• 🪭แม่สื่อสมัยโบราณ 🪭

    สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันเกี่ยวกับขั้นตอนการสู่ขอและ ‘สามหนังสือหกพิธีการ’ และมีการกล่าวถึงการใช้แม่สื่อ แต่เพื่อนเพจคงไม่ได้อรรถรสว่าจริงๆ แล้วการใช้แม่สื่อมีความสำคัญมาก ในบางยุคสมัยอย่างเช่นสมัยถังถึงกับบัญญัติเป็นกฎหมายไว้ว่าการแต่งงานต้องมีแม่สื่อ

    เพื่อนเพจรู้หรือไม่ว่า มีหน่วยงานรัฐรับหน้าที่แม่สื่อ?

    ในบันทึกพิธีการโจวหลี่ซึ่งเป็นบันทึกโบราณที่ถูกจัดทำขึ้นในสมัยฮั่นว่าด้วยพิธีการต่างๆ ของสมัยราชวงศ์โจวตะวันตกมีการระบุไว้ว่า: สำนักงาน ‘เหมยซึ’ (媒氏) มีหน้าที่ดูแลการแต่งงานของประชาชน... ทำทะเบียนบันทึกวันเดือนปีเกิดของทุกคนและจัดให้บุรุษแต่งงานเมื่ออายุสามสิบปีและสตรีเมื่ออายุยี่สิบปี... จัดเทศกาลกลางฤดูใบไม้ผลิหรือที่เรียกว่า ‘จงชุนฮุ่ย’ (仲春会) เพื่อเป็นโอกาสให้หนุ่มสาวได้พบปะดูตัว...

    ก่อนจะลงลึกเรื่องหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อเหมยซึนี้ เรามาคุยกันเล็กน้อยเรื่องเกณฑ์อายุสมรสที่กล่าวถึงข้างต้น

    พวกเราจะคุ้นเคยว่ากฎหมายกำหนดเกณฑ์อายุขั้นต่ำไว้ แต่ในสมัยโบราณมีกำหนดเกณฑ์อายุสูงสุดไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อผลักดันให้ผู้คนแต่งงานมีลูกสืบสกุล ในความเชื่อของคนโบราณคือการไม่มีบุตรสืบสกุลถือเป็นความอกตัญญูอย่างใหญ่หลวง แต่จริงๆ แล้วในมุมมองของรัฐมันมีเหตุผลด้านการพัฒนาประเทศ อย่าลืมว่าแรกเริ่มเลยเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนโดยเกษตรกรรม เมื่อประชากรน้อยผลผลิตก็น้อยรัฐก็จน อีกทั้งในสมัยโบราณมีศึกสงครามและอายุขัยของคนไม่ยาวเหมือนสมัยนี้ ดังนั้นทางการจึงพยายามกระตุ้นให้คนแต่งงานและมีลูกหลานกัน จนถึงขั้นกำหนดเป็นกฎหมายบังคับ เพียงแต่เกณฑ์อายุตามกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย อย่างเช่นในสมัยฮั่นบุรุษต้องแต่งงานภายในอายุสามสิบปีและสตรีภายในอายุสิบห้าปี หาไม่แล้วต้องถูกปรับด้วยการจ่ายภาษีเพิ่มเป็นห้าเท่า (ในสมัยนั้นจ่ายภาษีเป็นรายหัว ไม่เกี่ยวกับรายได้) และในสมัยราชวงศ์เหนือใต้กำหนดว่าหากสตรีไม่แต่งงานภายในอายุสิบห้าปีพ่อแม่ต้องโทษจำคุก

    แต่ในสมัยโบราณก็มีคนที่ไม่ได้แต่งงานภายในอายุที่กฎหมายที่กำหนด บ้างยืดเวลาออกไปเพราะเหตุผลการไว้ทุกข์ให้พ่อแม่ บ้างมีเหตุผลอื่น แต่ Storyฯ ไม่ได้ไปหาข้อมูลต่อว่าแต่ละยุคสมัยเขามีวิธีหลีกเลี่ยงการแต่งงานกันอย่างไร แต่ที่ชัดเจนก็คือว่า ผู้ที่ถึงเกณฑ์อายุสูงสุดแล้วยังไม่ได้แต่งงานจะมีสำนักงานแม่สื่อมาช่วยจัดการหาคู่ให้ โดยมีความพยายามหว่านล้อมให้เจ้าตัวเห็นชอบและมีตัวเลือกให้ ไม่ใช่นึกจะบังคับแต่งกับใครก็บังคับเลย ประมาณว่าเป็นการบังคับแต่งงานแบบประนีประนอม และนี่เป็นหนึ่งในหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อ

    ทีนี้มาเข้าเรื่องหน้าที่แม่สื่อ... สำหรับหน้าที่แม่สื่อนี้ สำนักงานเหมยซึไม่เพียงหาคู่ให้กับผู้ที่ใกล้จะเลยเกณฑ์อายุสูงสุด หากแต่ยังช่วยหาคู่ให้กับผู้ที่ไม่มีพ่อแม่หรือผู้ใหญ่จัดการเรื่องนี้ รวมถึงจัดงานเทศกาลที่บังคับให้หนุ่มสาวออกมาพบปะและดูตัวกัน นอกจากนี้ ยังเป็นธุระดูแลเรื่องพิธีการต่างๆ ให้ถูกต้องเช่นส่งคนไปช่วยสู่ขอ กำหนดวันแต่งงาน ช่วยจัดงานแต่งงาน และดูแลสินสอดให้เหมาะสม ในบางสมัยถึงกับมีหน้าที่จัดสรรเงินจากงบประมาณแผ่นดินหรือหาคณบดีท้องถิ่นมาเป็นผู้อุปถัมภ์เพื่อให้บุรุษที่ยากจนสามารถมีเงินสินสอดไปแต่งเมียได้ และอย่างในสมัยฉินมีหน้าที่จัดสรรที่ดินทำกินให้คู่บ่าวสาวไปตั้งต้นชีวิตใหม่ได้ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่างๆ อันเกิดขึ้นในการหมั้นหมายและแต่งงาน

    และจากตัวอย่างที่ยกมาจากบันทึกโจวหลี่ จะเห็นว่าหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อมีอีกส่วนหนึ่งคืองานด้านทะเบียน โดยมีหน้าที่บันทึกว่าใครเกิดเมื่อไหร่แต่งงานแล้วหรือยัง หย่าร้างหรือไม่ รวมถึงดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงาน เช่นการลงโทษตามกฏหมาย (เช่น หลบหนีการแต่งงาน)

    ดังนั้น ผู้ที่ทำหน้าที่แม่สื่อในงานพิธีการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมงคลสมรสก็คือคนจากสำนักงานเหมยซึนี่เอง หรือที่เรียกว่า ‘แม่สื่อหลวง’ (官媒) แต่ผู้ที่เป็นแม่สื่อหลวงอาจไม่ใช่ขุนนางทุกคน เพราะเขาจะมีการจ้างคนนอกช่วยทำงาน กล่าวคือคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถมีฝีปากเป็นเลิศคล่องแคล่วแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ไม่มีประวัติอาชญากรรม ฯลฯ มาขึ้นทะเบียนเป็นแม่สื่อหลวงที่ต้องออกไปช่วยเจรจาทาบทามสู่ขอ ช่วยทำพิธีการต่างๆ โดยคนเหล่านี้ได้รับค่าจ้างหลวงแต่ไม่ใช่ข้าราชการ และส่วนใหญ่เป็นผู้อาวุโสที่ผู้คนให้ความเคารพนับถือในท้องที่นั้นๆ หรือเป็นผู้ที่ผู้อาวุโสเหล่านี้แนะนำมา

    ในยุคที่รุ่งเรืองมากๆ อย่างสมัยซ่งนั้น กิจการแม่สื่อมืออาชีพก็เฟื่องฟูตาม มีทั้งแม่สื่อฝ่ายชายและแม่สื่อฝ่ายหญิง ในสมัยซ่งถึงขนาดมีแบ่งแยกระดับของแม่สื่อ ในบันทึก ‘ตงจิงเมิ่งหัวลู่’ ที่ให้รายละเอียดวิถีชีวิตและธรรมเนียมปฏิบัติของคนสมัยซ่งเหนือได้กล่าวไว้ว่า แม่สื่อขั้นสูงสุดนั้นมีผ้าโพกศีรษะสวมเสื้อนอกสีม่วง ให้บริการเฉพาะขุนนางและครอบครัวขุนนาง

    และต่อมาพัฒนาขึ้นเป็น ‘แม่สื่อเอกชน’ (私媒) แบบมืออาชีพ กล่าวคือได้ค่าจ้างจากครอบครัวบ่าวสาว แต่ก็ต้องขึ้นทะเบียนกับทางการอยู่ดี

    ทำไมแค่ช่วยสู่ขอช่วยจัดงานแต่งยังต้องทำเป็นทางการขนาดนั้น? นั่นเป็นเพราะว่าแม่สื่อมีหน้าที่และความรับผิดได้ตามกฎหมาย เป็นต้นว่า หากแม่สื่อโฆษณาคุณสมบัติของบุรุษสตรีเกินจริงจนเข้าข่ายบิดเบือนหรือหลอกลวงก็จะมีโทษ; แม่สื่อมีหน้าที่ตรวจสอบและสืบข้อมูลประวัติของทั้งสองครอบครัวเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้เป็นการแต่งงานที่เข้าข่ายต้องห้าม (เช่น ข้ามสถานะระหว่างบุคคลธรรมดากับบุคคลในทะเบียนทาส; เป็นพยานสำคัญว่าเจ้าบ่าวเจ้าสาวถูกคนหรือไม่ ตั้งแต่ข้อมูลวันเดือนปีเกิด เอกสารการหมั้นและการรับตัวเจ้าสาว หรือหากรู้เห็นเป็นใจการหนีสมรสก็มีโทษเช่นกัน; เป็นพยานสำคัญว่าสินสอดและสินเดิมเจ้าสาวถูกต้องครบถ้วนตามรายการบัญชีที่ทำ; และอาจเป็นพยานหรือเป็นผู้ช่วยไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างครอบครัวบ่าวสาวได้ ฯลฯ

