• 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 242 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • #พระธรรมสิงหบุราจารย์ (#หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) #วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี

    ภาพแรก ถ่ายเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ วัดอัมพวัน สิงห์บุรี

    ภาพหลัง เกศาขององค์หลวงพ่อได้รับมาเมื่อ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙

    ๏ ลำดับสมณศักดิ์
    พ.ศ. ๒๕๐๑ เป็น #พระครูปลัดจรัญ ฐิตธมฺโม ฐานานุกรมในพระสุนทรธรรมประพุทธ (หล้า สีลวํโส ป.ธ.๕) วัดกลางมิ่งเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด
    พ.ศ. ๒๕๑๑ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นตรี ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามที่ #พระครูภาวนาวิสุทธิ์
    พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม
    พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอำเภอ ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม
    พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ #พระภาวนาวิสุทธิคุณ
    ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ #พระราชสุทธิญาณมงคล ศรีพหลนราทร ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
    พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ #พระเทพสิงหบุราจารย์ ภาวนาวิธานโกศล วิมลธรรมานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
    พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ #พระธรรมสิงหบุราจารย์ ภาวนาปฏิภาณโกศล โสภณธรรมานุสิฐ พิพัฒน์กิจสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

    ๏ มรณกาล
    พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ถึงแก่มรณภาพ ด้วยอาการอันสงบ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๗ น. สิริอายุได้ ๘๗ ปี พรรษา ๖๗
    #พระธรรมสิงหบุราจารย์ (#หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) #วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี ภาพแรก ถ่ายเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ วัดอัมพวัน สิงห์บุรี ภาพหลัง เกศาขององค์หลวงพ่อได้รับมาเมื่อ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๏ ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๐๑ เป็น #พระครูปลัดจรัญ ฐิตธมฺโม ฐานานุกรมในพระสุนทรธรรมประพุทธ (หล้า สีลวํโส ป.ธ.๕) วัดกลางมิ่งเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๑๑ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นตรี ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามที่ #พระครูภาวนาวิสุทธิ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอำเภอ ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ #พระภาวนาวิสุทธิคุณ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ #พระราชสุทธิญาณมงคล ศรีพหลนราทร ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ #พระเทพสิงหบุราจารย์ ภาวนาวิธานโกศล วิมลธรรมานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ #พระธรรมสิงหบุราจารย์ ภาวนาปฏิภาณโกศล โสภณธรรมานุสิฐ พิพัฒน์กิจสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี ๏ มรณกาล พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ถึงแก่มรณภาพ ด้วยอาการอันสงบ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๗ น. สิริอายุได้ ๘๗ ปี พรรษา ๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 51 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 251 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น.
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ
    “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : พระลาน
    วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๘ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน “วันมหิดล” ประจำปี ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวรมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศาสตราจารย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ยงยุทธ ศิริวัฒนอักษร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช และผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพุ่มดอกไม้ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพุ่มดอกไม้ส่วนพระองค์ ทรงวางพวงมาลัย ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยถวายราชสักการะ ทรงกราบ ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ นันทกร ทองแตง รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและองค์กรสัมพันธ์เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กราบบังคมทูลรายงาน และกราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการจัดงาน ผู้มีอุปการคุณ และผู้ทำคุณประโยชน์ แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานโล่ที่ระลึกและของที่ระลึกตามลำดับ สมควรแก่เวลา จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ “วันมหิดล” ตรงกับวันที่ ๒๔ กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย” ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงอุทิศกำลังพระวรกาย และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนทรัพย์สินส่วนพระองค์เพื่อการแพทย์ไทย ส่งผลให้กิจการแพทย์และสาธารณสุขของไทยเจริญก้าวหน้า อีกทั้งได้ประกาศยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ในการวางรากฐานระบบการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุขของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตราบจนทุกวันนี้ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : พระลาน
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 354 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️ วันศุกร์ที่ 13 กันยายน
    เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค”
    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    🗓️ วันอังคารที่ 24 กันยายน
    วันมหิดล
    ณ โรงพยาบาลศิริราช

    🗓️วันเสาร์ที่ 28 กันยายน
    เสด็จฯ ปัตตานี

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    #หมายกำหนดการ 🗓️ วันศุกร์ที่ 13 กันยายน เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 🗓️ วันอังคารที่ 24 กันยายน วันมหิดล ณ โรงพยาบาลศิริราช 🗓️วันเสาร์ที่ 28 กันยายน เสด็จฯ ปัตตานี #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 416 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗
    เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ

    ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

    🗓️ วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗
    เสด็จฯ ไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล พุทธศักราช ๒๕๖๗

    ณ โรงพยาบาลศิริราช

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. FB : ประชาภักดิ์พิทักษ์สถาบัน
    #หมายกำหนดการ 🗓️ วันศุกร์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗ เสด็จฯ ไปทรงทอดพระเนตรการแสดงบัลเลต์เรื่อง “สวอนเลค” เปิดงานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ ครั้งที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบฯ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 🗓️ วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๗ เสด็จฯ ไปทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล พุทธศักราช ๒๕๖๗ ณ โรงพยาบาลศิริราช #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. FB : ประชาภักดิ์พิทักษ์สถาบัน
    Like
    Love
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 490 มุมมอง 0 รีวิว
  • สะพัด 'ชัยเกษม' นายกรัฐมนตรีคนที่ 31

    หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ จากกรณีนําความกราบบังคมทูลเพื่อโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่นายพิชิตเคยถูกศาลฎีกาสั่งจําคุกเป็นเวลา 6 เดือน ในความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล เป็นบุคคลที่กระทําการอันไม่ซื่อสัตย์สุจริต และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ

    นับเป็นการปิดฉากนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย จากนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์สู่นักการเมือง หลังดำรงตำแหน่งได้เพียง 358 วัน นับตั้งแต่ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 22 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมา

    เมื่อพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล ไม่ปล่อยให้บรรยากาศทางการเมืองตกอยู่ในภาวะสูญญากาศ การหารือระหว่างแกนนำพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมรัฐบาล ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เกิดขึ้นเมื่อเย็นวันที่ 14 ส.ค. โดยมีรายงานว่า พรรคเพื่อไทย จะเสนอชื่อนายชัยเกษม นิติสิริ ซึ่งเป็นหนึ่งในแคนดิเดต เป็นนายกรัฐมนตรี

    ด้านนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร มีคำสั่งให้นัดประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นพิเศษ ในวันศุกร์ที่ 16 ส.ค. 2567 เวลา 10.00 น. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 159 ของรัฐธรรมนูญ โดยก่อนหน้านี้ประธานสภาผู้แทนราษฎร แจ้งต่อที่ประชุมเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ว่า จำนวน สส.ในสภาปัจจุบันเท่าที่มีและปฏิบัติหน้าที่ได้ มีจำนวน 493 คน องค์ประชุมกึ่งหนึ่งคือ 247 คน หลังจากพรรคก้าวไกลถูกยุบและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรค

    ปัจจุบันเสียง สส.ฝ่ายรัฐบาล รวม 315 เสียง ประกอบด้วย พรรคเพื่อไทย 141 เสียง พรรคภูมิใจไทย 71 เสียง พรรคพลังประชารัฐ 40 เสียง พรรครวมไทยสร้างชาติ 36 เสียง พรรคชาติไทยพัฒนา 10 เสียง พรรคประชาชาติ 9 เสียง พรรคชาติพัฒนา 3 เสียง พรรคไทรวมพลัง 2 เสียง พรรคเสรีรวมไทย พรรคพลังสังคมใหม่ และพรรคท้องที่ไทย พรรคละ 1 เสียง หากเป็นไปในทิศทางเดียวกันย่อมได้เสียงสนับสนุนเกินกึ่งหนึ่งไม่ยาก เว้นเสียแต่การเมืองไทยอะไรก็เกิดขึ้นได้

    สำหรับนายชัยเกษม นิติสิริ อายุ 75 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท กฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นอดีตประธาน ก.ล.ต. อดีตอัยการสูงสุด อดีต รมว.ยุติธรรม ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์และทิศทางการเมือง พรรคเพื่อไทย และประธานคณะกรรมการด้านประชาธิปไตย กระบวนการยุติธรรม และความเสมอภาคเท่าเทียม พรรคเพื่อไทย

    ก่อนหน้านี้นายชัยเกษมมีปัญหาเรื่องสุขภาพ ป่วยกะทันหันหลังจากลงพื้นที่หาเสียงช่วยผู้สมัคร ส.ส.น่าน พรรคเพื่อไทย ที่ จ.น่าน เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2566 เมื่อตรวจซีทีสแกนพบว่ามีก้อนเลือดแห้งอยู่ในสมอง เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช แต่นายภูมิธรรม เวชยชัย รักษาการนายกรัฐมนตรี ระบุว่า สุขภาพกลับมาแข็งแรงแล้ว ที่ผ่านมาก็เข้ามาช่วยทำงานกับพรรคมาโดยตลอด

