• ด่วน!
    กัมพูชาปฏิเสธข้อกล่าวหาของไทย กรณีทหารชุดลาดตระเวนของไทยเหยียบกับระเบิด ย้ำ! ไม่ใช่ความรับผิดชอบของกัมพูชา

    พลโท มาลี โสเจียตา (Maly Socheata) ปลัดกระทรวงและโฆษกกระทรวงกลาโหมกัมพูชา ได้ออกแถลงการณ์ปฏิเสธข้อกล่าวหาของฝ่ายไทยอย่างสิ้นเชิง โดยระบุว่าเป็นการกล่าวหาที่ไม่มีมูลความจริง

    ในแถลงการณ์ดังกล่าว พลโท มาลี โสเจียตา ยืนยันว่า กัมพูชาขอปฏิเสธข้อกล่าวหาที่ไม่มีมูลจากฝ่ายไทยทั้งหมด เกี่ยวกับการบาดเจ็บของทหารไทย 5 นายจากเหตุทุ่นระเบิดระเบิดในหมู่บ้านอานเสะ ตำบลจอมกระสานต์ อำเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร (บริเวณห้วยบอน ช่องอานม้า อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี) เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2568
    .
    กระทรวงกลาโหมกัมพูชายังระบุด้วยว่า กัมพูชาได้ย้ำเตือนฝ่ายไทยหลายครั้งแล้วว่าพื้นที่เหล่านั้นยังคงมีทุ่นระเบิดจำนวนมาก ซึ่งเป็นเศษซากจากสงครามในอดีตที่ยังไม่ได้รับการกวาดล้างจนหมด และได้เรียกร้องให้ฝ่ายไทยหลีกเลี่ยงการกระทำที่ขัดต่อข้อตกลงร่วมกันในการใช้เส้นทางลาดตระเวนตามที่ระบุไว้ใน บันทึกความเข้าใจปี 2000 (MOU 2000)
    .
    แถลงการณ์แสดงความเสียใจอย่างยิ่งที่ฝ่ายไทยไม่เพียงแต่ไม่รับผิดชอบต่อการกระทำที่รุกรานของตนเอง แต่ยังกล่าวหากัมพูชาว่าละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทั้งที่กัมพูชาเองเป็นเหยื่อที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการละเมิดกฎหมายของไทย
    .
    ในตอนท้าย กระทรวงกลาโหมและกองทัพกัมพูชายืนยันว่าจะยังคงปฏิบัติตามการตัดสินใจของรัฐบาลกัมพูชาในการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธีตามกฎหมายระหว่างประเทศ และพร้อมที่จะปกป้องอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความปลอดภัยของประชาชนชาวกัมพูชา โดยจะไม่อนุญาตให้ประเทศใดรุกล้ำเข้ามาในดินแดนของตนเป็นอันขาด ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม

    https://www.facebook.com/share/p/15isUPq9mT/
    ด่วน! กัมพูชาปฏิเสธข้อกล่าวหาของไทย กรณีทหารชุดลาดตระเวนของไทยเหยียบกับระเบิด ย้ำ! ไม่ใช่ความรับผิดชอบของกัมพูชา พลโท มาลี โสเจียตา (Maly Socheata) ปลัดกระทรวงและโฆษกกระทรวงกลาโหมกัมพูชา ได้ออกแถลงการณ์ปฏิเสธข้อกล่าวหาของฝ่ายไทยอย่างสิ้นเชิง โดยระบุว่าเป็นการกล่าวหาที่ไม่มีมูลความจริง ในแถลงการณ์ดังกล่าว พลโท มาลี โสเจียตา ยืนยันว่า กัมพูชาขอปฏิเสธข้อกล่าวหาที่ไม่มีมูลจากฝ่ายไทยทั้งหมด เกี่ยวกับการบาดเจ็บของทหารไทย 5 นายจากเหตุทุ่นระเบิดระเบิดในหมู่บ้านอานเสะ ตำบลจอมกระสานต์ อำเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร (บริเวณห้วยบอน ช่องอานม้า อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี) เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2568 . กระทรวงกลาโหมกัมพูชายังระบุด้วยว่า กัมพูชาได้ย้ำเตือนฝ่ายไทยหลายครั้งแล้วว่าพื้นที่เหล่านั้นยังคงมีทุ่นระเบิดจำนวนมาก ซึ่งเป็นเศษซากจากสงครามในอดีตที่ยังไม่ได้รับการกวาดล้างจนหมด และได้เรียกร้องให้ฝ่ายไทยหลีกเลี่ยงการกระทำที่ขัดต่อข้อตกลงร่วมกันในการใช้เส้นทางลาดตระเวนตามที่ระบุไว้ใน บันทึกความเข้าใจปี 2000 (MOU 2000) . แถลงการณ์แสดงความเสียใจอย่างยิ่งที่ฝ่ายไทยไม่เพียงแต่ไม่รับผิดชอบต่อการกระทำที่รุกรานของตนเอง แต่ยังกล่าวหากัมพูชาว่าละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทั้งที่กัมพูชาเองเป็นเหยื่อที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการละเมิดกฎหมายของไทย . ในตอนท้าย กระทรวงกลาโหมและกองทัพกัมพูชายืนยันว่าจะยังคงปฏิบัติตามการตัดสินใจของรัฐบาลกัมพูชาในการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธีตามกฎหมายระหว่างประเทศ และพร้อมที่จะปกป้องอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความปลอดภัยของประชาชนชาวกัมพูชา โดยจะไม่อนุญาตให้ประเทศใดรุกล้ำเข้ามาในดินแดนของตนเป็นอันขาด ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม https://www.facebook.com/share/p/15isUPq9mT/
    0 Comments 0 Shares 65 Views 0 Reviews
  • "หลักฐานชัด!" ก.ต่างประเทศ แถลงระเบิดช่องบกเป็นของใหม่-ไม่ใช่ไทยใช้ จี้กัมพูชาหยุดละเมิดออตตาวา
    https://www.thai-tai.tv/news/20415/
    .
    #ทุ่นระเบิดช่องบก #กระทรวงการต่างประเทศ #ละเมิดอธิปไตย #ชายแดนไทยกัมพูชา #สนธิสัญญาออตตาวา #ประณาม #ความมั่นคงชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ

    "หลักฐานชัด!" ก.ต่างประเทศ แถลงระเบิดช่องบกเป็นของใหม่-ไม่ใช่ไทยใช้ จี้กัมพูชาหยุดละเมิดออตตาวา https://www.thai-tai.tv/news/20415/ . #ทุ่นระเบิดช่องบก #กระทรวงการต่างประเทศ #ละเมิดอธิปไตย #ชายแดนไทยกัมพูชา #สนธิสัญญาออตตาวา #ประณาม #ความมั่นคงชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ
    0 Comments 0 Shares 89 Views 0 Reviews
  • รัฐบาลไทยออกแถลงการณ์ประณามกัมพูชาอย่างรุนแรงที่สุด กรณีวางทุ่นระเบิดสังหารบุคคลใหม่ที่ช่องบก อุบลราชธานี ยันไม่ใช่ของไทย ละเมิดอธิปไตยและอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิด ขู่ใช้กลไกทวิภาคีและเรียกร้องให้เก็บกู้ทันที

    “ตามที่เมื่อวันที่ 16 ก.ค.2568 กำลังพลกองร้อยทหารราบที่ 6021 รวม 3 นาย ซึ่งทำการลาดตระเวนตามปกติในดินแดนของไทย บริเวณช่องบก จังหวัดอุบลราชธานี ประสบเหตุเหยียบทุ่นระเบิดสังหารบุคคลนั้น

    รัฐบาลไทยได้รับรายงานจากหน่วยงานความมั่นคงว่า ภายหลังการตรวจสอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรากฏหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ทุ่นระเบิดที่พบ ไม่มีการใช้ หรือมีอยู่ในคลังอาวุธของไทย และเป็นทุ่นระเบิดที่วางใหม่ เมื่อประกอบกับการประมวลข้อมูล และหลักฐานสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ที่หน่วยงานความมั่นคงตรวจพบ นำไปสู่ข้อสรุปได้ว่าเป็นการวางทุ่นระเบิดสังหารบุคคลที่ถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างร้ายแรง

    รัฐบาลไทยขอประณามอย่างรุนแรงที่สุด ต่อการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ซึ่งถือเป็นการละเมิดอธิปไตยและ บูรณภาพแห่งดินแดนของไทย และเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักการพื้นฐานที่สำคัญของกฎหมายระหว่างประเทศที่ระบุไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ อีกทั้งยังเป็นการกระทำที่ละเมิดพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคลอย่างชัดเจน

    ไทยในฐานะรัฐภาคีอนุสัญญาฯ จะดำเนินการตามกระบวนการภายใต้อนุสัญญาฯ โดยจะยังคงหาทางแก้ปัญหากับกัมพูชาผ่านกลไกทวิภาคีต่าง ๆ ที่มีอยู่ และขอเรียกร้องฝ่ายกัมพูชาให้ความร่วมมือในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรมตามแนวชายแดนตามที่นายกรัฐมนตรีของทั้งสองฝ่ายได้ตกลงกันภายในกรอบทวิภาคี“


    รัฐบาลไทยออกแถลงการณ์ประณามกัมพูชาอย่างรุนแรงที่สุด กรณีวางทุ่นระเบิดสังหารบุคคลใหม่ที่ช่องบก อุบลราชธานี ยันไม่ใช่ของไทย ละเมิดอธิปไตยและอนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิด ขู่ใช้กลไกทวิภาคีและเรียกร้องให้เก็บกู้ทันที “ตามที่เมื่อวันที่ 16 ก.ค.2568 กำลังพลกองร้อยทหารราบที่ 6021 รวม 3 นาย ซึ่งทำการลาดตระเวนตามปกติในดินแดนของไทย บริเวณช่องบก จังหวัดอุบลราชธานี ประสบเหตุเหยียบทุ่นระเบิดสังหารบุคคลนั้น รัฐบาลไทยได้รับรายงานจากหน่วยงานความมั่นคงว่า ภายหลังการตรวจสอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรากฏหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ทุ่นระเบิดที่พบ ไม่มีการใช้ หรือมีอยู่ในคลังอาวุธของไทย และเป็นทุ่นระเบิดที่วางใหม่ เมื่อประกอบกับการประมวลข้อมูล และหลักฐานสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ที่หน่วยงานความมั่นคงตรวจพบ นำไปสู่ข้อสรุปได้ว่าเป็นการวางทุ่นระเบิดสังหารบุคคลที่ถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างร้ายแรง รัฐบาลไทยขอประณามอย่างรุนแรงที่สุด ต่อการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ซึ่งถือเป็นการละเมิดอธิปไตยและ บูรณภาพแห่งดินแดนของไทย และเป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักการพื้นฐานที่สำคัญของกฎหมายระหว่างประเทศที่ระบุไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ อีกทั้งยังเป็นการกระทำที่ละเมิดพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคลอย่างชัดเจน ไทยในฐานะรัฐภาคีอนุสัญญาฯ จะดำเนินการตามกระบวนการภายใต้อนุสัญญาฯ โดยจะยังคงหาทางแก้ปัญหากับกัมพูชาผ่านกลไกทวิภาคีต่าง ๆ ที่มีอยู่ และขอเรียกร้องฝ่ายกัมพูชาให้ความร่วมมือในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรมตามแนวชายแดนตามที่นายกรัฐมนตรีของทั้งสองฝ่ายได้ตกลงกันภายในกรอบทวิภาคี“
    0 Comments 0 Shares 217 Views 0 Reviews
  • 20 ประเทศจับมือเดินเกมใช้กฎหมายระหว่างประเทศเล่นงานอิสราเอล!

    กลุ่ม 20 ประเทศ ซึ่งรวมถึงจีน สเปน และไอร์แลนด์ จะจัดการประชุมกันที่โบโกตา ประเทศโคลอมเบียในสัปดาห์หน้า เพื่อลงมติใช้มาตรการอย่างจริงจังในการลงโทษอิสราเอล หลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศหลายครั้งจากปฏิบัติการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในกาซา

    ประเทศที่จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดครั้งนี้ ได้แก่ แอลจีเรีย บังกลาเทศ โบลิเวีย บราซิล ชิลี จีน โคลอมเบีย คิวบา จิบูตี ฮอนดูรัส อินโดนีเซีย ไอร์แลนด์ เลบานอน มาเลเซีย นามิเบีย นิการากัว โอมาน โปรตุเกส สเปน กาตาร์ เซเนกัล แอฟริกาใต้ ตุรกี เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ อุรุกวัย และปาเลสไตน์

    ทางด้านสหรัฐและอิสราเอล ออกแถลงการณ์ประณามการประชุมครั้งนี้ทันที

    โดยสหรัฐระบุว่า ประเทศเหล่านี้กำลังใช้กฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือทางการเมือง ซึ่งเป็นภัยต่อระเบียบโลกเพื่อโจมตีอิสราเอล

