อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 157
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474.
http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157
สัทธรรมลำดับที่ : 158
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ
สัญญาในรูป
สัญญาในเสียง
สัญญาในกลิ่น
สัญญาในรส
สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ
นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489.
http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158
สัทธรรมลำดับที่ : 159
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
--ภิกษุ ท. !
สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ;
สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.-
อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59
http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑.
http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159
สัทธรรมลำดับที่ : 160
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา,
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 157
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474.
http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157
สัทธรรมลำดับที่ : 158
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ
สัญญาในรูป
สัญญาในเสียง
สัญญาในกลิ่น
สัญญาในรส
สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ
นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489.
http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158
สัทธรรมลำดับที่ : 159
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
--ภิกษุ ท. !
สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ;
สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.-
อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59
http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑.
http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159
สัทธรรมลำดับที่ : 160
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา,
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าสัญญามีธรรมดาแปรปรวน ทุกข์ ในธรรมอริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 157
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
ชื่อบทธรรม :- สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญามีธรรมดาแปรปรวน
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=อนิจฺจา+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในเสียง
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในกลิ่น
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรส
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในโผฎฐัพพะ
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
--ภิกษุ ท. ! สัญญาในธรรมารมณ์
เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/248/474.
http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=157
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=157
สัทธรรมลำดับที่ : 158
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
ชื่อบทธรรม :- การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของสัญญาเท่ากับการเกิดของทุกข์
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ทุกฺข+สญฺญา
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏของ
สัญญาในรูป
สัญญาในเสียง
สัญญาในกลิ่น
สัญญาในรส
สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
สัญญาในธรรมารมณ์ ใด ๆ
นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/254/489.
http://etipitaka.com/read/thai/17/254/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๘๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=158
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=158
สัทธรรมลำดับที่ : 159
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
ชื่อบทธรรม :- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สัญญา
--ภิกษุ ท. !
สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย สัญญา แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัส นี้แล เป็นรสอร่อย (อัสสาทะ) ของสัญญา ;
สัญญาไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็นโทษ (อาทีนพ) ของสัญญา ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสัญญา ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็นเครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสัญญา.-
อ้างอิงไ ยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59
http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕, ๗๘/๕๙, ๑๒๑.
http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=159
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=159
สัทธรรมลำดับที่ : 160
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
ชื่อบทธรรม :- สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
เนื้อความทั้งหมด :-
--สัญญาขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้ คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
ความดับไม่เหลือแห่งสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสัญญา,
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=160
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=160
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
55 มุมมอง
0 รีวิว