    #Newskit #ชัยเกษม #นายกรัฐมนตรี
    สะพัด 'ชัยเกษม' นายกรัฐมนตรีคนที่ 31 หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ จากกรณีนําความกราบบังคมทูลเพื่อโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่นายพิชิตเคยถูกศาลฎีกาสั่งจําคุกเป็นเวลา 6 เดือน ในความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล เป็นบุคคลที่กระทําการอันไม่ซื่อสัตย์สุจริต และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ นับเป็นการปิดฉากนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย จากนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์สู่นักการเมือง หลังดำรงตำแหน่งได้เพียง 358 วัน นับตั้งแต่ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 22 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมา เมื่อพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล ไม่ปล่อยให้บรรยากาศทางการเมืองตกอยู่ในภาวะสูญญากาศ การหารือระหว่างแกนนำพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมรัฐบาล ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เกิดขึ้นเมื่อเย็นวันที่ 14 ส.ค. โดยมีรายงานว่า พรรคเพื่อไทย จะเสนอชื่อนายชัยเกษม นิติสิริ ซึ่งเป็นหนึ่งในแคนดิเดต เป็นนายกรัฐมนตรี ด้านนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร มีคำสั่งให้นัดประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นพิเศษ ในวันศุกร์ที่ 16 ส.ค. 2567 เวลา 10.00 น. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 159 ของรัฐธรรมนูญ โดยก่อนหน้านี้ประธานสภาผู้แทนราษฎร แจ้งต่อที่ประชุมเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ว่า จำนวน สส.ในสภาปัจจุบันเท่าที่มีและปฏิบัติหน้าที่ได้ มีจำนวน 493 คน องค์ประชุมกึ่งหนึ่งคือ 247 คน หลังจากพรรคก้าวไกลถูกยุบและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรค ปัจจุบันเสียง สส.ฝ่ายรัฐบาล รวม 315 เสียง ประกอบด้วย พรรคเพื่อไทย 141 เสียง พรรคภูมิใจไทย 71 เสียง พรรคพลังประชารัฐ 40 เสียง พรรครวมไทยสร้างชาติ 36 เสียง พรรคชาติไทยพัฒนา 10 เสียง พรรคประชาชาติ 9 เสียง พรรคชาติพัฒนา 3 เสียง พรรคไทรวมพลัง 2 เสียง พรรคเสรีรวมไทย พรรคพลังสังคมใหม่ และพรรคท้องที่ไทย พรรคละ 1 เสียง หากเป็นไปในทิศทางเดียวกันย่อมได้เสียงสนับสนุนเกินกึ่งหนึ่งไม่ยาก เว้นเสียแต่การเมืองไทยอะไรก็เกิดขึ้นได้ สำหรับนายชัยเกษม นิติสิริ อายุ 75 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท กฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นอดีตประธาน ก.ล.ต. อดีตอัยการสูงสุด อดีต รมว.ยุติธรรม ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์และทิศทางการเมือง พรรคเพื่อไทย และประธานคณะกรรมการด้านประชาธิปไตย กระบวนการยุติธรรม และความเสมอภาคเท่าเทียม พรรคเพื่อไทย ก่อนหน้านี้นายชัยเกษมมีปัญหาเรื่องสุขภาพ ป่วยกะทันหันหลังจากลงพื้นที่หาเสียงช่วยผู้สมัคร ส.ส.น่าน พรรคเพื่อไทย ที่ จ.น่าน เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2566 เมื่อตรวจซีทีสแกนพบว่ามีก้อนเลือดแห้งอยู่ในสมอง เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช แต่นายภูมิธรรม เวชยชัย รักษาการนายกรัฐมนตรี ระบุว่า สุขภาพกลับมาแข็งแรงแล้ว ที่ผ่านมาก็เข้ามาช่วยทำงานกับพรรคมาโดยตลอด #Newskit #ชัยเกษม #นายกรัฐมนตรี
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 886 มุมมอง 0 รีวิว
  • สิ้นแล้ว ! เพลิน พรหมแดน ศิลปินแห่งชาติ ปี2555 อดีตนักร้องลูกทุ่งยอดนิยมสมญานาม“ราชาเพลงพูด” สิริอายุ 85ปี

    3 สิงหาคม 2567- นายประสพ เรียงเงิน อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (สวธ.) แจ้งข่าวว่า ได้รับการประสานงานจากคุณชัยธนา พรมธนารัช เลขานุการของนายสมส่วน พรหมสว่าง (เพลิน พรหมแดน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย ลูกทุ่ง) พุทธศักราช 2555 ว่า เพลิน พรหมแดน ถึงแก่กรรม ด้วยอาการหัวใจล้มเหลว ณ โรงพยาบาลศิริราช เวลาประมาณ 11.10 น. โดยเลขานุการของครูเพลิน พรมแดน แจ้งว่า ครูเป็นลมล้มเมื่อช่วง 11.00 น. ที่ผ่านมาของวันนี้ แล้วรีบนำตัวส่งโรงพยาบาลศิริราช เข้าห้องฉุกเฉิน ปั๊มหัวใจยื้อชีวิต จนกระทั่งเสียชีวิต ขณะนี้กำลังรอผลการวินิจฉัยถึงการเสียชีวิตอย่างเป็นทางการของโรงพยาบาลศิริราช และกำลังวางแผนในการนำร่างกลับไปบำเพ็ญกุศลซึ่งยังไม่ได้กำหนดว่าเป็นที่ไหนอย่างไร

    สำหรับศิลปินแห่งชาติที่เสียชีวิตจะได้รับสวัสดิการช่วยเหลือจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ตามกฎกระทรวงกําหนดสาขา คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก และประโยชน์ตอบแทนของศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2555 ดังนี้ เงินช่วยเหลือเมื่อเสียชีวิต จำนวน 20,000 บาท ค่าเครื่องเคารพศพ จำนวน 3,000 บาท เงินค่าจัดพิมพ์หนังสือเผยแพร่ผลงาน จำนวน 150,000 บาท

    ประวัติจากวิกิพีเดียระบุว่า สมส่วน พรหมสว่าง หรือ เพลิน พรหมแดน เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย
    เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ที่บ้านกิโลสอง อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบันแยกออกมาเป็นจังหวัดสระแก้ว ) มีผลงานบันทึกแผ่นเสียงเป็นที่รู้จักในเพลง "ชมทุ่ง", "บุญพี่ที่น้องรัก", "คนเดินดิน", "คนไม่มีดาว", "อย่าลืมเมืองไทย", "ข่าวสดๆ", "อาตี๋สักมังกร", "ให้พี่รวยเสียก่อน" ซึ่งส่วนมากเป็นเพลงพูด จึงได้รับสมญานาม ราชาเพลงพูด และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยลูกทุ่ง) ประจำปี พ.ศ. 2555