    ส่วนทางอิสราเอล ออกมาตอบโต้โดยอ้างถึงการเสียชีวิตของชาวยิว 1200 ราย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2023 ว่า ประเทศเหล่านี้คงลืมไปแล้ว ว่าอิสราเอลเป็นฝ่ายถูกกระทำ และนี่คือจุดเริ่มต้นของสงครามทั้งปวง พร้อมย้ำว่า “สงครามจะไม่ยุติ ตราบใดที่ตัวประกันยังไม่ถูกปล่อย และฮามาสไม่ถูกทำลาย”
    20 ประเทศจับมือเดินเกมใช้กฎหมายระหว่างประเทศเล่นงานอิสราเอล! กลุ่ม 20 ประเทศ ซึ่งรวมถึงจีน สเปน และไอร์แลนด์ จะจัดการประชุมกันที่โบโกตา ประเทศโคลอมเบียในสัปดาห์หน้า เพื่อลงมติใช้มาตรการอย่างจริงจังในการลงโทษอิสราเอล หลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศหลายครั้งจากปฏิบัติการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในกาซา ประเทศที่จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดครั้งนี้ ได้แก่ แอลจีเรีย บังกลาเทศ โบลิเวีย บราซิล ชิลี จีน โคลอมเบีย คิวบา จิบูตี ฮอนดูรัส อินโดนีเซีย ไอร์แลนด์ เลบานอน มาเลเซีย นามิเบีย นิการากัว โอมาน โปรตุเกส สเปน กาตาร์ เซเนกัล แอฟริกาใต้ ตุรกี เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ อุรุกวัย และปาเลสไตน์ ทางด้านสหรัฐและอิสราเอล ออกแถลงการณ์ประณามการประชุมครั้งนี้ทันที โดยสหรัฐระบุว่า ประเทศเหล่านี้กำลังใช้กฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือทางการเมือง ซึ่งเป็นภัยต่อระเบียบโลกเพื่อโจมตีอิสราเอล ส่วนทางอิสราเอล ออกมาตอบโต้โดยอ้างถึงการเสียชีวิตของชาวยิว 1200 ราย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2023 ว่า ประเทศเหล่านี้คงลืมไปแล้ว ว่าอิสราเอลเป็นฝ่ายถูกกระทำ และนี่คือจุดเริ่มต้นของสงครามทั้งปวง พร้อมย้ำว่า “สงครามจะไม่ยุติ ตราบใดที่ตัวประกันยังไม่ถูกปล่อย และฮามาสไม่ถูกทำลาย”
    0 Comments 0 Shares 209 Views 0 Reviews
  • กต.เขมรโต้กลับ ยันไทยละเมิด MOU 43 ซ้ำซาก เตรียมวิ่งแจ้นฟ้องศาลโลก เหตุกลไกทวิภาคีไร้ผล
    https://www.thai-tai.tv/news/20100/
    .
    #กัมพูชา #ไทย #MOU43 #เขตแดน #ศาลโลก #ICJ #กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา #กระทรวงการต่างประเทศไทย #JBC #แผนที่สยามฝรั่งเศส #ข้อพิพาทชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ #อธิปไตย #การเมืองระหว่างประเทศ
    กต.เขมรโต้กลับ ยันไทยละเมิด MOU 43 ซ้ำซาก เตรียมวิ่งแจ้นฟ้องศาลโลก เหตุกลไกทวิภาคีไร้ผล https://www.thai-tai.tv/news/20100/ . #กัมพูชา #ไทย #MOU43 #เขตแดน #ศาลโลก #ICJ #กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา #กระทรวงการต่างประเทศไทย #JBC #แผนที่สยามฝรั่งเศส #ข้อพิพาทชายแดน #กฎหมายระหว่างประเทศ #อธิปไตย #การเมืองระหว่างประเทศ
    0 Comments 0 Shares 241 Views 0 Reviews
  • กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาว สำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC

    หลังจากที่วานนี้ กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์แสดงจุดยืน 8 ข้อ เกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา โดยได้ประณามฝ่ายไทยว่าเป็นฝ่ายก่อปัญหาจากการที่ทหารไทยรุกล้ำอธิปไตยบริเวณสามเหลี่ยมมรกต (ช่องบก) เข้าไปยิงทหารกัมพูชาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 68 ทำให้สถานการณ์ตึงเครียดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกัมพูชาต้องตัดสินใจนำข้อพิพาทกับไทย 4 พื้นที่ไปฟ้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) พร้อมเรียกร้องให้ฝ่ายไทยยอมรับขอบเขตอำนาจของ ICJ เพื่อหาทางยุติปัญหาโดยใช้กฎหมายระหว่างประเทศนั้น ล่าสุด วันนี้ (6 ก.ค.) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคำชี้แจงข้อมูล ข้อคิดเห็นและท่าทีเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ความตึงเครียดตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000063597

    #Thaitimes #MGROnline #กัมพูชา
    กต.ไทยแถลงโต้กัมพูชา จี้ทำตาม MOU43 ที่ระบุให้ใช้กลไกทวิภาคีแก้ปัญหาเขตแดน ไม่มีตรงไหนที่ให้ใช้กลไกอื่นรวมทั้งศาลโลก ยัน JBC ใช้ได้ผล ไทยปักปันเขตแดนกับมาเลเซีย-ลาว สำเร็จแล้วกว่า 90% และเขมรเองก็ใช้กลไกนี้กับเพื่อนบ้านอื่น วอนกัมพูชาเคารพพันธกรณีที่มีร่วมกัน นำ 4 พื้นที่กลับมาเจราในที่ประชุม JBC • หลังจากที่วานนี้ กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาออกแถลงการณ์แสดงจุดยืน 8 ข้อ เกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา โดยได้ประณามฝ่ายไทยว่าเป็นฝ่ายก่อปัญหาจากการที่ทหารไทยรุกล้ำอธิปไตยบริเวณสามเหลี่ยมมรกต (ช่องบก) เข้าไปยิงทหารกัมพูชาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 68 ทำให้สถานการณ์ตึงเครียดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกัมพูชาต้องตัดสินใจนำข้อพิพาทกับไทย 4 พื้นที่ไปฟ้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) พร้อมเรียกร้องให้ฝ่ายไทยยอมรับขอบเขตอำนาจของ ICJ เพื่อหาทางยุติปัญหาโดยใช้กฎหมายระหว่างประเทศนั้น ล่าสุด วันนี้ (6 ก.ค.) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคำชี้แจงข้อมูล ข้อคิดเห็นและท่าทีเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ความตึงเครียดตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000063597 • #Thaitimes #MGROnline #กัมพูชา
    0 Comments 0 Shares 392 Views 0 Reviews
  • TOR 2003 และการประชุม JBC ที่เกี่ยวข้องกับการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา มีผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญที่เกี่ยวข้องดังนี้:


    ---

    ช่วงการลงนาม TOR 2003

    18 มิถุนายน 2546 (พ.ศ. 2003)

    นายกรัฐมนตรี: พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร

    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ:
    นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย

    ผู้ร่วมลงนามฝ่ายไทย:
    นายธีรชัย ภูวนาถนรานุบาล – เอกอัครราชทูตไทยประจำกัมพูชา (ในขณะนั้น)



    ---

    ช่วง JBC ระยอง (พ.ย. 2551) – รัฐบาล นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

    นายกรัฐมนตรี: นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

    รมว.ต่างประเทศ: นายสมพงษ์ สระกวี

    เป็นการประชุมที่ยืนยันดำเนินการตาม TOR 2003



    ---

    JBC ช่วงรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (2552–2554)

    นายกรัฐมนตรี: นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

    รมว.ต่างประเทศ: นายกษิต ภิรมย์

    ประธาน JBC ฝ่ายไทย:
    นายธานี ทองภักดี (ในบางช่วงดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ)

    JTSC ครั้งที่ 4 (14 ก.ค. 2567)
    นายกรัฐมนตรี: นายเศษฐา ทวีสิน
    จุดเริ่มต้นการผลักดันและนำ JTSC JWG TOR2003 กลับมาขับเคลื่อนอีกครั้ง

    ---

    JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) – ล่าสุด
    นายกรัฐมนตรี: น.ส.แพทองธาร ชินวัตร
    รมว.ต่างประเทศ: ยังไม่เปิดเผยชื่ออย่างเป็นทางการ (อาจเปลี่ยนมือระหว่างปี)

    ประธาน JBC ฝ่ายไทย:
    นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย – ที่ปรึกษาด้านเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ


    สรุป:
    ช่วงรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการ “ฟื้นฟูการดำเนินการ JTSC อย่างเป็นทางการ”
    โดยมีความเคลื่อนไหวสำคัญคือการยอมรับผลการสำรวจ 45 จุด และเปิดทางให้จัดทำ TI
    ซึ่งจะมีผลทางกฎหมายในรัฐบาลถัดมา (แพทองธาร)


    --พฤติกรรมของกัมพูชาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึง การดำเนินการเชิงยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน และใช้เครื่องมือทางกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยืนยันสิทธิในดินแดนโดย:


    ---

    วิเคราะห์พฤติกรรมที่ผ่านมา

    1. ใช้ TOR 2003 เป็นฐานเจรจา โดยไม่เปลี่ยนกรอบการตีความ


    2. พยายามบรรจุแนวเขตตามแผนที่ 1:200,000 ลงในกระบวนการทางเทคนิค เช่น TI / Orthophoto


    3. ยืนยันพิกัดรายหลักอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ไทย “ลงนามรับรองร่วม”


    4. เก็บหลักฐานการยอมรับจากฝ่ายไทย เพื่อนำไปใช้ในเวทีระหว่างประเทศ




    ---

    สิ่งที่ “กัมพูชาอาจทำต่อไป”:

    ลำดับ กลยุทธ์ที่เป็นไปได้ เป้าหมาย

    1 เร่งผลักดันให้ไทยลงนาม TI อย่างเป็นทางการ ล็อกแนวเขตให้สอดคล้องกับแผนที่ 1:200,000
    2 จัดเก็บข้อมูลพิกัดที่ไทยร่วมลงนามไว้เป็นหลักฐาน ใช้ยืนยันต่อ ICJ หรือในเวที UN
    3 ขอให้ไทยร่วมแผนปักเสาเขตร่วมในพื้นที่พิพาท สร้าง “แนวเส้นที่เกิดจากการรับรองร่วม”
    4 ไม่หารือในพื้นที่สำคัญ เช่น ปราสาทตาเมือนฯ ผ่าน JBC เพื่อบังคับไทยเข้าสู่ ICJ ในภายหลัง
    5 ขอความช่วยเหลือจากชาติสมาชิกอาเซียน / UNESCO ใช้ soft power หนุนสถานะทางประวัติศาสตร์และสิทธิในดินแดน



    ---

    ความเสี่ยง:

    หากไทย “ลงนามรับรอง TI / พิกัด” โดยไม่เปิดเผยให้รัฐสภา-ประชาชนตรวจสอบ
    → จะถูกตีความว่า “ยอมรับเขตแดนร่วมแล้ว”

    หากไทยเงียบและไม่แสดงจุดยืน → กัมพูชาจะใช้ “หลักฐานความนิ่งเฉย” โจมตีในเวทีสากล

    เมื่อแนวเขตปรากฏในเอกสารระหว่างประเทศ → ไทยจะฟ้องกลับภายหลัง ยากมาก


    TOR 2003 และการประชุม JBC ที่เกี่ยวข้องกับการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา มีผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญที่เกี่ยวข้องดังนี้: --- 📌 ช่วงการลงนาม TOR 2003 📅 18 มิถุนายน 2546 (พ.ศ. 2003) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 🕴️ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ: นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย 📌 ผู้ร่วมลงนามฝ่ายไทย: นายธีรชัย ภูวนาถนรานุบาล – เอกอัครราชทูตไทยประจำกัมพูชา (ในขณะนั้น) --- 📌 ช่วง JBC ระยอง (พ.ย. 2551) – รัฐบาล นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: นายสมพงษ์ สระกวี 🧾 เป็นการประชุมที่ยืนยันดำเนินการตาม TOR 2003 --- 📌 JBC ช่วงรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (2552–2554) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: นายกษิต ภิรมย์ 🎙️ ประธาน JBC ฝ่ายไทย: นายธานี ทองภักดี (ในบางช่วงดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ) 📌 JTSC ครั้งที่ 4 (14 ก.ค. 2567) 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: นายเศษฐา ทวีสิน จุดเริ่มต้นการผลักดันและนำ JTSC JWG TOR2003 กลับมาขับเคลื่อนอีกครั้ง --- 📌 JBC ครั้งที่ 6 (14 มิ.ย. 2568) – ล่าสุด 🧑‍⚖️ นายกรัฐมนตรี: น.ส.แพทองธาร ชินวัตร 🕴️ รมว.ต่างประเทศ: ยังไม่เปิดเผยชื่ออย่างเป็นทางการ (อาจเปลี่ยนมือระหว่างปี) 🎙️ ประธาน JBC ฝ่ายไทย: นายประศาสน์ ประศาสน์วินิจฉัย – ที่ปรึกษาด้านเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ 📍 สรุป: ช่วงรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการ “ฟื้นฟูการดำเนินการ JTSC อย่างเป็นทางการ” โดยมีความเคลื่อนไหวสำคัญคือการยอมรับผลการสำรวจ 45 จุด และเปิดทางให้จัดทำ TI ซึ่งจะมีผลทางกฎหมายในรัฐบาลถัดมา (แพทองธาร) --พฤติกรรมของกัมพูชาในช่วงหลายปีที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึง การดำเนินการเชิงยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน และใช้เครื่องมือทางกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยืนยันสิทธิในดินแดนโดย: --- ✅ วิเคราะห์พฤติกรรมที่ผ่านมา 1. ใช้ TOR 2003 เป็นฐานเจรจา โดยไม่เปลี่ยนกรอบการตีความ 2. พยายามบรรจุแนวเขตตามแผนที่ 1:200,000 ลงในกระบวนการทางเทคนิค เช่น TI / Orthophoto 3. ยืนยันพิกัดรายหลักอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ไทย “ลงนามรับรองร่วม” 4. เก็บหลักฐานการยอมรับจากฝ่ายไทย เพื่อนำไปใช้ในเวทีระหว่างประเทศ --- 📌 สิ่งที่ “กัมพูชาอาจทำต่อไป”: ลำดับ กลยุทธ์ที่เป็นไปได้ เป้าหมาย 1 เร่งผลักดันให้ไทยลงนาม TI อย่างเป็นทางการ ล็อกแนวเขตให้สอดคล้องกับแผนที่ 1:200,000 2 จัดเก็บข้อมูลพิกัดที่ไทยร่วมลงนามไว้เป็นหลักฐาน ใช้ยืนยันต่อ ICJ หรือในเวที UN 3 ขอให้ไทยร่วมแผนปักเสาเขตร่วมในพื้นที่พิพาท สร้าง “แนวเส้นที่เกิดจากการรับรองร่วม” 4 ไม่หารือในพื้นที่สำคัญ เช่น ปราสาทตาเมือนฯ ผ่าน JBC เพื่อบังคับไทยเข้าสู่ ICJ ในภายหลัง 5 ขอความช่วยเหลือจากชาติสมาชิกอาเซียน / UNESCO ใช้ soft power หนุนสถานะทางประวัติศาสตร์และสิทธิในดินแดน --- 🚨 ความเสี่ยง: หากไทย “ลงนามรับรอง TI / พิกัด” โดยไม่เปิดเผยให้รัฐสภา-ประชาชนตรวจสอบ → จะถูกตีความว่า “ยอมรับเขตแดนร่วมแล้ว” หากไทยเงียบและไม่แสดงจุดยืน → กัมพูชาจะใช้ “หลักฐานความนิ่งเฉย” โจมตีในเวทีสากล เมื่อแนวเขตปรากฏในเอกสารระหว่างประเทศ → ไทยจะฟ้องกลับภายหลัง ยากมาก
    0 Comments 0 Shares 360 Views 0 Reviews
  • "บันทึกการประชุม JBC ไทย–กัมพูชา (พฤศจิกายน 2551)"

    > ใน หน้า 10 ของบันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ 3 (เสียมราฐ, พ.ย. 2551)
    ได้มีการระบุว่า:

    > “...ให้ดำเนินการปักปันเขตแดนตามแผนแม่บท (Master Plan) และ TOR 2003”
    ซึ่ง TOR ข้อ 1.1.3 ระบุว่า แผนที่ของคณะกรรมการปักปันเขตแดนฝรั่งเศส–สยาม ซึ่งเป็นแผนที่ 1:200,000 จะใช้เป็นแผนที่อ้างอิง






    ---

    ดังนั้นข้อสรุปคือ:

    รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ผ่านคณะผู้แทนไทย)

    ได้ ร่วมเจรจา และ ยืนยันในรายงาน JBC ว่าไทยจะใช้ TOR 2003 เป็นกรอบการปฏิบัติ

    ซึ่ง TOR 2003 มาตรา 1.1.3 ระบุให้ใช้แผนที่ 1:200,000 (แผนที่ฝรั่งเศส) เป็น “เอกสารอ้างอิงหลัก”



    ---

    ข้อพิจารณาเชิงนิติศาสตร์ (Legal Implications)

    ประเด็น ความเสี่ยงต่อไทย

    ไทยร่วมลงนาม JBC โดยระบุ TOR 2003 → เท่ากับ “ยืนยันในทางการทูต” ว่าจะใช้ TOR ที่อ้างแผนที่ 1:200,000
    แม้ยังไม่ให้รัฐสภารับรอง → ในกฎหมายระหว่างประเทศ หากไม่มีการคัดค้านอย่างเป็นทางการ หรือถอนเอกสาร → อาจกลายเป็น การยอมรับโดยพฤติกรรม
    หากกัมพูชานำบันทึก JBC ไปประกอบในศาลโลก → อาจอ้างว่า “ฝ่ายไทยเคยรับหลักการ TOR และแผนที่นี้ไว้”



    ---

    บทสรุปแบบราชการ:

    > แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะยังไม่ได้นำบันทึก JBC เข้ารัฐสภาเพื่อให้สัตยาบัน แต่การที่ผู้แทนฝ่ายไทยยืนยันการดำเนินงานตาม TOR 2003 ที่อ้างถึงแผนที่ 1:200,000 ในรายงาน JBC พฤศจิกายน 2551 ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่มีน้ำหนักในทางนิติศาสตร์ ซึ่งอาจนำไปสู่การตีความว่าไทย “ยอมรับกรอบแผนที่ฝรั่งเศสโดยพฤติกรรม” หากไม่มีข้อสงวนหรือคำชี้แจงเพิ่มเติมแนบไว้ในรายงานนั้น
    "บันทึกการประชุม JBC ไทย–กัมพูชา (พฤศจิกายน 2551)" > ใน หน้า 10 ของบันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ 3 (เสียมราฐ, พ.ย. 2551) ได้มีการระบุว่า: > “...ให้ดำเนินการปักปันเขตแดนตามแผนแม่บท (Master Plan) และ TOR 2003” ซึ่ง TOR ข้อ 1.1.3 ระบุว่า แผนที่ของคณะกรรมการปักปันเขตแดนฝรั่งเศส–สยาม ซึ่งเป็นแผนที่ 1:200,000 จะใช้เป็นแผนที่อ้างอิง --- 📌 ดังนั้นข้อสรุปคือ: ✅ รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ผ่านคณะผู้แทนไทย) ได้ ร่วมเจรจา และ ยืนยันในรายงาน JBC ว่าไทยจะใช้ TOR 2003 เป็นกรอบการปฏิบัติ ซึ่ง TOR 2003 มาตรา 1.1.3 ระบุให้ใช้แผนที่ 1:200,000 (แผนที่ฝรั่งเศส) เป็น “เอกสารอ้างอิงหลัก” --- ⚠️ ข้อพิจารณาเชิงนิติศาสตร์ (Legal Implications) ประเด็น ความเสี่ยงต่อไทย ✅ ไทยร่วมลงนาม JBC โดยระบุ TOR 2003 → เท่ากับ “ยืนยันในทางการทูต” ว่าจะใช้ TOR ที่อ้างแผนที่ 1:200,000 ❗ แม้ยังไม่ให้รัฐสภารับรอง → ในกฎหมายระหว่างประเทศ หากไม่มีการคัดค้านอย่างเป็นทางการ หรือถอนเอกสาร → อาจกลายเป็น การยอมรับโดยพฤติกรรม 🔥 หากกัมพูชานำบันทึก JBC ไปประกอบในศาลโลก → อาจอ้างว่า “ฝ่ายไทยเคยรับหลักการ TOR และแผนที่นี้ไว้” --- 🎯 บทสรุปแบบราชการ: > แม้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะยังไม่ได้นำบันทึก JBC เข้ารัฐสภาเพื่อให้สัตยาบัน แต่การที่ผู้แทนฝ่ายไทยยืนยันการดำเนินงานตาม TOR 2003 ที่อ้างถึงแผนที่ 1:200,000 ในรายงาน JBC พฤศจิกายน 2551 ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่มีน้ำหนักในทางนิติศาสตร์ ซึ่งอาจนำไปสู่การตีความว่าไทย “ยอมรับกรอบแผนที่ฝรั่งเศสโดยพฤติกรรม” หากไม่มีข้อสงวนหรือคำชี้แจงเพิ่มเติมแนบไว้ในรายงานนั้น
    0 Comments 0 Shares 259 Views 0 Reviews
  • ภาพรวมของเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเขตแดนไทย-กัมพูชา รวมถึง จุดเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การเสียดินแดน และ ความเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละฉบับ


    ---

    1. TOR 2003 (Terms of Reference 2003)

    ความหมาย:
    กรอบข้อตกลงในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้คณะกรรมการ JBC เพื่อ “สำรวจ” และ “ปักปันเขตแดนทางบก”
    ประเด็นสำคัญ:

    อ้างอิง MOU 2000

    ข้อ 1.1.3 ระบุใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ซึ่งอาจรวม แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map)


    ความเสี่ยง:
    การยอมรับแผนที่ 1:200,000 ซึ่งไม่ได้จัดทำโดยไทย อาจเป็นการยอมรับ “ข้อเท็จจริงบนแผนที่” ที่เอื้อให้ไทยเสียดินแดนโดยเฉพาะรอบปราสาทพระวิหาร


    ---

    2. JBC (Joint Boundary Commission)

    ความหมาย:
    คณะกรรมาธิการร่วม ไทย-กัมพูชา ทำหน้าที่ระดับ "นโยบาย" เพื่อกำหนดแนวทางการปักปันเขตแดน

    ความเชื่อมโยง:

    อ้างอิง TOR2003 เป็นกรอบการดำเนินการ

    รับความเห็นจาก JWG และ JTSC

    จัดทำแผนงานเสนอรัฐบาลอนุมัติ


    ความเสี่ยง:
    หาก JBC ยึดแนวที่เสนอโดย JWG/JTSC ซึ่งอิงแผนที่ 1:200,000 ก็อาจถือเป็นการรับรองแนวเขตที่เสียดินแดน


    ---

    3. JWG (Joint Working Group)

    ความหมาย:
    คณะทำงานระดับเทคนิค-ปฏิบัติการ ภายใต้ JBC มีหน้าที่ดำเนินงานภาคสนาม เช่น การสำรวจร่วม ตรวจสอบพิกัด ร่างแผนที่

    ความเสี่ยง:
    หาก JWG ใช้แผนที่ 1:200,000 เป็นฐานข้อมูล (เช่น ในการใช้ LIDAR) แล้ว JBC รับรองแนวเหล่านั้น ไทยจะเสียเปรียบโดยปริยาย


    ---

    4. JTSC (Joint Technical Sub-Commission)

    ความหมาย:
    คณะกรรมาธิการย่อยฝ่ายเทคนิค มีบทบาทใกล้เคียงกับ JWG แต่เน้นงานเทคนิค-วิชาการ-กฎหมายมากขึ้น เช่น ตีความแผนที่, วางหลักวิชาการการกำหนดเขตแดน

    ความเสี่ยง:
    การตีความแผนที่โดยไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐ หรือผลประโยชน์ของไทย อาจกลายเป็น “หลักฐานทางเทคนิค” ที่ยืนยันการยอมรับเขตแดนฝั่งกัมพูชา


    ---

    5. MOU 2000 (Memorandum of Understanding 2000)

    ความหมาย:
    ข้อตกลงเบื้องต้นว่าทั้งสองฝ่ายจะร่วมกัน “สำรวจ” และ “กำหนดเขตแดน” ตาม “หลักกฎหมายระหว่างประเทศ” และ “สถานะที่มีอยู่ในปัจจุบัน” (existing situation)

    ความเชื่อมโยง:

    เป็นรากฐานให้เกิด TOR2003

    ใช้ในพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารด้วย


    ความเสี่ยง:
    คำว่า “existing situation” อาจตีความว่าพื้นที่ที่กัมพูชายึดครองอยู่ = สถานะที่ไทยยอมรับ (ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียสิทธิเหนือดินแดน)


    ---

    6. MOU 2001

    ความหมาย:
    ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto) โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา

    ความเสี่ยง:
    การจัดทำแผนที่ Orthophoto หรือ LIDAR ถ้าอิงพื้นฐานจากแผนที่ 1:200,000 หรือ Annex I Map โดยไม่ได้คัดค้าน อาจถือเป็นการ “ยอมรับโดยพฤตินัย” ต่อแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง
    ภาพรวมของเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเขตแดนไทย-กัมพูชา รวมถึง จุดเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การเสียดินแดน และ ความเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละฉบับ --- 🔹 1. TOR 2003 (Terms of Reference 2003) ความหมาย: กรอบข้อตกลงในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างไทย-กัมพูชา ภายใต้คณะกรรมการ JBC เพื่อ “สำรวจ” และ “ปักปันเขตแดนทางบก” ประเด็นสำคัญ: อ้างอิง MOU 2000 ข้อ 1.1.3 ระบุใช้ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ซึ่งอาจรวม แผนที่แนบท้ายคำพิพากษาศาลโลกปี 1962 (Annex I Map) ความเสี่ยง: ✅ การยอมรับแผนที่ 1:200,000 ซึ่งไม่ได้จัดทำโดยไทย อาจเป็นการยอมรับ “ข้อเท็จจริงบนแผนที่” ที่เอื้อให้ไทยเสียดินแดนโดยเฉพาะรอบปราสาทพระวิหาร --- 🔹 2. JBC (Joint Boundary Commission) ความหมาย: คณะกรรมาธิการร่วม ไทย-กัมพูชา ทำหน้าที่ระดับ "นโยบาย" เพื่อกำหนดแนวทางการปักปันเขตแดน ความเชื่อมโยง: อ้างอิง TOR2003 เป็นกรอบการดำเนินการ รับความเห็นจาก JWG และ JTSC จัดทำแผนงานเสนอรัฐบาลอนุมัติ ความเสี่ยง: ✅ หาก JBC ยึดแนวที่เสนอโดย JWG/JTSC ซึ่งอิงแผนที่ 1:200,000 ก็อาจถือเป็นการรับรองแนวเขตที่เสียดินแดน --- 🔹 3. JWG (Joint Working Group) ความหมาย: คณะทำงานระดับเทคนิค-ปฏิบัติการ ภายใต้ JBC มีหน้าที่ดำเนินงานภาคสนาม เช่น การสำรวจร่วม ตรวจสอบพิกัด ร่างแผนที่ ความเสี่ยง: ✅ หาก JWG ใช้แผนที่ 1:200,000 เป็นฐานข้อมูล (เช่น ในการใช้ LIDAR) แล้ว JBC รับรองแนวเหล่านั้น ไทยจะเสียเปรียบโดยปริยาย --- 🔹 4. JTSC (Joint Technical Sub-Commission) ความหมาย: คณะกรรมาธิการย่อยฝ่ายเทคนิค มีบทบาทใกล้เคียงกับ JWG แต่เน้นงานเทคนิค-วิชาการ-กฎหมายมากขึ้น เช่น ตีความแผนที่, วางหลักวิชาการการกำหนดเขตแดน ความเสี่ยง: ✅ การตีความแผนที่โดยไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐ หรือผลประโยชน์ของไทย อาจกลายเป็น “หลักฐานทางเทคนิค” ที่ยืนยันการยอมรับเขตแดนฝั่งกัมพูชา --- 🔹 5. MOU 2000 (Memorandum of Understanding 2000) ความหมาย: ข้อตกลงเบื้องต้นว่าทั้งสองฝ่ายจะร่วมกัน “สำรวจ” และ “กำหนดเขตแดน” ตาม “หลักกฎหมายระหว่างประเทศ” และ “สถานะที่มีอยู่ในปัจจุบัน” (existing situation) ความเชื่อมโยง: เป็นรากฐานให้เกิด TOR2003 ใช้ในพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารด้วย ความเสี่ยง: ✅ คำว่า “existing situation” อาจตีความว่าพื้นที่ที่กัมพูชายึดครองอยู่ = สถานะที่ไทยยอมรับ (ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียสิทธิเหนือดินแดน) --- 🔹 6. MOU 2001 ความหมาย: ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Orthophoto) โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ความเสี่ยง: ✅ การจัดทำแผนที่ Orthophoto หรือ LIDAR ถ้าอิงพื้นฐานจากแผนที่ 1:200,000 หรือ Annex I Map โดยไม่ได้คัดค้าน อาจถือเป็นการ “ยอมรับโดยพฤตินัย” ต่อแนวเขตที่ฝั่งกัมพูชาอ้าง
    0 Comments 1 Shares 332 Views 0 Reviews
  • "ฮุนเซน" ต้อนรับนายกฯ สิงคโปร์ ไม่วาย "โกหก" กลางวง! อ้างไทยยิงทหารเขมร ดันปิดด่านชายแดน หวังสร้างภาพ "รักสันติ"
    https://www.thai-tai.tv/news/19959/
    .
    #ฮุนเซน #กัมพูชา #ลอว์เรนซ์หว่อง #สิงคโปร์ #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #ชายแดนไทยกัมพูชา #สันติวิธี #กฎหมายระหว่างประเทศ #ทำเนียบวุฒิสภา #การเมืองระหว่างประเทศ
    "ฮุนเซน" ต้อนรับนายกฯ สิงคโปร์ ไม่วาย "โกหก" กลางวง! อ้างไทยยิงทหารเขมร ดันปิดด่านชายแดน หวังสร้างภาพ "รักสันติ" https://www.thai-tai.tv/news/19959/ . #ฮุนเซน #กัมพูชา #ลอว์เรนซ์หว่อง #สิงคโปร์ #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #ชายแดนไทยกัมพูชา #สันติวิธี #กฎหมายระหว่างประเทศ #ทำเนียบวุฒิสภา #การเมืองระหว่างประเทศ
    0 Comments 0 Shares 245 Views 0 Reviews
  • เนื้อหาใน TOR ปี 2546 ที่เป็นหลักฐานว่ารัฐบาลไทยยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000 ตามความเห็นทนายเขมร
    แม้แต่การเจรจา JBC ครั้งที่ผ่านมา ก็ยังยืนยันจะดำเนินการต่อตาม TOR46

    ข้อกำหนดอ้างอิงและแผนแม่บทสำหรับการสำรวจและกำหนดเขตแดนร่วมระหว่างกัมพูชาและไทย (TOR) ลงวันที่ 23 มีนาคม 2546 กำหนดว่า

    1.1.3 แผนที่ซึ่งเป็นผลงานการกำหนดเขตแดนของคณะกรรมาธิการการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] ซึ่งแยกตามอนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] (ต่อไปนี้จะเรียกว่า " แผนที่1:200,000") และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย]

    วรรคที่ 10 ของข้อกำหนดอ้างอิงเน้นย้ำว่า:

    "TOR นี้ไม่มีผลกระทบต่อมูลค่าทางกฎหมายของข้อตกลงก่อนหน้านี้ระหว่างฝรั่งเศสและสยามเกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน หรือต่อมูลค่าของแผนที่ของคณะกรรมาธิการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน ( กัมพูชา) และสยาม (ประเทศไทย) ที่จัดทำขึ้นภายใต้อนุสัญญาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1904 และสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 1907 ซึ่งสะท้อนถึงเส้นแบ่งเขตแดนของอินโดจีนและสยาม"

    เห็นได้ชัดว่าแผนที่ที่อ้างถึงคือแผนที่ 1:200,000 ซึ่งตามที่ได้กล่าวข้างต้น ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ตัดสินว่าถูกต้องในปี 1962 และถือเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 1904 (และ 1907) ดังนั้น ประเทศไทยจึงไม่อยู่ในสถานะที่จะยืนยัน ว่า แผนที่1:200,000 (ซึ่งแผนที่หนึ่งเรียกว่าแผนที่ ภาคผนวก I หรือ ภาคผนวกI ที่มีปราสาทพระวิหารตั้งอยู่) ไม่ถูกต้อง ไม่มีฐานทางกฎหมายสำหรับข้อกล่าวอ้างดังกล่าว และข้อกล่าวอ้างดังกล่าวก็เท่ากับเป็นการกล่าวว่า ประเทศไทยไม่ยอมรับและจะไม่บังคับใช้คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติ

    2. กัมพูชายังยอมรับในคำประกาศดังกล่าวว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 ไม่ได้ตัดสินในประเด็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาBora Touch: ตรงกันข้ามกับข้อกล่าวอ้างของประเทศไทย ในปี 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินอย่างชัดเจนว่าแผนที่ 1:200,000 (รวมถึงแผนที่ภาคผนวก I หรือแผนที่แดนเกร็ก) ถูกต้องและเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 2447 และ 2450 เนื่องจากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยอมรับและตัดสินว่าแผนที่ ดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการกำหนดเขตแดนของ คณะกรรมาธิการร่วมฝรั่งเศส-สยาม

    , มีผลบังคับใช้และเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินใจว่าไม่จำเป็นต้องตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนเพราะเรื่องนี้ได้รับการตัดสินแล้ว ( แผนที่ได้รับการตัดสินว่ามีผลบังคับใช้) คำถามนี้ไม่จำเป็นต้องได้รับคำตอบเนื่องจากกำหนดโดยแผนที่ดังที่นักวิชาการ Kieth Highet (1987) ชี้ให้เห็นว่า: "ศาลตัดสินว่าเนื่องจากสถานที่ที่ระบุไว้ในแผนที่ได้รับการยอมรับ จึงไม่จำเป็นต้องตรวจสอบตำแหน่งทางกายภาพของเขตแดนที่ได้มาจากเงื่อนไขของสนธิสัญญา" ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนโดยตัดสินว่าแผนที่ นั้น มีผลบังคับใช้

    3.ไทยยืนกรานว่าเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในดินแดนไทย และเรียกร้องให้กัมพูชาถอดทั้งเจดีย์และธงกัมพูชาที่โบกสะบัดอยู่เหนือเจดีย์ เป็นการตอกย้ำการประท้วงหลายครั้งที่ประเทศไทยได้ยื่นต่อกัมพูชาเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพระเจดีย์และบริเวณโดยรอบ ซึ่งล้วนแต่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักรไทย

    Bora Touch:ตามแผนที่ 1:200,000 (หรือ แผนที่ส่วน Dangkrek หรือภาคผนวกI ) ปราสาทพระวิหารและที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตรอยู่ภายในอาณาเขตของกัมพูชาอย่างไม่มีข้อโต้แย้ง ไทยและกัมพูชาเห็นพ้องกันว่าพระเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตร

    กระทรวงต่างประเทศของไทย: 4.กระทรวงฯ ยืนยันคำมั่นสัญญาของไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนทั้งหมดกับกัมพูชาตามกฎหมายระหว่างประเทศโดยสันติวิธีภายใต้กรอบของคณะกรรมาธิการร่วมไทย-กัมพูชาว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางบก (JBC) การกำหนดเส้นแบ่งเขตบริเวณปราสาทพระวิหารยังอยู่ระหว่างการเจรจาภายใต้กรอบของ JBC"

    Bora Touch: การที่ไทยกล่าวว่าใช้กฎหมายระหว่างประเทศในเรื่องนี้ถือเป็นการเข้าใจผิด ประเทศไทยไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 อย่างชัดเจน จึงถือเป็นการละเมิดมาตรา 94(1) ของกฎบัตรสหประชาชาติ/ กัมพูชาร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อขอใช้มาตรการที่เหมาะสมต่อไทย: มาตรา 94(2)

    Bora Touch ทนายความ

    The Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Cambodia and Thailand (TOR) of 23 March 2003 stipulates:

    1.1.3. Maps which are the results of the Demarcation Works of the Commissions of Delimitation of boundary between Indochina [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam.. sep up under the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam (theferafter referred to as "the maps of 1:200,000") and other documents relating to the application of the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam.

    Paragraph 10 of the Terms of Reference emphasises:

    "This TOR is without prejudice to the legal value of the previous agreements between France and Siam concerning the delimitation of boundary, nor to the value of the Maps of the Commissions of the Delimitation of Boundary between Indochina [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam set up under the Convention of 13 February 1904 and the Treaty of 23 March 1907, reflecting the boundary line of Indochina and Siam"

    Clearly the maps referred to are the 1:200,000 map(s) which, as mentioned above, the ICJ in 1962 ruled to be valid and forms part of the 1904 (and 1907) treaties. Thailand is therefore not in a position to assert that the 1:200,000 maps (one of which is known as Dangrek Section or Annex I map in which the PreahVihear Temple is situated) are not valid. There is no legal basis for such an assertion and to make such an assertion would amount to saying that, in contravention of the UN Charter, Thailand does not accept and will not enforce the Judgment of the ICJ.

    Thai FM: 2. Cambodia also admitted in the aforementioned declaration that the decision of the International Court of Justice (ICJ) of 1962 did not rule on the question of the boundary line between Thailand and Cambodia.

    Bora Touch: Contrary to Thailand's assertion, in 1962 the ICJ ruled unambiguously that the 1:200,000 maps (the Dangrek Section or Annex I Map included) is valid and is a part of the 1904 and 1907 treaties. Since the ICJ accepted and ruled that the map(s), which is the result of the boundary demarcation of the French-Siamese Joint Commissions, is valid and a part the treaties, the ICJ decided that it was unnecessary to rule on the question of boundary because the matter was decided (the map was ruled to be valid). The question did not need an answer as it was determined by the map(s). As scholar Kieth Highet (1987) pointed out: "the Court held that since the location indicated in the map had been accepted, it was unncessary to examine the physical location of boundary as derived from the terms of the Treaty". The ICJ did rule on the boundary question by ruling that map was valid.

    Thai FM: 3. Thailand maintains that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated on Thai territory, and demands that Cambodia remove both the pagoda and the Cambodian flag flying over the pagoda. This is a reiteration of the many protests that Thailand has submitted to Cambodia regarding the activities carried out in the pagoda and the surrounding area, all of which constitute violations of sovereignty and territorial integrity of the Kingdom of Thailand.

    Bora Touch: According to the 1:200,000 map (or the Dangkrek Section or Annex I map), the Preah Vihear Temple and the 4.6 sq km parcel of land undisputedly are inside Cambodian territory. Thailand and Cambodia agree that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated in the 4.6 sqkm parcel of land.

    Thai FM: 4. The Ministry reaffirms Thailand's commitment to resolving all boundary issues with Cambodia in accordance with international law through peaceful means under the framework of the Thai-Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary (JBC). The determination of the boundary line in the area of the Temple of Phra Viharn [Preah Vihear Temple] is still subject to ongoing negotiation under the framework of the JBC."

    Bora Touch: It is misleading for Thailand to say it applies international law in this regard. It obviously failed to perform the obligations as stipulated under the ICJ Judgment of 1962. It thus has violated article 94(1) of the UN Charter/. Cambodia complains to the UN Security Council for appropriate measures against Thailand: Art 94(2).
    เนื้อหาใน TOR ปี 2546 ที่เป็นหลักฐานว่ารัฐบาลไทยยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000 ตามความเห็นทนายเขมร แม้แต่การเจรจา JBC ครั้งที่ผ่านมา ก็ยังยืนยันจะดำเนินการต่อตาม TOR46 ข้อกำหนดอ้างอิงและแผนแม่บทสำหรับการสำรวจและกำหนดเขตแดนร่วมระหว่างกัมพูชาและไทย (TOR) ลงวันที่ 23 มีนาคม 2546 กำหนดว่า 1.1.3 แผนที่ซึ่งเป็นผลงานการกำหนดเขตแดนของคณะกรรมาธิการการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] ซึ่งแยกตามอนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] (ต่อไปนี้จะเรียกว่า " แผนที่1:200,000") และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] วรรคที่ 10 ของข้อกำหนดอ้างอิงเน้นย้ำว่า: "TOR นี้ไม่มีผลกระทบต่อมูลค่าทางกฎหมายของข้อตกลงก่อนหน้านี้ระหว่างฝรั่งเศสและสยามเกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน หรือต่อมูลค่าของแผนที่ของคณะกรรมาธิการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน ( กัมพูชา) และสยาม (ประเทศไทย) ที่จัดทำขึ้นภายใต้อนุสัญญาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1904 และสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 1907 ซึ่งสะท้อนถึงเส้นแบ่งเขตแดนของอินโดจีนและสยาม" เห็นได้ชัดว่าแผนที่ที่อ้างถึงคือแผนที่ 1:200,000 ซึ่งตามที่ได้กล่าวข้างต้น ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ตัดสินว่าถูกต้องในปี 1962 และถือเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 1904 (และ 1907) ดังนั้น ประเทศไทยจึงไม่อยู่ในสถานะที่จะยืนยัน ว่า แผนที่1:200,000 (ซึ่งแผนที่หนึ่งเรียกว่าแผนที่ ภาคผนวก I หรือ ภาคผนวกI ที่มีปราสาทพระวิหารตั้งอยู่) ไม่ถูกต้อง ไม่มีฐานทางกฎหมายสำหรับข้อกล่าวอ้างดังกล่าว และข้อกล่าวอ้างดังกล่าวก็เท่ากับเป็นการกล่าวว่า ประเทศไทยไม่ยอมรับและจะไม่บังคับใช้คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติ 2. กัมพูชายังยอมรับในคำประกาศดังกล่าวว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 ไม่ได้ตัดสินในประเด็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาBora Touch: ตรงกันข้ามกับข้อกล่าวอ้างของประเทศไทย ในปี 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินอย่างชัดเจนว่าแผนที่ 1:200,000 (รวมถึงแผนที่ภาคผนวก I หรือแผนที่แดนเกร็ก) ถูกต้องและเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 2447 และ 2450 เนื่องจากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยอมรับและตัดสินว่าแผนที่ ดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการกำหนดเขตแดนของ คณะกรรมาธิการร่วมฝรั่งเศส-สยาม , มีผลบังคับใช้และเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินใจว่าไม่จำเป็นต้องตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนเพราะเรื่องนี้ได้รับการตัดสินแล้ว ( แผนที่ได้รับการตัดสินว่ามีผลบังคับใช้) คำถามนี้ไม่จำเป็นต้องได้รับคำตอบเนื่องจากกำหนดโดยแผนที่ดังที่นักวิชาการ Kieth Highet (1987) ชี้ให้เห็นว่า: "ศาลตัดสินว่าเนื่องจากสถานที่ที่ระบุไว้ในแผนที่ได้รับการยอมรับ จึงไม่จำเป็นต้องตรวจสอบตำแหน่งทางกายภาพของเขตแดนที่ได้มาจากเงื่อนไขของสนธิสัญญา" ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนโดยตัดสินว่าแผนที่ นั้น มีผลบังคับใช้ 3.ไทยยืนกรานว่าเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในดินแดนไทย และเรียกร้องให้กัมพูชาถอดทั้งเจดีย์และธงกัมพูชาที่โบกสะบัดอยู่เหนือเจดีย์ เป็นการตอกย้ำการประท้วงหลายครั้งที่ประเทศไทยได้ยื่นต่อกัมพูชาเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพระเจดีย์และบริเวณโดยรอบ ซึ่งล้วนแต่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักรไทย Bora Touch:ตามแผนที่ 1:200,000 (หรือ แผนที่ส่วน Dangkrek หรือภาคผนวกI ) ปราสาทพระวิหารและที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตรอยู่ภายในอาณาเขตของกัมพูชาอย่างไม่มีข้อโต้แย้ง ไทยและกัมพูชาเห็นพ้องกันว่าพระเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตร กระทรวงต่างประเทศของไทย: 4.กระทรวงฯ ยืนยันคำมั่นสัญญาของไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนทั้งหมดกับกัมพูชาตามกฎหมายระหว่างประเทศโดยสันติวิธีภายใต้กรอบของคณะกรรมาธิการร่วมไทย-กัมพูชาว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางบก (JBC) การกำหนดเส้นแบ่งเขตบริเวณปราสาทพระวิหารยังอยู่ระหว่างการเจรจาภายใต้กรอบของ JBC" Bora Touch: การที่ไทยกล่าวว่าใช้กฎหมายระหว่างประเทศในเรื่องนี้ถือเป็นการเข้าใจผิด ประเทศไทยไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 อย่างชัดเจน จึงถือเป็นการละเมิดมาตรา 94(1) ของกฎบัตรสหประชาชาติ/ กัมพูชาร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อขอใช้มาตรการที่เหมาะสมต่อไทย: มาตรา 94(2) Bora Touch ทนายความ The Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Cambodia and Thailand (TOR) of 23 March 2003 stipulates: 1.1.3. Maps which are the results of the Demarcation Works of the Commissions of Delimitation of boundary between Indochina [Cambodia] and Siam [Thailand].. sep up under the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam [Thailand] (theferafter referred to as "the maps of 1:200,000") and other documents relating to the application of the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam [Thailand]. Paragraph 10 of the Terms of Reference emphasises: "This TOR is without prejudice to the legal value of the previous agreements between France and Siam concerning the delimitation of boundary, nor to the value of the Maps of the Commissions of the Delimitation of Boundary between Indochina [Cambodia] and Siam [Thailand] set up under the Convention of 13 February 1904 and the Treaty of 23 March 1907, reflecting the boundary line of Indochina and Siam" Clearly the maps referred to are the 1:200,000 map(s) which, as mentioned above, the ICJ in 1962 ruled to be valid and forms part of the 1904 (and 1907) treaties. Thailand is therefore not in a position to assert that the 1:200,000 maps (one of which is known as Dangrek Section or Annex I map in which the PreahVihear Temple is situated) are not valid. There is no legal basis for such an assertion and to make such an assertion would amount to saying that, in contravention of the UN Charter, Thailand does not accept and will not enforce the Judgment of the ICJ. Thai FM: 2. Cambodia also admitted in the aforementioned declaration that the decision of the International Court of Justice (ICJ) of 1962 did not rule on the question of the boundary line between Thailand and Cambodia. Bora Touch: Contrary to Thailand's assertion, in 1962 the ICJ ruled unambiguously that the 1:200,000 maps (the Dangrek Section or Annex I Map included) is valid and is a part of the 1904 and 1907 treaties. Since the ICJ accepted and ruled that the map(s), which is the result of the boundary demarcation of the French-Siamese Joint Commissions, is valid and a part the treaties, the ICJ decided that it was unnecessary to rule on the question of boundary because the matter was decided (the map was ruled to be valid). The question did not need an answer as it was determined by the map(s). As scholar Kieth Highet (1987) pointed out: "the Court held that since the location indicated in the map had been accepted, it was unncessary to examine the physical location of boundary as derived from the terms of the Treaty". The ICJ did rule on the boundary question by ruling that map was valid. Thai FM: 3. Thailand maintains that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated on Thai territory, and demands that Cambodia remove both the pagoda and the Cambodian flag flying over the pagoda. This is a reiteration of the many protests that Thailand has submitted to Cambodia regarding the activities carried out in the pagoda and the surrounding area, all of which constitute violations of sovereignty and territorial integrity of the Kingdom of Thailand. Bora Touch: According to the 1:200,000 map (or the Dangkrek Section or Annex I map), the Preah Vihear Temple and the 4.6 sq km parcel of land undisputedly are inside Cambodian territory. Thailand and Cambodia agree that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated in the 4.6 sqkm parcel of land. Thai FM: 4. The Ministry reaffirms Thailand's commitment to resolving all boundary issues with Cambodia in accordance with international law through peaceful means under the framework of the Thai-Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary (JBC). The determination of the boundary line in the area of the Temple of Phra Viharn [Preah Vihear Temple] is still subject to ongoing negotiation under the framework of the JBC." Bora Touch: It is misleading for Thailand to say it applies international law in this regard. It obviously failed to perform the obligations as stipulated under the ICJ Judgment of 1962. It thus has violated article 94(1) of the UN Charter/. Cambodia complains to the UN Security Council for appropriate measures against Thailand: Art 94(2).
    0 Comments 0 Shares 598 Views 0 Reviews
  • ในการประชุม JBC ประธานฝ่ายไทยได้ย้ำท่าทีไทยตอบโต้ทุกประเด็นที่ถูกกล่าวหา (ซึ่งได้บันทึกแนบไว้ในเอกสารผลลัพธ์ Agreed Minutes ของการประชุมครั้งนี้) ดังนี้

    การดำเนินการของไทยเป็นไปโดยความจำเป็นตามหลักการป้องกันตัวจากการที่ถูกฝ่ายกัมพูชาโจมตีก่อน และเป็นไปอย่างเหมาะสมและได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ
    ไทยแสดงความผิดหวังที่ฝ่ายกัมพูชาเลือกที่จะปิดประตูการเจรจาอย่างสันติใน 4 พื้นที่ โดยท่าทีของรัฐบาลไทยมาโดยตลอด ได้เน้นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาระหว่างกันแบบทวิภาคี และบทบาทที่สำคัญของ JBC ในการทำให้มีเขตแดนชัดเจนระหว่างกัน เพื่อประโยชน์แก่ประชาชนทั้งสองฝ่าย
    ไทยย้ำถึงความสำคัญที่ทั้งสองฝ่ายจะต้องยึดมั่น MOU 2543 (ซึ่งฝ่ายกัมพูชาได้เห็นชอบร่วมกับไทย) โดยไม่ดำเนินการใด ๆ ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของเขตแดน ไม่รุกล้ำเขตแดนระหว่างกัน และทั้งสองฝ่ายจะต้องใช้ความอดกลั้นเพื่อไม่ให้สถานการณ์ลุกลามบานปลาย
    ทั้งสองฝ่ายจะต้องหลีกเลี่ยงการเผยแพร่ข้อมูลที่จะนำไปสู่ความเข้าใจผิดและขัดแย้งในวงกว้าง และย้ำถึงความสำคัญของการใช้กลไกความร่วมมือทวิภาคีอื่น ๆ ในการช่วยแก้ปัญหาด้วย เช่น GBC, RBC การประชุมผู้ว่าจังหวัดชายแดนไทย – กัมพูชา เพื่อให้แนวชายแดนมีความสงบเป็นปกติ และอำนวยความสะดวกการเดินทางของคนและขนส่งสินค้า ซึ่งฝ่ายกัมพูชาปฏิเสธที่จะหารือในประเด็นนี้


    แต่ mou43 มันยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000
    ในการประชุม JBC ประธานฝ่ายไทยได้ย้ำท่าทีไทยตอบโต้ทุกประเด็นที่ถูกกล่าวหา (ซึ่งได้บันทึกแนบไว้ในเอกสารผลลัพธ์ Agreed Minutes ของการประชุมครั้งนี้) ดังนี้ การดำเนินการของไทยเป็นไปโดยความจำเป็นตามหลักการป้องกันตัวจากการที่ถูกฝ่ายกัมพูชาโจมตีก่อน และเป็นไปอย่างเหมาะสมและได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ไทยแสดงความผิดหวังที่ฝ่ายกัมพูชาเลือกที่จะปิดประตูการเจรจาอย่างสันติใน 4 พื้นที่ โดยท่าทีของรัฐบาลไทยมาโดยตลอด ได้เน้นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาระหว่างกันแบบทวิภาคี และบทบาทที่สำคัญของ JBC ในการทำให้มีเขตแดนชัดเจนระหว่างกัน เพื่อประโยชน์แก่ประชาชนทั้งสองฝ่าย ไทยย้ำถึงความสำคัญที่ทั้งสองฝ่ายจะต้องยึดมั่น MOU 2543 (ซึ่งฝ่ายกัมพูชาได้เห็นชอบร่วมกับไทย) โดยไม่ดำเนินการใด ๆ ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของเขตแดน ไม่รุกล้ำเขตแดนระหว่างกัน และทั้งสองฝ่ายจะต้องใช้ความอดกลั้นเพื่อไม่ให้สถานการณ์ลุกลามบานปลาย ทั้งสองฝ่ายจะต้องหลีกเลี่ยงการเผยแพร่ข้อมูลที่จะนำไปสู่ความเข้าใจผิดและขัดแย้งในวงกว้าง และย้ำถึงความสำคัญของการใช้กลไกความร่วมมือทวิภาคีอื่น ๆ ในการช่วยแก้ปัญหาด้วย เช่น GBC, RBC การประชุมผู้ว่าจังหวัดชายแดนไทย – กัมพูชา เพื่อให้แนวชายแดนมีความสงบเป็นปกติ และอำนวยความสะดวกการเดินทางของคนและขนส่งสินค้า ซึ่งฝ่ายกัมพูชาปฏิเสธที่จะหารือในประเด็นนี้ แต่ mou43 มันยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000
    0 Comments 0 Shares 314 Views 0 Reviews
  • มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวสดุดีโดนัลด์ ทรัมป์ จนน่าสะอิดสะเอียน หลังจากทรัมป์ทิ้งระเบิดใส่โรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน (ในความเป็นจริงคือ ผิดกฎหมายตามกฎบัตรสหประชาชาติ)

    'คุณเป็นผู้ชายที่แข็งแกร่ง และคุณก็ยังเป็นผู้ชายที่รักสันติภาพด้วย'

    เจ้าพ่อเลียรองเท้าของเจ้าผู้ครองจักรวรรดิ
    (The satrap licks the boot of the head of the empire)


    สิ่งที่บรรดาผู้นำตะวันตกกำลังแสดงออกทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ล้วนแสดงถึงแก่นแท้ของพวกเขา ที่ใช้ "กฎหมายระหว่างประเทศเป็นอาวุธ" เพื่อไว้ลงโทษโลกตะวันออก กดพลเมืองเกือบครึ่งโลกไว้ใต้เท้าพวกเขา แต่กฎเหล่านั้น โลกตะวันตกไม่เคยแยแส และปฏิบัติตามเลย พวกเขาทำอะไรตามใจชอบได้อย่างบ้าคลั่ง
    มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวสดุดีโดนัลด์ ทรัมป์ จนน่าสะอิดสะเอียน หลังจากทรัมป์ทิ้งระเบิดใส่โรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน (ในความเป็นจริงคือ ผิดกฎหมายตามกฎบัตรสหประชาชาติ) 'คุณเป็นผู้ชายที่แข็งแกร่ง และคุณก็ยังเป็นผู้ชายที่รักสันติภาพด้วย' เจ้าพ่อเลียรองเท้าของเจ้าผู้ครองจักรวรรดิ (The satrap licks the boot of the head of the empire) 👉สิ่งที่บรรดาผู้นำตะวันตกกำลังแสดงออกทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ล้วนแสดงถึงแก่นแท้ของพวกเขา ที่ใช้ "กฎหมายระหว่างประเทศเป็นอาวุธ" เพื่อไว้ลงโทษโลกตะวันออก กดพลเมืองเกือบครึ่งโลกไว้ใต้เท้าพวกเขา แต่กฎเหล่านั้น โลกตะวันตกไม่เคยแยแส และปฏิบัติตามเลย พวกเขาทำอะไรตามใจชอบได้อย่างบ้าคลั่ง
    0 Comments 0 Shares 363 Views 31 0 Reviews
  • 2/
    "มันก็เป็นซะแบบนี้ พวกประเทศบ้าประชาธิปไตย อะไรที่พวกเดียวกันทำ แม้จะผิดแค่ไหน ก็จะช่วยกันปกป้อง"

    ไม่เห็นมีอะไรให้ต้องวิจารณ์ในสิ่งที่อิสราเอลเริ่มเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และสิ่งที่สหรัฐฯ ทำเมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้ว' — เมิร์ซแห่งเยอรมนี

    ขณะที่มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวว่าการโจมตีอิหร่านของสหรัฐฯ ไม่ได้ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ:
    2/ "มันก็เป็นซะแบบนี้ พวกประเทศบ้าประชาธิปไตย อะไรที่พวกเดียวกันทำ แม้จะผิดแค่ไหน ก็จะช่วยกันปกป้อง" 👉ไม่เห็นมีอะไรให้ต้องวิจารณ์ในสิ่งที่อิสราเอลเริ่มเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และสิ่งที่สหรัฐฯ ทำเมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้ว' — เมิร์ซแห่งเยอรมนี 👉ขณะที่มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวว่าการโจมตีอิหร่านของสหรัฐฯ ไม่ได้ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ:
    0 Comments 0 Shares 232 Views 28 0 Reviews
  • 1/
    "มันก็เป็นซะแบบนี้ พวกประเทศบ้าประชาธิปไตย อะไรที่พวกเดียวกันทำ แม้จะผิดแค่ไหน ก็จะช่วยกันปกป้อง"

    ไม่เห็นมีอะไรให้ต้องวิจารณ์ในสิ่งที่อิสราเอลเริ่มเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และสิ่งที่สหรัฐฯ ทำเมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้ว' — เมิร์ซแห่งเยอรมนี

    ขณะที่มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวว่าการโจมตีอิหร่านของสหรัฐฯ ไม่ได้ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ:
    1/ "มันก็เป็นซะแบบนี้ พวกประเทศบ้าประชาธิปไตย อะไรที่พวกเดียวกันทำ แม้จะผิดแค่ไหน ก็จะช่วยกันปกป้อง" 👉ไม่เห็นมีอะไรให้ต้องวิจารณ์ในสิ่งที่อิสราเอลเริ่มเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และสิ่งที่สหรัฐฯ ทำเมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้ว' — เมิร์ซแห่งเยอรมนี 👉ขณะที่มาร์ก รุตเต้ เลขาธิการ NATO กล่าวว่าการโจมตีอิหร่านของสหรัฐฯ ไม่ได้ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ:
    0 Comments 0 Shares 232 Views 29 0 Reviews
  • จีนประณามสหรัฐอย่างรุนแรงต่อการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านภายใต้การคุ้มครองของ IAEA

    การกระทำของสหรัฐฯ ถือเป็นการละเมิดวัตถุประสงค์และหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศอย่างร้ายแรง และทำให้ความตึงเครียดในตะวันออกกลางทวีความรุนแรงขึ้น

    จีนเรียกร้องให้ฝ่ายต่างๆ ในความขัดแย้ง โดยเฉพาะอิสราเอล บรรลุข้อตกลงหยุดยิงโดยเร็วที่สุด รับรองความปลอดภัยของพลเรือน และเริ่มการเจรจา

