• ## เบื้องหลังมายากลระดับตำนาน ทักษิณ ผู้ปลดหนี้ IMF ด้วยเงิน 5 แสนล้าน ที่ตนเองไม่ได้หา ##
    ..
    ..
    วิกฤตต้มยำกุ้ง เกิดขึ้นในสมัยพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ช่วงปีพศ. 2540 มีการโจมตีค่าเงินบาทจากต่างชาติ
    .
    ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลานั้นตัดสินใจใช้ทุนสำรองระหว่างประเทศสู้การโจมตี ในการพยุงค่าเงินบาท ที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเอาไว้คงที่ ที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งถือเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด
    .
    จนในที่สุด ทุนสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่จำนวนมาก ก็แทบจะไม่เหลือ เมื่อพลเอกชวลิตทราบเรื่อง จึงตัดสินใจลอยตัวค่าเงินบาท คือไม่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ แต่ให้ขึ้นลง ตามมูลค่าจริง ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540
    .
    ค่าเงินบาทต่อ 1 ดอลล่าห์สหรัฐเคยขึ้นไปสูงถึง 50-56 บาท
    .
    คนที่เคยเป็นหนี้เงินกู้ต่างประเทศ 1000 ดอลล่าร์ เทียบเป็นเงินไทย 27000 บาท กลายเป็น 50000 – 56000 บาท
    .
    ทุกอย่างพังพินาศในชั่วคืน
    .
    หลังเกิดวิกฤต รัฐบาล ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF
    และทาง IMF ก็ออกมาตรการที่เข้มงวดต่อระบบการเงินการคลังให้ไทยตัดรายจ่ายงบประมาณแผ่นดินและเพิ่มภาษีมูลค่าเป็นร้อยละ 10 ทั้ง ๆ ที่วิกฤตนี้เป็นวิกฤตภาคการเงิน ไม่ได้มาจากการใช้จ่ายเกินตัวของภาครัฐ และไทยเองก็มีการเกินดุลการคลังมาตลอดก่อนหน้า 10 ปี ทำให้มีเงินสะสมในคลังจำนวนมาก แต่ก็อาจจะเป็นเพราะสถานการณ์ในขณะนั้นที่ไทยมีการเติบโตที่ติดลบไปแล้วจึงต้องยอมปฏิบัติตาม
    .
    ผลจากวิกฤตนี้ ทำให้นายกชวลิต ลาออก ได้นายกคนใหม่ชื่อ ชวน หลีกภัย
    .
    รัฐบาลชวน หลีกภัย ในสมัยที่เข้ามารับช่วงต่อปี 2540 ได้เจรจาให้ IMF ยอมลดเงื่อนไขโดยให้ภาษีมูลค่าเพิ่มไปอยู่ที่ร้อยละ 7 และยอมให้มีการขยายรายจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยเงินกู้จากญี่ปุ่นหลังจากที่เหล่าธนาคารไม่ยอมปล่อยกู้จนทำให้เศรษฐกิจไม่สามารถเดินได้
    นอกจากนี้การกอบกู้ไทยจาก IMF โดยมีญี่ปุ่นเป็นหัวหอกและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนร่วมใจกัน ซึ่งสามารถระดมเงินมาได้ 17.2 พันล้านเหรียญฯ
    รัฐบาลชวน ได้เข้ามาควบคุม บริหารจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดตั้ง องค์การเพื่อการปฏิรูปสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อจัดการควบรวมกิจการ ประกาศขายกิจการที่มีปัญหาเรื่องสินทรัพย์และหนี้สิน ท่ามกลางข้อครหาว่า เอากิจการที่มีมูลค่าสูงมาขายเลหลังในราคาถูก จนเรียกกันแบบล้อเลียนว่า ออกกฎหมายขายชาติ และมีแปรรูปหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่างๆ จนกระทั่งสถานการณ์ทางการเงินการคลังค่อยๆ ดีขึ้น
    .
    รัฐบาลไทยเบิกเงินจาก IMF จริงเพียงแค่ 14 พันล้านเหรียญ และทิ้งเงินส่วนที่เหลือ ราว 3 พันล้านเหรียญ และไม่เบิกจาก IMF ต่อในเดือนกันยายน 2542 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่ต้องกู้เพิ่มเพราะการกู้มักจะยืดเยื้อไม่จบสิ้น
    เท่ากับว่า รัฐบาลชวนฯ สามารถกอบกู้ปัญหาดุลการชำระเงินให้เข้าสู่สภาวะปกติและมีเงินสำรองระหว่างประเทศกลับคืนมาอย่างรวดเร็วกว่าที่ IMF คาดไว้
    .
    ดังนั้นกระทรวงการคลังของไทยจึงได้ขอให้ธนาคารแห่งประเทศไทยคืนหนี้ IMF ก่อนกำหนด เพราะเงินสำรองที่ถูกใช้เกือบหมดนั้น ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อยากให้เก็บเงินสำรองไว้ก่อน จนรัฐบาลชวนหมดวาระในปี 2543
    .
    ประเทศไทยได้นายกคนใหม่ชื่อ ทักษิณ ชินวัตร ในปีพ.ศ. 2544
    .
    นายกทักษิณ ชินวัตรได้เข้ามาบริหารประเทศ เห็นว่ารัฐบาลที่แล้ว เพิ่งใช้หนี้ IMF ไปแค่ส่วนหนึ่ง และเห็นว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ ที่รัฐบาลที่แล้วสะสมเอาไว้มีมากพอที่จะใช้หนี้ เพื่อดึงเงินทุนสำรองนี้มาใช้ นายกทักษิณจึงปลดผู้ว่าของธนาคารแห่งประเทศไทยในขณะนั้นออก แล้วนำเงินจากกองทุนเงินสำรองที่ได้สะสมเอาไว้จากการบริหารงานของรัฐบาลก่อนหน้าบวกกับเงินกู้จาก ADB อีกส่วนหนึ่ง คืนเจ้าหนี้ IMF ก่อนกำหนด
    .
    ข้อดีคือ ความเชื่อมั่นที่มีต่อประเทศไทยของนักลงทุนดีขึ้น สถานการณ์ของประเทศดีขึ้น
    และใช่ ทักษิณเป็นคนปลดหนี้จาก IMF
    .
    แต่เราจะพูดถึงแต่คนที่เอาเงินจากกระเป๋าที่มีเงินอยู่แล้ว ไปปลดหนี้
    โดยที่ไม่พูดถึงหรือไม่ให้เครดิตคนที่หาเงิน และบริหารเงินจนมีเงินในกระเป๋ามากพอที่จะใช้หนี้เลย คงจะไม่เป็นการยุติธรรมต่อกลุ่มคนเหล่านั้น มิใช่หรือ
    ....
    ....
    โดย เพจ ฤๅ - Lue History
    .
    https://www.facebook.com/share/p/1EqubFQLrq/
    ## เบื้องหลังมายากลระดับตำนาน ทักษิณ ผู้ปลดหนี้ IMF ด้วยเงิน 5 แสนล้าน ที่ตนเองไม่ได้หา ## .. .. วิกฤตต้มยำกุ้ง เกิดขึ้นในสมัยพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ช่วงปีพศ. 2540 มีการโจมตีค่าเงินบาทจากต่างชาติ . ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลานั้นตัดสินใจใช้ทุนสำรองระหว่างประเทศสู้การโจมตี ในการพยุงค่าเงินบาท ที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเอาไว้คงที่ ที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งถือเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด . จนในที่สุด ทุนสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่จำนวนมาก ก็แทบจะไม่เหลือ เมื่อพลเอกชวลิตทราบเรื่อง จึงตัดสินใจลอยตัวค่าเงินบาท คือไม่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่ 27 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ แต่ให้ขึ้นลง ตามมูลค่าจริง ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2540 . ค่าเงินบาทต่อ 1 ดอลล่าห์สหรัฐเคยขึ้นไปสูงถึง 50-56 บาท . คนที่เคยเป็นหนี้เงินกู้ต่างประเทศ 1000 ดอลล่าร์ เทียบเป็นเงินไทย 27000 บาท กลายเป็น 50000 – 56000 บาท . ทุกอย่างพังพินาศในชั่วคืน . หลังเกิดวิกฤต รัฐบาล ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF และทาง IMF ก็ออกมาตรการที่เข้มงวดต่อระบบการเงินการคลังให้ไทยตัดรายจ่ายงบประมาณแผ่นดินและเพิ่มภาษีมูลค่าเป็นร้อยละ 10 ทั้ง ๆ ที่วิกฤตนี้เป็นวิกฤตภาคการเงิน ไม่ได้มาจากการใช้จ่ายเกินตัวของภาครัฐ และไทยเองก็มีการเกินดุลการคลังมาตลอดก่อนหน้า 10 ปี ทำให้มีเงินสะสมในคลังจำนวนมาก แต่ก็อาจจะเป็นเพราะสถานการณ์ในขณะนั้นที่ไทยมีการเติบโตที่ติดลบไปแล้วจึงต้องยอมปฏิบัติตาม . ผลจากวิกฤตนี้ ทำให้นายกชวลิต ลาออก ได้นายกคนใหม่ชื่อ ชวน หลีกภัย . รัฐบาลชวน หลีกภัย ในสมัยที่เข้ามารับช่วงต่อปี 2540 ได้เจรจาให้ IMF ยอมลดเงื่อนไขโดยให้ภาษีมูลค่าเพิ่มไปอยู่ที่ร้อยละ 7 และยอมให้มีการขยายรายจ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยเงินกู้จากญี่ปุ่นหลังจากที่เหล่าธนาคารไม่ยอมปล่อยกู้จนทำให้เศรษฐกิจไม่สามารถเดินได้ นอกจากนี้การกอบกู้ไทยจาก IMF โดยมีญี่ปุ่นเป็นหัวหอกและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนร่วมใจกัน ซึ่งสามารถระดมเงินมาได้ 17.2 พันล้านเหรียญฯ รัฐบาลชวน ได้เข้ามาควบคุม บริหารจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดตั้ง องค์การเพื่อการปฏิรูปสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อจัดการควบรวมกิจการ ประกาศขายกิจการที่มีปัญหาเรื่องสินทรัพย์และหนี้สิน ท่ามกลางข้อครหาว่า เอากิจการที่มีมูลค่าสูงมาขายเลหลังในราคาถูก จนเรียกกันแบบล้อเลียนว่า ออกกฎหมายขายชาติ และมีแปรรูปหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่างๆ จนกระทั่งสถานการณ์ทางการเงินการคลังค่อยๆ ดีขึ้น . รัฐบาลไทยเบิกเงินจาก IMF จริงเพียงแค่ 14 พันล้านเหรียญ และทิ้งเงินส่วนที่เหลือ ราว 3 พันล้านเหรียญ และไม่เบิกจาก IMF ต่อในเดือนกันยายน 2542 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่ต้องกู้เพิ่มเพราะการกู้มักจะยืดเยื้อไม่จบสิ้น เท่ากับว่า รัฐบาลชวนฯ สามารถกอบกู้ปัญหาดุลการชำระเงินให้เข้าสู่สภาวะปกติและมีเงินสำรองระหว่างประเทศกลับคืนมาอย่างรวดเร็วกว่าที่ IMF คาดไว้ . ดังนั้นกระทรวงการคลังของไทยจึงได้ขอให้ธนาคารแห่งประเทศไทยคืนหนี้ IMF ก่อนกำหนด เพราะเงินสำรองที่ถูกใช้เกือบหมดนั้น ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อยากให้เก็บเงินสำรองไว้ก่อน จนรัฐบาลชวนหมดวาระในปี 2543 . ประเทศไทยได้นายกคนใหม่ชื่อ ทักษิณ ชินวัตร ในปีพ.ศ. 2544 . นายกทักษิณ ชินวัตรได้เข้ามาบริหารประเทศ เห็นว่ารัฐบาลที่แล้ว เพิ่งใช้หนี้ IMF ไปแค่ส่วนหนึ่ง และเห็นว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ ที่รัฐบาลที่แล้วสะสมเอาไว้มีมากพอที่จะใช้หนี้ เพื่อดึงเงินทุนสำรองนี้มาใช้ นายกทักษิณจึงปลดผู้ว่าของธนาคารแห่งประเทศไทยในขณะนั้นออก แล้วนำเงินจากกองทุนเงินสำรองที่ได้สะสมเอาไว้จากการบริหารงานของรัฐบาลก่อนหน้าบวกกับเงินกู้จาก ADB อีกส่วนหนึ่ง คืนเจ้าหนี้ IMF ก่อนกำหนด . ข้อดีคือ ความเชื่อมั่นที่มีต่อประเทศไทยของนักลงทุนดีขึ้น สถานการณ์ของประเทศดีขึ้น และใช่ ทักษิณเป็นคนปลดหนี้จาก IMF . แต่เราจะพูดถึงแต่คนที่เอาเงินจากกระเป๋าที่มีเงินอยู่แล้ว ไปปลดหนี้ โดยที่ไม่พูดถึงหรือไม่ให้เครดิตคนที่หาเงิน และบริหารเงินจนมีเงินในกระเป๋ามากพอที่จะใช้หนี้เลย คงจะไม่เป็นการยุติธรรมต่อกลุ่มคนเหล่านั้น มิใช่หรือ .... .... โดย เพจ ฤๅ - Lue History . https://www.facebook.com/share/p/1EqubFQLrq/
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 144 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหรัฐประกาศมาตรการคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์!!