    แม่สื่อเป็นบุรุษหรือสตรีก็ได้ เพียงแต่ในยุคที่กิจการแม่สื่อเฟื่องฟู คนที่นิยมทำหน้าที่นี้เป็นสตรีเสียส่วนใหญ่ และจวบจนสมัยชิงยังมีการกล่าวถึงแม่สื่อหลวง โดยมีตัวอย่างจากบทประพันธ์โบราณชื่อ ‘สิ่งซื่อเหิงเหยียน’ (醒世恒言 /วจีปลุกให้โลกตื่น) ซึ่งเป็นผลงานของเฝิงเมิ่งหลง นักเขียนผู้มีชีวิตอยู่ในช่วงตอนปลายหมิงต้นชิง ดังนั้น แม่สื่อหลวงและแม่สื่อเอกชนอยู่คู่กับจีนมาหลายพันปีแล้ว

    และแน่นอนว่า แม่สื่อเอกชนแบบที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนกับทางการก็มี เช่นอาจมีการเชิญผู้ใหญ่คนรู้จักไปช่วยพูดจาทาบทาม เพื่อนเพจเชื้อสายจีนน่าจะนึกภาพออกเพราะบ้านเราเรียกว่า ‘เถ้าแก่’ แต่เถ้าแก่นี้ไม่ใช่แม่สื่อหลักเพราะตามกระบวนการของกฎหมายต้องมีแม่สื่อที่ขึ้นทะเบียนแล้วช่วยดำเนินเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นแม่สื่อหลวงหรือแม่สื่อเอกชน ดังนั้นในบริบทนี้ บางครอบครัวอาจใช้เถ้าแก่มาเสริม จึงเกิดเป็นสำนวนที่ว่า ‘ซานเหมยลิ่วพิ่น’ ( 三媒六聘/สามแม่สื่อหกพิธีการแต่งงาน) กล่าวคือแม่สื่อหรือเถ้าแก่ฝ่ายชายและฝ่ายหญิง และคนกลางซึ่งมักเป็นแม่สื่อที่ขึ้นทะเบียนแล้วนั่นเอง

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://meihuamag.com/牵线说媒,这行当已有五千年历史/
    http://sino.newdu.com/m/view.php?aid=91147
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    http://www.sss.net.cn/106001/30036.aspx
    http://www.heyuanxw.com/2014/wenhua_1216/15238.html
    http://iolaw.cssn.cn/xspl/200607/t20060726_4598436.shtml
    http://www.xinfajia.net/2592.html
    https://ctext.org/wiki.pl?if=gb&chapter=795664&remap=gb#%娶妇
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_26937009

    #แม่สื่อ #กวนเหมย #ซือเหมย #เหมยซึ #การแต่งงานจีนโบราณ #สาระจีน
    🪭แม่สื่อสมัยโบราณ 🪭 สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันเกี่ยวกับขั้นตอนการสู่ขอและ ‘สามหนังสือหกพิธีการ’ และมีการกล่าวถึงการใช้แม่สื่อ แต่เพื่อนเพจคงไม่ได้อรรถรสว่าจริงๆ แล้วการใช้แม่สื่อมีความสำคัญมาก ในบางยุคสมัยอย่างเช่นสมัยถังถึงกับบัญญัติเป็นกฎหมายไว้ว่าการแต่งงานต้องมีแม่สื่อ เพื่อนเพจรู้หรือไม่ว่า มีหน่วยงานรัฐรับหน้าที่แม่สื่อ? ในบันทึกพิธีการโจวหลี่ซึ่งเป็นบันทึกโบราณที่ถูกจัดทำขึ้นในสมัยฮั่นว่าด้วยพิธีการต่างๆ ของสมัยราชวงศ์โจวตะวันตกมีการระบุไว้ว่า: สำนักงาน ‘เหมยซึ’ (媒氏) มีหน้าที่ดูแลการแต่งงานของประชาชน... ทำทะเบียนบันทึกวันเดือนปีเกิดของทุกคนและจัดให้บุรุษแต่งงานเมื่ออายุสามสิบปีและสตรีเมื่ออายุยี่สิบปี... จัดเทศกาลกลางฤดูใบไม้ผลิหรือที่เรียกว่า ‘จงชุนฮุ่ย’ (仲春会) เพื่อเป็นโอกาสให้หนุ่มสาวได้พบปะดูตัว... ก่อนจะลงลึกเรื่องหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อเหมยซึนี้ เรามาคุยกันเล็กน้อยเรื่องเกณฑ์อายุสมรสที่กล่าวถึงข้างต้น พวกเราจะคุ้นเคยว่ากฎหมายกำหนดเกณฑ์อายุขั้นต่ำไว้ แต่ในสมัยโบราณมีกำหนดเกณฑ์อายุสูงสุดไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อผลักดันให้ผู้คนแต่งงานมีลูกสืบสกุล ในความเชื่อของคนโบราณคือการไม่มีบุตรสืบสกุลถือเป็นความอกตัญญูอย่างใหญ่หลวง แต่จริงๆ แล้วในมุมมองของรัฐมันมีเหตุผลด้านการพัฒนาประเทศ อย่าลืมว่าแรกเริ่มเลยเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนโดยเกษตรกรรม เมื่อประชากรน้อยผลผลิตก็น้อยรัฐก็จน อีกทั้งในสมัยโบราณมีศึกสงครามและอายุขัยของคนไม่ยาวเหมือนสมัยนี้ ดังนั้นทางการจึงพยายามกระตุ้นให้คนแต่งงานและมีลูกหลานกัน จนถึงขั้นกำหนดเป็นกฎหมายบังคับ เพียงแต่เกณฑ์อายุตามกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย อย่างเช่นในสมัยฮั่นบุรุษต้องแต่งงานภายในอายุสามสิบปีและสตรีภายในอายุสิบห้าปี หาไม่แล้วต้องถูกปรับด้วยการจ่ายภาษีเพิ่มเป็นห้าเท่า (ในสมัยนั้นจ่ายภาษีเป็นรายหัว ไม่เกี่ยวกับรายได้) และในสมัยราชวงศ์เหนือใต้กำหนดว่าหากสตรีไม่แต่งงานภายในอายุสิบห้าปีพ่อแม่ต้องโทษจำคุก แต่ในสมัยโบราณก็มีคนที่ไม่ได้แต่งงานภายในอายุที่กฎหมายที่กำหนด บ้างยืดเวลาออกไปเพราะเหตุผลการไว้ทุกข์ให้พ่อแม่ บ้างมีเหตุผลอื่น แต่ Storyฯ ไม่ได้ไปหาข้อมูลต่อว่าแต่ละยุคสมัยเขามีวิธีหลีกเลี่ยงการแต่งงานกันอย่างไร แต่ที่ชัดเจนก็คือว่า ผู้ที่ถึงเกณฑ์อายุสูงสุดแล้วยังไม่ได้แต่งงานจะมีสำนักงานแม่สื่อมาช่วยจัดการหาคู่ให้ โดยมีความพยายามหว่านล้อมให้เจ้าตัวเห็นชอบและมีตัวเลือกให้ ไม่ใช่นึกจะบังคับแต่งกับใครก็บังคับเลย ประมาณว่าเป็นการบังคับแต่งงานแบบประนีประนอม และนี่เป็นหนึ่งในหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อ ทีนี้มาเข้าเรื่องหน้าที่แม่สื่อ... สำหรับหน้าที่แม่สื่อนี้ สำนักงานเหมยซึไม่เพียงหาคู่ให้กับผู้ที่ใกล้จะเลยเกณฑ์อายุสูงสุด หากแต่ยังช่วยหาคู่ให้กับผู้ที่ไม่มีพ่อแม่หรือผู้ใหญ่จัดการเรื่องนี้ รวมถึงจัดงานเทศกาลที่บังคับให้หนุ่มสาวออกมาพบปะและดูตัวกัน นอกจากนี้ ยังเป็นธุระดูแลเรื่องพิธีการต่างๆ ให้ถูกต้องเช่นส่งคนไปช่วยสู่ขอ กำหนดวันแต่งงาน ช่วยจัดงานแต่งงาน และดูแลสินสอดให้เหมาะสม ในบางสมัยถึงกับมีหน้าที่จัดสรรเงินจากงบประมาณแผ่นดินหรือหาคณบดีท้องถิ่นมาเป็นผู้อุปถัมภ์เพื่อให้บุรุษที่ยากจนสามารถมีเงินสินสอดไปแต่งเมียได้ และอย่างในสมัยฉินมีหน้าที่จัดสรรที่ดินทำกินให้คู่บ่าวสาวไปตั้งต้นชีวิตใหม่ได้ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่างๆ อันเกิดขึ้นในการหมั้นหมายและแต่งงาน และจากตัวอย่างที่ยกมาจากบันทึกโจวหลี่ จะเห็นว่าหน้าที่ของสำนักงานแม่สื่อมีอีกส่วนหนึ่งคืองานด้านทะเบียน โดยมีหน้าที่บันทึกว่าใครเกิดเมื่อไหร่แต่งงานแล้วหรือยัง หย่าร้างหรือไม่ รวมถึงดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงาน เช่นการลงโทษตามกฏหมาย (เช่น หลบหนีการแต่งงาน) ดังนั้น ผู้ที่ทำหน้าที่แม่สื่อในงานพิธีการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมงคลสมรสก็คือคนจากสำนักงานเหมยซึนี่เอง หรือที่เรียกว่า ‘แม่สื่อหลวง’ (官媒) แต่ผู้ที่เป็นแม่สื่อหลวงอาจไม่ใช่ขุนนางทุกคน เพราะเขาจะมีการจ้างคนนอกช่วยทำงาน กล่าวคือคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถมีฝีปากเป็นเลิศคล่องแคล่วแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ไม่มีประวัติอาชญากรรม ฯลฯ มาขึ้นทะเบียนเป็นแม่สื่อหลวงที่ต้องออกไปช่วยเจรจาทาบทามสู่ขอ ช่วยทำพิธีการต่างๆ โดยคนเหล่านี้ได้รับค่าจ้างหลวงแต่ไม่ใช่ข้าราชการ และส่วนใหญ่เป็นผู้อาวุโสที่ผู้คนให้ความเคารพนับถือในท้องที่นั้นๆ หรือเป็นผู้ที่ผู้อาวุโสเหล่านี้แนะนำมา ในยุคที่รุ่งเรืองมากๆ อย่างสมัยซ่งนั้น กิจการแม่สื่อมืออาชีพก็เฟื่องฟูตาม มีทั้งแม่สื่อฝ่ายชายและแม่สื่อฝ่ายหญิง ในสมัยซ่งถึงขนาดมีแบ่งแยกระดับของแม่สื่อ ในบันทึก ‘ตงจิงเมิ่งหัวลู่’ ที่ให้รายละเอียดวิถีชีวิตและธรรมเนียมปฏิบัติของคนสมัยซ่งเหนือได้กล่าวไว้ว่า แม่สื่อขั้นสูงสุดนั้นมีผ้าโพกศีรษะสวมเสื้อนอกสีม่วง ให้บริการเฉพาะขุนนางและครอบครัวขุนนาง และต่อมาพัฒนาขึ้นเป็น ‘แม่สื่อเอกชน’ (私媒) แบบมืออาชีพ กล่าวคือได้ค่าจ้างจากครอบครัวบ่าวสาว แต่ก็ต้องขึ้นทะเบียนกับทางการอยู่ดี ทำไมแค่ช่วยสู่ขอช่วยจัดงานแต่งยังต้องทำเป็นทางการขนาดนั้น? นั่นเป็นเพราะว่าแม่สื่อมีหน้าที่และความรับผิดได้ตามกฎหมาย เป็นต้นว่า หากแม่สื่อโฆษณาคุณสมบัติของบุรุษสตรีเกินจริงจนเข้าข่ายบิดเบือนหรือหลอกลวงก็จะมีโทษ; แม่สื่อมีหน้าที่ตรวจสอบและสืบข้อมูลประวัติของทั้งสองครอบครัวเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้เป็นการแต่งงานที่เข้าข่ายต้องห้าม (เช่น ข้ามสถานะระหว่างบุคคลธรรมดากับบุคคลในทะเบียนทาส; เป็นพยานสำคัญว่าเจ้าบ่าวเจ้าสาวถูกคนหรือไม่ ตั้งแต่ข้อมูลวันเดือนปีเกิด เอกสารการหมั้นและการรับตัวเจ้าสาว หรือหากรู้เห็นเป็นใจการหนีสมรสก็มีโทษเช่นกัน; เป็นพยานสำคัญว่าสินสอดและสินเดิมเจ้าสาวถูกต้องครบถ้วนตามรายการบัญชีที่ทำ; และอาจเป็นพยานหรือเป็นผู้ช่วยไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างครอบครัวบ่าวสาวได้ ฯลฯ แม่สื่อเป็นบุรุษหรือสตรีก็ได้ เพียงแต่ในยุคที่กิจการแม่สื่อเฟื่องฟู คนที่นิยมทำหน้าที่นี้เป็นสตรีเสียส่วนใหญ่ และจวบจนสมัยชิงยังมีการกล่าวถึงแม่สื่อหลวง โดยมีตัวอย่างจากบทประพันธ์โบราณชื่อ ‘สิ่งซื่อเหิงเหยียน’ (醒世恒言 /วจีปลุกให้โลกตื่น) ซึ่งเป็นผลงานของเฝิงเมิ่งหลง นักเขียนผู้มีชีวิตอยู่ในช่วงตอนปลายหมิงต้นชิง ดังนั้น แม่สื่อหลวงและแม่สื่อเอกชนอยู่คู่กับจีนมาหลายพันปีแล้ว และแน่นอนว่า แม่สื่อเอกชนแบบที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนกับทางการก็มี เช่นอาจมีการเชิญผู้ใหญ่คนรู้จักไปช่วยพูดจาทาบทาม เพื่อนเพจเชื้อสายจีนน่าจะนึกภาพออกเพราะบ้านเราเรียกว่า ‘เถ้าแก่’ แต่เถ้าแก่นี้ไม่ใช่แม่สื่อหลักเพราะตามกระบวนการของกฎหมายต้องมีแม่สื่อที่ขึ้นทะเบียนแล้วช่วยดำเนินเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นแม่สื่อหลวงหรือแม่สื่อเอกชน ดังนั้นในบริบทนี้ บางครอบครัวอาจใช้เถ้าแก่มาเสริม จึงเกิดเป็นสำนวนที่ว่า ‘ซานเหมยลิ่วพิ่น’ ( 三媒六聘/สามแม่สื่อหกพิธีการแต่งงาน) กล่าวคือแม่สื่อหรือเถ้าแก่ฝ่ายชายและฝ่ายหญิง และคนกลางซึ่งมักเป็นแม่สื่อที่ขึ้นทะเบียนแล้วนั่นเอง (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://meihuamag.com/牵线说媒,这行当已有五千年历史/ http://sino.newdu.com/m/view.php?aid=91147 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: http://www.sss.net.cn/106001/30036.aspx http://www.heyuanxw.com/2014/wenhua_1216/15238.html http://iolaw.cssn.cn/xspl/200607/t20060726_4598436.shtml http://www.xinfajia.net/2592.html https://ctext.org/wiki.pl?if=gb&chapter=795664&remap=gb#%娶妇 https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_26937009 #แม่สื่อ #กวนเหมย #ซือเหมย #เหมยซึ #การแต่งงานจีนโบราณ #สาระจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 231 มุมมอง 0 รีวิว
  • แฟนละคร/นิยายจีนคงคุ้นเคยดีกับโครงเรื่องที่มีการชิงอำนาจทางการเมืองด้วยการจัดให้มีการแต่งงานระหว่างตระกูลดังกับเชื้อพระวงศ์ จนเกิดเป็นแรงกดดันมหาศาลให้กับตัวละครเอก บางคนอาจเคยบ่นว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’

    วันนี้ Storyฯ ยกตัวอย่างมาคุยเกี่ยวกับตระกูลขุนนางเก่าแก่เรืองอำนาจ (เรียกรวมว่า สื้อเจีย / 世家)
    เป็นหนึ่งในตระกูลที่ดังที่สุดในประวัติศาสตร์ตอนต้นและกลางของจีนโบราณก็ว่าได้

    ความมีอยู่ว่า
    ....ตระกูลชุยจากชิงเหอรุ่นนี้ สายหลักของตระกูลมีนางเป็นบุตรีโทนแต่เพียงผู้เดียว ... และตระกูลชุยกำลังรุ่งเรือง นางยังอยู่ในท้องของมารดาก็ได้รับการหมั้นหมายให้กับองค์ชายรัชทายาทแล้ว....
    - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่บทความ Storyฯ แปลเองจ้า)

    ชิงเหอคือพื้นที่ทางด้านเหนือของจีน (แถบเหอหนาน เหอเป่ยและซานตง) ในสมัยจีนตอนต้นมีสถานะเป็นแคว้นบ้างหรือรองลงมาเป็นจวิ้น (郡) บ้าง ซึ่งนับเป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ มีหลายตระกูลดังในประวัติศาตร์จีนที่มาจากพื้นที่แถบนี้ หนึ่งในนั้นคือตระกูลชุย

    ตระกูลชุยมีรากฐานยาวนานมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก (ปี 1046-771 ก่อนคริสตกาล) แตกสกุลมาจากสกุลเจียงและรวมถึงชาวเผ่าพันธุ์อื่นที่หันมาใช้สกุลนี้ รับราชการในตำแหน่งสำคัญมาหลายยุคสมัย แตกมาเป็นสายที่เรียกว่า ‘ตระกูลชุยจากชิงเหอ’ ในยุคสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ (ปี 221 – 206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อชุยเหลียง (ทายาทรุ่นที่ 7) ได้รับการอวยยศเป็นโหวและได้รับพระราชทานเขตการปกครองชิงเหอนี้ และต่อมาตระกูลชุยจากชิงเหอมีแตกสายย่อยไปอีกรวมเป็นหกสาย

    ตระกูลชุยจากชิงเหอที่กล่าวถึงในละครข้างต้น ‘ไม่ธรรมดา’ แค่ไหน?