    จีนพร้อมที่จะร่วมมือกับชุมชนระหว่างประเทศเพื่อรวมความพยายามร่วมกันและรักษาความยุติธรรม และทำงานเพื่อฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในตะวันออกกลาง
    จีนประณามสหรัฐอย่างรุนแรงต่อการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านภายใต้การคุ้มครองของ IAEA การกระทำของสหรัฐฯ ถือเป็นการละเมิดวัตถุประสงค์และหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศอย่างร้ายแรง และทำให้ความตึงเครียดในตะวันออกกลางทวีความรุนแรงขึ้น จีนเรียกร้องให้ฝ่ายต่างๆ ในความขัดแย้ง โดยเฉพาะอิสราเอล บรรลุข้อตกลงหยุดยิงโดยเร็วที่สุด รับรองความปลอดภัยของพลเรือน และเริ่มการเจรจา จีนพร้อมที่จะร่วมมือกับชุมชนระหว่างประเทศเพื่อรวมความพยายามร่วมกันและรักษาความยุติธรรม และทำงานเพื่อฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในตะวันออกกลาง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 356 Views 0 Reviews
  • แถลงการณ์บางส่วนของอารักชี รัฐมนตรีต่างประเทศของอิหร่าน:

    พรุ่งนี้อารักชีจะเดินทางมาพบกับปูตินในมอสโกช่วงบ่าย โดยกล่าวว่าจะมีการหารือกัน "อย่างจริงจัง" กับผู้นำรัสเซีย

    "รัสเซียเป็นเพื่อนที่ดีของอิหร่าน เราปรึกษาหารือกันเสมอ"

    การโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ด้วยตัวเองถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศที่ไม่อาจให้อภัยได้ ควรได้รับการประณา

    ทรัมป์ทรยศต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งของตนเอง จากการได้รับเลือกให้ยุติ "สงครามตลอดกาล" ของอเมริกาในตะวันออกกลาง แต่เขา "ยอมจำนน" ต่อความต้องการของอาชญากรสงคราม(เนทันยาฮู)ที่เป็นที่ต้องการตัว

    ทรัมป์คุ้นเคยอยู่กับการความมั่งคั่ง การเอาเปรียบบนชีวิตของพลเมืองอเมริกัน

    สหรัฐฯ 'ต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อผลที่ตามมาที่อันอันตราย และส่งผลกระทบในวงกว้างจากการกระทำรุกรานอิหร่าน

    อิหร่านขอสงวนสิทธิในการป้องกันตนเองภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติ

    ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับขอบเขตความเสียหายของสถานที่ผลิตนิวเคลียร์ที่จะแจ้งให้ทราบ
    แถลงการณ์บางส่วนของอารักชี รัฐมนตรีต่างประเทศของอิหร่าน: 👉พรุ่งนี้อารักชีจะเดินทางมาพบกับปูตินในมอสโกช่วงบ่าย โดยกล่าวว่าจะมีการหารือกัน "อย่างจริงจัง" กับผู้นำรัสเซีย 👉"รัสเซียเป็นเพื่อนที่ดีของอิหร่าน เราปรึกษาหารือกันเสมอ" 👉การโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ด้วยตัวเองถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศที่ไม่อาจให้อภัยได้ ควรได้รับการประณา 👉ทรัมป์ทรยศต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งของตนเอง จากการได้รับเลือกให้ยุติ "สงครามตลอดกาล" ของอเมริกาในตะวันออกกลาง แต่เขา "ยอมจำนน" ต่อความต้องการของอาชญากรสงคราม(เนทันยาฮู)ที่เป็นที่ต้องการตัว 👉ทรัมป์คุ้นเคยอยู่กับการความมั่งคั่ง การเอาเปรียบบนชีวิตของพลเมืองอเมริกัน 👉สหรัฐฯ 'ต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อผลที่ตามมาที่อันอันตราย และส่งผลกระทบในวงกว้างจากการกระทำรุกรานอิหร่าน 👉อิหร่านขอสงวนสิทธิในการป้องกันตนเองภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติ 👉ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับขอบเขตความเสียหายของสถานที่ผลิตนิวเคลียร์ที่จะแจ้งให้ทราบ
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 324 Views 15 0 Reviews
  • รัฐมนตรีต่างประเทศอิหร่าน ระบุ อิหร่านมีสิทธิปกป้องตนเองอย่างชอบธรรม:

    สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ และสนธิสัญญา NPT อย่างร้ายแรงด้วยการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์เพื่อสันติภาพของอิหร่าน

    เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเช้านี้ช่างน่าตกตะลึงและจะส่งผลกระทบอย่างถาวร สมาชิกทุกคนของสหประชาชาติต้องตื่นตัวต่อพฤติกรรมที่อันตรายอย่างยิ่ง ซึ่งไร้กฎหมาย และเป็นอาชญากรรมนี้

    ตามกฎบัตรสหประชาชาติและบทบัญญัติที่อนุญาตให้ตอบโต้เพื่อป้องกันตนเองอย่างชอบธรรม อิหร่านสงวนทางเลือกทั้งหมดเพื่อปกป้องอำนาจอธิปไตย ผลประโยชน์ และประชาชนของตน
    รัฐมนตรีต่างประเทศอิหร่าน ระบุ อิหร่านมีสิทธิปกป้องตนเองอย่างชอบธรรม: สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ และสนธิสัญญา NPT อย่างร้ายแรงด้วยการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์เพื่อสันติภาพของอิหร่าน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเช้านี้ช่างน่าตกตะลึงและจะส่งผลกระทบอย่างถาวร สมาชิกทุกคนของสหประชาชาติต้องตื่นตัวต่อพฤติกรรมที่อันตรายอย่างยิ่ง ซึ่งไร้กฎหมาย และเป็นอาชญากรรมนี้ ตามกฎบัตรสหประชาชาติและบทบัญญัติที่อนุญาตให้ตอบโต้เพื่อป้องกันตนเองอย่างชอบธรรม อิหร่านสงวนทางเลือกทั้งหมดเพื่อปกป้องอำนาจอธิปไตย ผลประโยชน์ และประชาชนของตน
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 286 Views 0 Reviews
  • องค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่านออกแถลงการณ์ประณามการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านของสหรัฐฯ ว่าเป็น “การละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนธิสัญญา NPT อย่างโจ่งแจ้ง” และกล่าวว่า “การกระทำดังกล่าวจะไม่สามารถหยุดการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติของอิหร่านลงได้”

    .

    แถลงการณ์ฉบับเต็มขององค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่าน (AEOI - The Atomic Energy Organization of Iran):

    'หลังจากการโจมตีอย่างโหดร้ายโดยศัตรูไซออนิสต์ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ฐานปฏิบัติการนิวเคลียร์ของประเทศที่ฟอร์โดว์ นาตันซ์ และอิสฟาฮาน ถูกโจมตีเมื่อเช้านี้โดยศัตรูของอิหร่าน ซึ่งเป็นการกระทำที่โหดร้ายที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (NPT)

    การกระทำนี้เป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศนั้นอย่าง
    ชัดเจน และช่างน่าเสียดายที่มันเกิดขึ้นท่ามกลางความเฉยเมย และยังเป็นการสมรู้ร่วมคิดของสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA)

    ศัตรูของเราออกมาอ้างความรับผิดชอบสำหรับการโจมตีฐานปฏิบัติการดังกล่าว ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลอย่างต่อเนื่องของ IAEA ตามข้อตกลงการป้องกันและสนธิสัญญา NPT

    เราหวังว่าจะได้เห็นการประณามจากนานาประเทศ และสนับสนุนอิหร่านในการบรรลุสิทธิอันชอบธรรมของตน

    องค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่านขอรับรองต่อชาติอิหร่านที่ยิ่งใหญ่ว่า แม้จะมีแผนการชั่วร้ายของศัตรู แต่ด้วยความพยายามของนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิวัติวงการและกระตือรือร้นนับพันคน องค์การจะไม่ยอมให้การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติซึ่งเป็นผลจากเลือดของผู้พลีชีพเพื่อนิวเคลียร์ต้องหยุดชะงักลง
    องค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่านออกแถลงการณ์ประณามการโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่านของสหรัฐฯ ว่าเป็น “การละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนธิสัญญา NPT อย่างโจ่งแจ้ง” และกล่าวว่า “การกระทำดังกล่าวจะไม่สามารถหยุดการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติของอิหร่านลงได้” . แถลงการณ์ฉบับเต็มขององค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่าน (AEOI - The Atomic Energy Organization of Iran): 'หลังจากการโจมตีอย่างโหดร้ายโดยศัตรูไซออนิสต์ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ฐานปฏิบัติการนิวเคลียร์ของประเทศที่ฟอร์โดว์ นาตันซ์ และอิสฟาฮาน ถูกโจมตีเมื่อเช้านี้โดยศัตรูของอิหร่าน ซึ่งเป็นการกระทำที่โหดร้ายที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (NPT) การกระทำนี้เป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศนั้นอย่าง ชัดเจน และช่างน่าเสียดายที่มันเกิดขึ้นท่ามกลางความเฉยเมย และยังเป็นการสมรู้ร่วมคิดของสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) ศัตรูของเราออกมาอ้างความรับผิดชอบสำหรับการโจมตีฐานปฏิบัติการดังกล่าว ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลอย่างต่อเนื่องของ IAEA ตามข้อตกลงการป้องกันและสนธิสัญญา NPT เราหวังว่าจะได้เห็นการประณามจากนานาประเทศ และสนับสนุนอิหร่านในการบรรลุสิทธิอันชอบธรรมของตน องค์การพลังงานปรมาณูแห่งอิหร่านขอรับรองต่อชาติอิหร่านที่ยิ่งใหญ่ว่า แม้จะมีแผนการชั่วร้ายของศัตรู แต่ด้วยความพยายามของนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิวัติวงการและกระตือรือร้นนับพันคน องค์การจะไม่ยอมให้การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติซึ่งเป็นผลจากเลือดของผู้พลีชีพเพื่อนิวเคลียร์ต้องหยุดชะงักลง
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 289 Views 0 Reviews
  • "จงฟังและพิจารณา!"
    ประธานาธิบดีปูตินกล่าวถึงผู้เชี่ยวชาญด้านนิวเคลียร์ของรัสเซียที่กำลังทำงานอยู่ในโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน และนี่อาจเป็นคำเตือนเงียบๆ แต่ชัดเจนของปูติน เพราะรัสเซียไม่ได้อพยพเจ้าหน้าที่ด้านนิวเคลียร์ออกจากอิหร่าน


    “เราไม่ได้อพยพบุคลากรออกไป เราได้หยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมาหารือกับอิสราเอลและประธานาธิบดีทรัมป์แล้ว เราปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศและเรียกร้องความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ของเรา แม้จะมีความเสี่ยง แต่เราก็ได้ดำเนินการสร้างเครื่องปฏิกรณ์ที่เมืองบูเชห์ร(อิหร่าน)และลงนามในสัญญาก่อสร้างอีกสองเครื่อง”

    “เราจะปกป้องผู้ที่เป็นภัยคุกคามต่อสหพันธรัฐรัสเซีย และที่สำคัญที่สุด ไม่ว่าจะอยู่ในอิหร่านหรือที่ไหนสักแห่งในแนวหลัง หรือเบื้องหลัง พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของเรา”
    "จงฟังและพิจารณา!" 👉ประธานาธิบดีปูตินกล่าวถึงผู้เชี่ยวชาญด้านนิวเคลียร์ของรัสเซียที่กำลังทำงานอยู่ในโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน และนี่อาจเป็นคำเตือนเงียบๆ แต่ชัดเจนของปูติน เพราะรัสเซียไม่ได้อพยพเจ้าหน้าที่ด้านนิวเคลียร์ออกจากอิหร่าน “เราไม่ได้อพยพบุคลากรออกไป เราได้หยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมาหารือกับอิสราเอลและประธานาธิบดีทรัมป์แล้ว เราปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศและเรียกร้องความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ของเรา แม้จะมีความเสี่ยง แต่เราก็ได้ดำเนินการสร้างเครื่องปฏิกรณ์ที่เมืองบูเชห์ร(อิหร่าน)และลงนามในสัญญาก่อสร้างอีกสองเครื่อง” “เราจะปกป้องผู้ที่เป็นภัยคุกคามต่อสหพันธรัฐรัสเซีย และที่สำคัญที่สุด ไม่ว่าจะอยู่ในอิหร่านหรือที่ไหนสักแห่งในแนวหลัง หรือเบื้องหลัง พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของเรา”
    Like
    Love
    3
    0 Comments 1 Shares 246 Views 24 0 Reviews
  • การที่อิสราเอลไม่เคารพกฎหมายระหว่างประเทศทำให้เกิดความตึงเครียดในตะวันออกกลาง จีนกังวลว่าสถานการณ์อาจลุกลามเกินการควบคุม - หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน

    ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ของจีนที่ปิดเครื่องส่งสัญญาณได้ขนส่งอะไรไปยังอิหร่านในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา

    ความเห็นฉบับเต็มจากคณะผู้แทนถาวรของอิหร่านประจำสหประชาชาติ

    ไม่มีเจ้าหน้าที่อิหร่านคนใดเคยคุกเข่าอยู่ที่ประตูทำเนียบขาว

    สิ่งเดียวที่น่ารังเกียจยิ่งกว่าคำโกหกของโดนัลด์ ทรัมป์ก็คือการขู่อย่างขี้ขลาดที่จะกำจัดผู้นำสูงสุดของอิหร่าน

    อิหร่านไม่เจรจาภายใต้แรงกดดัน!
    ไม่ยอมรับสันติภาพภายใต้แรงกดดัน!
    และแน่นอนว่าจะไม่ทำเช่นนั้นหากอดีตผู้ก่อสงครามยังคงยึดมั่นกับอิทธิพลที่เหลืออยู่ของตนอย่างสิ้นหวัง