    มาตรการคว่ำบาตรดังกล่าวของสหรัฐมุ่งเป้าไปที่กลุ่มค้าขายน้ำมันของรัสเซียเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะส่งผลต่อการขนส่งไปยังผู้ซื้อรายใหญ่ เช่น อินเดียและจีน
    โดยมีบริษัทเป้าหมายที่ถูกคว่ำบาตร ได้แก่:
    ➖ "Surgutneftegaz" และ "Gazprom Neft"
    ➖ เรือบรรทุกน้ำมันมากกว่า 180 ลำของกองเรือ "เงา" ของรัสเซีย
    ➖ บริษัทประกันภัย "Alfastrakhovanie" และ "Ingosstrakh"
    ➖ ตัวแทนต่างชาติที่ค้าขายน้ำมันของรัสเซียและผู้บริหารระดับสูงในหน่วยงานเหล่านี้

    การดำเนินการคว่ำบาตรครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดน้ำมันโลกแล้ว โดยดันให้ราคาน้ำมันดิบเบรนท์พุ่งสูงกว่า 80 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนตุลาคม

    ในคำประกาศจากกระทรวงการคลังสหรัฐ มีความคาดหวังที่สำคัญที่ต้องการให้บรรลุผล ได้แก่:

    ⭕️ คาดว่ามาตรการใหม่นี้จะทำให้รัสเซียสูญเสียเงิน "หลายพันล้านดอลลาร์" ทุกเดือน ส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนรูเบิล และอาจส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยหลักของธนาคารกลางรัสเซียปรับขึ้นขนานใหญ่

    ⭕️ มาตรการคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งใหญ่ที่สุดครั้งนี้ จะไม่ส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงของตลาดน้ำมันโลก เนื่องจากไม่มีภัยคุกคามจากการขาดแคลนอุปทาน และผลผลิตน้ำมันของสหรัฐในขณะนี้อยู่ในระดับที่สูงมาก ตลาดภายในประเทศยังคงมีอุปทานที่ล้นตลาดอยู่

    ⭕️ การคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งนี้ จะสร้างเงื่อนไขที่เอื้อประโยชน์ให้ตลาดภายในประเทศของสหรัฐ สามารถส่งออกน้ำมันที่ล้นตลาดอยู่ขณะนี้ออกนอกประเทศได้