    คลิปเพลงชมทุ่ง https://youtu.be/4O93FAGU6cQ?si=KJ0LagZkagCWA5da

    #Thaitimes

    สิ้นแล้ว ! เพลิน พรหมแดน ศิลปินแห่งชาติ ปี2555 อดีตนักร้องลูกทุ่งยอดนิยมสมญานาม“ราชาเพลงพูด” สิริอายุ 85ปี 3 สิงหาคม 2567- นายประสพ เรียงเงิน อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (สวธ.) แจ้งข่าวว่า ได้รับการประสานงานจากคุณชัยธนา พรมธนารัช เลขานุการของนายสมส่วน พรหมสว่าง (เพลิน พรหมแดน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย ลูกทุ่ง) พุทธศักราช 2555 ว่า เพลิน พรหมแดน ถึงแก่กรรม ด้วยอาการหัวใจล้มเหลว ณ โรงพยาบาลศิริราช เวลาประมาณ 11.10 น. โดยเลขานุการของครูเพลิน พรมแดน แจ้งว่า ครูเป็นลมล้มเมื่อช่วง 11.00 น. ที่ผ่านมาของวันนี้ แล้วรีบนำตัวส่งโรงพยาบาลศิริราช เข้าห้องฉุกเฉิน ปั๊มหัวใจยื้อชีวิต จนกระทั่งเสียชีวิต ขณะนี้กำลังรอผลการวินิจฉัยถึงการเสียชีวิตอย่างเป็นทางการของโรงพยาบาลศิริราช และกำลังวางแผนในการนำร่างกลับไปบำเพ็ญกุศลซึ่งยังไม่ได้กำหนดว่าเป็นที่ไหนอย่างไร สำหรับศิลปินแห่งชาติที่เสียชีวิตจะได้รับสวัสดิการช่วยเหลือจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ตามกฎกระทรวงกําหนดสาขา คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก และประโยชน์ตอบแทนของศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2555 ดังนี้ เงินช่วยเหลือเมื่อเสียชีวิต จำนวน 20,000 บาท ค่าเครื่องเคารพศพ จำนวน 3,000 บาท เงินค่าจัดพิมพ์หนังสือเผยแพร่ผลงาน จำนวน 150,000 บาท ประวัติจากวิกิพีเดียระบุว่า สมส่วน พรหมสว่าง หรือ เพลิน พรหมแดน เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ที่บ้านกิโลสอง อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบันแยกออกมาเป็นจังหวัดสระแก้ว ) มีผลงานบันทึกแผ่นเสียงเป็นที่รู้จักในเพลง "ชมทุ่ง", "บุญพี่ที่น้องรัก", "คนเดินดิน", "คนไม่มีดาว", "อย่าลืมเมืองไทย", "ข่าวสดๆ", "อาตี๋สักมังกร", "ให้พี่รวยเสียก่อน" ซึ่งส่วนมากเป็นเพลงพูด จึงได้รับสมญานาม ราชาเพลงพูด และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยลูกทุ่ง) ประจำปี พ.ศ. 2555 คลิปเพลงชมทุ่ง https://youtu.be/4O93FAGU6cQ?si=KJ0LagZkagCWA5da #Thaitimes
    Sad
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 564 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องในวันคล้ายวันก่อตั้งศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช วันที่ 4 สิงหาคม
    ขอเชิญร่วมเฉลิมฉลองด้วยการบริจาคเลือดเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรงพยาบาลศิริราช

    🗓 ในวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2567
    ⏰ เวลา 08.30 - 16.00 น
    🏥 ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช อาคารนวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา ชั้น 3
    ผู้บริจาคเลือด ณ ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช
    🥤พร้อมรับขวดแก้วน้องถุงเลือด จำนวน 1 ขวด
    ● ———————————— ●
    ศิริราช 𝗥𝗲𝗮𝗱𝘆 𝗧𝗼 Share
    เราพร้อมสร้างสังคมที่มีคุณภาพและแบ่งโอกาสให้กับทุกคน
    ● ———————————— ●
    ร่วมบริจาคเลือดและเกล็ดเลือด🅾️🅰️🅱️🆎 ณ ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช อาคารนวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา ชั้น 3
    ❤ ห้องรับบริจาคเลือดเปิดบริการทุกวัน ไม่เว้นวันหยุด วันเสาร์-วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เปิดลงทะเบียนเวลา 08.30 - 16.00 น.
    💛ห้องรับบริจาคเกล็ดเลือดเปิดบริการ วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันอาทิตย์
    เปิดลงทะเบียนเวลา 08.30 - 14.00 น.
    ---------------------------------------------------------------
    🩸จองคิวนัดหมายบริจาคเลือดล่วงหน้า : https://shorturl.asia/a7yKv
    🩸ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการบริจาคเลือด
    : https://drive.google.com/drive/folders/121g7yMKn0Vc2O-QIH3TtYWTexSultiQC?usp=drive_link
    🩸แอดไลน์ OA ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช: https://lin.ee/ZYypmfs
    #โรงพยาบาลศิริราช #ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช #บริจาคเลือด #blooddonation #siriraj #หนึ่งคนให้หลายคนรับ #โรงพยาบาลศิริราช #ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช #บริจาคเลือด #blooddonation #siriraj #หาเลือด #เลือดขาดแคลน #บริจาคเลือดที่ไหน #siriraj #sirirajpr #ศิริราช #ศิริราชWeAreReady #ReadyToShare
    เนื่องในวันคล้ายวันก่อตั้งศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช วันที่ 4 สิงหาคม ขอเชิญร่วมเฉลิมฉลองด้วยการบริจาคเลือดเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรงพยาบาลศิริราช 🗓 ในวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2567 ⏰ เวลา 08.30 - 16.00 น 🏥 ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช อาคารนวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา ชั้น 3 ผู้บริจาคเลือด ณ ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช 🥤พร้อมรับขวดแก้วน้องถุงเลือด จำนวน 1 ขวด ● ———————————— ● ศิริราช 𝗥𝗲𝗮𝗱𝘆 𝗧𝗼 Share เราพร้อมสร้างสังคมที่มีคุณภาพและแบ่งโอกาสให้กับทุกคน ● ———————————— ● ร่วมบริจาคเลือดและเกล็ดเลือด🅾️🅰️🅱️🆎 ณ ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช อาคารนวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา ชั้น 3 ❤ ห้องรับบริจาคเลือดเปิดบริการทุกวัน ไม่เว้นวันหยุด วันเสาร์-วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เปิดลงทะเบียนเวลา 08.30 - 16.00 น. 💛ห้องรับบริจาคเกล็ดเลือดเปิดบริการ วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันอาทิตย์ เปิดลงทะเบียนเวลา 08.30 - 14.00 น. --------------------------------------------------------------- 🩸จองคิวนัดหมายบริจาคเลือดล่วงหน้า : https://shorturl.asia/a7yKv 🩸ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการบริจาคเลือด : https://drive.google.com/drive/folders/121g7yMKn0Vc2O-QIH3TtYWTexSultiQC?usp=drive_link 🩸แอดไลน์ OA ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช: https://lin.ee/ZYypmfs #โรงพยาบาลศิริราช #ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช #บริจาคเลือด #blooddonation #siriraj #หนึ่งคนให้หลายคนรับ #โรงพยาบาลศิริราช #ศูนย์รับบริจาคเลือดศิริราช #บริจาคเลือด #blooddonation #siriraj #หาเลือด #เลือดขาดแคลน #บริจาคเลือดที่ไหน #siriraj #sirirajpr #ศิริราช #ศิริราชWeAreReady #ReadyToShare
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 671 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🇹🇭31.วันที่ 17 เม.ย. 2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ยื่นหนังสือเรื่อง “ขอให้เพิกถอนการอนุญาตวัคซีน mRNA ในเด็ก” ให้กับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธาณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมอนามัย เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และคณะกรรมการยา https://drive.google.com/drive/folders/1M3faHy7ViNiWaa95SVyQa1IFFpa3JjHZ?usp=sharing
    🇹🇭32.วันที่ 20 เม.ย. 2566 นายแพทย์อรรถพร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ร่วมรายการสภากาแฟเวทีชาวบ้าน 200466 ช่อง News1 เกี่ยวกับความจริงของโควิดระลอกใหม่ เพื่อให้คนไทยไม่ต้องตื่นกล้ว และ การยื่นหนังสือถึงกรรมการยา และผู้มีส่วนรับผิดชอบต่าง ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่นำมาฉีดให้คนไทย เกี่ยวกับการระงับการอนุมัติฉุกเฉินของ วัคซีน mRna https://www.youtube.com/live/T0COteCvRRQ?feature=share
    🇹🇭33.วันที่ 20 เม.ย. 2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ และทุกทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์สนับสนุน งบประมาณในการยังชีพและค่าทนาย กรณีถูกเลิกจ้างเพราะไม่ฉีดวัคซีน นายจ้างต้องชดใช้ค่าเสียหาย จนเราได้มีคดีตัวอย่างเป็นเคสแรกของประเทศไทย เพื่อให้คนที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมลุกขึ้นมาต่อสู้เอาผิด และเตือนให้นายจ้างไม่เอาเป็นเยี่ยงอย่าง รายละเอียดอ่านได้ในลิ้งค์นี้ https://drive.google.com/drive/folders/1moLQyREcKJoE0YYLZ6vOA20EGQuLPUSl?usp=share_link
    🇹🇭34.วันที่ 6 มิ.ย.2566 รายการสยามไทยอัปเดต ช่อง 13 สยามไทย สถานีข่าว ได้จัดเสวนาหัวข้อ “ล้างสุขภาพ : ผลข้างเคียงวัคซีนโควิด" โดยมีวิทยากรดังรายนามต่อไปนี้
    •• พระมหาขวัญชัย อคฺคชโย เจ้าอาวาส วัดคีรีวงก์ จ.ชุมพร
    •• นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    •• แพทย์แผนไทย(เวชกรรมไทย) เกริกพันธ์ นิลประกอบกุล ประจำคลินิกแพทย์แผนไทย หทัยนเรศวร์ จ.ราชบุรี / ทีมพอรักษา เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
    >>ผู้ดำเนินรายการ ขจรศักดิ์ เชาว์เจริญรัตน์
    ช่วงที่ 1 https://fb.watch/k-6IORwHvd/
    ช่วงที่ 2 https://fb.watch/k-6NKAbcjN/
    🇹🇭35.คุณอดิเทพ จาวลาห์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Rookon.com ซึ่งเป็นสื่ออิสระ ได้นำข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสนธิสัญญาที่ประเทศไทยได้ลงนามไว้กับทาง WHO โดยรายละเอียดของสนธิสัญญาเป็นไปในทิศทางที่ลดทอน อิสรภาพ เสรีภาพ และอธิปไตยของประชาชนและของประเทศ ทางคุณอดิเทพ และกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์จึงได้มีการรวบรวมรายชื่อผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้ได้อย่างน้อย 50,000 รายชื่อ ก่อนเดือนสิงหาคม เพื่อคัดค้านสนธิสัญญาดังกล่าว
    คลิปเข้าใจ สนธิสัญญา องค์การอนามัยโลก ใน 8 นาที
    https://fb.watch/kRJLJeFkz8/
    ร่วมลงนามหยุดสนธิสัญญา Pandemic Treaty และ IHR (International Health Regulations) ที่นี่ครับ https://www.rookon.com/?p=696
    🇹🇭36.วันที่ 14 ก.ค.2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ได้เชิญ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง นพ.มนตรี เศรษฐบุตร ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา คุณอดิเทพ จาวลาห์ ดร.ศรีวิชัย ศรีสุวรรณ ดร.ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และผู้กล้าหาญมากมายร่วมกันจัดงานเสวนา เรื่อง “คนไทยขอคัดค้านสนธิสัญญาทาส WHO Treaty” เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสนธิสัญญาดังกล่าว และรวมตัวกันมอบรายชื่อคนไทยที่คัดค้านสนธิสัญญา WHO Treaty นี้ โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ภาค คือ
    ภาคเช้า งานสัมนาจัดที่วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี
    ภาคบ่าย ร่วมกันยื่นรายชื่อเพื่อหยุดสนธิสัญญาทาสของ WHO ที่กระทรวงสาธารณสุข
    https://t.me/stopWHOTreatyinthai
    🇹🇭37.วันที่ 13 ก.ย. 2566 กิจกรรมไว้อาลัยแก่ผู้เสียชีวิตจากการฉีดวัคซีนโควิด และต่อต้านความร่วมมือหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่รพ.ศิริราชได้เชิญ ดร.เฟาชี่ร่วมสัมนา กลุ่มได้ยื่นหนังสือ https://drive.google.com/drive/folders/1alpuUfmLh6EG4oLRUGbuDlpCC35EGu_m ถึงคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โดยมีตัวแทนผู้มารับมอบคือ รองผู้อำนวยการรพ.ศิริราช ผศ.นพ.ธารา วงศ์วิริยางกูร ณ ห้องประขุมสิรินธร ตึกเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช
    https://vt.tiktok.com/ZSLwn8Akr/
    https://vt.tiktok.com/ZSLw3WccE/
    https://fb.watch/n0-scBmcCC/?mibextid=Gd9JSz
    https://youtu.be/77ds82Szows?si=SkbEi4GPBqhjbBLc
    https://fb.watch/n36sx6Eqys/
    https://fb.watch/n37Z0FHPth/
    https://t.me/ThaiPitaksithData/3445
    https://t.me/ThaiPitaksithData/5005
    🇹🇭38.วันที่ 17 ต.ค.2566 กลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ นำโดยคุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ยื่นหนังสือถึง คณบดีคณะแพทยศาสตร์จุฬาฯ ⭐️รูปแบบการจัดกิจกรรม รวมกลุ่มสุภาพชน
    ทีมชุดเสื้อขาว แจกใบปลิวแนะนำช่องทางเข้าถึงความรู้ ทางรอด และกิจกรรมไว้อาลัยผู้เสียชีวิตจากยาฉีด
    https://drive.google.com/drive/folders/1lvLuluTfYOYG0F7VXDZ8KOmM2OHNyNgo
    https://t.me/ThaiPitaksithData/3840
    🇹🇭39.วันที่ 18 ต.ค.2566 กลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ นำโดย นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง แพทย์และอาจารย์แพทย์จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์แผนไทย พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และ พท.ปภาน ชัยเกษมวรากุล และประชาชนกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ #ยนหนังสือ ถึงประธานรัฐสภา และ ส.ส สิริลภัส กองตระการ เรื่องข้อเท็จจริงของวัคซีนโควิด และ นำผู้เสียหายจากการฉีดวัคซีนมายืนยันว่าวัคซีนไม่ปลอดภัย ให้ช่วยประสานงานดำเนินการตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อไป
    https://t.me/ThaiPitaksithData/3912
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4123
    https://www.tpchannel.org/news/23148
    https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=108684&filename=The_House_of_Representatives
    https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=108683&filename=The_House_of_Representatives
    🇹🇭40.วันที่ 1 พ.ย.2566 ที่คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ช่วงเช้ากลุ่มฯมาร่วมให้กำลังใจคุณหมอธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผอ.ศูนย์​โรคอุบัติ​ใหม่​ สภากาชาด​ไทย
    ตามที่ท่านได้ออกมา​เผยแพร่ข้อมูล​เกี่ยวกับ​พฤติกรรม​ของ​องค์กร​ Ecohealth​ ​alliance​ ที่มีส่วนสำคัญ​ในการสนับสนุน​ทุนวิจัย​เพื่อ​ ดัดแปลง​เชื้อโคโรนาไวรัสในค้างคาว​ ให้สามารถ​ติดต่อในมนุษย์​ได้​อันเป็น​ที่มาของ​โรคโควิด​ 19​ นั้น​ ทาง​กลุ่ม​ของแสดง​ความชื่นชม​ในความกล้าหาญ​ทางวิชาการ​ของท่าน​ และขอสนับสนุน​ให้​เกิดกระบวนการ​ทางวิทยาศาสตร์​ โดย​เปิดโอกาสให้นำเสนอข้อมูลทางวิชาการ​อย่างรอบด้าน​กับสังคม​ ดังที่มีการดำเนินการ​ในอารยะ​ประเทศ​หลายประเทศ​ทั่วโลก​ อนึ่ง​ทางกลุ่ม​ ขอประนาม​การกระทำใดๆ​ ของหน่วยงาน​ภาครัฐ​ สถาบันการศึกษา​ในความพยายามที่จะให้ร้ายป้ายสี​ ทำลายความน่า​เชื่อถือ​ ของผู้ที่นำเสนอข้อมูล​ ดังที่มีความพยายาม​กระทำกับท่านอาจารย์​อยู่ใน​ปัจจุบัน​ และขอให้องค์กรวิชาการดังกล่าว​ เปิดเวทีวิชาการ​ตามพิสัยที่ควรกระทำของนักวิชาการ​ ทั้งนี้​หากยังมีมาตรการ​ใดๆ​ เพื่อปิดบัง​ เซ็นเซอร์​ ข้อเท็จจริง​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​เรื่อง​นี้​ ทางกลุ่ม​จะดำเนินมาตรการ​ทั้งในทางกฎหมาย​และ​ การสื่อสาร​สังคม​เพื่อยับยั้ง​การกระทำ​ดังกล่าว​ต่อไป ขอแสดงความชื่นชม​และให้กำลังใจ​ให้ท่านอาจารย์​กระทำในสิ่ง​ที่​ถูกต้อง​เพื่อปกป้อง​ผลประโยชน์​ของส่วนรวมต่อไป
    ⭐️งานนี้มีสื่อมวลชนมาทำข่าวจำนวนมาก ซึ่งทางกลุ่มหวังว่าจะช่วยให้สังคมได้รับรู้ข้อมูลที่ถูกปิดกั้นมาตลอด 3 ปี
    https://drive.google.com/drive/folders/1-HmCKOyvE4415in3Lso7tE-QybucpSFv
    https://mgronline.com/qol/detail/9660000098275เหตุผลที่ถูกสั่งสอบสวนเพราะยุติ การเอาไวรัสจากค้างคาวมาศึกษาและการทำลายตัวอย่าง
    ประชาชาติธุรกิจ 30 ต.ค. 2566
    ย้อนกลับไปที่หมอธีระวัฒน์เตือน
    https://www.prachachat.net/general/news-1426137

    ช่วงบ่าย คุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ตัวแทนกลุ่มฯยื่นหนังสือ(ข้อมูลต่างๆ) ถึง รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    โพสของคุณหมออรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=10212579857448066&id=1732997516&sfnsn=mo&mibextid=RUbZ1f
    รวมภาพและคลิปกิจกรรม 1 พ.ย.2566
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4006
    🇹🇭41.วันที่ 11 ธันวาคม 2566 สัมภาษณ์นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในรายการข่าว วิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz หัวข้อ “ผลกระทบของวัคซีนเอ็มอาร์เอ็นเอที่มีต่อมนุษย์ : ก่อให้เกิดโรคร้ายและอันตรายต่อชีวิตจริงหรือไม่” ดำเนินรายการโดย ดร.ธีรารัตน์ พันทวี
    https://curadio.chula.ac.th/Radio-Demand.php?program=202312110730
    🇹🇭42.วันที่ 9 ม.ค. 2567 กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ได้ยื่นหนังสือถึง ท่านประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข ท่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายแพทย์ทศพร เสรีรักษ์
    สำเนาเรียน กรรมาธิการสาธารณสุข และผู้แทนสื่อมวลชนทุกแขนง
    เรื่อง ขอให้มีการสืบสวนหาสาเหตุการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย
    https://www.tpchannel.org/news/24200
    https://www.hfocus.org/content/2024/01/29456
    https://fb.watch/psuPJe2ieg/?mibextid=Nif5oz
    https://youtu.be/m-9_I7UQF94?si=CuO_XYyxeWbyr8Ot
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4400
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4450
    🇹🇭43.วันที่ 15 ม.ค. 2567 แถลงการณ์โดย อาจารย์ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต
    และ ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑาหัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ โรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมคณะ
    https://m.youtube.com/live/NZWNHxOHKyg?si=7a3W8IRItQxI5be2&fbclid=IwAR0FAN18l_BNF-QVRHiQPMmaBeBK6LRoJQezAFlZ3ckNAu2e-c3atVwR0K4_aem_Ac8StbQ-QdDOIyXHSwgqYUD_LPOW5f4yPJZXKG8Da8bb675gJvpBwoxE_KVWB_sT0LCcUkdG5gTsozYMKyeTrpE-
    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/909121587248209/?
    🇹🇭44.วันที่ 25 ม.ค. 2567 ผู้แทนกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร รัฐสภา กำหนดให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับวัคชีน mRNA ในข้อเท็จจริงด้านความโปร่งใสของการนำเข้า ความปลอดภัยและคุณภาพของวัคซีน
    เอกสารการประชุม https://drive.google.com/drive/folders/1ZLJQk7PFLi_AYIhEym2tn7XPQKjNQ-91
    🇹🇭45.วันที่ 29 ม.ค. 2567 จดหมายเปิด​ผนึก​ถึง​รองอธิบดี​ กรมควบคุม​โรค นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรและปลัดกระทรวงสาธารณสุข
    เรื่อง ขอเข้าไปนำเสนอข้อมูลและรับฟังคำชี้แจงข้อสงสัยที่ท่านยังมิได้ชี้แจงในการประชุมของกรรมาธิการ สาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๗ https://t.me/ThaiPitaksithData/4593
    🇹🇭46.วันที่ 1 ก.พ. 2567
    จดหมายเปิดผนึกถึงผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ นายแพทย์นคร เปรมศรี
    เรื่อง ขอเข้าไปนำเสนอข้อมูลและรับฟังคำชี้แจงข้อคำถามที่ท่านยังมิได้ชี้แจงในการประชุมของกรรมาธิการ การสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๗
    https://drive.google.com/drive/folders/18oilc3VwHhayBBdNM8ZMQubk1mOicRMC
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4632
    🇹🇭47.วันที่ 2 ก.พ. 2567 สำนักข่าวผู้จัดการออนไลน์ อ้างอิงบทความพร้อมข้อมูลจาก ‘กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์’ กล่าวถึงผลการศึกษา การวิจัย และสิ่งที่น่าสงสัยในหลาย ๆ ประเด็น เกี่ยวกับยาฉีดที่อ้างว่าเป็นวัคซีนโควิด
    https://mgronline.com/qolฐ/detail/9670000009954
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4647
    🇹🇭48.วันที่ 6 ก.พ. 2567 จดหมายเปิดผนึกถึง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช
    เรื่อง ขอให้ทบทวนการอนุญาตให้ใช้วัคซีนโควิด ๑๙ ชนิด mRNA vaccine
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4686
    🇹🇭49.วันที่ 8 ก.พ. 2567 ในที่สุด กระทรวงสาธารณสุข ก็ออกมายืนยันสิ่งที่ข้องใจ ไฟเซอร์ หักคอให้รัฐบาลไทย เซ็น”สัญญาทาส“ ไม่อนุญาตให้ ตรวจสอบ
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4864
    อ้างติดเงื่อนไข
    สธ.ปฏิเสธเปิดสัญญา“ไฟเซอร์” คนไทยพิทักษ์สิทธิ์จวกยับ น่าเศร้า ขรก.ไทยกลัวบริษัทยา
    https://mgronline.com/qol/detail/9670000014134
    และมีการโครงการจัดเสวนาและหน่วยแพทย์เคลื่อนที่สำหรับภาวะ Long Covid-19 และผลกระทบจากวัคซีน ณ หอศิลป์แห่งวัฒนธรรมกรุงเทพ จาก 9 วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ คุณรสนา โตสิตระกูล, นายแพทย์ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ, นายแพทย์อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง, อาจารย์สันติสุข โสภณสิริ , นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์, ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์จีน นายแพทย์ภาสกิจ วัณนาวิบูล, แพทย์หญิงสุภาพร มีลาภ, แพทย์แผนไทยประยุกต์แวสะมิง แวหมะ, พันเอก นายแพทย์พงศ์ศักดิ์ ตั้งคณา https://youtu.be/KuhFBFDIFPo
    https://rumble.com/v4bmro6-title-health-uncensored-by-dr.atapol-test-draft-1-.html?fbclid=IwAR3KiMhm_Jj--rzxsevf2gWazMP-1SdFHD1XDb0GY3Rw0MMu8-Lk-mGY1g0
    https://t.me/injuryjabthaiseminar
    🇹🇭50.วันที่ 12 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้จัดทำจดหมายเปิดผนึกถึงอธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร
    เรื่อง ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย “สัญญาทาส” ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4841
    🇹🇭51.วันที่ 12 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้จัดทำจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
    นายแพทย์จเด็จ ธรรมธัชอารี
    https://www.facebook.com/share/p/wFViacXLo6JoUFo4/?mibextid=A7sQZp
    เรื่อง ขอให้ชี้แจงข้อสงสัยเกี่ยวกับการจ่ายเงินชดเชยให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนโควิด
    https://healthserv.net/healthupdate/89
    🇹🇭52.วันที่ 13 ก.พ. 2567 หมอธีระวัฒน์ เผยรายงานผู้เชี่ยวชาญสหรัฐฯ ชี้ชัดวัคซีนโควิดส่งผลหัวใจอักเสบ
    https://mgronline.com/qol/detail/9670000013428
    🇹🇭53.วันที่ 14 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงประธานกรรมาธิการการสาธารณสุข นพ.ทศพร เสรีรักษ์
    เรื่อง ขอติดตามการดำเนินการเพื่อหาสาเหตุของการเสียชีวิตอย่างผิดปกติของคนไทยตามที่นำเสนอต่อคณะกรรมาธิการ การสาธารณสุข https://t.me/ThaiPitaksithData/4854
    และช่องข่าว News1 สัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง เอาวัคซีนอะไรมาฉีดคนไทย ทำไมคนป่วยมากขึ้นและตายเพิ่มขึ้น???
    https://www.youtube.com/live/SPtFadcLmzo?si=NQq4S31aLOfGGxQQ
    https://news1live.com/watch/SPtFadcLmzo
    https://www.facebook.com/share/v/5KT7njxNwKvHC95z/?mibextid=oFDknk
    https://mgronline.com/qol/detail/9670000013738
    https://www.thaipithaksith.com/
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4878
    🇹🇭54.วันที่ 15 ก.พ. 2567 กรมควบคุมโรค เชิญ กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ไปให้ข้อมูล นำโดยนพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    เข้าร่วมประชุม เพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการตายเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติ(Excess Death) ของคนไทย และข้อมูลเกี่ยวกับ ความฉ้อฉลของบริษัทยา ที่ขายวัคซีน mRNA ให้รัฐ