    ตระกูลชุยจากชิงเหอรับราชการระดับสูงต่อเนื่อง ผ่านร้อนผ่านหนาวแต่อยู่ยงคงกระพันมากว่า 700 ปี ถูกยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ในบรรดาสี่ตระกูลใหญ่ในยุคสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ (ปีค.ศ. 386 – 535) และในสมัยราชวงศ์ถังก็เป็นหนึ่งในห้าตระกูลเจ็ดเชื้อสาย (五姓七族) อันเป็นตระกูลชั้นสูงที่ต่อมาถูกห้ามไม่ให้แต่งงานกันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้สร้างฐานอำนาจมากเกินไป

    มีคนจากตระกูลชุยจากชิงเหอนี้เป็นอัครมหาเสนาบดี (จ่ายเซี่ยง / 宰相) หรือตำแหน่งที่สูงคล้ายกันมากมายหลายรุ่น เฉพาะในสมัยราชวงศ์ถังที่ยาวนานเกือบสามร้อยปีก็มีถึง 12 คน (ถ้ารวมตระกูลชุยสายอื่นมีอีก 10 คน) มีจอหงวน 11 คน ยังไม่รวมที่รับราชการในตำแหน่งอื่น ที่กุมอำนาจทางการทหาร ที่เป็นผู้นำทางความคิด (นักปราชญ์ กวีชื่อดัง) และที่เป็นลูกหลานฝ่ายหญิงที่แต่งเข้าวังในตำแหน่งต่างๆ อีกจำนวนไม่น้อย จวบจนสมัยซ่งใต้ ฐานอำนาจของตระกูลนี้จึงเสื่อมจางลงเหมือนกับตระกูลสื้อเจียอื่นๆ

    ทำไมต้องพูดถึงตระกูลชุยจากชิงเหอ? Storyฯ เล่าเป็นตัวอย่างของเหล่าตระกูลสื้อเจียค่ะ จากที่เคยคิดว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ แต่พอมาเห็นรากฐานของตระกูลสื้อเจียเหล่านี้ เราจะได้อรรถรสเลยว่า ‘ฐานอำนาจ’ ที่เขาพูดถึงกันนั้น มันหยั่งรากลึกแค่ไหน? เหตุใดตัวละครเอกมักรู้สึกถูกกดดันมากมาย? และเพราะเหตุใดมันจึงฝังรากลึกในวัฒนธรรมจีนโบราณ? เพราะมันไม่ใช่เรื่องของหนึ่งหรือสองชั่วอายุคน แต่เรากำลังพูดถึงฐานอำนาจหลายร้อยปีที่แทรกซึมเข้าไปในสังคมโดยมีประมุขใหญ่ของตระกูลในแต่ละรุ่นเป็นแกนนำสำคัญ

    Storyฯ หวังว่าเพื่อนๆ จะดูละครได้อรรถรสยิ่งขึ้นนะคะ ใครเห็นบทบาทของคนในตระกูลชุยในละครเรื่องอื่นใดอีกหรือหากนึกถึงตระกูลอื่นที่คล้ายคลึงก็เม้นท์มาได้ค่ะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.sohu.com/a/484438060_121051662
    https://www.sohu.com/a/485012584_100151502
    https://www.sohu.com/a/489015136_120827444

    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.163.com/dy/article/FNSTJKT60543BK4H.html
    https://new.qq.com/omn/20211021/20211021A09WBQ00.html
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_16209361
    https://www.baike.com/wiki/清河崔氏
    https://zh.wikipedia.org/wiki/清河崔氏

    #กระดูกงดงาม #ตระกูลชุย #สกุลชุย #ชิงเหอ #สื้อเจีย
    แฟนละคร/นิยายจีนคงคุ้นเคยดีกับโครงเรื่องที่มีการชิงอำนาจทางการเมืองด้วยการจัดให้มีการแต่งงานระหว่างตระกูลดังกับเชื้อพระวงศ์ จนเกิดเป็นแรงกดดันมหาศาลให้กับตัวละครเอก บางคนอาจเคยบ่นว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ วันนี้ Storyฯ ยกตัวอย่างมาคุยเกี่ยวกับตระกูลขุนนางเก่าแก่เรืองอำนาจ (เรียกรวมว่า สื้อเจีย / 世家) เป็นหนึ่งในตระกูลที่ดังที่สุดในประวัติศาสตร์ตอนต้นและกลางของจีนโบราณก็ว่าได้ ความมีอยู่ว่า ....ตระกูลชุยจากชิงเหอรุ่นนี้ สายหลักของตระกูลมีนางเป็นบุตรีโทนแต่เพียงผู้เดียว ... และตระกูลชุยกำลังรุ่งเรือง นางยังอยู่ในท้องของมารดาก็ได้รับการหมั้นหมายให้กับองค์ชายรัชทายาทแล้ว.... - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่บทความ Storyฯ แปลเองจ้า) ชิงเหอคือพื้นที่ทางด้านเหนือของจีน (แถบเหอหนาน เหอเป่ยและซานตง) ในสมัยจีนตอนต้นมีสถานะเป็นแคว้นบ้างหรือรองลงมาเป็นจวิ้น (郡) บ้าง ซึ่งนับเป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ มีหลายตระกูลดังในประวัติศาตร์จีนที่มาจากพื้นที่แถบนี้ หนึ่งในนั้นคือตระกูลชุย ตระกูลชุยมีรากฐานยาวนานมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก (ปี 1046-771 ก่อนคริสตกาล) แตกสกุลมาจากสกุลเจียงและรวมถึงชาวเผ่าพันธุ์อื่นที่หันมาใช้สกุลนี้ รับราชการในตำแหน่งสำคัญมาหลายยุคสมัย แตกมาเป็นสายที่เรียกว่า ‘ตระกูลชุยจากชิงเหอ’ ในยุคสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ (ปี 221 – 206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อชุยเหลียง (ทายาทรุ่นที่ 7) ได้รับการอวยยศเป็นโหวและได้รับพระราชทานเขตการปกครองชิงเหอนี้ และต่อมาตระกูลชุยจากชิงเหอมีแตกสายย่อยไปอีกรวมเป็นหกสาย ตระกูลชุยจากชิงเหอที่กล่าวถึงในละครข้างต้น ‘ไม่ธรรมดา’ แค่ไหน? ตระกูลชุยจากชิงเหอรับราชการระดับสูงต่อเนื่อง ผ่านร้อนผ่านหนาวแต่อยู่ยงคงกระพันมากว่า 700 ปี ถูกยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ในบรรดาสี่ตระกูลใหญ่ในยุคสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ (ปีค.ศ. 386 – 535) และในสมัยราชวงศ์ถังก็เป็นหนึ่งในห้าตระกูลเจ็ดเชื้อสาย (五姓七族) อันเป็นตระกูลชั้นสูงที่ต่อมาถูกห้ามไม่ให้แต่งงานกันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้สร้างฐานอำนาจมากเกินไป มีคนจากตระกูลชุยจากชิงเหอนี้เป็นอัครมหาเสนาบดี (จ่ายเซี่ยง / 宰相) หรือตำแหน่งที่สูงคล้ายกันมากมายหลายรุ่น เฉพาะในสมัยราชวงศ์ถังที่ยาวนานเกือบสามร้อยปีก็มีถึง 12 คน (ถ้ารวมตระกูลชุยสายอื่นมีอีก 10 คน) มีจอหงวน 11 คน ยังไม่รวมที่รับราชการในตำแหน่งอื่น ที่กุมอำนาจทางการทหาร ที่เป็นผู้นำทางความคิด (นักปราชญ์ กวีชื่อดัง) และที่เป็นลูกหลานฝ่ายหญิงที่แต่งเข้าวังในตำแหน่งต่างๆ อีกจำนวนไม่น้อย จวบจนสมัยซ่งใต้ ฐานอำนาจของตระกูลนี้จึงเสื่อมจางลงเหมือนกับตระกูลสื้อเจียอื่นๆ ทำไมต้องพูดถึงตระกูลชุยจากชิงเหอ? Storyฯ เล่าเป็นตัวอย่างของเหล่าตระกูลสื้อเจียค่ะ จากที่เคยคิดว่า ‘มันจะอะไรกันนักหนา?’ แต่พอมาเห็นรากฐานของตระกูลสื้อเจียเหล่านี้ เราจะได้อรรถรสเลยว่า ‘ฐานอำนาจ’ ที่เขาพูดถึงกันนั้น มันหยั่งรากลึกแค่ไหน? เหตุใดตัวละครเอกมักรู้สึกถูกกดดันมากมาย? และเพราะเหตุใดมันจึงฝังรากลึกในวัฒนธรรมจีนโบราณ? เพราะมันไม่ใช่เรื่องของหนึ่งหรือสองชั่วอายุคน แต่เรากำลังพูดถึงฐานอำนาจหลายร้อยปีที่แทรกซึมเข้าไปในสังคมโดยมีประมุขใหญ่ของตระกูลในแต่ละรุ่นเป็นแกนนำสำคัญ Storyฯ หวังว่าเพื่อนๆ จะดูละครได้อรรถรสยิ่งขึ้นนะคะ ใครเห็นบทบาทของคนในตระกูลชุยในละครเรื่องอื่นใดอีกหรือหากนึกถึงตระกูลอื่นที่คล้ายคลึงก็เม้นท์มาได้ค่ะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/484438060_121051662 https://www.sohu.com/a/485012584_100151502 https://www.sohu.com/a/489015136_120827444 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.163.com/dy/article/FNSTJKT60543BK4H.html https://new.qq.com/omn/20211021/20211021A09WBQ00.html https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_16209361 https://www.baike.com/wiki/清河崔氏 https://zh.wikipedia.org/wiki/清河崔氏 #กระดูกงดงาม #ตระกูลชุย #สกุลชุย #ชิงเหอ #สื้อเจีย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • Try To Wrap Your Mind Around 10 Terms That Circle Around The Multiverse

    If you’re one of the many fans of the Marvel Cinematic Universe, you’ll know that Dr. Strange has the power to explore the multiverse. He can travel to other worlds and meet alternate versions of himself, maybe even one that isn’t inexplicably charming. In comic books and science fiction, the multiverse refers to a collection of different universes that include our own.

    But what about real science? Surely, the idea of the multiverse is purely limited to fantasy and imagination, right? Well, it might surprise you to know that the idea of the multiverse is actually part of scientific theory, and its existence would actually help explain some phenomena we already know about.