    https://home.treasury.gov/news/press-releases/jy2777
    สหรัฐประกาศมาตรการคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์!! มาตรการคว่ำบาตรดังกล่าวของสหรัฐมุ่งเป้าไปที่กลุ่มค้าขายน้ำมันของรัสเซียเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะส่งผลต่อการขนส่งไปยังผู้ซื้อรายใหญ่ เช่น อินเดียและจีน โดยมีบริษัทเป้าหมายที่ถูกคว่ำบาตร ได้แก่: ➖ "Surgutneftegaz" และ "Gazprom Neft" ➖ เรือบรรทุกน้ำมันมากกว่า 180 ลำของกองเรือ "เงา" ของรัสเซีย ➖ บริษัทประกันภัย "Alfastrakhovanie" และ "Ingosstrakh" ➖ ตัวแทนต่างชาติที่ค้าขายน้ำมันของรัสเซียและผู้บริหารระดับสูงในหน่วยงานเหล่านี้ การดำเนินการคว่ำบาตรครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดน้ำมันโลกแล้ว โดยดันให้ราคาน้ำมันดิบเบรนท์พุ่งสูงกว่า 80 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนตุลาคม ในคำประกาศจากกระทรวงการคลังสหรัฐ มีความคาดหวังที่สำคัญที่ต้องการให้บรรลุผล ได้แก่: ⭕️ คาดว่ามาตรการใหม่นี้จะทำให้รัสเซียสูญเสียเงิน "หลายพันล้านดอลลาร์" ทุกเดือน ส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนรูเบิล และอาจส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยหลักของธนาคารกลางรัสเซียปรับขึ้นขนานใหญ่ ⭕️ มาตรการคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งใหญ่ที่สุดครั้งนี้ จะไม่ส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงของตลาดน้ำมันโลก เนื่องจากไม่มีภัยคุกคามจากการขาดแคลนอุปทาน และผลผลิตน้ำมันของสหรัฐในขณะนี้อยู่ในระดับที่สูงมาก ตลาดภายในประเทศยังคงมีอุปทานที่ล้นตลาดอยู่ ⭕️ การคว่ำบาตรภาคพลังงานของรัสเซียครั้งนี้ จะสร้างเงื่อนไขที่เอื้อประโยชน์ให้ตลาดภายในประเทศของสหรัฐ สามารถส่งออกน้ำมันที่ล้นตลาดอยู่ขณะนี้ออกนอกประเทศได้ https://home.treasury.gov/news/press-releases/jy2777
    Like
    Sad
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 352 มุมมอง 0 รีวิว
  • 12-12-67/01 : หมี CNN / แผนซ้อน 3 ชั้นครึ่ง บวกเกลียวอีกครึ่งรอบ ไอ้สัส! จะเยอะไปไหน? นี่กะ ให้อเมริกา อิสราเอล อังกฤษ สิ้นเนื้อประดาตัวกันเลยชิมิ? จากมหาอำนาจกลายร่างเป็นขอทาน ในช่วงไม่กี่ปี? โหดสลัดรัสเซียของจริง!"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 1 ไม่ได้แค่ล่อให้เข้ามาติดกับดักตายอย่างเดียว"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 2 ดูดเงิน ทรัพยากรเหี้ย กำลังพล มากกว่าเก่าเยอะ"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 3 ปลดแอกตะวันออกกลาง ยุโรป แปซิฟิค ทีเดียวหากเริ่มดูตั้งแต่แรก ที่ปูตินยกพลบุกยูเครน เพื่อทำลายแนวกันชนเก่า ขยายพื้นที่ กินทรัพยากรสำคัญทั้งหมดที่ยูเครนมี แล้วขยายต่อไปยังใจกลางยุโรป ทั้งหมดคือแผนเดินสู่ท่อแก็สอาร์คติค จากนั้น ขยายแนวรบ หันมาขยี้อียิว นายใหญ่เหี้ยไอ้อีตะวันตก เพราะรู้ดีว่า ขี้ข้าต้องแห่กันมาช่วยอุ้ม แล้วเป็นยังไง หมดตูดตามกัน หลัง 2.5 ปี แห่งศึกยูเครน EU NATO ถังแตก หมดตูด เศรษฐกิจพังยับ เพราะไม่มีพลังงานรัสเซียราคาถูกมาใช้ เกือบ 3 ปี ที่ต้องจ่ายแพง เจ๊งสิจ๊ะ อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมใหญ่ ปิดกิจการเพราะแบกต้นทุนไม่ไหว เกณฑ์ทหารเพิ่มเป็นรอบที่ 10 กลับมาเป็นถุงดำเพี๊ยบ หมดทั้งเงิน อำนาจ กำลังพล ทำให้ต้องถอย ตีตัวห่างจากอียิว ดาบหนักสุดคือ "ดอกนี้" ล่ออียิวให้เข้ามาซีเรีย มันต้องใช้กำลังพลมากเท่าไหร่ มันต้องใช้อาวุธอีกเท่าไหร่ มันต้องใช้เงินอีกเท่าไหร่ แล้วจะไปเอามาจากไหน หากไม่ใช่ขี้ข้าไงล่ะ? ที่มาว่าทำไม หุ่นเชิดผู้นำทั่วยุโรป ถูกเช็คบิล เก้าอี้ร่วงกันหมด เพราะประจักษ์ชัดแล้วว่า มรึงไม่ได้ทำเพื่อประชาชน แต่ทำเพื่อยิว อ๋อ..ควายเพิ่งจะตื่น เป็นไง ประชาธิปไตยแดร๊กได้มั้ยล่ะ? การที่ปูตินเดินแผน ย้ายอัสซาดออกไป ใช้หุ่นเชิดแทน เอาอีไก่งวงที่เสี้ยนอยากจะฆ่าล้างโคตรอีเคิร์กกบฎ เอามาเสียบ ดอกนี้ ยิงปืนนัดเดียว เหี้ยตายทั้งฝูง เพราะอีไก่งวงมันเป็นชาติสมาชิกนาโต้ นาโต้มีกฎจะไม่รบกันเอง นี่คือเงื่อนไข ช่องโหว่ ให้ไอ้อีขี้ข้ายิวที่เตรียมย้ายขั้ว ใช้เป็นข้ออ้างไม่เดินหน้าต่อ ไม่ช่วยอียิวไงล่ะ และเป็นเหตุให้อีไก่งวงประกาศถอนตัวออกจาก NATO แล้วจะมีตามมาอีกเพี๊ยบ แค่รอมรึงเปิดฟลอร์เท่านั้นเอง แตกทั้ง NATO แตกทั้ง EU ไม่งั้น อีลูคาเชนโก คงไม่ยิ้มแก้มหุบดอก ว่าของดี ของหนัก อยู่ในมือกู WAGNER อยู่เป็นกองทัพ กูจะไล่ฆ่าใครก็ได้ เสร็จกูล่ะ? ลูคาเชนโกซี้ปูติน ย่อมรู้ดีว่า เพื่อนรักต้องการอะไร เดี๋ยวเปิดพรมแดงปูทางสู่ลอนดอนให้จ๊ะ ไล่กวาดทั้งอีโปล อี 3 เสือก อีสวิงกิ้ง อีฟินน์ให้ฟรีฟรี ไม่คิดตังค์ แค่เติมของดี ของหนักให้ก็พอแล้ว? อาร์คติคมาชัวร์ ใครก็หยุดไม่ได้! เมื่อตะวันออกกลางแพ้ยับ เมื่อยุโรปเละเทะ เหี้ยยิวจะหนีไปไหนได้อีก นอกจากโดนตรีนผู้นำโลกคนใหม่จากจีน ตบหัวคว่ำคะมำ แค่อีปินส์ แค่อีไต้หวัน แค่ที่รองตรีนจีนเท่านั้น อยากหยุดกูมรึงต้องมาเอง มาตายห่าที่นี่ นั่นแหละแผนกู เมื่อสงครามเดินหน้าไป แต่อีกฝ่ายขั้วใหม่ การค้ารุ่งเรือง ต่อยอดโลกเชื่อมหากันสำเร็จ จะกลายเป็นว่า มรึงรบไป ผลาญคลังจนถังแตก แต่ขั้วใหม่ เงินเติมทุกวันไม่มีหมด เหตุเพราะ BRICS แลกเปลี่ยน ซื้อขาย กันในกลุ่ม ไม่ต้องอาศัยอัตราแลกเปลี่ยนเหี้ย ที่กดควายโลกมาโดยตลอด ดังนั้น ทรัพยากรขั้วใหม่ จึงไม่มีหมด มีเติมทุกวัน แต่เหี้ยใช้ออกทุกวัน นี่คือความแตกต่างของผู้ชนะ กับผู้แพ้ราบคาบ มีที่ไหน รัสเซียทำสงครามยูเครนเกือบ 3 ปี แต่เงินยังอยู่ครบ แถมมีเพิ่มขึ้น ขายน้ำมันน้อยกว่าเดิม แต่กำไรเพิ่มขึ้น 2 เท่า ไม่อัจฉริยะ ทำไม่ได้ดอก ที่มาว่าทำไมเปลี่ยนขุนคลัง มาเป็นแม่ทัพซะงั้น เพราะทุกการรบ มีรายจ่ายที่ต้องจ่าย อ่านขาด ปล่อยให้คลังเหี้ยเจ๊งตามกันไป เพราะควบคุมการเงินไม่ได้ เมื่อคลังแตก แผ่นดินก็ล่มสลาย ฆ่าที่ปากท้องมรึง น่ากลัวกว่าตายในสมรภูมิซะอีก เพราะมันฆ่าถึงคนข้างหลัง ครอบครัวลูกหลานมรึงทั้งหมดด้วย จะไม่มีแดร๊กอีกนานสิ่งที่ปูตินทำอยู่ตอนนี้ แค่เอาตัวปัญหาที่เหี้ยอ้างมาโดยตลอดออกไป(อัสซาด) ยามเมื่อเคลียร์เหี้ยตายห่าเกลื่อนแผ่นดินสำเร็จ อัสซาดจะกลับมาอย่างวีรบุรุษก็ได้ หรืออยู่ยาวที่มอสโคว์ก็ได้ ใช้หุ่นเชิดต่อไป แผนนี้ เรียกใช้บริการอีไก่งวง เพราะจัดการปัญหาคาบสมุทรไซนาย ที่คาราคาซังมาช้านาน เอาให้จบเสียที เพื่อเดินหน้าสิ่งใหม่กว่า ดีกว่า และแบ่งปันเท่าเทียม เหมาะแล้วที่ใช้อีเติร์กมหาภัย เพราะมันเสี้ยนจัดปลัดบอก แค่ได้ยินชื่อเคิร์ด ฆ่าให้ฟรี ไม่มีชาร์ต แล้วอียิวมันส่งกองทัพแห่เข้ามาซีเรีย อ้างยึดที่ราบสูงโกลาน ถามคำเดียว มรึงเข้ามาแล้วยังไงต่อ จะอยู่ต่อยังไง ต้องใช้อะไรเพิ่ม ต้องจ่ายอะไรบ้าง ต้องสร้างอะไรเพิ่มอีก อ้าว..แล้วหลังบ้านมรึง ที่ถูกถล่มยับทุกวันเนี่ย ใครจะดูแล มันคือแผนบีบขยายกองกำลังอียิว สหรัฐ NATO ให้แตก LINE ไปเรื่อยๆ ยิ่งทำให้อ่อนแอ เพราะกำลังพลไม่พอ เทียบโลกอาหรับไม่ได้ แถมยิ่งใช้พลังงานมากขึ้นไม่สังเกตุเหรอ? ทำไม ปูตินต้องใช้แผนนี้ ในฤดูหนาว คิดสิจ๊ะ? หนาวมาอะไรแพง? หนาวมาอะไรขาด? หนาวมาอะไรสำคัญที่สุด ทั้งอาวุธ เงิน อาหาร พลังงาน กำลังพล จะถูกใช้มากที่สุดก็หนาวนี้แหละ เอาอียิวมาติดหล่มสงครามต่อในตะวันออกกลาง ด้านยุโรปยิ่งฉลุย เพราะจะไม่มีใครมาช่วยอีเสี้ยนยาต่อ แปลว่ารัสเซียไม่เหนื่อย ยึดยูเครนเบ็ดเสร็จ ตบอีโปล ล่ออีฟินน์ ขยี้อีสวิงกิ้ง และตบท้ายด้วยเขมือบอีลอนดอน แค่นี้ ท่อแก็สอาร์คติค ก็ผ่านฉลุย สวยเก๋ ยิ่งกว่าออด๊าส! คำถามที่ทุกคนรอดคอย? ปล่อยอียิวยึดซีเรียแล้วจะยึดคืนยังไง? ระดับปูติน ไม่มั่นใจ 1000% ไม่เดินแผนนี้ ก็โง่! เพราะอ่านขาด ทุกอย่างเป็นต่อ และได้เปรียบอย่างมหาศาล ไม่ใช้แผนนี้ มันจะไม่จบน่ะสิ นี่คือ "ปิดเกมส์" ไบ้ให้ ต่อให้มรึงยึดซีเรียไป แต่เยรูซาเล็มแตก แล้วมรึงอยู่วงล้อมชาติอริทั่วตะวันออกกลาง จะไปรอดมั้ย? 3 ฮอ ซีเรีย อิรัก เลบานอน เยเมน ยึดแผ่นดินคานาอันได้ชัวร์ เค้าถึงปล่อยให้มรึงย้ายฐานมาซีเรีย เพราะยิ่งปิดง่ายขึ้น เมื่อบ้านไม่มีอยู่ ไอ้ที่มรึงยึดได้คือเมืองร้าง มีประโยชน์อะไร? แถมอีไก่งวงอยู่เต็มพื้นที่ไปหมด ใครจะแพ้กันล่ะ? สรุปคือ "แผนเมืองร้าง" คือยาเร่งผลลัพธ์แพ้ชนะทันควันปล.ปูตินไม่ได้คุยแค่กับโลกอาหรับ แต่คุยกับอีทรัมปป์ด้วย หากเป็นไปตามที่หมีคิด เดี๋ยวมรึงดู ศึกในอเมริกาให้ดีดี อีทรัมปป์จะทำอะไรช็อคโลกให้มรึงได้เห็นแน่ เพราะเป้าหมายเดียวกัน คือ "กำจัด DEEP STATE" งานนี้ หากไม่มีขั้วใหม่ช่วย อีทรัมปป์ทำคนเดียวไม่ได้ดอก เพราะอีลา ยังคงเป็นขวากหนาม ดูทรงให้ดี ที่ผ่านมา ขั้วใหม่ ตัดแหล่งรายได้เหี้ยยิว ตัดแหล่งเงินฟอก ตัดโลจิสติคขนส่ง ตัดอิทธิพลเหี้ยในทุกภูมิภาคโลก ทั้งหมดเพื่ออะไร? ย่อส่วนอเมริกาให้เล็กลง เป็นไปตามแผนที่อีทรัมปป์ต้องการ แตกอเมริกา อียิวได้บ้าน อีทรัมปป์ได้แผ่นดินตัวเอง ปาเลสไตน์ได้แผ่นดินคืน ตะวันออกกลางรวมกันเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง ยุโรปหมดสภาพ นี่คือภาพรวมที่มรึงจะได้เห็นอีกไม่ช้า บอกเลยว่า..ทุกอย่างถูกกำหนดมาตั้งแต่ต้นแล้ว ไม่ใช่เพิ่งจะมาคิด? การล่อให้ศัตรูเข้ามาในแผ่นดินที่มรึงคุ้นเคย กับดักวางไว้เพี๊ยบ กองทัพไก่งวง ได้ถ่ายเทอาวุธ โยกย้าย ของหนักเข้ามาเติม มรึงคิดว่าซีเรียจะไม่ปึ๊กได้อย่างไร เพราะทุกอย่างอยู่ครบ แค่เปลี่ยนหัว เปลี่ยนมือที่มองไม่เห็น เข้ามาจัดการแทนข้ามวิกแป๊บ มีคนถาม กองเรือรัสเซียที่อยู่อ่าวไทย เรือสหรัฐอยู่ใต้ แปลว่าอะไร? แปลว่า "มรึงเขยิบ กูขยับ" รัสเซียไม่จำเป็นต้องรีบแสดงความเป็นเจ้าของภูมิภาค แค่สะกดให้มรึงนิ่งก็ชนะแล้ว กองเรือจีนยิ่งใหญ่มหาศาล แค่แห่ส่งมาเติม มรึงคิดว่าเหี้ยมันจะอยู่ต่อมุย? เกาะแสปรดลี่ย์ ทุกวันนี้คือ ฐานทัพจีนที่ทรงพลังมากที่สุดแห่งนึง เค้าดักทางรอเหี้ยโผล่นานแล้ว อาเซียนจับมือกันมั่น อีปินส์ยังไงก็แหกมติอาเซียนไม่ได้ ถูกถีบทันที อยากออกก็เชิญ มรึงจะหมาหัวเน่าทันที ทำไม อเมริกาไม่กล้าเปิดหน้ากับจีน เพราะศักยภาพเป็นรอง หมายังรู้ แต่ควายไม่รู้ ถึงได้แต่เปิดสงครามการค้าแก้เกี้ยว มรึงคิดว่าอีทรัมปป์มันสนเหรอ? มันแค่ต้องการเป็น KING มีแผ่นดินของตัวเอง แผ่นดินอื่นจะต้องเอาตัวเองไปเสี่ยงตายเพื่อไอ้อีที่จ้องจะฆ่ากูไปทำไมกันล่ะ? ใช่ อีทรัมปป์มันทิ้งอียิวเหี้ยไซออนนิสต์นานแล้ว ถึงได้โดนไป 200 กว่าคดีไงล่ะ โคตรพ่อง โคตรแม่ ทำอย่างกะขายถั่วต้ม ฟ้องแหลก ขนาดแอบตดยังโดน! แล้วทำไม อีทรัมปป์ ถึงไม่อยากจะเอาคืนบ้างล่ะ? เรื่องบ้านเรา ปล่อยศรีธนญชัย เค้าเล่นแร่แปรวิญญานไป สนุกเค้าล่ะ แค่เหลืองสยองออกมาลงชื่อ สื่อยังตีอย่างกะล้มรัฐบาล กลัวขี้หดตดหายกันใหญ่ ยามใหญ่บอก ยังไม่ต้องรีบกลัว เพราะมรึงยังต้องมีอะไรให้กลัวอีกเยอะ เหี้ัยแบบนี้ กูชอบ! อ่านเกมส์ให้ขาด ทำไม ยามใหญ่ถึงดึงประเด็น "พระบรมราชโองการ" ออกมา ชูแผนที่สคส.ในหลวงร.9 มันชัดซะยิ่งกว่าชัด พ่อยืนยันขอบเขตพื้นที่ด้วยตัวเอง ใครหน้าไหน กล้าขัดราชโองการ โทษ "ประหารชีวิต" มรึงกล้ามั้ยล่ะ? ศาลรอ ปล.2 พระราชโองการ อยู่เหนือกว่ากฎหมาย ซะอีก โปรดเกล้าต้องมีตราตั้ง มรึงไม่ต้องแปล จะแถยังไงดูรากเหง้ามรึงด้วย ใครคือ พระเจ้าแผ่นดิน ชื่อก็บอก ว่าทุกอย่างในแผ่นดินนี้ เป็นของพระเจ้าอยู่หัว แม้แต่ชีวิตมรึง! เชิญเอาประชาธิปไตยไปแดร๊กแถวอเมริกา ยุโรป ที่กำลังจะบ้าคลั่งไล่ฆ่า แย่งกันแดร๊กอยู่ตอนนี้เหอะ ยังไง กูเอาหัวเป็นประกันได้เลย ในรัชสมัยตั้งแต่พ่อร.10 ขึ้นไป จะมีแต่จะเพิ่มพูลแผ่นดินขยายเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ไม่มีลด ไม่มีเสียดินแดน มีแต่เพิ่ม เพิ่ม และเพิ่ม รวมทั้งประชากรโลก ที่จะขอเข้ามาอาศัยใต้ร่มไพธิ์พ่อท่าน แค่ตอนนี้ ชาวโลกแห่กันเข้ามาขออยู่อาศัยแล้วเท่าไหร่รู้มั้ย? ไม่มีที่ไหน อุ่นใจ สบายใจ เท่าเมืองไทย เราถึงได้เป็นแบบนี้ ทุกวันนี้ไงล่ะ "หยวนๆ อะไรก็ได้ รักสงบ ยิ้มสิจ๊ะ อยากได้อะไรมีหมด แสง สี เสียง แหล่งโลกีย์ ไม่ต้องไปหาที่ไหน ที่นี่คือจบ"ปล.3 ช่วงนี้ จะยังไม่โพสอี FCUK BOOK เพราะมันเพิ่งจะล็อคบัญชีหมี "สัประยุทธ ทะลุฟ้า" ไปหมาดๆ ใครมี FB เอาโพสหมีไปโพสแทนได้เลย นั่นทำให้คนที่ติดตามแต่ใน FB ยังจะพอเห็นหมี CNN ยังอยู่ เห็นใจสว. แต่หากเข้า LINE ได้ เล่น LINE เป็น ก็ไม่จำเป็นต้องมี FB อีกต่อไป กูต่อยอดไปนานแล้ว คนตามหมีใน FB ก็ติดตามนานแล้ว ทำไม เค้าจะไม่รู้ว่ามีช่องทางอื่นให้เลือก หมีจะไม่ลบเพจ มหากาพย์สุดยอด เพราะมันแจ้งมาว่า รออีก 175 วัน ถึงจะกลับมาใช้ใหม่ได้ แปลว่า อีก 6 เดือน ค่อยเจอหมีใหม่ใน FB แต่ตอนนี้ ตามที่อื่นแทนไปก่อนน่ะจ๊ะหมี CNN(มันยากที่จะอธิบายหมากบนกระดานให้ผู้ที่ไม่เข้าใจฟัง เพราะตาดู หูฟัง แต่ละวัน เสพแต่สิ่งที่เหี้ยให้มา ปัญญาจะเกิดได้ ต้องหลุดพ้นจากบ่วงกรรมเหี้ยก่อน การมาเสพเพจหมี ก็เป็น 1 ในเครื่องมือเตือนสติของแสง เพราะกูเน้นปัญญา เอามันส์ เอาฮา และแฝงคติธรรมเสมอ ไม่ได้หวังว่าทุกคนจะเข้าใจ แค่ 1 คนที่ GET หมดที่กูพูด คือกูได้สร้างหมี CNN ตัวที่ 2 ขึ้นมาสำเร็จแล้ว เพราะกูจะเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย วันที่กูไม่อยู่ จะมีหมี CNN เกลื่อนสยามประเทศ เหมือนที่พ่อครูสอนให้มา กูรับมาแล้วต่อยอด ส่งต่อให้ผู้มีปัญญา แต่ละคน ต่างมีของของตัวเอง ใช้แนวที่ถนัด ต่อยอดปัญญาให้ลูกหลาน แล้วอีก 100 ปี ค่อยเจอกันใหม่)12 ธันวาคม 6711.20 น.------------------------------------------------------------------------—เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ : https://line.me/R/ti/p/@mheecnnหรือเข้า LINE OFFICIAL ACCOUNThttps://voom-studio.line.biz/account/@hfs0310u/voom หรือเสิร์หหาใน LINE ได้ที่ @hfs0310u**เพจหลักของหมี CNN คือ**https://www.minds.com/mheecnn2/เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnnwww.vk.com/id448335733**เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!**https://twitter.com/CnnMhee**เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด!**https://www.facebook.com/chatchai.sathitsit.77
    12-12-67/01 : หมี CNN / แผนซ้อน 3 ชั้นครึ่ง บวกเกลียวอีกครึ่งรอบ ไอ้สัส! จะเยอะไปไหน? นี่กะ ให้อเมริกา อิสราเอล อังกฤษ สิ้นเนื้อประดาตัวกันเลยชิมิ? จากมหาอำนาจกลายร่างเป็นขอทาน ในช่วงไม่กี่ปี? โหดสลัดรัสเซียของจริง!"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 1 ไม่ได้แค่ล่อให้เข้ามาติดกับดักตายอย่างเดียว"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 2 ดูดเงิน ทรัพยากรเหี้ย กำลังพล มากกว่าเก่าเยอะ"แผนเมืองร้าง" ชั้นที่ 3 ปลดแอกตะวันออกกลาง ยุโรป แปซิฟิค ทีเดียวหากเริ่มดูตั้งแต่แรก ที่ปูตินยกพลบุกยูเครน เพื่อทำลายแนวกันชนเก่า ขยายพื้นที่ กินทรัพยากรสำคัญทั้งหมดที่ยูเครนมี แล้วขยายต่อไปยังใจกลางยุโรป ทั้งหมดคือแผนเดินสู่ท่อแก็สอาร์คติค จากนั้น ขยายแนวรบ หันมาขยี้อียิว นายใหญ่เหี้ยไอ้อีตะวันตก เพราะรู้ดีว่า ขี้ข้าต้องแห่กันมาช่วยอุ้ม แล้วเป็นยังไง หมดตูดตามกัน หลัง 2.5 ปี แห่งศึกยูเครน EU NATO ถังแตก หมดตูด เศรษฐกิจพังยับ เพราะไม่มีพลังงานรัสเซียราคาถูกมาใช้ เกือบ 3 ปี ที่ต้องจ่ายแพง เจ๊งสิจ๊ะ อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมใหญ่ ปิดกิจการเพราะแบกต้นทุนไม่ไหว เกณฑ์ทหารเพิ่มเป็นรอบที่ 10 กลับมาเป็นถุงดำเพี๊ยบ หมดทั้งเงิน อำนาจ กำลังพล ทำให้ต้องถอย ตีตัวห่างจากอียิว ดาบหนักสุดคือ "ดอกนี้" ล่ออียิวให้เข้ามาซีเรีย มันต้องใช้กำลังพลมากเท่าไหร่ มันต้องใช้อาวุธอีกเท่าไหร่ มันต้องใช้เงินอีกเท่าไหร่ แล้วจะไปเอามาจากไหน หากไม่ใช่ขี้ข้าไงล่ะ? ที่มาว่าทำไม หุ่นเชิดผู้นำทั่วยุโรป ถูกเช็คบิล เก้าอี้ร่วงกันหมด เพราะประจักษ์ชัดแล้วว่า มรึงไม่ได้ทำเพื่อประชาชน แต่ทำเพื่อยิว อ๋อ..ควายเพิ่งจะตื่น เป็นไง ประชาธิปไตยแดร๊กได้มั้ยล่ะ? การที่ปูตินเดินแผน ย้ายอัสซาดออกไป ใช้หุ่นเชิดแทน เอาอีไก่งวงที่เสี้ยนอยากจะฆ่าล้างโคตรอีเคิร์กกบฎ เอามาเสียบ ดอกนี้ ยิงปืนนัดเดียว เหี้ยตายทั้งฝูง เพราะอีไก่งวงมันเป็นชาติสมาชิกนาโต้ นาโต้มีกฎจะไม่รบกันเอง นี่คือเงื่อนไข ช่องโหว่ ให้ไอ้อีขี้ข้ายิวที่เตรียมย้ายขั้ว ใช้เป็นข้ออ้างไม่เดินหน้าต่อ ไม่ช่วยอียิวไงล่ะ และเป็นเหตุให้อีไก่งวงประกาศถอนตัวออกจาก NATO แล้วจะมีตามมาอีกเพี๊ยบ แค่รอมรึงเปิดฟลอร์เท่านั้นเอง แตกทั้ง NATO แตกทั้ง EU ไม่งั้น อีลูคาเชนโก คงไม่ยิ้มแก้มหุบดอก ว่าของดี ของหนัก อยู่ในมือกู WAGNER อยู่เป็นกองทัพ กูจะไล่ฆ่าใครก็ได้ เสร็จกูล่ะ? ลูคาเชนโกซี้ปูติน ย่อมรู้ดีว่า เพื่อนรักต้องการอะไร เดี๋ยวเปิดพรมแดงปูทางสู่ลอนดอนให้จ๊ะ ไล่กวาดทั้งอีโปล อี 3 เสือก อีสวิงกิ้ง อีฟินน์ให้ฟรีฟรี ไม่คิดตังค์ แค่เติมของดี ของหนักให้ก็พอแล้ว? อาร์คติคมาชัวร์ ใครก็หยุดไม่ได้! เมื่อตะวันออกกลางแพ้ยับ เมื่อยุโรปเละเทะ เหี้ยยิวจะหนีไปไหนได้อีก นอกจากโดนตรีนผู้นำโลกคนใหม่จากจีน ตบหัวคว่ำคะมำ แค่อีปินส์ แค่อีไต้หวัน แค่ที่รองตรีนจีนเท่านั้น อยากหยุดกูมรึงต้องมาเอง มาตายห่าที่นี่ นั่นแหละแผนกู เมื่อสงครามเดินหน้าไป แต่อีกฝ่ายขั้วใหม่ การค้ารุ่งเรือง ต่อยอดโลกเชื่อมหากันสำเร็จ จะกลายเป็นว่า มรึงรบไป ผลาญคลังจนถังแตก แต่ขั้วใหม่ เงินเติมทุกวันไม่มีหมด เหตุเพราะ BRICS แลกเปลี่ยน ซื้อขาย กันในกลุ่ม ไม่ต้องอาศัยอัตราแลกเปลี่ยนเหี้ย ที่กดควายโลกมาโดยตลอด ดังนั้น ทรัพยากรขั้วใหม่ จึงไม่มีหมด มีเติมทุกวัน แต่เหี้ยใช้ออกทุกวัน นี่คือความแตกต่างของผู้ชนะ กับผู้แพ้ราบคาบ มีที่ไหน รัสเซียทำสงครามยูเครนเกือบ 3 ปี แต่เงินยังอยู่ครบ แถมมีเพิ่มขึ้น ขายน้ำมันน้อยกว่าเดิม แต่กำไรเพิ่มขึ้น 2 เท่า ไม่อัจฉริยะ ทำไม่ได้ดอก ที่มาว่าทำไมเปลี่ยนขุนคลัง มาเป็นแม่ทัพซะงั้น เพราะทุกการรบ มีรายจ่ายที่ต้องจ่าย อ่านขาด ปล่อยให้คลังเหี้ยเจ๊งตามกันไป เพราะควบคุมการเงินไม่ได้ เมื่อคลังแตก แผ่นดินก็ล่มสลาย ฆ่าที่ปากท้องมรึง น่ากลัวกว่าตายในสมรภูมิซะอีก เพราะมันฆ่าถึงคนข้างหลัง ครอบครัวลูกหลานมรึงทั้งหมดด้วย จะไม่มีแดร๊กอีกนานสิ่งที่ปูตินทำอยู่ตอนนี้ แค่เอาตัวปัญหาที่เหี้ยอ้างมาโดยตลอดออกไป(อัสซาด) ยามเมื่อเคลียร์เหี้ยตายห่าเกลื่อนแผ่นดินสำเร็จ อัสซาดจะกลับมาอย่างวีรบุรุษก็ได้ หรืออยู่ยาวที่มอสโคว์ก็ได้ ใช้หุ่นเชิดต่อไป แผนนี้ เรียกใช้บริการอีไก่งวง เพราะจัดการปัญหาคาบสมุทรไซนาย ที่คาราคาซังมาช้านาน เอาให้จบเสียที เพื่อเดินหน้าสิ่งใหม่กว่า ดีกว่า และแบ่งปันเท่าเทียม เหมาะแล้วที่ใช้อีเติร์กมหาภัย เพราะมันเสี้ยนจัดปลัดบอก แค่ได้ยินชื่อเคิร์ด ฆ่าให้ฟรี ไม่มีชาร์ต แล้วอียิวมันส่งกองทัพแห่เข้ามาซีเรีย อ้างยึดที่ราบสูงโกลาน ถามคำเดียว มรึงเข้ามาแล้วยังไงต่อ จะอยู่ต่อยังไง ต้องใช้อะไรเพิ่ม ต้องจ่ายอะไรบ้าง ต้องสร้างอะไรเพิ่มอีก อ้าว..แล้วหลังบ้านมรึง ที่ถูกถล่มยับทุกวันเนี่ย ใครจะดูแล มันคือแผนบีบขยายกองกำลังอียิว สหรัฐ NATO ให้แตก LINE ไปเรื่อยๆ ยิ่งทำให้อ่อนแอ เพราะกำลังพลไม่พอ เทียบโลกอาหรับไม่ได้ แถมยิ่งใช้พลังงานมากขึ้นไม่สังเกตุเหรอ? ทำไม ปูตินต้องใช้แผนนี้ ในฤดูหนาว คิดสิจ๊ะ? หนาวมาอะไรแพง? หนาวมาอะไรขาด? หนาวมาอะไรสำคัญที่สุด ทั้งอาวุธ เงิน อาหาร พลังงาน กำลังพล จะถูกใช้มากที่สุดก็หนาวนี้แหละ เอาอียิวมาติดหล่มสงครามต่อในตะวันออกกลาง ด้านยุโรปยิ่งฉลุย เพราะจะไม่มีใครมาช่วยอีเสี้ยนยาต่อ แปลว่ารัสเซียไม่เหนื่อย ยึดยูเครนเบ็ดเสร็จ ตบอีโปล ล่ออีฟินน์ ขยี้อีสวิงกิ้ง และตบท้ายด้วยเขมือบอีลอนดอน แค่นี้ ท่อแก็สอาร์คติค ก็ผ่านฉลุย สวยเก๋ ยิ่งกว่าออด๊าส! คำถามที่ทุกคนรอดคอย? ปล่อยอียิวยึดซีเรียแล้วจะยึดคืนยังไง? ระดับปูติน ไม่มั่นใจ 1000% ไม่เดินแผนนี้ ก็โง่! เพราะอ่านขาด ทุกอย่างเป็นต่อ และได้เปรียบอย่างมหาศาล ไม่ใช้แผนนี้ มันจะไม่จบน่ะสิ นี่คือ "ปิดเกมส์" ไบ้ให้ ต่อให้มรึงยึดซีเรียไป แต่เยรูซาเล็มแตก แล้วมรึงอยู่วงล้อมชาติอริทั่วตะวันออกกลาง จะไปรอดมั้ย? 3 ฮอ ซีเรีย อิรัก เลบานอน เยเมน ยึดแผ่นดินคานาอันได้ชัวร์ เค้าถึงปล่อยให้มรึงย้ายฐานมาซีเรีย เพราะยิ่งปิดง่ายขึ้น เมื่อบ้านไม่มีอยู่ ไอ้ที่มรึงยึดได้คือเมืองร้าง มีประโยชน์อะไร? แถมอีไก่งวงอยู่เต็มพื้นที่ไปหมด ใครจะแพ้กันล่ะ? สรุปคือ "แผนเมืองร้าง" คือยาเร่งผลลัพธ์แพ้ชนะทันควันปล.ปูตินไม่ได้คุยแค่กับโลกอาหรับ แต่คุยกับอีทรัมปป์ด้วย หากเป็นไปตามที่หมีคิด เดี๋ยวมรึงดู ศึกในอเมริกาให้ดีดี อีทรัมปป์จะทำอะไรช็อคโลกให้มรึงได้เห็นแน่ เพราะเป้าหมายเดียวกัน คือ "กำจัด DEEP STATE" งานนี้ หากไม่มีขั้วใหม่ช่วย อีทรัมปป์ทำคนเดียวไม่ได้ดอก เพราะอีลา ยังคงเป็นขวากหนาม ดูทรงให้ดี ที่ผ่านมา ขั้วใหม่ ตัดแหล่งรายได้เหี้ยยิว ตัดแหล่งเงินฟอก ตัดโลจิสติคขนส่ง ตัดอิทธิพลเหี้ยในทุกภูมิภาคโลก ทั้งหมดเพื่ออะไร? ย่อส่วนอเมริกาให้เล็กลง เป็นไปตามแผนที่อีทรัมปป์ต้องการ แตกอเมริกา อียิวได้บ้าน อีทรัมปป์ได้แผ่นดินตัวเอง ปาเลสไตน์ได้แผ่นดินคืน ตะวันออกกลางรวมกันเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง ยุโรปหมดสภาพ นี่คือภาพรวมที่มรึงจะได้เห็นอีกไม่ช้า บอกเลยว่า..ทุกอย่างถูกกำหนดมาตั้งแต่ต้นแล้ว ไม่ใช่เพิ่งจะมาคิด? การล่อให้ศัตรูเข้ามาในแผ่นดินที่มรึงคุ้นเคย กับดักวางไว้เพี๊ยบ กองทัพไก่งวง ได้ถ่ายเทอาวุธ โยกย้าย ของหนักเข้ามาเติม มรึงคิดว่าซีเรียจะไม่ปึ๊กได้อย่างไร เพราะทุกอย่างอยู่ครบ แค่เปลี่ยนหัว เปลี่ยนมือที่มองไม่เห็น เข้ามาจัดการแทนข้ามวิกแป๊บ มีคนถาม กองเรือรัสเซียที่อยู่อ่าวไทย เรือสหรัฐอยู่ใต้ แปลว่าอะไร? แปลว่า "มรึงเขยิบ กูขยับ" รัสเซียไม่จำเป็นต้องรีบแสดงความเป็นเจ้าของภูมิภาค แค่สะกดให้มรึงนิ่งก็ชนะแล้ว กองเรือจีนยิ่งใหญ่มหาศาล แค่แห่ส่งมาเติม มรึงคิดว่าเหี้ยมันจะอยู่ต่อมุย? เกาะแสปรดลี่ย์ ทุกวันนี้คือ ฐานทัพจีนที่ทรงพลังมากที่สุดแห่งนึง เค้าดักทางรอเหี้ยโผล่นานแล้ว อาเซียนจับมือกันมั่น อีปินส์ยังไงก็แหกมติอาเซียนไม่ได้ ถูกถีบทันที อยากออกก็เชิญ มรึงจะหมาหัวเน่าทันที ทำไม อเมริกาไม่กล้าเปิดหน้ากับจีน เพราะศักยภาพเป็นรอง หมายังรู้ แต่ควายไม่รู้ ถึงได้แต่เปิดสงครามการค้าแก้เกี้ยว มรึงคิดว่าอีทรัมปป์มันสนเหรอ? มันแค่ต้องการเป็น KING มีแผ่นดินของตัวเอง แผ่นดินอื่นจะต้องเอาตัวเองไปเสี่ยงตายเพื่อไอ้อีที่จ้องจะฆ่ากูไปทำไมกันล่ะ? ใช่ อีทรัมปป์มันทิ้งอียิวเหี้ยไซออนนิสต์นานแล้ว ถึงได้โดนไป 200 กว่าคดีไงล่ะ โคตรพ่อง โคตรแม่ ทำอย่างกะขายถั่วต้ม ฟ้องแหลก ขนาดแอบตดยังโดน! แล้วทำไม อีทรัมปป์ ถึงไม่อยากจะเอาคืนบ้างล่ะ? เรื่องบ้านเรา ปล่อยศรีธนญชัย เค้าเล่นแร่แปรวิญญานไป สนุกเค้าล่ะ แค่เหลืองสยองออกมาลงชื่อ สื่อยังตีอย่างกะล้มรัฐบาล กลัวขี้หดตดหายกันใหญ่ ยามใหญ่บอก ยังไม่ต้องรีบกลัว เพราะมรึงยังต้องมีอะไรให้กลัวอีกเยอะ เหี้ัยแบบนี้ กูชอบ! อ่านเกมส์ให้ขาด ทำไม ยามใหญ่ถึงดึงประเด็น "พระบรมราชโองการ" ออกมา ชูแผนที่สคส.ในหลวงร.9 มันชัดซะยิ่งกว่าชัด พ่อยืนยันขอบเขตพื้นที่ด้วยตัวเอง ใครหน้าไหน กล้าขัดราชโองการ โทษ "ประหารชีวิต" มรึงกล้ามั้ยล่ะ? ศาลรอ ปล.2 พระราชโองการ อยู่เหนือกว่ากฎหมาย ซะอีก โปรดเกล้าต้องมีตราตั้ง มรึงไม่ต้องแปล จะแถยังไงดูรากเหง้ามรึงด้วย ใครคือ พระเจ้าแผ่นดิน ชื่อก็บอก ว่าทุกอย่างในแผ่นดินนี้ เป็นของพระเจ้าอยู่หัว แม้แต่ชีวิตมรึง! เชิญเอาประชาธิปไตยไปแดร๊กแถวอเมริกา ยุโรป ที่กำลังจะบ้าคลั่งไล่ฆ่า แย่งกันแดร๊กอยู่ตอนนี้เหอะ ยังไง กูเอาหัวเป็นประกันได้เลย ในรัชสมัยตั้งแต่พ่อร.10 ขึ้นไป จะมีแต่จะเพิ่มพูลแผ่นดินขยายเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ไม่มีลด ไม่มีเสียดินแดน มีแต่เพิ่ม เพิ่ม และเพิ่ม รวมทั้งประชากรโลก ที่จะขอเข้ามาอาศัยใต้ร่มไพธิ์พ่อท่าน แค่ตอนนี้ ชาวโลกแห่กันเข้ามาขออยู่อาศัยแล้วเท่าไหร่รู้มั้ย? ไม่มีที่ไหน อุ่นใจ สบายใจ เท่าเมืองไทย เราถึงได้เป็นแบบนี้ ทุกวันนี้ไงล่ะ "หยวนๆ อะไรก็ได้ รักสงบ ยิ้มสิจ๊ะ อยากได้อะไรมีหมด แสง สี เสียง แหล่งโลกีย์ ไม่ต้องไปหาที่ไหน ที่นี่คือจบ"ปล.3 ช่วงนี้ จะยังไม่โพสอี FCUK BOOK เพราะมันเพิ่งจะล็อคบัญชีหมี "สัประยุทธ ทะลุฟ้า" ไปหมาดๆ ใครมี FB เอาโพสหมีไปโพสแทนได้เลย นั่นทำให้คนที่ติดตามแต่ใน FB ยังจะพอเห็นหมี CNN ยังอยู่ เห็นใจสว. แต่หากเข้า LINE ได้ เล่น LINE เป็น ก็ไม่จำเป็นต้องมี FB อีกต่อไป กูต่อยอดไปนานแล้ว คนตามหมีใน FB ก็ติดตามนานแล้ว ทำไม เค้าจะไม่รู้ว่ามีช่องทางอื่นให้เลือก หมีจะไม่ลบเพจ มหากาพย์สุดยอด เพราะมันแจ้งมาว่า รออีก 175 วัน ถึงจะกลับมาใช้ใหม่ได้ แปลว่า อีก 6 เดือน ค่อยเจอหมีใหม่ใน FB แต่ตอนนี้ ตามที่อื่นแทนไปก่อนน่ะจ๊ะหมี CNN(มันยากที่จะอธิบายหมากบนกระดานให้ผู้ที่ไม่เข้าใจฟัง เพราะตาดู หูฟัง แต่ละวัน เสพแต่สิ่งที่เหี้ยให้มา ปัญญาจะเกิดได้ ต้องหลุดพ้นจากบ่วงกรรมเหี้ยก่อน การมาเสพเพจหมี ก็เป็น 1 ในเครื่องมือเตือนสติของแสง เพราะกูเน้นปัญญา เอามันส์ เอาฮา และแฝงคติธรรมเสมอ ไม่ได้หวังว่าทุกคนจะเข้าใจ แค่ 1 คนที่ GET หมดที่กูพูด คือกูได้สร้างหมี CNN ตัวที่ 2 ขึ้นมาสำเร็จแล้ว เพราะกูจะเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย วันที่กูไม่อยู่ จะมีหมี CNN เกลื่อนสยามประเทศ เหมือนที่พ่อครูสอนให้มา กูรับมาแล้วต่อยอด ส่งต่อให้ผู้มีปัญญา แต่ละคน ต่างมีของของตัวเอง ใช้แนวที่ถนัด ต่อยอดปัญญาให้ลูกหลาน แล้วอีก 100 ปี ค่อยเจอกันใหม่)12 ธันวาคม 6711.20 น.------------------------------------------------------------------------—เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ : https://line.me/R/ti/p/@mheecnnหรือเข้า LINE OFFICIAL ACCOUNThttps://voom-studio.line.biz/account/@hfs0310u/voom หรือเสิร์หหาใน LINE ได้ที่ @hfs0310u**เพจหลักของหมี CNN คือ**https://www.minds.com/mheecnn2/เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnnwww.vk.com/id448335733**เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!**https://twitter.com/CnnMhee**เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด!**https://www.facebook.com/chatchai.sathitsit.77
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 689 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไปเที่ยวจีนจ่าย ซื้อสินค้าด้วยบัตรหรือ app ไหน ได้อัตราแลกเปลี่ยน เท่าไรกันบ้างมาดูกันครับ

    K Plus 100CNY = 480.6025
    AliPay 100CNY = 476.42
    Krungthai Unionpay Travel card 100CNY = 476.3

    ข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 24/10/67 12.55น. เวลาไทย

    จะเห็นได้ว่าบัตรกรุงไทยยูเนี่ยนเพย์ใช้travel card จะได้อัตราแลกเปลี่ยนที่ดีที่สุด ใน 3 ตัวเลือกนี้ ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องดูด้วยว่าร้านค้ารับชำระเป็นบัตร หรือสแกนคิวอาร์โค้ดผ่านแอปด้วยนะครับ จะได้เลือกใช้ได้ถูกต้องและครอบคลุม

    #เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สู่สังคม
    #ตัวแทนพลังบุญ
    #ที่ปรึกษาประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
    #ประกันชีวิตควบการลงทุน
    #ที่ปรึกษาการลงทุน
    #ประสบการณ์ด้านการประกันกว่า20ปี
    ไปเที่ยวจีนจ่าย ซื้อสินค้าด้วยบัตรหรือ app ไหน ได้อัตราแลกเปลี่ยน เท่าไรกันบ้างมาดูกันครับ K Plus 100CNY = 480.6025 AliPay 100CNY = 476.42 Krungthai Unionpay Travel card 100CNY = 476.3 ข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 24/10/67 12.55น. เวลาไทย จะเห็นได้ว่าบัตรกรุงไทยยูเนี่ยนเพย์ใช้travel card จะได้อัตราแลกเปลี่ยนที่ดีที่สุด ใน 3 ตัวเลือกนี้ ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องดูด้วยว่าร้านค้ารับชำระเป็นบัตร หรือสแกนคิวอาร์โค้ดผ่านแอปด้วยนะครับ จะได้เลือกใช้ได้ถูกต้องและครอบคลุม #เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สู่สังคม #ตัวแทนพลังบุญ #ที่ปรึกษาประกันชีวิตและประกันวินาศภัย #ประกันชีวิตควบการลงทุน #ที่ปรึกษาการลงทุน #ประสบการณ์ด้านการประกันกว่า20ปี
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥อยากรู้ว่า พระสงฆ์ที่เข้าไปลงทุน
    ในธุรกิจแชร์ลูกโซ่ กับบริษัท เทรด Forex (อัตราแลกเปลี่ยน)
    แล้วเกิดความเสียหายรวมกว่า 1,000 ล้านบาท
    ท่านจะกล้าไปแจ้งความมั้ย?
    คำถามต่อมาคือ พระสงฆ์สามารถซื้อหุ้น
    หรือ ไปลงทุนใน Forex ได้เหรอ? 🤔

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    🔥🔥อยากรู้ว่า พระสงฆ์ที่เข้าไปลงทุน ในธุรกิจแชร์ลูกโซ่ กับบริษัท เทรด Forex (อัตราแลกเปลี่ยน) แล้วเกิดความเสียหายรวมกว่า 1,000 ล้านบาท ท่านจะกล้าไปแจ้งความมั้ย? คำถามต่อมาคือ พระสงฆ์สามารถซื้อหุ้น หรือ ไปลงทุนใน Forex ได้เหรอ? 🤔 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    Like
    1
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 397 มุมมอง 0 รีวิว
  • คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที

    16 ตุลาคม 2567-รายงานผลการประชุม กนง. ระบุว่า เศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่าจุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า

    เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสำคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง

    อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านำเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567

    ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์ สรอ. ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักและปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับด้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุนนโยบายของ ธปท. ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุดและมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

    ภายใต้กรอบการดำเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนำไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว

    ธนาคารแห่งประเทศไทย
    16 ตุลาคม 2567

    #Thaitimes
    คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที 16 ตุลาคม 2567-รายงานผลการประชุม กนง. ระบุว่า เศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่าจุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปีในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสำคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลำดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านำเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์ สรอ. ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักและปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับด้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุนนโยบายของ ธปท. ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุดและมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายใต้กรอบการดำเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนำไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว ธนาคารแห่งประเทศไทย 16 ตุลาคม 2567 #Thaitimes
    Like
    Love
    3
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 707 มุมมอง 0 รีวิว
  • มติ กนง. 5 ต่อ 2 ลดดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี มีผลทันที
    .
    วันนี้ (16 ต.ค.) นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ระบุว่า คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที
    .
    โดยเห็นว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป จะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่า จุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี ในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า
    .
    เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสําคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชน ซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง
    .
    อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อ หมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านําเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567
    .
    ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐฯ ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก และปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับน้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุน นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุด และมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
    .
    ภายใต้กรอบการดําเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนําไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว
    .............
    Sondhi X
    มติ กนง. 5 ต่อ 2 ลดดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี มีผลทันที . วันนี้ (16 ต.ค.) นายสักกะภพ พันธ์ยานุกูล เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ระบุว่า คณะกรรมการฯ มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี จากร้อยละ 2.50 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที . โดยเห็นว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป จะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 ด้านกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ มีแนวโน้มเกิดขึ้นต่อเนื่อง คณะกรรมการฯ เห็นว่า จุดยืนของนโยบายการเงินที่เป็นกลางยังเหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ กรรมการส่วนใหญ่เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 ต่อปี ในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้บ้าง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ภายใต้บริบทที่สินเชื่อมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง และอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลงอยู่ในระดับที่ยังเป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ ขณะที่กรรมการ 2 ท่าน เห็นควรให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยเห็นว่าอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมยังสอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ และให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว รวมถึงการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการรองรับความไม่แน่นอนในระยะข้างหน้า . เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวใกล้เคียงกับที่ประเมินไว้ที่ร้อยละ 2.7 และ 2.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสําคัญมาจากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชน ซึ่งได้รับแรงส่งเพิ่มเติมจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งออกที่ปรับดีขึ้นตามความต้องการสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัวแตกต่างกันในแต่ละภาคส่วน โดยการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรมบางกลุ่ม รวมถึง SMEs ยังถูกกดดันจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง . อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 และ 2568 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 1.2 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากสภาพอากาศที่ผันผวน และอัตราเงินเฟ้อ หมวดพลังงานมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากผลของฐาน ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.5 และ 0.9 ในปี 2567 และ 2568 ตามลําดับ โดยอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยเชิงโครงสร้าง อาทิ การแข่งขันด้านราคาที่อยู่ในระดับสูงจากสินค้านําเข้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ในระยะปานกลางยังอยู่ในระดับที่สอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะทยอยกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงปลายปี 2567 . ภาวะการเงินโดยรวมตึงตัวขึ้นบ้าง อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐฯ ปรับแข็งค่า ตามทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก และปัจจัยเฉพาะในประเทศ ด้านต้นทุนการกู้ยืมของภาคเอกชนผ่านธนาคารพาณิชย์และตลาดตราสารหนี้ยังทรงตัวใกล้เคียงเดิม สินเชื่อโดยรวมชะลอลง โดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs กลุ่มธุรกิจที่เผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง รวมทั้งสินเชื่อเช่าซื้อและบัตรเครดิต ด้านคุณภาพสินเชื่อปรับน้อยลง ส่วนหนึ่งมาจากลูกหนี้ที่เคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินในช่วงที่ผ่านมา และธุรกิจ SMEs และครัวเรือนที่รายได้ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และมีภาระหนี้สูง คณะกรรมการฯ ยังสนับสนุน นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาภาระหนี้ที่ตรงจุด และมีส่วนช่วยกระบวนการปรับลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ ทั้งนี้ ต้องติดตามผลกระทบของคุณภาพสินเชื่อที่ด้อยลงต่อต้นทุนการกู้ยืมและการขยายตัวของสินเชื่อในภาพรวม รวมถึงนัยต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ . ภายใต้กรอบการดําเนินนโยบายการเงินที่มีเป้าหมายรักษาเสถียรภาพราคา ควบคู่กับดูแลเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน คณะกรรมการฯ เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายยังควรอยู่ในระดับที่เป็นกลางและสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ รวมทั้งไม่ต่ำเกินไปจนนําไปสู่การสะสมความไม่สมดุลทางการเงินในระยะยาว ............. Sondhi X
    Like
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1140 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (3)

    มีข้อสังเกตที่น่าสนใจ นอกจากข้อดี-ข้อเสีย จากปัจจัยค่าเงินบาทแข็งค่า แล้วยังปัจจัยอื่น ที่มีผลต่อผลตอบแทนที่เราจะได้รับ เมื่อดูจาก NAV ของกองทุน เช่น

    • ค่าธรรมเนียมกองทุน เช่น ค่าธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียมการซื้อขาย
    • ผลการดำเนินงานของกองทุนหลัก ผลตอบแทนของ Feeder Fund ขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของกองทุนหลัก (Master Fund) เป็นหลัก
    • นโยบายการลงทุนของกองทุน แต่ละกองทุนจะมีนโยบายการลงทุนที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจส่งผลต่อผลตอบแทนที่ได้รับ
    • เมื่อค่าเงินบาทแข็ง มักพบว่าหน่วยลงทุนกองทุนรวมต่างประเทศ (Feeder Fund) ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน มี NAV ลดลง เมื่อเทียบกับกองทุนที่ลงทุนคล้ายกัน แต่มีการป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน เพราะเมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น หมายความว่าเงินบาทมีค่ามากกว่าสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ทำให้เมื่อแปลงกลับมูลค่าหน่วยลงทุนส่วนของเรา ที่แฝงอยู่ในหน่วยลงทุนหลักที่ปลายทางต่างประเทศ ซึ่งเป็นสกุลดอลลาร์ มีค่าลดลง เช่น ตอนเริ่มต้นลงทุน สมมุติว่าเราซื้อหน่วยลงทุน 1,000 หน่วย ตอนที่ค่าเงินบาทเท่ากับ 35 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ และ NAV ของกองทุนอยู่ที่ 35 บาทต่อหน่วย หมายความว่า เงินของเรา 35,000 บาท จะถูกแปลงเป็นเงินดอลลาร์ประมาณ 1,000 ดอลลาร์ เพื่อไปลงทุนใน GLD ETF แต่พอต่อมาหลังจากนั้นสักระยะหนึ่งเกิดค่าเงินบาทแข็งค่า ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นเป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ แม้ว่ามูลค่าของทองคำใน GLD ETF จะไม่เปลี่ยนแปลง แต่เมื่อนำเงินกลับมาแปลงเป็นเงินบาท จะได้เงินบาทน้อยลง กลายเป็น 30,000 บาท ทำให้ NAV ของกองทุนลดลงเหลือ 30 บาทต่อหน่วย ทำให้มูลค่าของหน่วยลงทุนของเราลดลง
    กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (3) มีข้อสังเกตที่น่าสนใจ นอกจากข้อดี-ข้อเสีย จากปัจจัยค่าเงินบาทแข็งค่า แล้วยังปัจจัยอื่น ที่มีผลต่อผลตอบแทนที่เราจะได้รับ เมื่อดูจาก NAV ของกองทุน เช่น • ค่าธรรมเนียมกองทุน เช่น ค่าธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียมการซื้อขาย • ผลการดำเนินงานของกองทุนหลัก ผลตอบแทนของ Feeder Fund ขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของกองทุนหลัก (Master Fund) เป็นหลัก • นโยบายการลงทุนของกองทุน แต่ละกองทุนจะมีนโยบายการลงทุนที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจส่งผลต่อผลตอบแทนที่ได้รับ • เมื่อค่าเงินบาทแข็ง มักพบว่าหน่วยลงทุนกองทุนรวมต่างประเทศ (Feeder Fund) ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน มี NAV ลดลง เมื่อเทียบกับกองทุนที่ลงทุนคล้ายกัน แต่มีการป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน เพราะเมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น หมายความว่าเงินบาทมีค่ามากกว่าสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ทำให้เมื่อแปลงกลับมูลค่าหน่วยลงทุนส่วนของเรา ที่แฝงอยู่ในหน่วยลงทุนหลักที่ปลายทางต่างประเทศ ซึ่งเป็นสกุลดอลลาร์ มีค่าลดลง เช่น ตอนเริ่มต้นลงทุน สมมุติว่าเราซื้อหน่วยลงทุน 1,000 หน่วย ตอนที่ค่าเงินบาทเท่ากับ 35 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ และ NAV ของกองทุนอยู่ที่ 35 บาทต่อหน่วย หมายความว่า เงินของเรา 35,000 บาท จะถูกแปลงเป็นเงินดอลลาร์ประมาณ 1,000 ดอลลาร์ เพื่อไปลงทุนใน GLD ETF แต่พอต่อมาหลังจากนั้นสักระยะหนึ่งเกิดค่าเงินบาทแข็งค่า ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นเป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ แม้ว่ามูลค่าของทองคำใน GLD ETF จะไม่เปลี่ยนแปลง แต่เมื่อนำเงินกลับมาแปลงเป็นเงินบาท จะได้เงินบาทน้อยลง กลายเป็น 30,000 บาท ทำให้ NAV ของกองทุนลดลงเหลือ 30 บาทต่อหน่วย ทำให้มูลค่าของหน่วยลงทุนของเราลดลง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 388 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (2)

    ข้อดีของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น

    1. อาจได้ต้นทุนเฉลี่ยลดลง คือเมื่อซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ จะช่วยลดต้นทุนเฉลี่ยของหน่วยลงทุนทั้งหมดลง ทำให้ในอนาคตเมื่อราคาฟื้นตัว อาจได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น
    • หลักคิดคือ เมื่อราคาของ Master Fund ฟื้นตัวขึ้น (NAV เพิ่มขึ้น) หน่วยลงทุนที่เราซื้อในราคาต่ำจะให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น แล้วทำให้ผลตอบแทนโดยรวมของพอร์ตการลงทุนดีขึ้น เช่น สมมติว่าซื้อหน่วยลงทุนใน Feeder Fund เมื่อ NAV ของ Master Fund อยู่ที่ $100 และซื้อเพิ่มอีกครั้งเมื่อ NAV ลดลงเหลือ $80 ต้นทุนเฉลี่ยของเราอาจอยู่ที่ประมาณ $90 ซึ่งเมื่อราคาของ Master Fund กลับมาที่ $100 บาทอีกครั้ง ก็จะมีกำไรจากส่วนต่างที่เกิดขึ้น
    • ลดต้นทุนเฉลี่ย หมายถึงการซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ยของการลงทุนทั้งหมด ซึ่งราคาต่ำในที่นี้หมายถึง การที่เราใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเป็นดอลลาร์สหรัฐ

    2. เป็นโอกาสในการซื้อในตอนราคาน่าสนใจ คือถ้าเชื่อมั่นในสินทรัพย์ที่กองทุนลงทุนอยู่ เช่น ทองคำ การซื้อในช่วงที่ราคาต่ำอาจเป็นโอกาสที่ดีในการเข้าซื้อในราคาที่น่าสนใจ
    • ราคาน่าสนใจ หรือราคาต่ำ แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน ขึ้นกับหลักคิดของแต่ละคน เช่น บางคนมองกราฟราคา บางคนวางกรอบราคาระยะสั้น-ยาว บางคนก็ศึกษามาเอง บางคนใช้ความเชื่อ บางคนฟังเขามาอีกที

    ข้อเสียของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น

    ต้นทุนเฉลี่ยอาจไม่ได้ลดลงจริง คือ กองทุนรวม Feeder Fund จะมีระบบบริหารงานภายใน เพื่อให้มีต้นทุนการดำเนินงานที่ควบคุมได้ เช่น
    • เงินดอลลาร์ที่ใช้หมุนเวียน กองทุน Feeder Fund จำเป็นต้องมีเงินดอลลาร์เพื่อนำไปลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ซึ่งมักจะใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินก้อนนี้ถือเป็นต้นทุนคงที่ของกองทุน กองทุนจึงต้องบริหารเงินทุนนี้ให้มีต้นทุนที่ไม่ผันผวนนัก
    • อาจไม่ได้รับผลจากค่าเงินบาทแข็งมากนัก นักลงทุนรายย่อยซื้อเพิ่มเข้ามาอีกในจำนวนที่ไม่มากนัก อาจไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนโดยรวมของกองทุนมากเท่าไร คือจริงๆ แล้วกองทุนอาจจ่ายเงินดอลลาร์ออกไป ด้วยต้นทุนเมื่อคิดเป็นเงินบาทแล้วไม่ต่างจากตอนปกติเท่าไรนัก นอกจากนี้ กองทุนอาจมีกลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนที่ซับซ้อน เช่น การใช้สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
    กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (2) ข้อดีของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น 1. อาจได้ต้นทุนเฉลี่ยลดลง คือเมื่อซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ จะช่วยลดต้นทุนเฉลี่ยของหน่วยลงทุนทั้งหมดลง ทำให้ในอนาคตเมื่อราคาฟื้นตัว อาจได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น • หลักคิดคือ เมื่อราคาของ Master Fund ฟื้นตัวขึ้น (NAV เพิ่มขึ้น) หน่วยลงทุนที่เราซื้อในราคาต่ำจะให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น แล้วทำให้ผลตอบแทนโดยรวมของพอร์ตการลงทุนดีขึ้น เช่น สมมติว่าซื้อหน่วยลงทุนใน Feeder Fund เมื่อ NAV ของ Master Fund อยู่ที่ $100 และซื้อเพิ่มอีกครั้งเมื่อ NAV ลดลงเหลือ $80 ต้นทุนเฉลี่ยของเราอาจอยู่ที่ประมาณ $90 ซึ่งเมื่อราคาของ Master Fund กลับมาที่ $100 บาทอีกครั้ง ก็จะมีกำไรจากส่วนต่างที่เกิดขึ้น • ลดต้นทุนเฉลี่ย หมายถึงการซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ยของการลงทุนทั้งหมด ซึ่งราคาต่ำในที่นี้หมายถึง การที่เราใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเป็นดอลลาร์สหรัฐ 2. เป็นโอกาสในการซื้อในตอนราคาน่าสนใจ คือถ้าเชื่อมั่นในสินทรัพย์ที่กองทุนลงทุนอยู่ เช่น ทองคำ การซื้อในช่วงที่ราคาต่ำอาจเป็นโอกาสที่ดีในการเข้าซื้อในราคาที่น่าสนใจ • ราคาน่าสนใจ หรือราคาต่ำ แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน ขึ้นกับหลักคิดของแต่ละคน เช่น บางคนมองกราฟราคา บางคนวางกรอบราคาระยะสั้น-ยาว บางคนก็ศึกษามาเอง บางคนใช้ความเชื่อ บางคนฟังเขามาอีกที ข้อเสียของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น ต้นทุนเฉลี่ยอาจไม่ได้ลดลงจริง คือ กองทุนรวม Feeder Fund จะมีระบบบริหารงานภายใน เพื่อให้มีต้นทุนการดำเนินงานที่ควบคุมได้ เช่น • เงินดอลลาร์ที่ใช้หมุนเวียน กองทุน Feeder Fund จำเป็นต้องมีเงินดอลลาร์เพื่อนำไปลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ซึ่งมักจะใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินก้อนนี้ถือเป็นต้นทุนคงที่ของกองทุน กองทุนจึงต้องบริหารเงินทุนนี้ให้มีต้นทุนที่ไม่ผันผวนนัก • อาจไม่ได้รับผลจากค่าเงินบาทแข็งมากนัก นักลงทุนรายย่อยซื้อเพิ่มเข้ามาอีกในจำนวนที่ไม่มากนัก อาจไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนโดยรวมของกองทุนมากเท่าไร คือจริงๆ แล้วกองทุนอาจจ่ายเงินดอลลาร์ออกไป ด้วยต้นทุนเมื่อคิดเป็นเงินบาทแล้วไม่ต่างจากตอนปกติเท่าไรนัก นอกจากนี้ กองทุนอาจมีกลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนที่ซับซ้อน เช่น การใช้สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 438 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (1)

    คำถาม :
    ถ้ากองทุน feeder fund ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน ลงทุนในกองทุนแม่ GLD ETF เป็นกอง Master Fund แล้วตอนนี้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ถ้าตอนนี้ NAV ของ Feeder Fund ที่ว่านี้ติดลบ ถ้าซื้อถัวไปอีก จะมีข้อดี-เสีย ยังไง

    ทั้งนี้
    • Feeder Fund คือ กองทุนรวมที่ลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ในต่างประเทศ
    • Master Fund ในที่นี้คือ GLD ETF ซึ่งเป็นกองทุนที่ลงทุนในทองคำ
    • ค่าเงินบาทแข็งค่า หมายความว่า เงินบาทมีค่ามากขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ
    • NAV ติดลบ: หมายถึง มูลค่าสุทธิของสินทรัพย์ต่อหน่วยลงทุนของกองทุนลดลง

    ตอบ :
    ช่วงที่ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น นักลงทุนที่ซื้อหน่วยลงทุนในช่วงเวลานั้น อาจไม่ได้รับประโยชน์จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไป เพราะมีปัจจัยภายในของกองทุน เช่น ขนาดของเงินทุนที่กองทุนมีอยู่ กลยุทธ์การบริหารเงินทุน และค่าธรรมเนียมต่างๆ ล้วนมีส่วนสำคัญในการกำหนดผลตอบแทนที่นักลงทุนจะได้รับ
    กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (1) คำถาม : ถ้ากองทุน feeder fund ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน ลงทุนในกองทุนแม่ GLD ETF เป็นกอง Master Fund แล้วตอนนี้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ถ้าตอนนี้ NAV ของ Feeder Fund ที่ว่านี้ติดลบ ถ้าซื้อถัวไปอีก จะมีข้อดี-เสีย ยังไง ทั้งนี้ • Feeder Fund คือ กองทุนรวมที่ลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ในต่างประเทศ • Master Fund ในที่นี้คือ GLD ETF ซึ่งเป็นกองทุนที่ลงทุนในทองคำ • ค่าเงินบาทแข็งค่า หมายความว่า เงินบาทมีค่ามากขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ • NAV ติดลบ: หมายถึง มูลค่าสุทธิของสินทรัพย์ต่อหน่วยลงทุนของกองทุนลดลง ตอบ : ช่วงที่ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น นักลงทุนที่ซื้อหน่วยลงทุนในช่วงเวลานั้น อาจไม่ได้รับประโยชน์จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไป เพราะมีปัจจัยภายในของกองทุน เช่น ขนาดของเงินทุนที่กองทุนมีอยู่ กลยุทธ์การบริหารเงินทุน และค่าธรรมเนียมต่างๆ ล้วนมีส่วนสำคัญในการกำหนดผลตอบแทนที่นักลงทุนจะได้รับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 222 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥 แอดมิน ได้มีโอกาสคุยกับน้องที่มาจาก
    เวียงจันทน์ ประเทศลาว
    เลยลองถามเหตุผลว่า ทำไมถึงมาทำงานที่เมืองไทย?
    และค่าครองชีพ ที่ไทยกับเวียงจันทน์ ที่ไหนสูงกว่ากัน?

    น้องตอบว่า :

    🚩1. สาเหตุที่มาทำงานที่เมืองไทย เพราะค่าเงินบาท
    แข็งค่ากว่า ค่าเงินกีบ(ลาว) เมื่อนำไปแลกที่เวียงจันทน์ จะได้
    จำนวนเงินที่เยอะกว่า (ดูอัตราแลกเปลี่ยนล่าสุด 10 ก.ย.2567
    ค่าเงิน 1 บาท= 653.01 กีบ)

    🚩2. ค่าครองชีพ ไม่น่าเชื่อว่าที่เมืองไทยจะถูกกว่า น้องบอกว่า
    ที่นี่สามารถซื้อหมูปิ้ง และไก่ย่าง ไม้ละ 5-10 บาท ได้
    แต่ที่เวียงจันทน์ อย่างต่ำต้องเจอไม้ละ 20 บาท
    เมืองไทยสามารถอยู่ได้สบายๆ
    (อัตราเงินเฟ้อที่ลาว ปัจจุบัน อยู่ที่ 25%) ทำให้สินค้าอุปโภค
    บริโภคภายในประเทศมีราคาที่สูง)


    เรื่องนี้สะท้อนได้หลายเรื่อง ที่สำคัญคือ

    🚩*การเคลื่อนย้ายแรงงาน จากประเทศเพื่อนบ้าน
    เพื่อเข้ามาทำงานที่เมืองไทย มีแนวโน้มสูงขึ้น

    🚩*ค่าครองชีพ ที่เมืองไทย ถือว่า อยู่ในระดับที่ไม่สูง
    ดังนั้น ชาวต่างชาติ จึงสนใจเข้ามาอยู่ที่เมืองไทย
    มีแนวโน้มที่สูงขึ้น จุดนี้ถือว่าเป็นจุดแข็งที่สำคัญ
    ของเมืองไทย


    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    🔥🔥 แอดมิน ได้มีโอกาสคุยกับน้องที่มาจาก เวียงจันทน์ ประเทศลาว เลยลองถามเหตุผลว่า ทำไมถึงมาทำงานที่เมืองไทย? และค่าครองชีพ ที่ไทยกับเวียงจันทน์ ที่ไหนสูงกว่ากัน? น้องตอบว่า : 🚩1. สาเหตุที่มาทำงานที่เมืองไทย เพราะค่าเงินบาท แข็งค่ากว่า ค่าเงินกีบ(ลาว) เมื่อนำไปแลกที่เวียงจันทน์ จะได้ จำนวนเงินที่เยอะกว่า (ดูอัตราแลกเปลี่ยนล่าสุด 10 ก.ย.2567 ค่าเงิน 1 บาท= 653.01 กีบ) 🚩2. ค่าครองชีพ ไม่น่าเชื่อว่าที่เมืองไทยจะถูกกว่า น้องบอกว่า ที่นี่สามารถซื้อหมูปิ้ง และไก่ย่าง ไม้ละ 5-10 บาท ได้ แต่ที่เวียงจันทน์ อย่างต่ำต้องเจอไม้ละ 20 บาท เมืองไทยสามารถอยู่ได้สบายๆ (อัตราเงินเฟ้อที่ลาว ปัจจุบัน อยู่ที่ 25%) ทำให้สินค้าอุปโภค บริโภคภายในประเทศมีราคาที่สูง) เรื่องนี้สะท้อนได้หลายเรื่อง ที่สำคัญคือ 🚩*การเคลื่อนย้ายแรงงาน จากประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเข้ามาทำงานที่เมืองไทย มีแนวโน้มสูงขึ้น 🚩*ค่าครองชีพ ที่เมืองไทย ถือว่า อยู่ในระดับที่ไม่สูง ดังนั้น ชาวต่างชาติ จึงสนใจเข้ามาอยู่ที่เมืองไทย มีแนวโน้มที่สูงขึ้น จุดนี้ถือว่าเป็นจุดแข็งที่สำคัญ ของเมืองไทย #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 786 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥พบปัญหาการขาดทุนอื้อ
    เมื่อผู้ฝากเงินบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit)
    เมื่อคิดจะถอนเงินในบัญชีตอนนี้ จะขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที
    จากการที่เงินบาทแข็งค่าขึ้น

    🚩โดยบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit) คือ บัญชีเงินฝาก
    สำหรับบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ที่ต้องการฝากเงิน
    เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ, ยูโร, หยวน เป็นต้น

    🚩เมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น ณ ปัจจุบัน จะส่งผลให้ ผู้ฝากเงิน
    ที่จะถอนเงินดังกล่าว ในช่วงเวลานี้ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

    🚩ดังนั้น บัญชีเงินฝากแบบ FCD เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
    ที่ผู้ใช้บริการต้องศึกษาให้ดี เพราะข้อดีคือช่วยปิดความเสี่ยง
    จากอัตราแลกเปลี่ยนได้ แล้วมีกำไร แต่ข้อเสียคือ ก็สามารถ
    ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่เปลี่ยนแปลงไปได้เช่นเดียวกัน

    ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #FCD #อัตราแลกเปลี่ยน
    #thaitimes
    🔥🔥พบปัญหาการขาดทุนอื้อ เมื่อผู้ฝากเงินบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit) เมื่อคิดจะถอนเงินในบัญชีตอนนี้ จะขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที จากการที่เงินบาทแข็งค่าขึ้น 🚩โดยบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit) คือ บัญชีเงินฝาก สำหรับบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ที่ต้องการฝากเงิน เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ, ยูโร, หยวน เป็นต้น 🚩เมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น ณ ปัจจุบัน จะส่งผลให้ ผู้ฝากเงิน ที่จะถอนเงินดังกล่าว ในช่วงเวลานี้ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 🚩ดังนั้น บัญชีเงินฝากแบบ FCD เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ที่ผู้ใช้บริการต้องศึกษาให้ดี เพราะข้อดีคือช่วยปิดความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนได้ แล้วมีกำไร แต่ข้อเสียคือ ก็สามารถ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่เปลี่ยนแปลงไปได้เช่นเดียวกัน ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #FCD #อัตราแลกเปลี่ยน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 849 มุมมอง 0 รีวิว