    โดยมี นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร
    รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ร่วมรับฟังข้อมูลร่วมกับข้าราชการในสังกัดกรมควบคุมโรคหลายท่าน
    https://dailyclout.io/product/war-room-dailyclout-pfizer-documents-analysis-volunteers-reports-book-paperback/
    และยื่นหนังสือ ถึงอธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร
    เรื่อง ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย “สัญญาทาส” ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์ เลขรับหนังสือ ๑๔๕๙
    https://www.facebook.com/share/p/2MPYJ33WfefmcVig/?mibextid=xfxF2i
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4888
    🇹🇭55.วันที่ 16 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี
    เรื่อง ขอบพระคุณที่กรุณาเปิดเผยความจริงเรื่อง “สัญญาทาส” ที่กรมควบคุมโรคได้ทำไว้กับบริษัทยา
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4874
    🇹🇭56.วันที่ 19 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงรองอธิบดี กรมควบคุมโรค นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร,
    อธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร,ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ นพ.นคร เปรมศรี
    เรื่อง ขอขอบพระคุณที่จัดเวทีเสวนาวิชาการในหัวข้อ การเสียชีวิตอย่างผิดปกติของคนไทย กับ mRNA vaccine
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4914
    🇹🇭57.วันที่ 20 ก.พ.2567 “หมอธีระวัฒน์” เผยข้อมูลการแพทย์ พบสิ่งไม่เคยปรากฎในคน หลังมีวัคซีนโควิด
    https://www.nationtv.tv/health/378940487
    https://www.facebook.com/share/1pjhGQ6FnicMrTnU/?mibextid=WC7FNe
    คุณสรยุทธสัมภาษณ์เรื่องปรากฏการณ์นี้ในรายการเรื่องเล่าเช้านี้ช่องสามอยู่ประมาณครึ่งชั่วโมงซึ่งได้ให้ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนโควิดทั้งการอักเสบของหัวใจและการตันของเส้นเลือดที่เกิดจากก้อนเลือดและก้อนสีขาวตรงนี้อาจจะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งซึ่งไม่มีใครทราบกันดีเพราะมีการเซ็นเซอร์และปกปิดมาตลอดจนกระทั่งปรากฏการณ์นี้เจอในหลายประเทศทั่วไปตั้งแต่เยอรมันอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกาเอง
    🇹🇭58.วันที่ 21 ก.พ. 2567 สัมภาษณ์สด นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
    รายการทัวร์มาลงทางช่องโมโน29
    mRNA ไม่ใช่วัคซีนแต่เป็นยีนเทอราปี gene therapy
    https://www.facebook.com/share/v/ENS2BTLH5oxkuGKD/?mibextid=A7sQZp
    🇹🇭59.วันที่ 22 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช,อธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร
    เรื่อง ขอให้นำส่งเอกสารกำกับยาของวัคซีนโคเมอร์เนตีให้กับกรมควบคุมโรค
    https://www.facebook.com/share/p/htqXEB1QWE3uATDP/?mibextid=xfxF2i
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4962 และอ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เขียนบทความ “เสียดายที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้อ่าน งานวิจัยผลกระทบจากวัคซีนต่อเด็กและเยาวชนไทย”
    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/930738298419871/
    https://t.me/ThaiPitaksithData/5082
    🇹🇭60.วันที่ 23 ก.พ. 2567 จดหมายเปิดผนึกถึงอธิบดีกรมการแพทย์ พญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์
    เรื่อง ขอให้ปรับแก้แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากร สาธารณสุข
    https://www.facebook.com/share/p/pLvCKVbwswSXvBHK/?mibextid=xfxF2i
    https://t.me/ThaiPitaksithData/4963
    🇹🇭31.วันที่ 17 เม.ย. 2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ยื่นหนังสือเรื่อง “ขอให้เพิกถอนการอนุญาตวัคซีน mRNA ในเด็ก” ให้กับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธาณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมอนามัย เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และคณะกรรมการยา https://drive.google.com/drive/folders/1M3faHy7ViNiWaa95SVyQa1IFFpa3JjHZ?usp=sharing 🇹🇭32.วันที่ 20 เม.ย. 2566 นายแพทย์อรรถพร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ร่วมรายการสภากาแฟเวทีชาวบ้าน 200466 ช่อง News1 เกี่ยวกับความจริงของโควิดระลอกใหม่ เพื่อให้คนไทยไม่ต้องตื่นกล้ว และ การยื่นหนังสือถึงกรรมการยา และผู้มีส่วนรับผิดชอบต่าง ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่นำมาฉีดให้คนไทย เกี่ยวกับการระงับการอนุมัติฉุกเฉินของ วัคซีน mRna https://www.youtube.com/live/T0COteCvRRQ?feature=share 🇹🇭33.วันที่ 20 เม.ย. 2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ และทุกทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์สนับสนุน งบประมาณในการยังชีพและค่าทนาย กรณีถูกเลิกจ้างเพราะไม่ฉีดวัคซีน นายจ้างต้องชดใช้ค่าเสียหาย จนเราได้มีคดีตัวอย่างเป็นเคสแรกของประเทศไทย เพื่อให้คนที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมลุกขึ้นมาต่อสู้เอาผิด และเตือนให้นายจ้างไม่เอาเป็นเยี่ยงอย่าง รายละเอียดอ่านได้ในลิ้งค์นี้ https://drive.google.com/drive/folders/1moLQyREcKJoE0YYLZ6vOA20EGQuLPUSl?usp=share_link 🇹🇭34.วันที่ 6 มิ.ย.2566 รายการสยามไทยอัปเดต ช่อง 13 สยามไทย สถานีข่าว ได้จัดเสวนาหัวข้อ “ล้างสุขภาพ : ผลข้างเคียงวัคซีนโควิด" โดยมีวิทยากรดังรายนามต่อไปนี้ •• พระมหาขวัญชัย อคฺคชโย เจ้าอาวาส วัดคีรีวงก์ จ.ชุมพร •• นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย •• แพทย์แผนไทย(เวชกรรมไทย) เกริกพันธ์ นิลประกอบกุล ประจำคลินิกแพทย์แผนไทย หทัยนเรศวร์ จ.ราชบุรี / ทีมพอรักษา เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ >>ผู้ดำเนินรายการ ขจรศักดิ์ เชาว์เจริญรัตน์ ช่วงที่ 1 https://fb.watch/k-6IORwHvd/ ช่วงที่ 2 https://fb.watch/k-6NKAbcjN/ 🇹🇭35.คุณอดิเทพ จาวลาห์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Rookon.com ซึ่งเป็นสื่ออิสระ ได้นำข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสนธิสัญญาที่ประเทศไทยได้ลงนามไว้กับทาง WHO โดยรายละเอียดของสนธิสัญญาเป็นไปในทิศทางที่ลดทอน อิสรภาพ เสรีภาพ และอธิปไตยของประชาชนและของประเทศ ทางคุณอดิเทพ และกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์จึงได้มีการรวบรวมรายชื่อผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้ได้อย่างน้อย 50,000 รายชื่อ ก่อนเดือนสิงหาคม เพื่อคัดค้านสนธิสัญญาดังกล่าว คลิปเข้าใจ สนธิสัญญา องค์การอนามัยโลก ใน 8 นาที https://fb.watch/kRJLJeFkz8/ ร่วมลงนามหยุดสนธิสัญญา Pandemic Treaty และ IHR (International Health Regulations) ที่นี่ครับ https://www.rookon.com/?p=696 🇹🇭36.วันที่ 14 ก.ค.2566 กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ได้เชิญ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง นพ.มนตรี เศรษฐบุตร ทพญ.เพ็ญนภา คณิตจินดา คุณอดิเทพ จาวลาห์ ดร.ศรีวิชัย ศรีสุวรรณ ดร.ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และผู้กล้าหาญมากมายร่วมกันจัดงานเสวนา เรื่อง “คนไทยขอคัดค้านสนธิสัญญาทาส WHO Treaty” เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสนธิสัญญาดังกล่าว และรวมตัวกันมอบรายชื่อคนไทยที่คัดค้านสนธิสัญญา WHO Treaty นี้ โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคเช้า งานสัมนาจัดที่วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี ภาคบ่าย ร่วมกันยื่นรายชื่อเพื่อหยุดสนธิสัญญาทาสของ WHO ที่กระทรวงสาธารณสุข https://t.me/stopWHOTreatyinthai 🇹🇭37.