    That being said, the science and theory behind the multiverse gets really complicated really quickly. If you’re still committed to trying to untangle this multiverse madness, there are a bunch of terms you’ll need to learn first before you can begin your multidimensional journey.

    dimension

    In science and math, a dimension is a property of space. You probably know that our spatial movement involves three dimensions: height, width, and depth. You can move forward and back, left and right, and up and down. There is also a fourth dimension: time. On Earth, time only moves forward at a constant rate. However, the measurement of time starts to behave oddly once you start moving really fast or decide to hang out around a black hole–more on them later. So, scientists tend to describe outer space in terms of both time and space. Speaking of which …

    space-time

    Space-time, also known as the space-time continuum, refers to the four-dimensional space that our reality exists in. This includes the three spatial dimensions together with time. Understanding space-time is important to getting a grip on the idea of the multiverse and where—and even when—other worlds might exist. Given how huge the universe is, we would need to better understand space-time and develop technology for traveling through both space and time to possibly discover worlds and universes beyond our own.

    cosmology
    Cosmology is a branch of science that studies the nature of the universe. Cosmology often combines astronomy and physics when describing celestial phenomena. Basically, cosmology is concerned with studying where our universe came from and how it works. In practice, this involves a lot of extremely complicated math and experiments. The term cosmology also refers to a branch of philosophy that theorizes how the universe works, what our place in it is, and whether or not there might be other universes out there somewhere.

    metaphysics

    Metaphysics is a branch of philosophy that asks questions about the nature of reality and the universe. Unlike the science of physics, the philosophy of metaphysics relies solely on theory and speculation to explain how our reality works or might work. Because many theories focused on the multiverse or parallel universes are currently impossible to test or find supporting evidence for, they are often considered to be part of metaphysics rather than a natural science. For example, the idea of modal realism, which states that all possible worlds physically exist, is considered to be philosophy rather than science since it is impossible to prove and doesn’t align with our current understanding of reality.

    quantum

    Without getting too technical, the word quantum is used in physics to describe really small quantities of energy. Quantum mechanics, also known as quantum physics, is a subscience of physics that studies subatomic particles and matter. Based on our current understanding of science, quantum mechanics seems to be the most likely route through which we may be able to explore whether or not the multiverse is scientifically possible.

    Once you start looking at things at the subatomic level, the normally impossible seems to become possible. For example, the study of quantum mechanics has proven it is entirely possible for an atom to exist in two different places at the same time. Scientifically, this would suggest the idea of multiple identical universes existing simultaneously may be possible, and most multiverse theories rely on quantum mechanics to support the argument that the multiverse is possible.

    the many-worlds interpretation

    The many-worlds interpretation, also known as the Many-Worlds Theory, is a theory about the existence of other worlds or a multiverse. According to this idea, every possible event that could happen exists in another world. For example, if you roll a six-sided die and it comes up as a four, the MWI theorizes that there exist five other worlds where the other five rolls happened.

    Out of all multiverse theories, this one is especially tempting to scientists because it doesn’t imply that many random universes somehow exist. Randomness is a problematic concept in science, and this theory addresses it by suggesting all the universes exist. Also, it is possible to test this theory–albeit using methods that are much too complicated to go into here. Still, even this multiverse explanation remains entirely theoretical until we make new discoveries in quantum mechanics.

    the Big Bang

    The big bang, according to the big bang theory, was a sudden massive burst of matter and energy that created the universe billions of years ago. This theory is the most prevalent origin story of the universe and has supporting evidence such as the presence of cosmic microwave background, space radiation whose only scientific explanation is that it is leftover from when the big bang occurred.

    Some multiverse theories speculate that the expansion that began with the big bang never stopped and that the universe is still expanding. Based on this inflation theory, it might be possible that the universe will continue to expand infinitely. This possibility leads to a multiverse theory in which “randomness” repeats and infinite “Earths” with infinite duplicates of “You” exist or will exist somewhere as the universe continues to grow indefinitely.

    Another multiverse theory based on the big bang is the bubble theory. This theory speculates that different parts of space-time expanded at different rates. According to the theory, these “bubbles” of space-time resulted in bubble universes with different laws of physics. This multiverse theory suggests that our universe is just one of the many bubble universes out there.

    observable universe

    The term observable universe is used to refer to the portion of the universe we can see or could possibly see. Basically, the observable universe is everything we can see using devices like telescopes, probes, or other astronomical equipment. When discussing the possibility of a multiverse, the answer seems to lie outside the observable universe. As far as we know, there are no “bizarro Earths” out there or galaxies with different laws of physics. So, a multiverse theory may suggest that parallel worlds, galaxies, or universes exist beyond the limits of the observable universe that we can see.

    string theory

    Without getting too confusing, string theory is a theory in physics that suggests that subatomic particles in quantum mechanics are string-like objects rather than points. String theory also supposes that space-time actually consists of more than three spatial dimensions. The theory states that these dimensions are simply so small that we are unable to detect them.

    If string theory is true, these extra dimensions would make the multiverse scientifically possible. In one interpretation of string theory, for example, it is theorized that our universe exists on a membrane, called a brane. Our world exists on a three-dimensional brane alongside other branes which may have more dimensions and thus different laws of physics. If we could somehow reach those other branes, we may discover entirely new worlds and universes.

    black holes

    Black holes are extremely dense celestial objects whose gravity is so intense that not even light can escape them. This means that we can’t even “see” them with astronomical equipment and must detect them using the area around them. Black holes are mysterious parts of our universe where the laws of physics break down and normal scientific rules don’t apply. So, what would happen if someone entered a black hole?

    The assumption is that a person would simply be destroyed by gravity. However, another theory among physicists is that black holes might be tunnels or wormholes that lead to other universes. If this theory is true, it is assumed that our own universe resembles a black hole in other universes as well.

    Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    Try To Wrap Your Mind Around 10 Terms That Circle Around The Multiverse If you’re one of the many fans of the Marvel Cinematic Universe, you’ll know that Dr. Strange has the power to explore the multiverse. He can travel to other worlds and meet alternate versions of himself, maybe even one that isn’t inexplicably charming. In comic books and science fiction, the multiverse refers to a collection of different universes that include our own. But what about real science? Surely, the idea of the multiverse is purely limited to fantasy and imagination, right? Well, it might surprise you to know that the idea of the multiverse is actually part of scientific theory, and its existence would actually help explain some phenomena we already know about. That being said, the science and theory behind the multiverse gets really complicated really quickly. If you’re still committed to trying to untangle this multiverse madness, there are a bunch of terms you’ll need to learn first before you can begin your multidimensional journey. dimension In science and math, a dimension is a property of space. You probably know that our spatial movement involves three dimensions: height, width, and depth. You can move forward and back, left and right, and up and down. There is also a fourth dimension: time. On Earth, time only moves forward at a constant rate. However, the measurement of time starts to behave oddly once you start moving really fast or decide to hang out around a black hole–more on them later. So, scientists tend to describe outer space in terms of both time and space. Speaking of which … space-time Space-time, also known as the space-time continuum, refers to the four-dimensional space that our reality exists in. This includes the three spatial dimensions together with time. Understanding space-time is important to getting a grip on the idea of the multiverse and where—and even when—other worlds might exist. Given how huge the universe is, we would need to better understand space-time and develop technology for traveling through both space and time to possibly discover worlds and universes beyond our own. cosmology Cosmology is a branch of science that studies the nature of the universe. Cosmology often combines astronomy and physics when describing celestial phenomena. Basically, cosmology is concerned with studying where our universe came from and how it works. In practice, this involves a lot of extremely complicated math and experiments. The term cosmology also refers to a branch of philosophy that theorizes how the universe works, what our place in it is, and whether or not there might be other universes out there somewhere. metaphysics Metaphysics is a branch of philosophy that asks questions about the nature of reality and the universe. Unlike the science of physics, the philosophy of metaphysics relies solely on theory and speculation to explain how our reality works or might work. Because many theories focused on the multiverse or parallel universes are currently impossible to test or find supporting evidence for, they are often considered to be part of metaphysics rather than a natural science. For example, the idea of modal realism, which states that all possible worlds physically exist, is considered to be philosophy rather than science since it is impossible to prove and doesn’t align with our current understanding of reality. quantum Without getting too technical, the word quantum is used in physics to describe really small quantities of energy. Quantum mechanics, also known as quantum physics, is a subscience of physics that studies subatomic particles and matter. Based on our current understanding of science, quantum mechanics seems to be the most likely route through which we may be able to explore whether or not the multiverse is scientifically possible. Once you start looking at things at the subatomic level, the normally impossible seems to become possible. For example, the study of quantum mechanics has proven it is entirely possible for an atom to exist in two different places at the same time. Scientifically, this would suggest the idea of multiple identical universes existing simultaneously may be possible, and most multiverse theories rely on quantum mechanics to support the argument that the multiverse is possible. the many-worlds interpretation The many-worlds interpretation, also known as the Many-Worlds Theory, is a theory about the existence of other worlds or a multiverse. According to this idea, every possible event that could happen exists in another world. For example, if you roll a six-sided die and it comes up as a four, the MWI theorizes that there exist five other worlds where the other five rolls happened. Out of all multiverse theories, this one is especially tempting to scientists because it doesn’t imply that many random universes somehow exist. Randomness is a problematic concept in science, and this theory addresses it by suggesting all the universes exist. Also, it is possible to test this theory–albeit using methods that are much too complicated to go into here. Still, even this multiverse explanation remains entirely theoretical until we make new discoveries in quantum mechanics. the Big Bang The big bang, according to the big bang theory, was a sudden massive burst of matter and energy that created the universe billions of years ago. This theory is the most prevalent origin story of the universe and has supporting evidence such as the presence of cosmic microwave background, space radiation whose only scientific explanation is that it is leftover from when the big bang occurred. Some multiverse theories speculate that the expansion that began with the big bang never stopped and that the universe is still expanding. Based on this inflation theory, it might be possible that the universe will continue to expand infinitely. This possibility leads to a multiverse theory in which “randomness” repeats and infinite “Earths” with infinite duplicates of “You” exist or will exist somewhere as the universe continues to grow indefinitely. Another multiverse theory based on the big bang is the bubble theory. This theory speculates that different parts of space-time expanded at different rates. According to the theory, these “bubbles” of space-time resulted in bubble universes with different laws of physics. This multiverse theory suggests that our universe is just one of the many bubble universes out there. observable universe The term observable universe is used to refer to the portion of the universe we can see or could possibly see. Basically, the observable universe is everything we can see using devices like telescopes, probes, or other astronomical equipment. When discussing the possibility of a multiverse, the answer seems to lie outside the observable universe. As far as we know, there are no “bizarro Earths” out there or galaxies with different laws of physics. So, a multiverse theory may suggest that parallel worlds, galaxies, or universes exist beyond the limits of the observable universe that we can see. string theory Without getting too confusing, string theory is a theory in physics that suggests that subatomic particles in quantum mechanics are string-like objects rather than points. String theory also supposes that space-time actually consists of more than three spatial dimensions. The theory states that these dimensions are simply so small that we are unable to detect them. If string theory is true, these extra dimensions would make the multiverse scientifically possible. In one interpretation of string theory, for example, it is theorized that our universe exists on a membrane, called a brane. Our world exists on a three-dimensional brane alongside other branes which may have more dimensions and thus different laws of physics. If we could somehow reach those other branes, we may discover entirely new worlds and universes. black holes Black holes are extremely dense celestial objects whose gravity is so intense that not even light can escape them. This means that we can’t even “see” them with astronomical equipment and must detect them using the area around them. Black holes are mysterious parts of our universe where the laws of physics break down and normal scientific rules don’t apply. So, what would happen if someone entered a black hole? The assumption is that a person would simply be destroyed by gravity. However, another theory among physicists is that black holes might be tunnels or wormholes that lead to other universes. If this theory is true, it is assumed that our own universe resembles a black hole in other universes as well. Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 426 มุมมอง 0 รีวิว
  • กินเกี๊ยวรับตรุษจีน