    อิหร่านจะตอบโต้ภัยคุกคามใดๆ ด้วยการใช้การขู่ตอบโต้ และดำเนินการใดๆ ด้วยมาตรการที่สะท้อนกลับ
    การที่อิสราเอลไม่เคารพกฎหมายระหว่างประเทศทำให้เกิดความตึงเครียดในตะวันออกกลาง จีนกังวลว่าสถานการณ์อาจลุกลามเกินการควบคุม - หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ของจีนที่ปิดเครื่องส่งสัญญาณได้ขนส่งอะไรไปยังอิหร่านในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ความเห็นฉบับเต็มจากคณะผู้แทนถาวรของอิหร่านประจำสหประชาชาติ ไม่มีเจ้าหน้าที่อิหร่านคนใดเคยคุกเข่าอยู่ที่ประตูทำเนียบขาว สิ่งเดียวที่น่ารังเกียจยิ่งกว่าคำโกหกของโดนัลด์ ทรัมป์ก็คือการขู่อย่างขี้ขลาดที่จะกำจัดผู้นำสูงสุดของอิหร่าน อิหร่านไม่เจรจาภายใต้แรงกดดัน! ไม่ยอมรับสันติภาพภายใต้แรงกดดัน! และแน่นอนว่าจะไม่ทำเช่นนั้นหากอดีตผู้ก่อสงครามยังคงยึดมั่นกับอิทธิพลที่เหลืออยู่ของตนอย่างสิ้นหวัง อิหร่านจะตอบโต้ภัยคุกคามใดๆ ด้วยการใช้การขู่ตอบโต้ และดำเนินการใดๆ ด้วยมาตรการที่สะท้อนกลับ
    0 Comments 0 Shares 113 Views 0 Reviews
  • “การกระทำของอิสราเอลละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ พวกเราทุกคนไม่สามารถนั่งเฉยๆ และเฝ้าดูได้”
    หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน กล่าวถึงสงครามตะวันออกกลาง



    “มีสิ่งที่ถูกและผิดเกิดขึ้นชัดเจนในสถานการณ์ขณะนี้ และการกระทำของอิสราเอลละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ

    พวกเราไม่สามารถนั่งเฉยๆ และเฝ้าดูสถานการณ์ในภูมิภาคนี้พังทลายลงสู่เหวลึกที่ไม่มีใครรู้จัก

    ชุมชนระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในภูมิภาค ควรร่วมมือกันต่อไปเพื่อสร้างเสียงในระดับนานาชาติเพื่อต่อต้านสงคราม”
    “การกระทำของอิสราเอลละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ พวกเราทุกคนไม่สามารถนั่งเฉยๆ และเฝ้าดูได้” หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน กล่าวถึงสงครามตะวันออกกลาง “มีสิ่งที่ถูกและผิดเกิดขึ้นชัดเจนในสถานการณ์ขณะนี้ และการกระทำของอิสราเอลละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ พวกเราไม่สามารถนั่งเฉยๆ และเฝ้าดูสถานการณ์ในภูมิภาคนี้พังทลายลงสู่เหวลึกที่ไม่มีใครรู้จัก ชุมชนระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในภูมิภาค ควรร่วมมือกันต่อไปเพื่อสร้างเสียงในระดับนานาชาติเพื่อต่อต้านสงคราม”
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 169 Views 0 Reviews
  • หลายประเทศในลาตินอเมริกาไม่อยากเป็นแค่ "ผู้บริโภค AI" อีกต่อไป พวกเขารวมตัวกันกว่า 12 ประเทศ โดยมีชิลีเป็นแกนกลาง ผ่านศูนย์ CENIA (National Center for AI) เพื่อพัฒนาโมเดล AI ภาษาใหญ่ของตัวเองชื่อ Latam-GPT

    จุดเด่นคือโมเดลนี้จะเข้าใจบริบท วัฒนธรรม และภาษาเฉพาะถิ่นของลาตินอเมริกาได้ดีกว่าโมเดลที่ถูกฝึกด้วยภาษาอังกฤษแบบตะวันตก เช่น ChatGPT หรือ Gemini แถมยัง “โอเพนซอร์ส” เปิดให้ใคร ๆ ในภูมิภาคนำไปใช้หรือพัฒนาต่อยอดได้

    อีกหนึ่งไฮไลต์คือ การรักษาภาษา Indigenous อย่าง Rapa Nui ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองของ Easter Island พวกเขาสร้างระบบแปลไว้แล้วเพื่อให้ใช้ในบริการสาธารณะ เช่น แชตบอทหน่วยงานรัฐหรือแพลตฟอร์มการศึกษาสำหรับชุมชน

    Latam-GPT จะใช้เทคโนโลยีพื้นฐานจาก Llama 3 ของ Meta และพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรประมวลผลจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมถึงคลาวด์จาก Amazon ด้วย

    12 ประเทศในลาตินอเมริการ่วมพัฒนาโมเดล Latam-GPT เปิดตัว ก.ย. 2025  
    • นำโดยชิลี และศูนย์วิจัย CENIA พร้อมสถาบันในภูมิภาคกว่า 30 แห่ง  
    • พัฒนาโมเดลขนาดใหญ่ที่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมเฉพาะถิ่น

    เป้าหมายคือการกระจาย AI ให้เข้าถึงผู้คนทุกกลุ่ม (AI democratization)  
    • วางแผนใช้ในโรงเรียน โรงพยาบาล และระบบบริการภาครัฐ

    เน้นการอนุรักษ์ภาษา Indigenous เช่น Rapa Nui  
    • สร้างระบบแปลภาษาเพื่อการใช้งานเชิงบริการและการศึกษา

    พัฒนาด้วยเทคโนโลยี Llama 3 จาก Meta  
    • ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระดับภูมิภาค รวมถึงคลาวด์ของ AWS

    ยังไม่มีงบประมาณเฉพาะ แต่หวังดึงเงินทุนจากภาครัฐและเอกชนเพิ่มเติมภายหลัง  
    • CENIA ระบุว่าหากโชว์ศักยภาพได้ จะมีผู้สนับสนุนเพิ่มขึ้นแน่นอน

    การที่ Latam-GPT เปิดโอเพนซอร์ส อาจเสี่ยงต่อการนำไปใช้ในทางที่ผิด  
    • โดยเฉพาะในภูมิภาคที่การควบคุมการใช้เทคโนโลยียังไม่เข้มงวด

    การใช้ LLM กับภาษาเฉพาะถิ่นต้องใช้ข้อมูลเทรนมากพอ ไม่เช่นนั้นอาจทำให้เกิด bias  
    • หากรวบรวมข้อมูลน้อยหรือไม่หลากหลาย AI อาจเข้าใจผิดหรือตอบไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรม

    การพัฒนา AI ข้ามประเทศหลายฝ่าย อาจขัดแย้งกันด้านสิทธิ์และการควบคุมในอนาคต  
    • ต้องมีข้อตกลงชัดเจนด้านกฎหมายระหว่างประเทศ และการแบ่งปันผลประโยชน์

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/06/18/latin-american-countries-to-launch-own-ai-model-in-september
    หลายประเทศในลาตินอเมริกาไม่อยากเป็นแค่ "ผู้บริโภค AI" อีกต่อไป พวกเขารวมตัวกันกว่า 12 ประเทศ โดยมีชิลีเป็นแกนกลาง ผ่านศูนย์ CENIA (National Center for AI) เพื่อพัฒนาโมเดล AI ภาษาใหญ่ของตัวเองชื่อ Latam-GPT จุดเด่นคือโมเดลนี้จะเข้าใจบริบท วัฒนธรรม และภาษาเฉพาะถิ่นของลาตินอเมริกาได้ดีกว่าโมเดลที่ถูกฝึกด้วยภาษาอังกฤษแบบตะวันตก เช่น ChatGPT หรือ Gemini แถมยัง “โอเพนซอร์ส” เปิดให้ใคร ๆ ในภูมิภาคนำไปใช้หรือพัฒนาต่อยอดได้ อีกหนึ่งไฮไลต์คือ การรักษาภาษา Indigenous อย่าง Rapa Nui ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองของ Easter Island พวกเขาสร้างระบบแปลไว้แล้วเพื่อให้ใช้ในบริการสาธารณะ เช่น แชตบอทหน่วยงานรัฐหรือแพลตฟอร์มการศึกษาสำหรับชุมชน Latam-GPT จะใช้เทคโนโลยีพื้นฐานจาก Llama 3 ของ Meta และพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรประมวลผลจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมถึงคลาวด์จาก Amazon ด้วย ✅ 12 ประเทศในลาตินอเมริการ่วมพัฒนาโมเดล Latam-GPT เปิดตัว ก.ย. 2025   • นำโดยชิลี และศูนย์วิจัย CENIA พร้อมสถาบันในภูมิภาคกว่า 30 แห่ง   • พัฒนาโมเดลขนาดใหญ่ที่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมเฉพาะถิ่น ✅ เป้าหมายคือการกระจาย AI ให้เข้าถึงผู้คนทุกกลุ่ม (AI democratization)   • วางแผนใช้ในโรงเรียน โรงพยาบาล และระบบบริการภาครัฐ ✅ เน้นการอนุรักษ์ภาษา Indigenous เช่น Rapa Nui   • สร้างระบบแปลภาษาเพื่อการใช้งานเชิงบริการและการศึกษา ✅ พัฒนาด้วยเทคโนโลยี Llama 3 จาก Meta   • ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระดับภูมิภาค รวมถึงคลาวด์ของ AWS ✅ ยังไม่มีงบประมาณเฉพาะ แต่หวังดึงเงินทุนจากภาครัฐและเอกชนเพิ่มเติมภายหลัง   • CENIA ระบุว่าหากโชว์ศักยภาพได้ จะมีผู้สนับสนุนเพิ่มขึ้นแน่นอน ‼️ การที่ Latam-GPT เปิดโอเพนซอร์ส อาจเสี่ยงต่อการนำไปใช้ในทางที่ผิด   • โดยเฉพาะในภูมิภาคที่การควบคุมการใช้เทคโนโลยียังไม่เข้มงวด ‼️ การใช้ LLM กับภาษาเฉพาะถิ่นต้องใช้ข้อมูลเทรนมากพอ ไม่เช่นนั้นอาจทำให้เกิด bias   • หากรวบรวมข้อมูลน้อยหรือไม่หลากหลาย AI อาจเข้าใจผิดหรือตอบไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรม ‼️ การพัฒนา AI ข้ามประเทศหลายฝ่าย อาจขัดแย้งกันด้านสิทธิ์และการควบคุมในอนาคต   • ต้องมีข้อตกลงชัดเจนด้านกฎหมายระหว่างประเทศ และการแบ่งปันผลประโยชน์ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/06/18/latin-american-countries-to-launch-own-ai-model-in-september
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Latin American countries to launch own AI model in September
    SANTIAGO (Reuters) -A dozen Latin American countries are collaborating to launch Latam-GPT in September, the first large artificial intelligence language model trained to understand the region's diverse cultures and linguistic nuances, Chilean officials said on Tuesday.
    0 Comments 0 Shares 316 Views 0 Reviews
  • ซาอุดีอาระเบียออกแถลงการณ์ประณามอย่างรุนแรงต่อการกระทำของอิสราเอลต่อสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นการทำลายอำนาจอธิปไตยและความมั่นคงของประเทศ และถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างชัดเจน
    ซาอุดีอาระเบียออกแถลงการณ์ประณามอย่างรุนแรงต่อการกระทำของอิสราเอลต่อสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ซึ่งเป็นการทำลายอำนาจอธิปไตยและความมั่นคงของประเทศ และถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างชัดเจน
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 180 Views 0 Reviews
  • EP.6 ถอดรหัสไทยเสียดินแดนครั้งที่ 16 ปราสาทเขาพระวิหาร

    ค่ำวันที่ 4 กรกฎาคม 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินให้ปราสาทพระวิหาร ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพูชา ได้ประมาณ 20 วัน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีของไทย ในขณะนั้น ได้กล่าวปราศรัยผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสดงความรู้สึกต่อการสูญเสียปราสาทพระวิหาร และยืนยันสิทธิ์ที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในอนาคต ดังนี้

    พี่น้องร่วมชาติ และมิตรร่วมชีวิตที่รักของข้าพเจ้าทั้งหลาย ตามที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกว่า ศาลโลก ได้วินิจฉัยชี้ขาดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2505 ให้ปราสาทเขาพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา และทางรัฐบาลได้ออกแถลงให้พี่น้องทั้งหลายได้ทราบเป็นลำดับนั้น

    รัฐบาลของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเฉพาะตัวของข้าพเจ้า ถือว่าเรื่องนี้มีความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผลได้ผลเสียของชาติ อันเป็นเรื่องของแผ่นดินไทย ซึ่งเป็นมรดกที่บรรพบุรุษของเราสู้มา อุตส่าห์ฝ่าคมอาวุธรักษาไว้ และตกทอดมาถึงรุ่นเรา

    เนื่องจากในคำปราศรัยนี้เป็นเรื่องที่สะเทือนใจพี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าทราบดีว่า ในส่วนลึกและหัวใจแล้ว คนไทยผู้รักชาติทุกคน มีความเศร้าสลดและมีความข่มขืนใจเพียงใด แสดงออกถึงของประชาชนในการเดินขบวนทั่วประเทศ เพื่อคัดค้านคำพิพากษาของศาลโลกเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เป็นสิ่งที่เห็นกันอยู่อย่างชัดเจนแล้ว

    ทั้งนี้ มิใช่ว่าพวกเราจะนั่งนิ่งเฉยหรือท้อแท้ใจ ชาติไทยยอมท้อแท้ทอดอาลัยไม่ได้ เราเคยสูญเสียดินแดนแก่ประเทศมหาอำนาจที่ล่าอาณานิคมมาแล้วหลายครั้ง หากบรรพบุรุษของเรายอมท้อแท้ เราจะเอาแผ่นดินที่ไหนมาอยู่กันได้จนถึงทุกวันนี้ เราจะต้องหาวิธีการสู้ต่อไป

    สำหรับกรณีเขาพระวิหาร ซึ่งศาลโลกได้วินิจฉัยชี้ขาดไปแล้วนั้น ข้าพเจ้าขอทบทวนเข้าใจกับเพื่อนร่วมชาติทั้งหลาย ว่า รัฐบาลและประชาชนชาวไทย ไม่ได้เห็นด้วยกับคำตัดสินของศาลโลก ทั้งในข้อเท็จจริงกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักความยุติธรรม

    เมื่อเป็นดังนี้ แม้นรัฐบาลและปวงชนชาวไทย จะได้มีความรู้สึกสลดใจและขมขื่นเพียงใด ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีในกฎบัตรสหประชาชาติ กล่าวคือ ต้องยอมให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือเขาพระวิหาร ตามพันธกรณีแห่งกฎบัตรสหประชาชาติ แต่รัฐบาลขอตั้งประท้วงและขอสงวนสิทธิ์อันชอบธรรมของประเทศไทยในเรื่องนี้ไว้ เพื่อสงวนสิทธิ์ที่จะดำเนินทางกฎหมายที่จำเป็น ซึ่งอาจจะมีขึ้นในภายภาคหน้า ให้กรรมสิทธิ์นี้กลับคืนมาในโอกาสอันสมควร