วันที่ 13 ก.ย. 2566 กิจกรรมไว้อาลัยแก่ผู้เสียชีวิตจากการฉีดวัคซีนโควิด และต่อต้านความร่วมมือหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่รพ.ศิริราชได้เชิญ ดร.เฟาชี่ร่วมสัมนา กลุ่มได้ยื่นหนังสือ https://drive.google.com/drive/folders/1alpuUfmLh6EG4oLRUGbuDlpCC35EGu_m ถึงคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โดยมีตัวแทนผู้มารับมอบคือ รองผู้อำนวยการรพ.ศิริราช ผศ.นพ.ธารา วงศ์วิริยางกูร ณ ห้องประขุมสิรินธร ตึกเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช https://vt.tiktok.com/ZSLwn8Akr/ https://vt.tiktok.com/ZSLw3WccE/ https://fb.watch/n0-scBmcCC/?mibextid=Gd9JSz https://youtu.be/77ds82Szows?si=SkbEi4GPBqhjbBLc https://fb.watch/n36sx6Eqys/ https://fb.watch/n37Z0FHPth/ https://t.me/ThaiPitaksithData/3445 https://t.me/ThaiPitaksithData/5005 🇹🇭38.วันที่ 17 ต.ค.2566 กลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ นำโดยคุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ยื่นหนังสือถึง คณบดีคณะแพทยศาสตร์จุฬาฯ ⭐️รูปแบบการจัดกิจกรรม รวมกลุ่มสุภาพชน ทีมชุดเสื้อขาว แจกใบปลิวแนะนำช่องทางเข้าถึงความรู้ ทางรอด และกิจกรรมไว้อาลัยผู้เสียชีวิตจากยาฉีด https://drive.google.com/drive/folders/1lvLuluTfYOYG0F7VXDZ8KOmM2OHNyNgo https://t.me/ThaiPitaksithData/3840 🇹🇭39.วันที่ 18 ต.ค.2566 กลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ นำโดย นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง แพทย์และอาจารย์แพทย์จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์แผนไทย พท.อภิชาติ กาญจนาพงศาเวช และ พท.ปภาน ชัยเกษมวรากุล และประชาชนกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ #ยนหนังสือ ถึงประธานรัฐสภา และ ส.ส สิริลภัส กองตระการ เรื่องข้อเท็จจริงของวัคซีนโควิด และ นำผู้เสียหายจากการฉีดวัคซีนมายืนยันว่าวัคซีนไม่ปลอดภัย ให้ช่วยประสานงานดำเนินการตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อไป https://t.me/ThaiPitaksithData/3912 https://t.me/ThaiPitaksithData/4123 https://www.tpchannel.org/news/23148 https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=108684&filename=The_House_of_Representatives https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=108683&filename=The_House_of_Representatives 🇹🇭40.วันที่ 1 พ.ย.2566 ที่คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงเช้ากลุ่มฯมาร่วมให้กำลังใจคุณหมอธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผอ.ศูนย์​โรคอุบัติ​ใหม่​ สภากาชาด​ไทย ตามที่ท่านได้ออกมา​เผยแพร่ข้อมูล​เกี่ยวกับ​พฤติกรรม​ของ​องค์กร​ Ecohealth​ ​alliance​ ที่มีส่วนสำคัญ​ในการสนับสนุน​ทุนวิจัย​เพื่อ​ ดัดแปลง​เชื้อโคโรนาไวรัสในค้างคาว​ ให้สามารถ​ติดต่อในมนุษย์​ได้​อันเป็น​ที่มาของ​โรคโควิด​ 19​ นั้น​ ทาง​กลุ่ม​ของแสดง​ความชื่นชม​ในความกล้าหาญ​ทางวิชาการ​ของท่าน​ และขอสนับสนุน​ให้​เกิดกระบวนการ​ทางวิทยาศาสตร์​ โดย​เปิดโอกาสให้นำเสนอข้อมูลทางวิชาการ​อย่างรอบด้าน​กับสังคม​ ดังที่มีการดำเนินการ​ในอารยะ​ประเทศ​หลายประเทศ​ทั่วโลก​ อนึ่ง​ทางกลุ่ม​ ขอประนาม​การกระทำใดๆ​ ของหน่วยงาน​ภาครัฐ​ สถาบันการศึกษา​ในความพยายามที่จะให้ร้ายป้ายสี​ ทำลายความน่า​เชื่อถือ​ ของผู้ที่นำเสนอข้อมูล​ ดังที่มีความพยายาม​กระทำกับท่านอาจารย์​อยู่ใน​ปัจจุบัน​ และขอให้องค์กรวิชาการดังกล่าว​ เปิดเวทีวิชาการ​ตามพิสัยที่ควรกระทำของนักวิชาการ​ ทั้งนี้​หากยังมีมาตรการ​ใดๆ​ เพื่อปิดบัง​ เซ็นเซอร์​ ข้อเท็จจริง​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​เรื่อง​นี้​ ทางกลุ่ม​จะดำเนินมาตรการ​ทั้งในทางกฎหมาย​และ​ การสื่อสาร​สังคม​เพื่อยับยั้ง​การกระทำ​ดังกล่าว​ต่อไป ขอแสดงความชื่นชม​และให้กำลังใจ​ให้ท่านอาจารย์​กระทำในสิ่ง​ที่​ถูกต้อง​เพื่อปกป้อง​ผลประโยชน์​ของส่วนรวมต่อไป ⭐️งานนี้มีสื่อมวลชนมาทำข่าวจำนวนมาก ซึ่งทางกลุ่มหวังว่าจะช่วยให้สังคมได้รับรู้ข้อมูลที่ถูกปิดกั้นมาตลอด 3 ปี https://drive.google.com/drive/folders/1-HmCKOyvE4415in3Lso7tE-QybucpSFv https://mgronline.com/qol/detail/9660000098275เหตุผลที่ถูกสั่งสอบสวนเพราะยุติ การเอาไวรัสจากค้างคาวมาศึกษาและการทำลายตัวอย่าง ประชาชาติธุรกิจ 30 ต.ค. 2566 ย้อนกลับไปที่หมอธีระวัฒน์เตือน https://www.prachachat.net/general/news-1426137 ช่วงบ่าย คุณหมอมนตรี เศรษฐบุตร แพทย์จุฬารุ่น 15 อดีต นายกสมาคมศิษย์เก่า แพทย์จุฬา ตัวแทนกลุ่มฯยื่นหนังสือ(ข้อมูลต่างๆ) ถึง รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสของคุณหมออรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=10212579857448066&id=1732997516&sfnsn=mo&mibextid=RUbZ1f รวมภาพและคลิปกิจกรรม 1 พ.ย.2566 https://t.me/ThaiPitaksithData/4006 🇹🇭41.วันที่ 11 ธันวาคม 2566 สัมภาษณ์นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในรายการข่าว วิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz หัวข้อ “ผลกระทบของวัคซีนเอ็มอาร์เอ็นเอที่มีต่อมนุษย์ : ก่อให้เกิดโรคร้ายและอันตรายต่อชีวิตจริงหรือไม่” ดำเนินรายการโดย ดร.ธีรารัตน์ พันทวี https://curadio.chula.ac.th/Radio-Demand.php?program=202312110730 🇹🇭42.วันที่ 9 ม.ค. 2567 กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ได้ยื่นหนังสือถึง ท่านประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข ท่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายแพทย์ทศพร เสรีรักษ์ สำเนาเรียน กรรมาธิการสาธารณสุข และผู้แทนสื่อมวลชนทุกแขนง เรื่อง ขอให้มีการสืบสวนหาสาเหตุการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย https://www.tpchannel.org/news/24200 https://www.hfocus.org/content/2024/01/29456 https://fb.watch/psuPJe2ieg/?mibextid=Nif5oz https://youtu.be/m-9_I7UQF94?si=CuO_XYyxeWbyr8Ot https://t.me/ThaiPitaksithData/4400 https://t.me/ThaiPitaksithData/4450 🇹🇭43.วันที่ 15 ม.ค. 2567 แถลงการณ์โดย อาจารย์ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต และ ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑาหัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ โรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมคณะ https://m.youtube.com/live/NZWNHxOHKyg?si=7a3W8IRItQxI5be2&fbclid=IwAR0FAN18l_BNF-QVRHiQPMmaBeBK6LRoJQezAFlZ3ckNAu2e-c3atVwR0K4_aem_Ac8StbQ-QdDOIyXHSwgqYUD_LPOW5f4yPJZXKG8Da8bb675gJvpBwoxE_KVWB_sT0LCcUkdG5gTsozYMKyeTrpE- https://www.facebook.com/100044511276276/posts/909121587248209/? 🇹🇭44.วันที่ 25 ม.ค. 2567 ผู้แทนกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร รัฐสภา กำหนดให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับวัคชีน mRNA ในข้อเท็จจริงด้านความโปร่งใสของการนำเข้า ความปลอดภัยและคุณภาพของวัคซีน เอกสารการประชุม https://drive.google.com/drive/folders/1ZLJQk7PFLi_AYIhEym2tn7XPQKjNQ-91 🇹🇭45.วันที่ 29 ม.ค. 2567 จดหมายเปิด​ผนึก​ถึง​รองอธิบดี​ กรมควบคุม​โรค นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรและปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ขอเข้าไปนำเสนอข้อมูลและรับฟังคำชี้แจงข้อสงสัยที่ท่านยังมิได้ชี้แจงในการประชุมของกรรมาธิการ สาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๗ https://t.me/ThaiPitaksithData/4593 🇹🇭46.วันที่ 1 ก.พ. 2567 จดหมายเปิดผนึกถึงผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ นายแพทย์นคร เปรมศรี เรื่อง ขอเข้าไปนำเสนอข้อมูลและรับฟังคำชี้แจงข้อคำถามที่ท่านยังมิได้ชี้แจงในการประชุมของกรรมาธิการ การสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๗ https://drive.google.com/drive/folders/18oilc3VwHhayBBdNM8ZMQubk1mOicRMC https://t.me/ThaiPitaksithData/4632 🇹🇭47.