    สวัสดีค่ะ ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้! สัปดาห์นี้มาคุยกันเร็วหน่อยต้อนรับตรุษจีน

    วันนี้เรามาคุยกันเกี่ยวกับธรรมเนียมโบราณในการฉลองตรุษจีน เพื่อนเพจที่ได้ดูซีรีส์ <องค์หญิงใหญ่> คงจะจำได้ว่ามีฉากที่องค์หญิงหลี่หรงและเผยเหวินเซวียนร่วมสังสรรค์ฉลองตรุษจีนกับทุกคนในจวนองค์หญิง โดยพระเอกนางเอกห่อเกี๊ยวออกมาให้ทุกคนร่วมกิน

    ธรรมเนียมการกินเกี๊ยวตอนตรุษจีนในประเทศจีนยังมีอยู่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในภาคพื้นที่ตอนเหนือของจีน และปัจจุบันมีเกี๊ยวหลากหลายชนิด บ้างเรียก ‘หุนถุน’ (馄饨) คือเกี๊ยวที่มีขนาดเล็กพอคำทรงกลม หรือบ้างเรียกว่า ‘เจี่ยวจือ’ (饺子) ซึ่งเป็นเกี๊ยวขนาดใหญ่ทรงจันทร์เสี้ยวหน้าตาประมาณเกี๊ยวซ่าที่มีขายในบ้านเรา ซึ่งจำแนกออกจากกันด้วยรายละเอียดเช่น แป้งที่ใช้ห่อ รูปทรงของแผ่นแป้ง ฯลฯ แต่ในหลายยุคสมัยโบราณไม่ได้แบ่งประเภทอย่างนี้ เรียกรวมเป็นเกี๊ยวทั้งหมด เพียงแต่ชื่อเรียกเปลี่ยนไปตามยุคสมัย

    ว่ากันว่าเกี๊ยวมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกเมื่อคุณหมอชื่อดังจางจ้งจิ่งได้คิดค้นมันขึ้นเพื่อรวบรวมสารอาหารที่จำเป็น (เช่น เนื้อแกะและพริกไทย) เข้าด้วยกันในรูปแบบที่สะดวกต่อการกิน ทั้งนี้เพื่อปรับสภาพร่างกายของชาวบ้านให้รับมือกับอากาศหนาวเย็นได้ดีขึ้น แต่คำว่าเกี๊ยวปรากฎบนเอกสารโบราณครั้งแรกในสารานุกรม ‘ก๋วงหย่า’ (广雅) ของแคว้นเว่ยสมัยสามก๊ก (วุยก๊ก จัดทำขึ้นในช่วงปีค.ศ. 227-232) โดยกล่าวถึงอาหารชนิดหนึ่งรูปทรงเหมือนจันทร์เสี้ยวมีชื่อเรียกว่า ‘หุนถุน’ (แต่รูปลักษณ์เหมือนกับ ‘เจี่ยวจือ’ปัจจุบัน) และยังมีวัตถุโบราณที่แสดงให้เห็นว่าชาวจีนนิยมกินเกี๊ยวกันมาแต่โบราณ
    มีคนไปค้นคว้าเพิ่มเติมมาว่าสมัยสามก๊กนั้นเขากินเป็นเกี๊ยวต้มพร้อมน้ำแกง ภายในเกี๊ยวสอดไส้เนื้อสับ และกรรมวิธีการกินเป็นเช่นนี้เรื่อยมาจวบจนในสมัยถังจึงเปลี่ยนเป็นการนึ่งหรือต้มสุกแล้วกินแห้ง

    แล้วทำไมตรุษจีนต้องกินเกี๊ยว?

    จริงๆ มีหลายตำนาน แต่ที่นิยมกล่าวถึงคือเนื่องจากในสมัยซ่งเรียกเกี๊ยวว่า ‘เจี่ยวจือ’ (角子 ตัวเขียนแตกต่างแต่ออกเสียงเหมือนกัน) และชื่อนี้พ้องเสียงกับคำเรียกการผลัดเปลี่ยนจากปีเก่าเข้าสู่ปีใหม่ในยามจื่อ (子时คือช่วงเวลาระหว่างห้าทุ่มกับตีหนึ่ง) การกินเกี๊ยวจึงมีความหมายอำลาปีเก่าต้อนรับปีใหม่นั่นเอง

    นอกจากนี้ เกี๊ยวยังถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของทรัพย์เนื่องจากมีรูปทรงคล้ายเงินหยวนเป่าของจีน และการห่อเกี๊ยวถือเป็นเคล็ดของการห่อทรัพย์หรือสิ่งดีๆ ดังนั้นชาวบ้านจึงไม่เพียงกินเกี๊ยว หากแต่ยังนิยมห่อเกี๊ยวกินเองอีกด้วย และบางครั้งจะมีการยัดไส้สิ่งของอื่นๆ ที่เป็นเคล็ดที่ดีเช่น ห่อเศษเงินอยู่ข้างในเกี๊ยวดังที่เราเห็นในซีรีส์ <องค์หญิงใหญ่>

    ธรรมเนียมการกินเกี๊ยวตอนตรุษจีนนี้กลายเป็นกิจกรรมร่วมของครอบครัวที่เสริมสร้างความสัมพันธ์และถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในยุคสมัยหมิงต่อเนื่องมายังสมัยชิง แต่มีความแตกต่างว่ากินกันวันไหน บ้างกินในวันสิ้นปี บ้างกินในวันแรกของปีใหม่ บ้างกินในวันที่ห้าของปีใหม่ (เพราะห้าวันแรกมีเคล็ดเยอะข้อห้ามเยอะ พอพ้นห้าวันเลยฉลองด้วยเกี๊ยว) ทั้งนี้แล้วแต่ธรรมเนียมท้องถิ่นซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามพื้นที่

    อนึ่ง เนื่องจากยังมีอีกหลายเคล็ดที่เกี่ยวกับเกี๊ยวอันสืบเนื่องมาจากชื่อมงคลของส่วนประกอบในไส้ของมัน มันจึงกลายเป็นอาหารมงคลสำหรับหลากหลายโอกาสอีกด้วย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g61433159/the-princess-royal/
    https://www.shuge.org/meet/topic/19030/
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/饺子/28977
    https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_1304595
    https://www.sohu.com/a/449146748_401284
    https://www.sohu.com/a/367953600_120207616