    พี่น้องทั้งหลายคงทราบดีว่า ชาติของเราต้องเสียศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิไป เนื่องจากเขาพระวิหาร อีกสิบปีอีกกี่ร้อยปี เราก็สามารถสร้างเกียรติภูมิคราวนี้กลับคืนมาได้ ข้าพเจ้าทราบว่า การสูญเสียปราสาทเขาพระวิหารครั้งนี้ เป็นการสูญเสียที่สะเทือนใจของคนไทยทั้งชาติ

    ฉะนั้น แม้นว่า กัมพูชาจะได้ปราสาทเขาพระวิหารนี้ไป ก็คงไปได้แค่ซากปรักหักพัง และแผ่นดินเฉพาะรองรับเขาพระวิหารเท่านั้น วิญญาณของปราสาทเขาพระวิหารยังคงอยู่กับคนไทยตลอดไป ประชาชนชาวไทยจะระลึกอยู่เสมอว่า ปราสาทเขาพระวิหารของไทยถูกปล้นเอาไป ด้วยอุปเล่ห์เพทุบาย คนที่ไม่มีเกียรติและไม่รับผิดชอบ ไม่รักความเป็นธรรม เมื่อประเทศไทยเราประพฤติปฏิบัติดีในสังคมโลก อันเป็นที่มีศีลธรรม มีสัตย์ ในวันหนึ่งข้างหน้าไม่ช้าก็เร็ว ปราสาทเขาพระวิหารจะต้องกลับมาสู่ดินแดนไทยอีกครั้งหนึ่ง

    เหตุการณ์เกี่ยวกับเขาพระวิหารครั้งนี้ สลักแน่นอยู่ในความทรงจำของคนไทยสืบไปชั่วลูกชั่วหลาน และเป็นรอยจารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาติไปตลอด เสมือนแผลที่อยู่ในใจของคนไทยทั้งชาติ แต่ข้าพเจ้าหวังอยู่เสมอว่า ในที่สุด ธรรมะย่อมชนะอธรรม การหัวเราะที่หลังย่อมดังกว่า และนานกว่า

    พี่น้องร่วมชาติทุกท่าน ได้โปรดวางใจรัฐบาลซึ่งข้าพเจ้าเป็นนายกรัฐมนตรีอยู่นี้ จะสามารถนำชาติและพี่น้องชาวไทยที่รักก้าวสู่อนาคตอันสุกใสให้ได้ และข้าพเจ้ารับรองแก่ท่านทั้งหลายว่า เมื่อถึงคราวที่ชาติคับขันแล้ว ข้าพเจ้าจะกอดคอร่วมเป็นร่วมตายกับพี่น้องประชาชนชาวไทย เอาเลือดทาแผ่นดิน ไม่เสียดายชีวิตแม้แต่นิดเดียว แต่เราจะทำอย่างไรได้ ข้าพเจ้าเองมีความเจ็บช้ำน้ำใจไม่น้อยไปกว่าเพื่อร่วมชาติทั้งหลาย

    การที่ข้าพเจ้าต้องมากล่าวถึงเรื่องนี้ ข้าพเจ้าอยากจะกล่าวว่า การมาพูดกับท่านด้วยน้ำตา น้ำตาของข้าพเจ้า เป็นน้ำตาของลูกผู้ชาย ของเลือด ของความคับแค้น และการผูกใจเจ็บชั่วชีวิตชาตินี้และชาติหน้า ต่อดวงวิญญาณของบรรพบุรุษผู้กล้าหาญของชาวไทย

    ข้าพเจ้าขอกล่าวคำปฏิญาณด้วยสัตย์วาจาดังนี้ พี่น้องที่รักชาติทั้งหลาย น้ำตาไม่อาจทำให้เราฉลาดขึ้น แต่เราจะต้องได้อะไรคืนมา ในขั้นสุดท้ายชาติไทยจะต้องประสบกับชัยชนะเสมอ เราต้องกล้าสู้ เราต้องกล้ายิ้มรับภัยที่มาถึงตัวเรา ชาติไทยเป็นชาติที่เชื่อมั่นในบริวารพุทธศาสนา ตั้งตนอยู่ในความเป็นธรรมตลอดมา

    ข้าพเจ้าเชื่อมั่นเสมอว่า ชาติของเราจะไม่อับจนเป็นอันขาด เรื่องนี้เป็นเพียงเรื่องหนึ่งในบรรดาเรื่องใหญ่ทั้งหลาย มีความสำคัญมากกว่านี้ ชาติที่รักของเรากำลังพัฒนาไปในสู่วิถีทางที่ดีขึ้น เหตุนี้ไม่ใช่เหตุผลความอับจนของเรา จงหวังและทำในเรื่องชาติที่สำคัญกว่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อมั่นเหลือเกินว่า ชาติไทยของเรามีอนาคตแจ่มใสและรุ่งโรจน์อย่างแน่นอนและมั่นคงในอนาคตอันใกล้ นี้ เราจงมาช่วยกันสร้างชาติที่รักยิ่งของเราต่อไป

    พี่น้องชาวไทยที่รักทั้งหลาย วันนี้เป็นวันหนึ่งและเป็นในวันข้างหน้า เราจะต้องเอาปราสาทเขาพระวิหารกลับคืนมา ให้เป็นของชาติไทยให้จงได้ สวัสดี”

    https://youtube.com/shorts/Xdz0paAXVz4?si=k7SNESYjZJlELM04
    EP.6 ถอดรหัสไทยเสียดินแดนครั้งที่ 16 ปราสาทเขาพระวิหาร ค่ำวันที่ 4 กรกฎาคม 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินให้ปราสาทพระวิหาร ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพูชา ได้ประมาณ 20 วัน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีของไทย ในขณะนั้น ได้กล่าวปราศรัยผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสดงความรู้สึกต่อการสูญเสียปราสาทพระวิหาร และยืนยันสิทธิ์ที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารในอนาคต ดังนี้ พี่น้องร่วมชาติ และมิตรร่วมชีวิตที่รักของข้าพเจ้าทั้งหลาย ตามที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกว่า ศาลโลก ได้วินิจฉัยชี้ขาดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2505 ให้ปราสาทเขาพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา และทางรัฐบาลได้ออกแถลงให้พี่น้องทั้งหลายได้ทราบเป็นลำดับนั้น รัฐบาลของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเฉพาะตัวของข้าพเจ้า ถือว่าเรื่องนี้มีความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผลได้ผลเสียของชาติ อันเป็นเรื่องของแผ่นดินไทย ซึ่งเป็นมรดกที่บรรพบุรุษของเราสู้มา อุตส่าห์ฝ่าคมอาวุธรักษาไว้ และตกทอดมาถึงรุ่นเรา เนื่องจากในคำปราศรัยนี้เป็นเรื่องที่สะเทือนใจพี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าทราบดีว่า ในส่วนลึกและหัวใจแล้ว คนไทยผู้รักชาติทุกคน มีความเศร้าสลดและมีความข่มขืนใจเพียงใด แสดงออกถึงของประชาชนในการเดินขบวนทั่วประเทศ เพื่อคัดค้านคำพิพากษาของศาลโลกเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เป็นสิ่งที่เห็นกันอยู่อย่างชัดเจนแล้ว ทั้งนี้ มิใช่ว่าพวกเราจะนั่งนิ่งเฉยหรือท้อแท้ใจ ชาติไทยยอมท้อแท้ทอดอาลัยไม่ได้ เราเคยสูญเสียดินแดนแก่ประเทศมหาอำนาจที่ล่าอาณานิคมมาแล้วหลายครั้ง หากบรรพบุรุษของเรายอมท้อแท้ เราจะเอาแผ่นดินที่ไหนมาอยู่กันได้จนถึงทุกวันนี้ เราจะต้องหาวิธีการสู้ต่อไป สำหรับกรณีเขาพระวิหาร ซึ่งศาลโลกได้วินิจฉัยชี้ขาดไปแล้วนั้น ข้าพเจ้าขอทบทวนเข้าใจกับเพื่อนร่วมชาติทั้งหลาย ว่า รัฐบาลและประชาชนชาวไทย ไม่ได้เห็นด้วยกับคำตัดสินของศาลโลก ทั้งในข้อเท็จจริงกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักความยุติธรรม เมื่อเป็นดังนี้ แม้นรัฐบาลและปวงชนชาวไทย จะได้มีความรู้สึกสลดใจและขมขื่นเพียงใด ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีในกฎบัตรสหประชาชาติ กล่าวคือ ต้องยอมให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือเขาพระวิหาร ตามพันธกรณีแห่งกฎบัตรสหประชาชาติ แต่รัฐบาลขอตั้งประท้วงและขอสงวนสิทธิ์อันชอบธรรมของประเทศไทยในเรื่องนี้ไว้ เพื่อสงวนสิทธิ์ที่จะดำเนินทางกฎหมายที่จำเป็น ซึ่งอาจจะมีขึ้นในภายภาคหน้า ให้กรรมสิทธิ์นี้กลับคืนมาในโอกาสอันสมควร พี่น้องทั้งหลายคงทราบดีว่า ชาติของเราต้องเสียศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิไป เนื่องจากเขาพระวิหาร อีกสิบปีอีกกี่ร้อยปี เราก็สามารถสร้างเกียรติภูมิคราวนี้กลับคืนมาได้ ข้าพเจ้าทราบว่า การสูญเสียปราสาทเขาพระวิหารครั้งนี้ เป็นการสูญเสียที่สะเทือนใจของคนไทยทั้งชาติ ฉะนั้น แม้นว่า กัมพูชาจะได้ปราสาทเขาพระวิหารนี้ไป ก็คงไปได้แค่ซากปรักหักพัง และแผ่นดินเฉพาะรองรับเขาพระวิหารเท่านั้น วิญญาณของปราสาทเขาพระวิหารยังคงอยู่กับคนไทยตลอดไป ประชาชนชาวไทยจะระลึกอยู่เสมอว่า ปราสาทเขาพระวิหารของไทยถูกปล้นเอาไป ด้วยอุปเล่ห์เพทุบาย คนที่ไม่มีเกียรติและไม่รับผิดชอบ ไม่รักความเป็นธรรม เมื่อประเทศไทยเราประพฤติปฏิบัติดีในสังคมโลก อันเป็นที่มีศีลธรรม มีสัตย์ ในวันหนึ่งข้างหน้าไม่ช้าก็เร็ว ปราสาทเขาพระวิหารจะต้องกลับมาสู่ดินแดนไทยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์เกี่ยวกับเขาพระวิหารครั้งนี้ สลักแน่นอยู่ในความทรงจำของคนไทยสืบไปชั่วลูกชั่วหลาน และเป็นรอยจารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาติไปตลอด เสมือนแผลที่อยู่ในใจของคนไทยทั้งชาติ แต่ข้าพเจ้าหวังอยู่เสมอว่า ในที่สุด ธรรมะย่อมชนะอธรรม การหัวเราะที่หลังย่อมดังกว่า และนานกว่า พี่น้องร่วมชาติทุกท่าน ได้โปรดวางใจรัฐบาลซึ่งข้าพเจ้าเป็นนายกรัฐมนตรีอยู่นี้ จะสามารถนำชาติและพี่น้องชาวไทยที่รักก้าวสู่อนาคตอันสุกใสให้ได้ และข้าพเจ้ารับรองแก่ท่านทั้งหลายว่า เมื่อถึงคราวที่ชาติคับขันแล้ว ข้าพเจ้าจะกอดคอร่วมเป็นร่วมตายกับพี่น้องประชาชนชาวไทย เอาเลือดทาแผ่นดิน ไม่เสียดายชีวิตแม้แต่นิดเดียว แต่เราจะทำอย่างไรได้ ข้าพเจ้าเองมีความเจ็บช้ำน้ำใจไม่น้อยไปกว่าเพื่อร่วมชาติทั้งหลาย การที่ข้าพเจ้าต้องมากล่าวถึงเรื่องนี้ ข้าพเจ้าอยากจะกล่าวว่า การมาพูดกับท่านด้วยน้ำตา น้ำตาของข้าพเจ้า เป็นน้ำตาของลูกผู้ชาย ของเลือด ของความคับแค้น และการผูกใจเจ็บชั่วชีวิตชาตินี้และชาติหน้า ต่อดวงวิญญาณของบรรพบุรุษผู้กล้าหาญของชาวไทย ข้าพเจ้าขอกล่าวคำปฏิญาณด้วยสัตย์วาจาดังนี้ พี่น้องที่รักชาติทั้งหลาย น้ำตาไม่อาจทำให้เราฉลาดขึ้น แต่เราจะต้องได้อะไรคืนมา ในขั้นสุดท้ายชาติไทยจะต้องประสบกับชัยชนะเสมอ เราต้องกล้าสู้ เราต้องกล้ายิ้มรับภัยที่มาถึงตัวเรา ชาติไทยเป็นชาติที่เชื่อมั่นในบริวารพุทธศาสนา ตั้งตนอยู่ในความเป็นธรรมตลอดมา ข้าพเจ้าเชื่อมั่นเสมอว่า ชาติของเราจะไม่อับจนเป็นอันขาด เรื่องนี้เป็นเพียงเรื่องหนึ่งในบรรดาเรื่องใหญ่ทั้งหลาย มีความสำคัญมากกว่านี้ ชาติที่รักของเรากำลังพัฒนาไปในสู่วิถีทางที่ดีขึ้น เหตุนี้ไม่ใช่เหตุผลความอับจนของเรา จงหวังและทำในเรื่องชาติที่สำคัญกว่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อมั่นเหลือเกินว่า ชาติไทยของเรามีอนาคตแจ่มใสและรุ่งโรจน์อย่างแน่นอนและมั่นคงในอนาคตอันใกล้ นี้ เราจงมาช่วยกันสร้างชาติที่รักยิ่งของเราต่อไป พี่น้องชาวไทยที่รักทั้งหลาย วันนี้เป็นวันหนึ่งและเป็นในวันข้างหน้า เราจะต้องเอาปราสาทเขาพระวิหารกลับคืนมา ให้เป็นของชาติไทยให้จงได้ สวัสดี” https://youtube.com/shorts/Xdz0paAXVz4?si=k7SNESYjZJlELM04
    0 Comments 0 Shares 437 Views 0 Reviews
More Results