วันที่ 2 ก.พ. 2567 สำนักข่าวผู้จัดการออนไลน์ อ้างอิงบทความพร้อมข้อมูลจาก ‘กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์’ กล่าวถึงผลการศึกษา การวิจัย และสิ่งที่น่าสงสัยในหลาย ๆ ประเด็น เกี่ยวกับยาฉีดที่อ้างว่าเป็นวัคซีนโควิด https://mgronline.com/qolฐ/detail/9670000009954 https://t.me/ThaiPitaksithData/4647 🇹🇭48.วันที่ 6 ก.พ. 2567 จดหมายเปิดผนึกถึง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช เรื่อง ขอให้ทบทวนการอนุญาตให้ใช้วัคซีนโควิด ๑๙ ชนิด mRNA vaccine https://t.me/ThaiPitaksithData/4686 🇹🇭49.วันที่ 8 ก.พ. 2567 ในที่สุด กระทรวงสาธารณสุข ก็ออกมายืนยันสิ่งที่ข้องใจ ไฟเซอร์ หักคอให้รัฐบาลไทย เซ็น”สัญญาทาส“ ไม่อนุญาตให้ ตรวจสอบ https://t.me/ThaiPitaksithData/4864 อ้างติดเงื่อนไข สธ.ปฏิเสธเปิดสัญญา“ไฟเซอร์” คนไทยพิทักษ์สิทธิ์จวกยับ น่าเศร้า ขรก.ไทยกลัวบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000014134 และมีการโครงการจัดเสวนาและหน่วยแพทย์เคลื่อนที่สำหรับภาวะ Long Covid-19 และผลกระทบจากวัคซีน ณ หอศิลป์แห่งวัฒนธรรมกรุงเทพ จาก 9 วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ คุณรสนา โตสิตระกูล, นายแพทย์ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ, นายแพทย์อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง, อาจารย์สันติสุข โสภณสิริ , นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์, ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์จีน นายแพทย์ภาสกิจ วัณนาวิบูล, แพทย์หญิงสุภาพร มีลาภ, แพทย์แผนไทยประยุกต์แวสะมิง แวหมะ, พันเอก นายแพทย์พงศ์ศักดิ์ ตั้งคณา https://youtu.be/KuhFBFDIFPo https://rumble.com/v4bmro6-title-health-uncensored-by-dr.atapol-test-draft-1-.html?fbclid=IwAR3KiMhm_Jj--rzxsevf2gWazMP-1SdFHD1XDb0GY3Rw0MMu8-Lk-mGY1g0 https://t.me/injuryjabthaiseminar 🇹🇭50.วันที่ 12 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้จัดทำจดหมายเปิดผนึกถึงอธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร เรื่อง ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย “สัญญาทาส” ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์ https://t.me/ThaiPitaksithData/4841 🇹🇭51.วันที่ 12 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้จัดทำจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นายแพทย์จเด็จ ธรรมธัชอารี https://www.facebook.com/share/p/wFViacXLo6JoUFo4/?mibextid=A7sQZp เรื่อง ขอให้ชี้แจงข้อสงสัยเกี่ยวกับการจ่ายเงินชดเชยให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนโควิด https://healthserv.net/healthupdate/89 🇹🇭52.วันที่ 13 ก.พ. 2567 หมอธีระวัฒน์ เผยรายงานผู้เชี่ยวชาญสหรัฐฯ ชี้ชัดวัคซีนโควิดส่งผลหัวใจอักเสบ https://mgronline.com/qol/detail/9670000013428 🇹🇭53.วันที่ 14 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงประธานกรรมาธิการการสาธารณสุข นพ.ทศพร เสรีรักษ์ เรื่อง ขอติดตามการดำเนินการเพื่อหาสาเหตุของการเสียชีวิตอย่างผิดปกติของคนไทยตามที่นำเสนอต่อคณะกรรมาธิการ การสาธารณสุข https://t.me/ThaiPitaksithData/4854 และช่องข่าว News1 สัมภาษณ์ นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง เอาวัคซีนอะไรมาฉีดคนไทย ทำไมคนป่วยมากขึ้นและตายเพิ่มขึ้น??? https://www.youtube.com/live/SPtFadcLmzo?si=NQq4S31aLOfGGxQQ https://news1live.com/watch/SPtFadcLmzo https://www.facebook.com/share/v/5KT7njxNwKvHC95z/?mibextid=oFDknk https://mgronline.com/qol/detail/9670000013738 https://www.thaipithaksith.com/ https://t.me/ThaiPitaksithData/4878 🇹🇭54.วันที่ 15 ก.พ. 2567 กรมควบคุมโรค เชิญ กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ ไปให้ข้อมูล นำโดยนพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง เข้าร่วมประชุม เพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการตายเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติ(Excess Death) ของคนไทย และข้อมูลเกี่ยวกับ ความฉ้อฉลของบริษัทยา ที่ขายวัคซีน mRNA ให้รัฐ โดยมี นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ร่วมรับฟังข้อมูลร่วมกับข้าราชการในสังกัดกรมควบคุมโรคหลายท่าน https://dailyclout.io/product/war-room-dailyclout-pfizer-documents-analysis-volunteers-reports-book-paperback/ และยื่นหนังสือ ถึงอธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร เรื่อง ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย “สัญญาทาส” ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์ เลขรับหนังสือ ๑๔๕๙ https://www.facebook.com/share/p/2MPYJ33WfefmcVig/?mibextid=xfxF2i https://t.me/ThaiPitaksithData/4888 🇹🇭55.วันที่ 16 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี เรื่อง ขอบพระคุณที่กรุณาเปิดเผยความจริงเรื่อง “สัญญาทาส” ที่กรมควบคุมโรคได้ทำไว้กับบริษัทยา https://t.me/ThaiPitaksithData/4874 🇹🇭56.วันที่ 19 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงรองอธิบดี กรมควบคุมโรค นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, อธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร,ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ นพ.นคร เปรมศรี เรื่อง ขอขอบพระคุณที่จัดเวทีเสวนาวิชาการในหัวข้อ การเสียชีวิตอย่างผิดปกติของคนไทย กับ mRNA vaccine https://t.me/ThaiPitaksithData/4914 🇹🇭57.วันที่ 20 ก.พ.2567 “หมอธีระวัฒน์” เผยข้อมูลการแพทย์ พบสิ่งไม่เคยปรากฎในคน หลังมีวัคซีนโควิด https://www.nationtv.tv/health/378940487 https://www.facebook.com/share/1pjhGQ6FnicMrTnU/?mibextid=WC7FNe คุณสรยุทธสัมภาษณ์เรื่องปรากฏการณ์นี้ในรายการเรื่องเล่าเช้านี้ช่องสามอยู่ประมาณครึ่งชั่วโมงซึ่งได้ให้ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนโควิดทั้งการอักเสบของหัวใจและการตันของเส้นเลือดที่เกิดจากก้อนเลือดและก้อนสีขาวตรงนี้อาจจะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งซึ่งไม่มีใครทราบกันดีเพราะมีการเซ็นเซอร์และปกปิดมาตลอดจนกระทั่งปรากฏการณ์นี้เจอในหลายประเทศทั่วไปตั้งแต่เยอรมันอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกาเอง 🇹🇭58.วันที่ 21 ก.พ. 2567 สัมภาษณ์สด นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง รายการทัวร์มาลงทางช่องโมโน29 mRNA ไม่ใช่วัคซีนแต่เป็นยีนเทอราปี gene therapy https://www.facebook.com/share/v/ENS2BTLH5oxkuGKD/?mibextid=A7sQZp 🇹🇭59.วันที่ 22 ก.พ. 2567 กลุ่มฯได้ทำจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช,อธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ธงชัย กีรติหัตถยากร เรื่อง ขอให้นำส่งเอกสารกำกับยาของวัคซีนโคเมอร์เนตีให้กับกรมควบคุมโรค https://www.facebook.com/share/p/htqXEB1QWE3uATDP/?mibextid=xfxF2i https://t.me/ThaiPitaksithData/4962 และอ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เขียนบทความ “เสียดายที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้อ่าน งานวิจัยผลกระทบจากวัคซีนต่อเด็กและเยาวชนไทย” https://www.facebook.com/100044511276276/posts/930738298419871/ https://t.me/ThaiPitaksithData/5082 🇹🇭60.วันที่ 23 ก.พ. 2567 จดหมายเปิดผนึกถึงอธิบดีกรมการแพทย์ พญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์ เรื่อง ขอให้ปรับแก้แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากร สาธารณสุข https://www.facebook.com/share/p/pLvCKVbwswSXvBHK/?mibextid=xfxF2i https://t.me/ThaiPitaksithData/4963
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3344 มุมมอง 0 รีวิว