,
    เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี,
    รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี,
    อัน
    เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ
    เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ
    เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าภิกษุใด
    ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่
    ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า
    #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว
    ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป
    จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ;
    ดังนี้แล.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร สัทธรรมลำดับที่ : 583 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี, อัน เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใด ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290. http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    -ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใดไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำเพ้อถึง ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ดแหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 267 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    สัทธรรมลำดับที่ : 147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น,
    ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม,
    หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป
    อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ
    อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม,
    หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน
    ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น.
    ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส).

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา
    อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้แล้ว
    เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์
    ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่
    อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ”
    ดังนี้.
    เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้
    ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย.
    ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส)
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่
    คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก
    ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง.
    อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น
    ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้
    แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้
    อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล.
    --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ สัทธรรมลำดับที่ : 147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่ คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630. http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    -เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้นเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขา ย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่าความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจาก เหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่าอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 282 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัยนอน เนื่องอยู่ในสันดาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 145
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    --ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น,
    อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น,
    อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น,
    อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น,
    อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น,
    และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ;
    +-ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด)
    นั้น ชื่อว่า ผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=ผสฺส

    +-เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง.
    บุคคลนั้น
    +-เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    +-เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    +-เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง
    ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วย
    ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย,
    อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/517/?keywords=อวิชฺชานุสยํ

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ
    +-ยังละ อนุสัยคือราคะ ในเพราะสุขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังบรรเทา อนุสัยคือปฏิฆะ ในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังถอน อนุสัยคืออวิชชา ในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้,
    +-ยังละอวิชชาไม่ได้และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว
    จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้
    : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/391/822.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/391/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=145
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัยนอน เนื่องอยู่ในสันดาน สัทธรรมลำดับที่ : 145 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145 ชื่อบทธรรม : -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย --ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น, อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น, อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น, อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น, อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น, และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ; +-ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด) นั้น ชื่อว่า ผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=ผสฺส +-เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. บุคคลนั้น +-เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. +-เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. +-เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย, อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/14/517/?keywords=อวิชฺชานุสยํ --ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ +-ยังละ อนุสัยคือราคะ ในเพราะสุขเวทนาไม่ได้, +-ยังบรรเทา อนุสัยคือปฏิฆะ ในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้, +-ยังถอน อนุสัยคืออวิชชา ในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้, +-ยังละอวิชชาไม่ได้และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้ : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/391/822. http://etipitaka.com/read/thai/14/391/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/14/516/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=145 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=145 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย
    -เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย ภิกษุ ท. ! อาศัยตากับรูป เกิด จักขุวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางตา) ขึ้น, อาศัยหูกับเสียง เกิด โสตวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางหู) ขึ้น, อาศัยจมูกกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางจมูก) ขึ้น, อาศัยลิ้นกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางลิ้น) ขึ้น, อาศัยกายกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางกาย) ขึ้น, และอาศัยใจกับธรรมารมณ์ เกิด มโนวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางใจ) ขึ้น ; ความประจวบกันแห่งสิ่งทั้งสาม (เช่น ตา รูป จักขุวิญญาณ เป็นต้น แต่ละหมวด) นั้น ชื่อว่า ผัสสะ. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดมีเวทนา อันเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. บุคคลนั้น เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่, อนุสัยคือราคะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจคร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความหลงใหลอยู่, อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. เมื่อ เวทนาอันไม่ทุกข์ไม่สุข ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง ซึ่งเหตุให้เกิดเวทนานั้นด้วย ซึ่งความดับแห่งเวทนานั้นด้วยซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย ซึ่งอาทีนพ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วยซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้น) ของเวทนานั้นด้วย, อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดานของบุคคลนั้น. ภิกษุ ท. ! บุคคลนั้นหนอ ยังละอนุสัยคือราคะในเพราะสุขเวทนาไม่ได้, ยังบรรเทาอนุสัยคือปฏิฆะในเพราะทุกขเวทนาไม่ได้, ยังถอนอนุสัยคืออวิชชาในเพราะอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้, ยังละอวิชชาไม่ได้ และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) นี้ ดังนี้ : ข้อนี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 355 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 153
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    --สัญญาหกประการ
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153

    สัทธรรมลำดับที่ : 154
    ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154

    สัทธรรมลำดับที่ : 155
    ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสัญญา
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
    ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
    มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 153 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ --สัญญาหกประการ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153 สัทธรรมลำดับที่ : 154 ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สัญญา” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154 สัทธรรมลำดับที่ : 155 ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสัญญา --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่, ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    -๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ สัญญาหก ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts