• "บิ๊กเต่า" เผย สีกากอล์ฟเลือกเหยื่อ "คนรวย-เข้าถึงง่าย" จ่อโดนคดีกรรโชกทรัพย์ ย้ำพระรูปไหนรู้ตัวเสพเมถุนให้สึกเอง!
    https://www.thai-tai.tv/news/20160/
    .
    #รับสร้างบ้าน #รับเหมาก่อสร้าง #รับเหมาสร้างบ้าน #ออกแบบบ้าน #สร้างบ้านหรู #แต่งบ้าน #บ้านสวย #บ้านคุณภาพ #งานฐานราก #งานโครงสร้างอาคาร #งานสถาปัตยกรรม #งานระบบ #งานถนนและสุขาภิบาล #งานสวนและส่วนกลาง #งานสวน #ระบบระบายน้ำ #ประกอบอาคาร #2499constructionanddevelopment
    "บิ๊กเต่า" เผย สีกากอล์ฟเลือกเหยื่อ "คนรวย-เข้าถึงง่าย" จ่อโดนคดีกรรโชกทรัพย์ ย้ำพระรูปไหนรู้ตัวเสพเมถุนให้สึกเอง! https://www.thai-tai.tv/news/20160/ . #รับสร้างบ้าน #รับเหมาก่อสร้าง #รับเหมาสร้างบ้าน #ออกแบบบ้าน #สร้างบ้านหรู #แต่งบ้าน #บ้านสวย #บ้านคุณภาพ #งานฐานราก #งานโครงสร้างอาคาร #งานสถาปัตยกรรม #งานระบบ #งานถนนและสุขาภิบาล #งานสวนและส่วนกลาง #งานสวน #ระบบระบายน้ำ #ประกอบอาคาร #2499constructionanddevelopment
    0 Comments 0 Shares 136 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    สัทธรรมลำดับที่ : 678
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    ๑--พราหมณ์ ! ในกรณีนี้
    ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=พฺรหฺมจารี+ปฏิชานาตีติ
    เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล
    แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม.
    เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๒--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และ
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม.
    เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ...
    ๓--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม.
    แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๔--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝาก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๕--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม
    แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๖--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและ
    ทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม
    แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.
    ...
    ๗--... บางคน ...
    ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม
    ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอก กับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการสบตาต่อตา กับมาตุคาม
    ไม่ยินดีในการฟังเสียง ของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และ
    ทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึกปลื้มใจด้วยก็ตาม
    แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า
    “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง”
    ดังนี้.
    เรากล่าวว่า
    ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/58/?keywords=เมถุนสญฺโญ

    (การปฏิบัติ ๗ ประการนี้ เรียกโดยทั่วไปว่า เมถุนสังโยค
    แต่เพราะมีลักษณะเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จึงนำมาใส่ไว้ในหมวดนี้
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/50-51/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๕๕-๕๖/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=678
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค สัทธรรมลำดับที่ : 678 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค ๑--พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=พฺรหฺมจารี+ปฏิชานาตีติ เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๒--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และ ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๓--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๔--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝาก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๕--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๖--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและ ทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ๗--... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอก กับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตา กับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียง ของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และ ทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึกปลื้มใจด้วยก็ตาม แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง” ดังนี้. เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน.- http://etipitaka.com/read/pali/23/58/?keywords=เมถุนสญฺโญ (การปฏิบัติ ๗ ประการนี้ เรียกโดยทั่วไปว่า เมถุนสังโยค แต่เพราะมีลักษณะเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จึงนำมาใส่ไว้ในหมวดนี้ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/50-51/47. http://etipitaka.com/read/thai/23/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๕๕-๕๖/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=678 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=678 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค
    -(อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา). ลักษณะอีกปริยายหนึ่งแห่งกามสุขัลลิกานุโยค พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ ผู้ที่เรียกตนเองว่าสมณะหรือพราหมณ์บางคน ปฏิญญาตัวว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ เขาไม่เสพเมถุนกับมาตุคามก็จริงแล แต่ว่าเขายินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น การอาบ การถูตัว ที่ได้รับจากมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม และไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม แต่เขายังพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. เขาปลาบปลื้มยินดีด้วยการบำเรอเช่นนั้นจากมาตุคาม. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม. แต่เขายังสบตาต่อตากับมาตุคาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการทำเช่นนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบการเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม แต่เขายังชอบเสียงของมาตุคาม ที่หัวเราะอยู่ก็ดี พูดจาอยู่ก็ดี ขับร้องอยู่ก็ดี ร้องไห้อยู่ก็ดี ข้างนอกฝา ก็ตาม นอกกำแพงก็ตาม แล้วปลาบปลื้มยินดีด้วยการฟังเสียงนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ทั้งไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคาม แต่เขาชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แล้วก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการเฝ้าระลึกเช่นนั้น. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติ พรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามและทั้งไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่า ที่เคยหัวเราะ เล้าโลม เล่นหัวกันกับมาตุคาม แต่เขาเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ ได้รับการบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ก็ปลาบปลื้มยินดีด้วยการได้เห็นการกระทำเช่นนั้น .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ... ... บางคน ... ไม่เสพเมถุนกับมาตุคาม ไม่ยินดีการลูบคลำ การนวดฟั้น เป็นต้น จากมาตุคาม ไม่ยินดีในการพูดจาซิกซี้เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคาม ไม่ยินดีในการสบตาต่อตากับมาตุคาม ไม่ยินดีในการฟังเสียงของมาตุคามไม่ชอบตามระลึกถึงเรื่องเก่าที่เคยหัวเราะเล้าโลมเล่นหัวกับมาตุคาม และทั้งไม่ยินดีที่จะเห็นพวกคหบดีหรือบุตรคหบดีอิ่มเอิบด้วยกามคุณ แล้วตนพลอยนึก ปลื้มใจด้วยก็ตาม แต่เขาประพฤติพรหมจรรย์โดยตั้งความปรารถนาเพื่อไปเป็นเทพยดาพวกใดพวกหนึ่ง ด้วยอธิฐานว่า “ด้วยศีล ด้วยวัตร ด้วยตบะ หรือด้วยพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นเทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง” ดังนี้. .... เรากล่าวว่า ผู้นี้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังประกอบเกี่ยวพันด้วยเมถุน. ...
    0 Comments 0 Shares 123 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิถีแห่งจิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม
    สัทธรรมลำดับที่ : 646
    ชื่อบทธรรม :- จิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=646
    เนื้อรวามทั้งหมด :-
    --จิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ $มีอมตะเป็นปริโยสาน.
    +--เจ็ดประการ อย่างไรเล่า ? คือ
    ๑. อสุภสัญญา
    ๒. มรณสัญญา
    ๓. อาหาเรปฏิกูลสัญญา
    ๔. สัพพโลเกอนภิรตสัญญา
    ๕. อนิจจสัญญา
    ๖. อนิจเจทุกขสัญญา
    ๗. ทุกเขอนัตตสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ
    ๑. มีจิตอบรมด้วย #อสุภสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก
    จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ
    ไม่ยื่นเข้าไปในการดื่มด่ำ อยู่ในเมถุนธรรม
    แต่ความวางเฉยหรือว่าความรู้สึกว่าปฏิกูล ดำรงอยู่ในจิต ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/48/?keywords=เมถุน+ปฏิกุ
    เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ
    ย่อมหด ย่อมงอ ไม่เหยียดออก ฉันใดก็ฉันนั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอสุภสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก
    แต่จิตยังไหลเข้าไปในความดื่มด่ำอยู่ในเมถุนธรรม
    หรือความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลยังดำรง อยู่ในจิตแล้วไซร้ ;
    +--ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า
    “อสุภสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว
    คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี
    เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา”
    ดังนี้.
    เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า
    “อสุภสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่
    หยั่งลงสู่อมตะ #มีอมตะเป็นปริโยสาน”
    ดังนี้.

    [ หมายเหตุ
    ๒. ในกรณีแห่ง #มรณสัญญา
    อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากความยินดีในชีวิต (ชีวิตนิกนฺติ) ก็ดี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/49/?keywords=ชีวิตนิกนฺติ

    ๓. ในกรณีแห่ง #อาหาเรปฏิกูลสัญญา
    อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากตัณหาในรส(รสตณฺหา) ก็ดี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/50/?keywords=รสตณฺหา

    ๔. ในกรณีแห่ง #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา
    อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากความเป็นจิตติดอยู่ในโลก (โลกจิตฺเต) ก็ดี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/51/?keywords=โลกจิตฺเต

    ๕. ในกรณีแห่ง #อนิจจสัญญา
    อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ (ลาภสกฺการสิโลก) ก็ดี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/52/?keywords=ลาภสกฺก
    ทั้งสี่สัญญานี้
    ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับ &อสุภสัญญา
    ซึ่งผู้ศึกษาสามารถทำการเปรียบเทียบดูเองได้

    ต่อไปนี้ได้ตรัสถึง &อนิจเจทุกขสัญญา
    อันมีระเบียบแห่งถ้อยคำแปลกออกไปดังต่อไปนี้ :- ]

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย
    ๖. #อนิจเจทุกขสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก
    สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า (ติพฺพา ภยสญฺญา)
    http://etipitaka.com/read/pali/23/54/?keywords=ติพฺพา+ภยสญฺญา
    ย่อมปรากฏขึ้นในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน
    ในความทอดทิ้งการงาน ความประมาท ความไม่ประกอบความเพียร และ
    ในความสะเพร่า อย่างน่ากลัวเปรียบเสมือนมีเพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า ฉะนั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก
    แต่สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า
    ในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน ในความทอดทิ้งการงาน
    ความประมาท ความไม่ประกอบ ความเพียร และในความสะเพร่า
    ก็ไม่ปรากฏขึ้นอย่างน่ากลัวเสมือนหนึ่งมี เพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า แล้วไซร ้;
    +--ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า
    “อนิจเจทุกขสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว
    คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี
    เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา”
    ดังนี้.
    เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า
    “อนิจเจทุกขสัญญา อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย

    ๗. #ทุกเขอนัตตสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก
    ใจย่อมปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา (อหํการมมํการมาน) ทั้งในกาย
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=อหํการมมํการมาน
    อันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอกด้วย
    เป็นใจที่ก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา (มานะ ๓ ชั้น) เป็นใจสงบระงับ พ้นพิเศษแล้วด้วยดี.
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย ทุกเขอนัตตสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก
    แต่ใจยังไม่ปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา
    ทั้งในกายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอก
    ไม่เป็นใจก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา ไม่สงบระงับพ้นพิเศษแล้วด้วยดีแล้วไซร้ ;
    ภิกษุนั้น พึงทราบเถิดว่า
    “ทุกเขอนัตตสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว
    คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี
    เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้.
    เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้ อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า
    “ทุกเขอนัตตสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน, แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=อมตปริโยสาน

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สัญญา เหล่านี้
    แม้จะนำไปสู่อมตะด้วยกันทั้งนั้นแต่ก็มีลักษณะต่างๆ กัน
    พึงเลือกเฟ้นเจริญให้ถูกต้องเหมาะสมแก่กรณีของตนๆ เถิด).

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/45/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/45/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๔๘/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/48/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=646
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=646
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าวิถีแห่งจิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม สัทธรรมลำดับที่ : 646 ชื่อบทธรรม :- จิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=646 เนื้อรวามทั้งหมด :- --จิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม --ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ $มีอมตะเป็นปริโยสาน. +--เจ็ดประการ อย่างไรเล่า ? คือ ๑. อสุภสัญญา ๒. มรณสัญญา ๓. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๔. สัพพโลเกอนภิรตสัญญา ๕. อนิจจสัญญา ๖. อนิจเจทุกขสัญญา ๗. ทุกเขอนัตตสัญญา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ ๑. มีจิตอบรมด้วย #อสุภสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ ไม่ยื่นเข้าไปในการดื่มด่ำ อยู่ในเมถุนธรรม แต่ความวางเฉยหรือว่าความรู้สึกว่าปฏิกูล ดำรงอยู่ในจิต ; http://etipitaka.com/read/pali/23/48/?keywords=เมถุน+ปฏิกุ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหด ย่อมงอ ไม่เหยียดออก ฉันใดก็ฉันนั้น. +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอสุภสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่จิตยังไหลเข้าไปในความดื่มด่ำอยู่ในเมถุนธรรม หรือความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลยังดำรง อยู่ในจิตแล้วไซร้ ; +--ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า “อสุภสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “อสุภสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ #มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. [ หมายเหตุ ๒. ในกรณีแห่ง #มรณสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากความยินดีในชีวิต (ชีวิตนิกนฺติ) ก็ดี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/49/?keywords=ชีวิตนิกนฺติ ๓. ในกรณีแห่ง #อาหาเรปฏิกูลสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากตัณหาในรส(รสตณฺหา) ก็ดี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/50/?keywords=รสตณฺหา ๔. ในกรณีแห่ง #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากความเป็นจิตติดอยู่ในโลก (โลกจิตฺเต) ก็ดี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/51/?keywords=โลกจิตฺเต ๕. ในกรณีแห่ง #อนิจจสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับ จากลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ (ลาภสกฺการสิโลก) ก็ดี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/52/?keywords=ลาภสกฺก ทั้งสี่สัญญานี้ ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับ &อสุภสัญญา ซึ่งผู้ศึกษาสามารถทำการเปรียบเทียบดูเองได้ ต่อไปนี้ได้ตรัสถึง &อนิจเจทุกขสัญญา อันมีระเบียบแห่งถ้อยคำแปลกออกไปดังต่อไปนี้ :- ] --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย ๖. #อนิจเจทุกขสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า (ติพฺพา ภยสญฺญา) http://etipitaka.com/read/pali/23/54/?keywords=ติพฺพา+ภยสญฺญา ย่อมปรากฏขึ้นในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน ในความทอดทิ้งการงาน ความประมาท ความไม่ประกอบความเพียร และ ในความสะเพร่า อย่างน่ากลัวเปรียบเสมือนมีเพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า ฉะนั้น. +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า ในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน ในความทอดทิ้งการงาน ความประมาท ความไม่ประกอบ ความเพียร และในความสะเพร่า ก็ไม่ปรากฏขึ้นอย่างน่ากลัวเสมือนหนึ่งมี เพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า แล้วไซร ้; +--ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า “อนิจเจทุกขสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “อนิจเจทุกขสัญญา อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย ๗. #ทุกเขอนัตตสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก ใจย่อมปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา (อหํการมมํการมาน) ทั้งในกาย http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=อหํการมมํการมาน อันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอกด้วย เป็นใจที่ก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา (มานะ ๓ ชั้น) เป็นใจสงบระงับ พ้นพิเศษแล้วด้วยดี. +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย ทุกเขอนัตตสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่ใจยังไม่ปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา ทั้งในกายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอก ไม่เป็นใจก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา ไม่สงบระงับพ้นพิเศษแล้วด้วยดีแล้วไซร้ ; ภิกษุนั้น พึงทราบเถิดว่า “ทุกเขอนัตตสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้ อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “ทุกเขอนัตตสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน, แล.- http://etipitaka.com/read/pali/23/55/?keywords=อมตปริโยสาน (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สัญญา เหล่านี้ แม้จะนำไปสู่อมตะด้วยกันทั้งนั้นแต่ก็มีลักษณะต่างๆ กัน พึงเลือกเฟ้นเจริญให้ถูกต้องเหมาะสมแก่กรณีของตนๆ เถิด). #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/45/46. http://etipitaka.com/read/thai/23/45/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๔๘/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/23/48/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=646 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=646 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ข้อความในสูตรอื่น (๑๘/๒๗๒-๒๗๓/๔๐๑-๔๐๒.) แทนที่จะทรงเรียกอาการเช่นนี้แห่ง สังขารว่า “ความดับ” (นิโรโธ) แต่ไปทรงเรียกเสียว่า “ความเข้าไปสงบ” (วูปสโม) ก็มีและทรงเรียกว่า “ความสงบรำงับเฉพาะ” (ปฏิปฺปสฺสทฺธิ) ก็มี].
    -[ข้อความในสูตรอื่น (๑๘/๒๗๒-๒๗๓/๔๐๑-๔๐๒.) แทนที่จะทรงเรียกอาการเช่นนี้แห่ง สังขารว่า “ความดับ” (นิโรโธ) แต่ไปทรงเรียกเสียว่า “ความเข้าไปสงบ” (วูปสโม) ก็มีและทรงเรียกว่า “ความสงบรำงับเฉพาะ” (ปฏิปฺปสฺสทฺธิ) ก็มี]. จิตหยั่งลงสู่อมตะเมื่อประกอบด้วยสัญญาอันเหมาะสม ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน. เจ็ดประการ อย่างไรเล่า ? คือ อสุภสัญญา มรณสัญญา อาหาเรปฏิกูลสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญา อนิจจสัญญา อนิจเจทุกขสัญญา ทุกเขอนัตตสัญญา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย อสุภสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ ไม่ยื่นเข้าไปในการดื่มด่ำ อยู่ในเมถุนธรรม แต่ความวางเฉยหรือว่าความรู้สึกว่าปฏิกูล ดำรงอยู่ในจิต ; เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหด ย่อมงอ ไม่เหยียดออก ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอสุภสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่จิตยังไหลเข้าไปในความดื่มด่ำอยู่ในเมถุนธรรม หรือความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลยังดำรง อยู่ในจิตแล้วไซร้ ; ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า “อสุภสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้วคุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้. .... ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “อสุภสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. [ในกรณีแห่ง มรณสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับจากความยินดีในชีวิต (ชีวิตนิกนฺติ) ก็ดี ; ในกรณีแห่ง อาหาเรปฏิกูลสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับจากตัณหาในรส(รสตณฺหา) ก็ดี ; ในกรณีแห่ง สัพพโลเกอนภิรตสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับจากความเป็นจิตติดอยู่ในโลก (โลกจิตฺต) ก็ดี ; ในกรณีแห่ง อนิจจสัญญา อันเป็นเครื่องทำจิตให้ถอยกลับจากลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ (ลาภสกฺการสิโลก) ก็ดี ; ทั้งสี่สัญญานี้ ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับ อสุภสัญญา ซึ่งผู้ศึกษาสามารถทำการเปรียบเทียบดูเองได้ ต่อไปนี้ได้ตรัสถึง อนิจเจทุกขสัญญา อันมีระเบียบแห่งถ้อยคำแปลกออกไปดังต่อไปนี้ :-] ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย อนิจเจทุกขสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า (ติพฺพาภยสญฺญา) ย่อมปรากฏขึ้นในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน ในความทอดทิ้งการงาน ความประมาท ความไม่ประกอบความเพียร และในความสะเพร่า อย่างน่ากลัวเปรียบเสมือนมีเพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า ฉะนั้น. ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่สัญญาว่าความน่ากลัวอันแรงกล้า ในความไม่ขยัน ในความเกียจคร้าน ในความทอดทิ้งการงาน ความประมาท ความไม่ประกอบ ความเพียร และในความสะเพร่า ก็ไม่ปรากฏขึ้นอย่างน่ากลัวเสมือนหนึ่งมีเพชฌฆาตเงื้อดาบอยู่ตรงหน้า แล้วไซร ้; ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า “อนิจเจทุกขสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรมเสียแล้ว คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้ อยู่ดังนี้. ....ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “อนิจเจทุกขสัญญา อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วย ทุกเขอนัตตสัญญา อยู่เป็นอย่างมาก ใจย่อมปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา (อหงฺการมมงฺการมาน) ทั้งในกาย อันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอกด้วย เป็นใจที่ก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา (มานะ ๓ ชั้น) เป็นใจสงบระงับ พ้นพิเศษแล้วด้วยดี. ภิกษุ ท. ! ถ้าเมื่อภิกษุมีจิตอบรมด้วยทุกเขอนัตตสัญญาอยู่เป็นอย่างมาก แต่ใจยังไม่ปราศจากมานะว่าเราว่าของเรา ทั้งในกายอันประกอบด้วยวิญญาณนี้และในนิมิตทั้งหลายในภายนอก ไม่เป็นใจก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิธา ไม่สงบระงับพ้นพิเศษแล้วด้วยดีแล้วไซร้ ; ภิกษุนั้นพึงทราบเถิดว่า “ทุกเขอนัตตสัญญาเป็นอันเรามิได้อบรม เสียแล้ว คุณวิเศษที่ยิ่งกว่าแต่ก่อนของเราไม่มี เรายังมิได้บรรลุผลแห่งภาวนา” ดังนี้. เธอเป็นผู้มีสัมปชัญญะในเรื่องนี้อยู่ดังนี้. .... ภิกษุ ท. ! เรามีเหตุผลในข้อนี้ อยู่ดังนี้ จึงกล่าวว่า “ทุกเขอนัตตสัญญาอันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญาเจ็ดประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นปริโยสาน, แล.
    0 Comments 0 Shares 289 Views 0 Reviews
  • #จับโป๊ะ...#คนตื้นธรรม : #รู้พุทธแบบตื้นๆ
    มีผู้ส่งคลิปคนตื้นธรรม...ไปบรรยายธรรมะแก่กลุ่มคนใกล้วันมาฆะบูชา...มาให้โดยกล่าวถึงโอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสไว้ในวันมาฆะบูชาว่า คือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน...สิ่งที่เขาพูดถูกต้องหรือไม่...สามารถจับโป๊ะว่าคนๆนี้มีความรู้เรื่องพระพุทธศาสนาแบบพื้นฐานง่ายๆเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่ มาชำแหละกันดู
    #โอวาทปาฏิโมกข์กับพระปาฏิโมกข์ต่างกันอย่างไร
    ปาฏิโมกข์ คือ มาจาก ๒ คำ คือ ปาติ(ฏิ) = เฉพาะ หรือ รักษา กับ โมกฺข แปลว่า หลุดพ้น มีความหมายว่า หลุดพ้นโดยเฉพาะกับธรรมที่รักษาความหลุดพ้น ปาฏิโมกข์มี ๒ ประเภทคือ
    ๑.#โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักการใหญ่หรือหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องตรัสไว้หลังตรัสรู้ จึงมีคำสรุปเป็นพระบาลีว่า "เอตํ พุทฺธานสาสนํ นี่คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" สำหรับพระโคตมะพระพุทธเจ้าของเราตรัสไว้ในวันมาฆะบูชานี้แล
    ๒. #อาณาปาฏิโมกข์ คือ ศีลใหญ่หรือศีลหลักของภิกษุและภิกษุณี ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังมีพระช่วงหลังประพฤติไม่ดีไม่งาม เกิดขึ้นในคณะสงฆ์ เพื่อรักษาคณะสงฆ์ และเพื่อรักษาศรัทธาจากพุทธบริษัทกลุ่มอื่น จึงบัญญัติไว้...ตอนหลังกลายเป็นสังฆกรรมที่พระสวดทุกกึ่งเดือน.. เพื่อทบทวนและสังวรระวังในศีลของตน.
    #ตื้นธรรม : #บอกโอวาทปาฏิโมกข์คือปาฏิโมกข์ศีลพระ
    คนตื้นธรรมคราวนี้ถูกจับโป๊ะชัดๆจากผู้รู้ว่า...มีความรู้เรื่องพุทธน้อยมาก...โดยการอธิบายว่า โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสในวันมาฆะคือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน ผิดแบบไม่น่าให้อภัย ใครฟังหรืออ่านเรื่องนี้แล้วเฉยๆปล่อยผ่านก็แสดงว่าไม่ค่อยรู้เรื่องพระพุทธศาสนาเช่นกัน
    #โอวาทปาฏิโมกข์กับปาติโมกข์พระ : #เทียบได้จากไทม์ไลน์
    โอวาทปาฏิโมกข์ที่ตรัสกับพระอรหันต์ เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๑,๒๕๐ รูป พระพุทธเจ้าตรัสในตอนพรรษาที่ ๑ หลังตรัสรู้ เมื่อขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ แล้วเผยแผ่ธรรมจนมีพระสาวกมากกว่า ๑,๒๕๐ รูปในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๓
    (ประมาณ ๙ เดือน)
    ส่วนปาติโมกข์ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังพระสุทินเสพเมถุนธรรมกับภริยาเก่าเพื่อสืบสกุล พระอรรถกถาจารย์วินิจฉัยว่าหลังพรรษาที่ ๒๐ ไปแล้วก็พิสูจน์ได้ว่า ปาติโมกข์ในวันมาฆะกับปาฏิโมกข์ศีลพระ...ไทม์ไลน์..ต่างกันแน่นอน เขามั่วนิ่ม...ชัวร์
    #ปาฏิโมกข์ทั้ง ๒ : #เนื้อหาก็แตกต่าง
    โอวาทปาฏิโมกข์ในวันมาฆะ คือ #หัวใจของพระพุทธศาสนา มี
    -#อุดมการณ์ ๓ คือ
    ขันติ นิพพาน การไม่เบียดเบียน
    -#หลักการ ๓
    ละชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์
    - #วิธีการ
    ไม่พูดร้าย ไม่ทำร้าย ยึดในหลักปาฏิโมกข์ ใช้ชีวิตพอดี เน้นความสงบ หมั่นฝึกสมาธิภาวนา
    นี่คือสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์
    ส่วนพระปาฏิโมกข์คือศีลหลักพระที่พระต้องรักษามี ๒๒๗ ข้อ แบ่งไปตามนี้ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ อธิกรณสมถะ ๗ ล้วนเป็นศีลของพระแทบทั้งสิ้น มันคนละอย่างกันเลย
    คนตื้นธรรมรู้ธรรมะแบบงูๆปลาๆ เอาหางมาชนหัว มั่วนิ่มไปหมด อาศัยว่าพูดเร็ว พูดมัน และคนไม่ค่อยจะรู้เรื่องพระเรื่องเจ้ากัน.. มันจึงดำน้ำโผล่มาบอกธรรมะ..ทั้งๆที่วิญญูชนผู้รู้เขาติเตียน แต่กลับด่าสวนกลับ...ไม่เคยยอมรับว่าตนสอนผิดสอนพลาดยังไง...แม้เขาจะได้อะไรบ้าง....แต่อนาคตของเขาไม่แน่นอน...เพราะเล่นกับของสูงระดับอ้างพระบรมศาสดาบ่อยๆ...หวังจะชักชวนจูงผู้ศรัทธาที่มีความรู้ไม่มาก...งานนี้คุณกำลังเล่นไฟ...ไฟนี้ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่คือไฟนรกโลกันต์...ทานที่เขายกมือท่วมหัวถวายด้วยศรัทธาถ้าไม่ดีจริง. อย่าว่าแต่ชาติหน้าเลย...ชาตินี้แหละ...ดูไป.
    ด้วยจิตคารวะ
    ดร.มงคล นาฏกระสูตร
    มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    #จับโป๊ะ...#คนตื้นธรรม : #รู้พุทธแบบตื้นๆ มีผู้ส่งคลิปคนตื้นธรรม...ไปบรรยายธรรมะแก่กลุ่มคนใกล้วันมาฆะบูชา...มาให้โดยกล่าวถึงโอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสไว้ในวันมาฆะบูชาว่า คือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน...สิ่งที่เขาพูดถูกต้องหรือไม่...สามารถจับโป๊ะว่าคนๆนี้มีความรู้เรื่องพระพุทธศาสนาแบบพื้นฐานง่ายๆเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่ มาชำแหละกันดู #โอวาทปาฏิโมกข์กับพระปาฏิโมกข์ต่างกันอย่างไร ปาฏิโมกข์ คือ มาจาก ๒ คำ คือ ปาติ(ฏิ) = เฉพาะ หรือ รักษา กับ โมกฺข แปลว่า หลุดพ้น มีความหมายว่า หลุดพ้นโดยเฉพาะกับธรรมที่รักษาความหลุดพ้น ปาฏิโมกข์มี ๒ ประเภทคือ ๑.#โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักการใหญ่หรือหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องตรัสไว้หลังตรัสรู้ จึงมีคำสรุปเป็นพระบาลีว่า "เอตํ พุทฺธานสาสนํ นี่คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" สำหรับพระโคตมะพระพุทธเจ้าของเราตรัสไว้ในวันมาฆะบูชานี้แล ๒. #อาณาปาฏิโมกข์ คือ ศีลใหญ่หรือศีลหลักของภิกษุและภิกษุณี ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังมีพระช่วงหลังประพฤติไม่ดีไม่งาม เกิดขึ้นในคณะสงฆ์ เพื่อรักษาคณะสงฆ์ และเพื่อรักษาศรัทธาจากพุทธบริษัทกลุ่มอื่น จึงบัญญัติไว้...ตอนหลังกลายเป็นสังฆกรรมที่พระสวดทุกกึ่งเดือน.. เพื่อทบทวนและสังวรระวังในศีลของตน. #ตื้นธรรม : #บอกโอวาทปาฏิโมกข์คือปาฏิโมกข์ศีลพระ คนตื้นธรรมคราวนี้ถูกจับโป๊ะชัดๆจากผู้รู้ว่า...มีความรู้เรื่องพุทธน้อยมาก...โดยการอธิบายว่า โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธตรัสในวันมาฆะคือพระปาฏิโมกข์ที่พระสวดทุกกึ่งเดือน ผิดแบบไม่น่าให้อภัย ใครฟังหรืออ่านเรื่องนี้แล้วเฉยๆปล่อยผ่านก็แสดงว่าไม่ค่อยรู้เรื่องพระพุทธศาสนาเช่นกัน #โอวาทปาฏิโมกข์กับปาติโมกข์พระ : #เทียบได้จากไทม์ไลน์ โอวาทปาฏิโมกข์ที่ตรัสกับพระอรหันต์ เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๑,๒๕๐ รูป พระพุทธเจ้าตรัสในตอนพรรษาที่ ๑ หลังตรัสรู้ เมื่อขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ แล้วเผยแผ่ธรรมจนมีพระสาวกมากกว่า ๑,๒๕๐ รูปในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๓ (ประมาณ ๙ เดือน) ส่วนปาติโมกข์ทรงบัญญัติสิกขาบทหลังพระสุทินเสพเมถุนธรรมกับภริยาเก่าเพื่อสืบสกุล พระอรรถกถาจารย์วินิจฉัยว่าหลังพรรษาที่ ๒๐ ไปแล้วก็พิสูจน์ได้ว่า ปาติโมกข์ในวันมาฆะกับปาฏิโมกข์ศีลพระ...ไทม์ไลน์..ต่างกันแน่นอน เขามั่วนิ่ม...ชัวร์ #ปาฏิโมกข์ทั้ง ๒ : #เนื้อหาก็แตกต่าง โอวาทปาฏิโมกข์ในวันมาฆะ คือ #หัวใจของพระพุทธศาสนา มี -#อุดมการณ์ ๓ คือ ขันติ นิพพาน การไม่เบียดเบียน -#หลักการ ๓ ละชั่ว ทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์ - #วิธีการ ๖ ไม่พูดร้าย ไม่ทำร้าย ยึดในหลักปาฏิโมกข์ ใช้ชีวิตพอดี เน้นความสงบ หมั่นฝึกสมาธิภาวนา นี่คือสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ส่วนพระปาฏิโมกข์คือศีลหลักพระที่พระต้องรักษามี ๒๒๗ ข้อ แบ่งไปตามนี้ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ อธิกรณสมถะ ๗ ล้วนเป็นศีลของพระแทบทั้งสิ้น มันคนละอย่างกันเลย คนตื้นธรรมรู้ธรรมะแบบงูๆปลาๆ เอาหางมาชนหัว มั่วนิ่มไปหมด อาศัยว่าพูดเร็ว พูดมัน และคนไม่ค่อยจะรู้เรื่องพระเรื่องเจ้ากัน.. มันจึงดำน้ำโผล่มาบอกธรรมะ..ทั้งๆที่วิญญูชนผู้รู้เขาติเตียน แต่กลับด่าสวนกลับ...ไม่เคยยอมรับว่าตนสอนผิดสอนพลาดยังไง...แม้เขาจะได้อะไรบ้าง....แต่อนาคตของเขาไม่แน่นอน...เพราะเล่นกับของสูงระดับอ้างพระบรมศาสดาบ่อยๆ...หวังจะชักชวนจูงผู้ศรัทธาที่มีความรู้ไม่มาก...งานนี้คุณกำลังเล่นไฟ...ไฟนี้ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่คือไฟนรกโลกันต์...ทานที่เขายกมือท่วมหัวถวายด้วยศรัทธาถ้าไม่ดีจริง. อย่าว่าแต่ชาติหน้าเลย...ชาตินี้แหละ...ดูไป. ด้วยจิตคารวะ ดร.มงคล นาฏกระสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
    0 Comments 0 Shares 1469 Views 0 Reviews
  • แหกดวงชะตา "ลัคนาราศีมิถุน" เดือนพฤศจิกายน 2567
    https://youtu.be/0Y_66lL4fmY
    ติดตามข้อมูลข่าวสาร ดวงชะตา เรื่องน่ารู้ และเคล็ดลับการเสริมดวง ได้ที่
    YouTube : / @1000payakorn
    Facebook : / ๑๐๐๐พยากรณ์
    Tik Tok : / 1000payakon
    ติดต่อสอบถามรับนัดคิวรับดวงชะตาส่วนตัวได้ที่เพจ ๑,๐๐๐ พยากรณ์ ที่เดียวเท่านั้น
    มีแอดมินคอยตอบ ๒๔ ชั่วโมง!!!!
    #๑๐๐๐พยากรณ์ #ดูดวง #มิถุน #เมถุน #โหร๑๐๐๐พยากรณ์
    แหกดวงชะตา "ลัคนาราศีมิถุน" เดือนพฤศจิกายน 2567 https://youtu.be/0Y_66lL4fmY ติดตามข้อมูลข่าวสาร ดวงชะตา เรื่องน่ารู้ และเคล็ดลับการเสริมดวง ได้ที่ 📍YouTube : / @1000payakorn 📍Facebook : / ๑๐๐๐พยากรณ์ 📍Tik Tok : / 1000payakon ติดต่อสอบถามรับนัดคิวรับดวงชะตาส่วนตัวได้ที่เพจ ๑,๐๐๐ พยากรณ์ ที่เดียวเท่านั้น มีแอดมินคอยตอบ ๒๔ ชั่วโมง!!!! #๑๐๐๐พยากรณ์ #ดูดวง #มิถุน #เมถุน #โหร๑๐๐๐พยากรณ์
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 595 Views 0 Reviews