    #องค์หญิงใหญ่ #ตรุษจีน #กินเกี๊ยว #ธรรมเนียมจีนโบราณ #สาระจีน
    กินเกี๊ยวรับตรุษจีน สวัสดีค่ะ ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้! สัปดาห์นี้มาคุยกันเร็วหน่อยต้อนรับตรุษจีน วันนี้เรามาคุยกันเกี่ยวกับธรรมเนียมโบราณในการฉลองตรุษจีน เพื่อนเพจที่ได้ดูซีรีส์ <องค์หญิงใหญ่> คงจะจำได้ว่ามีฉากที่องค์หญิงหลี่หรงและเผยเหวินเซวียนร่วมสังสรรค์ฉลองตรุษจีนกับทุกคนในจวนองค์หญิง โดยพระเอกนางเอกห่อเกี๊ยวออกมาให้ทุกคนร่วมกิน ธรรมเนียมการกินเกี๊ยวตอนตรุษจีนในประเทศจีนยังมีอยู่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในภาคพื้นที่ตอนเหนือของจีน และปัจจุบันมีเกี๊ยวหลากหลายชนิด บ้างเรียก ‘หุนถุน’ (馄饨) คือเกี๊ยวที่มีขนาดเล็กพอคำทรงกลม หรือบ้างเรียกว่า ‘เจี่ยวจือ’ (饺子) ซึ่งเป็นเกี๊ยวขนาดใหญ่ทรงจันทร์เสี้ยวหน้าตาประมาณเกี๊ยวซ่าที่มีขายในบ้านเรา ซึ่งจำแนกออกจากกันด้วยรายละเอียดเช่น แป้งที่ใช้ห่อ รูปทรงของแผ่นแป้ง ฯลฯ แต่ในหลายยุคสมัยโบราณไม่ได้แบ่งประเภทอย่างนี้ เรียกรวมเป็นเกี๊ยวทั้งหมด เพียงแต่ชื่อเรียกเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ว่ากันว่าเกี๊ยวมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกเมื่อคุณหมอชื่อดังจางจ้งจิ่งได้คิดค้นมันขึ้นเพื่อรวบรวมสารอาหารที่จำเป็น (เช่น เนื้อแกะและพริกไทย) เข้าด้วยกันในรูปแบบที่สะดวกต่อการกิน ทั้งนี้เพื่อปรับสภาพร่างกายของชาวบ้านให้รับมือกับอากาศหนาวเย็นได้ดีขึ้น แต่คำว่าเกี๊ยวปรากฎบนเอกสารโบราณครั้งแรกในสารานุกรม ‘ก๋วงหย่า’ (广雅) ของแคว้นเว่ยสมัยสามก๊ก (วุยก๊ก จัดทำขึ้นในช่วงปีค.ศ. 227-232) โดยกล่าวถึงอาหารชนิดหนึ่งรูปทรงเหมือนจันทร์เสี้ยวมีชื่อเรียกว่า ‘หุนถุน’ (แต่รูปลักษณ์เหมือนกับ ‘เจี่ยวจือ’ปัจจุบัน) และยังมีวัตถุโบราณที่แสดงให้เห็นว่าชาวจีนนิยมกินเกี๊ยวกันมาแต่โบราณ มีคนไปค้นคว้าเพิ่มเติมมาว่าสมัยสามก๊กนั้นเขากินเป็นเกี๊ยวต้มพร้อมน้ำแกง ภายในเกี๊ยวสอดไส้เนื้อสับ และกรรมวิธีการกินเป็นเช่นนี้เรื่อยมาจวบจนในสมัยถังจึงเปลี่ยนเป็นการนึ่งหรือต้มสุกแล้วกินแห้ง แล้วทำไมตรุษจีนต้องกินเกี๊ยว? จริงๆ มีหลายตำนาน แต่ที่นิยมกล่าวถึงคือเนื่องจากในสมัยซ่งเรียกเกี๊ยวว่า ‘เจี่ยวจือ’ (角子 ตัวเขียนแตกต่างแต่ออกเสียงเหมือนกัน) และชื่อนี้พ้องเสียงกับคำเรียกการผลัดเปลี่ยนจากปีเก่าเข้าสู่ปีใหม่ในยามจื่อ (子时คือช่วงเวลาระหว่างห้าทุ่มกับตีหนึ่ง) การกินเกี๊ยวจึงมีความหมายอำลาปีเก่าต้อนรับปีใหม่นั่นเอง นอกจากนี้ เกี๊ยวยังถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของทรัพย์เนื่องจากมีรูปทรงคล้ายเงินหยวนเป่าของจีน และการห่อเกี๊ยวถือเป็นเคล็ดของการห่อทรัพย์หรือสิ่งดีๆ ดังนั้นชาวบ้านจึงไม่เพียงกินเกี๊ยว หากแต่ยังนิยมห่อเกี๊ยวกินเองอีกด้วย และบางครั้งจะมีการยัดไส้สิ่งของอื่นๆ ที่เป็นเคล็ดที่ดีเช่น ห่อเศษเงินอยู่ข้างในเกี๊ยวดังที่เราเห็นในซีรีส์ <องค์หญิงใหญ่> ธรรมเนียมการกินเกี๊ยวตอนตรุษจีนนี้กลายเป็นกิจกรรมร่วมของครอบครัวที่เสริมสร้างความสัมพันธ์และถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในยุคสมัยหมิงต่อเนื่องมายังสมัยชิง แต่มีความแตกต่างว่ากินกันวันไหน บ้างกินในวันสิ้นปี บ้างกินในวันแรกของปีใหม่ บ้างกินในวันที่ห้าของปีใหม่ (เพราะห้าวันแรกมีเคล็ดเยอะข้อห้ามเยอะ พอพ้นห้าวันเลยฉลองด้วยเกี๊ยว) ทั้งนี้แล้วแต่ธรรมเนียมท้องถิ่นซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามพื้นที่ อนึ่ง เนื่องจากยังมีอีกหลายเคล็ดที่เกี่ยวกับเกี๊ยวอันสืบเนื่องมาจากชื่อมงคลของส่วนประกอบในไส้ของมัน มันจึงกลายเป็นอาหารมงคลสำหรับหลากหลายโอกาสอีกด้วย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g61433159/the-princess-royal/ https://www.shuge.org/meet/topic/19030/ Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/饺子/28977 https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_1304595 https://www.sohu.com/a/449146748_401284 https://www.sohu.com/a/367953600_120207616 #องค์หญิงใหญ่ #ตรุษจีน #กินเกี๊ยว #ธรรมเนียมจีนโบราณ #สาระจีน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 534 มุมมอง 0 รีวิว
  • “Stew” vs. “Soup”: Simmer On The Differences Between Them

    Throw a bunch of ingredients in a pot, add liquid, heat it up, and what do you get? That’s actually a harder question to answer than you might think. Dishes made in this way can be labeled soup, stew, broth, bisque, or chowder.

    When it comes to food, people have strong preferences not only about taste but also about what things are called. In this article, we’ll get to the bottom of the bowl by explaining when and why a dish may be called a soup vs. a stew and breaking down the same distinctions between soup and broth, bisque, and chowder.

    ⚡ Quick summary

    Generally speaking, a dish is called soup when it’s primarily liquid-based. Stews are thicker and chunkier. But an especially thick and chunky soup could be called a stew. Broth is a liquid that serves as a main ingredient for many soups, and can be considered a soup when eaten by itself. Bisque and chowder are different types of soup.

    What is the difference between soup vs. stew?

    The main characteristic of the dish we call soup is that it’s primarily liquid-based. Regardless of what other ingredients it has in it (meat, fish, vegetables, whatever), they’re either submerged (or mostly submerged) in the liquid or are blended as part of it. The first example constitutes what’s often called a brothy soup. The second example is what we’d usually call a creamy soup (creamy as in texture—it may or may not have cream in it). But there are a lot of variations. And this is where the plot thickens.

    The dish we call stew may start the same way as a soup, and can include many of the same ingredients used in soup (meat, fish, vegetables, whatever). Stews are cooked by simmering or slow boiling, known as stewing. Obviously, the descriptions of soup and stew sound very similar.

    The popular distinction between these two foods is how “liquidy” or how thick they are: a dish called soup typically has more liquid in it than a stew does. Stews are generally thicker than soups, being made up primarily of larger, solid chunks of ingredients. In other words, stews are thicker and chunkier—and always have solid ingredients.

    Generally speaking, if there is so much liquid that the ingredients are fully submerged, it’s a soup. If the chunks dominate the dish, it’s a stew.

    Of course, a dish labeled as soup can be pretty thick and chunky. And, sometimes, cooking adjustments can turn one into another. A soup could become a stew if cooked long enough that most of the liquid boils off or is absorbed by the ingredients. Or you could add more liquid to a stew to make it soupier. The point at which a soup becomes a stew (or vice versa) can be endlessly debated.

    That’s because there is no exact measurement or technical rule separating the two. In many cases, both words could be reasonably applied to the same dish. The difference is often simply a matter of preference or opinion.

    broth vs. soup

    The essential ingredient in many soups is broth (or stock). Broth is traditionally made by boiling or simmering water with ingredients that will give it flavor, such as meat, fish, or vegetables (and often a combination of things).

    The primary flavor of a broth is often specified: chicken broth, beef broth, vegetable broth, etc. For example, chicken noodle soup is traditionally made with chicken and noodles in a chicken broth.

    But can broth be considered soup by itself? Yes, in fact, when broth is eaten—even without any added ingredients—it is typically considered soup. For example, a type of clear soup known as a consommé can be considered a broth if it is used as a base for the addition of other ingredients but a soup if it is eaten by itself.

    bisque vs. soup

    A bisque is a type of thick soup that uses cream as a main ingredient. The term bisque is typically applied to soups that have some kind of shellfish or vegetable as the key ingredient. Classic examples of bisques include lobster bisque, shrimp bisque, crab bisque, tomato bisque, and potato bisque.

    While most people agree that bisque is a type of soup, some may distinguish creamy bisques from non-creamy soups in the same way that others distinguish liquid-forward soups from chunky stews.

    chowder vs. soup

    Chowder is a type of thick soup whose most traditional and well-known forms contain clams, fish, or other seafood, often in a creamy, milk-based broth and also featuring potatoes, onions, tomatoes, or other vegetables. Different types of clam chowder are especially popular in the Northeast region of the US. Other examples of chowder include fish chowder, corn chowder, and potato chowder.

    Most chowders are usually considered a type of soup, but their creamy thickness can also result in them being labeled as a stew.

    Some people may take the hairsplitting even further and argue that chowder is its own unique thing in the same way that people distinguish soups from stews.

    Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    “Stew” vs. “Soup”: Simmer On The Differences Between Them Throw a bunch of ingredients in a pot, add liquid, heat it up, and what do you get? That’s actually a harder question to answer than you might think. Dishes made in this way can be labeled soup, stew, broth, bisque, or chowder. When it comes to food, people have strong preferences not only about taste but also about what things are called. In this article, we’ll get to the bottom of the bowl by explaining when and why a dish may be called a soup vs. a stew and breaking down the same distinctions between soup and broth, bisque, and chowder. ⚡ Quick summary Generally speaking, a dish is called soup when it’s primarily liquid-based. Stews are thicker and chunkier. But an especially thick and chunky soup could be called a stew. Broth is a liquid that serves as a main ingredient for many soups, and can be considered a soup when eaten by itself. Bisque and chowder are different types of soup. What is the difference between soup vs. stew? The main characteristic of the dish we call soup is that it’s primarily liquid-based. Regardless of what other ingredients it has in it (meat, fish, vegetables, whatever), they’re either submerged (or mostly submerged) in the liquid or are blended as part of it. The first example constitutes what’s often called a brothy soup. The second example is what we’d usually call a creamy soup (creamy as in texture—it may or may not have cream in it). But there are a lot of variations. And this is where the plot thickens. The dish we call stew may start the same way as a soup, and can include many of the same ingredients used in soup (meat, fish, vegetables, whatever). Stews are cooked by simmering or slow boiling, known as stewing. Obviously, the descriptions of soup and stew sound very similar. The popular distinction between these two foods is how “liquidy” or how thick they are: a dish called soup typically has more liquid in it than a stew does. Stews are generally thicker than soups, being made up primarily of larger, solid chunks of ingredients. In other words, stews are thicker and chunkier—and always have solid ingredients. Generally speaking, if there is so much liquid that the ingredients are fully submerged, it’s a soup. If the chunks dominate the dish, it’s a stew. Of course, a dish labeled as soup can be pretty thick and chunky. And, sometimes, cooking adjustments can turn one into another. A soup could become a stew if cooked long enough that most of the liquid boils off or is absorbed by the ingredients. Or you could add more liquid to a stew to make it soupier. The point at which a soup becomes a stew (or vice versa) can be endlessly debated. That’s because there is no exact measurement or technical rule separating the two. In many cases, both words could be reasonably applied to the same dish. The difference is often simply a matter of preference or opinion. broth vs. soup The essential ingredient in many soups is broth (or stock). Broth is traditionally made by boiling or simmering water with ingredients that will give it flavor, such as meat, fish, or vegetables (and often a combination of things). The primary flavor of a broth is often specified: chicken broth, beef broth, vegetable broth, etc. For example, chicken noodle soup is traditionally made with chicken and noodles in a chicken broth. But can broth be considered soup by itself? Yes, in fact, when broth is eaten—even without any added ingredients—it is typically considered soup. For example, a type of clear soup known as a consommé can be considered a broth if it is used as a base for the addition of other ingredients but a soup if it is eaten by itself. bisque vs. soup A bisque is a type of thick soup that uses cream as a main ingredient. The term bisque is typically applied to soups that have some kind of shellfish or vegetable as the key ingredient. Classic examples of bisques include lobster bisque, shrimp bisque, crab bisque, tomato bisque, and potato bisque. While most people agree that bisque is a type of soup, some may distinguish creamy bisques from non-creamy soups in the same way that others distinguish liquid-forward soups from chunky stews. chowder vs. soup Chowder is a type of thick soup whose most traditional and well-known forms contain clams, fish, or other seafood, often in a creamy, milk-based broth and also featuring potatoes, onions, tomatoes, or other vegetables. Different types of clam chowder are especially popular in the Northeast region of the US. Other examples of chowder include fish chowder, corn chowder, and potato chowder. Most chowders are usually considered a type of soup, but their creamy thickness can also result in them being labeled as a stew. Some people may take the hairsplitting even further and argue that chowder is its own unique thing in the same way that people distinguish soups from stews. Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 487 มุมมอง 0 รีวิว
  • รหัสลับบทกวีจีนจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก>

    Storyฯ รู้สึกว่า บทกวีจีนโบราณนี่เป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของนิยาย/ซีรีส์จีนจริงๆ ไม่ทราบว่ามีใครที่ดูซีรีส์เรื่อง <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> แล้วรู้สึกสะดุดหูกับจังหวะจะโคนของรหัสลับที่องครักษ์ชุดแดงใช้ยืนยันตัวตนกันหรือไม่? สำหรับ Storyฯ แล้วมันเตะหูพอสมควร เพราะรหัสลับเหล่านี้ล้วนเป็นวลีจากบทกวีจีนโบราณ

    รหัสลับที่ยกตัวอย่างมาคุยกันวันนี้ คือตอนที่หรูอี้ให้คนปลอมตัวไปหาองครักษ์ชุดแดงเพื่อสืบหาคนที่ฆ่าหลินหลงตาย รหัสลับถามตอบนี้คือ ‘ซานสือลิ่วกงถู่ฮวาปี้’ (三十六宫土花碧) และ ‘เทียนรั่วโหย่วฉิงเทียนอี้เหล่า’ (天若有情天亦老) Storyฯ ขอแปลว่า ‘สามสิบหกพระตำหนัก ตะไคร่คลุมธรณี / หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน’

    ฟังแล้วคงไม่ได้ใจความนัก เพราะจริงๆ แล้วมันไม่ใช่วรรคที่ต่อเนื่องกัน แต่ทั้งสองวรรคนี้ปรากฏอยู่ในบทกวีเดียวกันที่มีชื่อว่า ‘จินถงเซียนเหรินฉือฮั่นเกอ’ (金铜仙人辞汉歌 แปลได้ประมาณว่า ลำนำเซียนจินถงลาจากแดนฮั่น) เป็นผลงานของหลี่เฮ่อ (ค.ศ. 790-816) สี่สุดยอดกวีแห่งสมัยถัง และนี่เป็นหนึ่งในบทกวีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ของเขา มันเป็นบทกวียาวที่กล่าวถึงการล่มสลายของอาณาจักรฮั่นที่ครั้งหนึ่งเคยเรืองรอง แต่กลับเหลือเพียงพระตำหนักที่ว่างร้างจนตะไคร่ปกคลุม เทพเซียนร่ำไห้ลาจาก จนถึงขนาดว่าถ้าฟ้ามีจิตใจรักได้เหมือนคน ก็คงรู้สึกอนาจใจเศร้าจนแก่ชราไปเช่นคน บทกวีนี้เต็มไปด้วยอารมณ์เศร้าอาดูรและแค้นใจในเวลาเดียวกัน สะท้อนถึงสภาพจิตใจของหลี่เฮ่อในขณะนั้น ซึ่งเป็นช่วงที่ราชวงศ์ถังอ่อนแอ และเขาเองจำเป็นต้องลาออกจากราชการและเดินทางจากนครฉางอันไปด้วยอาการป่วย

    แต่ที่ Storyฯ รู้สึกว่าน่าสนใจมากก็คือ วรรค ‘หากฟ้ามีใจรักฯ’ นี้ ถูกนำมาใช้ตั้งเป็นโจทย์ในการดวลบทกวีอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งเพื่อนเพจที่คุ้นเคยกับซีรีส์และนิยายจีนโบราณคงเคยผ่านตาว่า การดวลบทกวีนี้ เป็นการต่อกลอนคู่ โดยคนหนึ่งตั้งโจทย์วรรคแรก อีกคนมาแต่งวรรคต่อให้จบ ซึ่งวรรค ‘หากฟ้ามีใจรักฯ’ นี้ ถูกนำมาใช้เป็นวรรคแรกของกลอนคู่โดยไม่มีใครสามารถต่อวรรคท้ายได้อย่างสมบูรณ์มากว่าสองร้อยปี! ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งมากสำหรับยุคสมัยที่มีนักอักษรและนักประพันธ์มากมายอย่างสมัยถัง

    อนึ่ง การต่อวรรคคู่ที่ดีนั้น ไม่ใช่แค่มีจำนวนอักษรเท่ากันและมีเสียงสูงเสียงต่ำคล้องจองกันเท่านั้น แต่ต้องมีความลงตัวในหลายด้าน เป็นต้นว่า 1) มีบริบทใกล้เคียง เช่น กล่าวถึงวัตถุที่จับต้องได้เหมือนกัน หรือจับต้องไม่ได้เหมือนกัน เป็นวัตถุที่สื่อความหมายในเชิงเดียวกันหรือเกี่ยวข้องกัน ไม่ใช่วรรคแรกกล่าวถึงดอกไม้ วรรคหลังพูดถึงโต๊ะ อะไรอย่างนี้; 2) คุณศัพท์ที่ขยายนามหรืออารมณ์ที่สื่อต้องเหมือนกันหรือตรงข้ามกันโดยสิ้นเชิงเพื่อแสดงความขัดแย้งบางอย่าง เช่น ฝนตกหนักกับแดดแรงจ้า หรือ ฝนตกหนักกับหยดน้ำเล็ก; ฯลฯ

    วรรค ‘หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน’ นี้มีคนต่อวรรคหลังมากมาย แต่ไม่มีความลงตัวอย่างสมบูรณ์จวบจนสมัยราชวงศ์ซ่ง ผู้ที่ต่อวรรคหลังนี้คือสือเหยียนเหนียน (ค.ศ. 994-1041) นักอักษรและกวีสมัยซ่งเหนือ ในค่ำคืนหนึ่งหลังจากดื่มสุราไปหลายกรึ๊บ ในยามกึ่งเมากึ่งมีสตินั้น เขาได้ยินคนรอบข้างต่อวรรค ‘หากฟ้ามีใจฯ’ นี้กันอยู่ จึงโพล่งวรรคต่อออกมาในทันใด ซึ่งก็คือ ‘หากจันทร์ไร้ใจเกลียด จันทร์ย่อมเต็มดวงยืนยง’ (月如无恨月长圆 / เยวี่ยหรูอู๋เฮิ่นเยวี่ยฉางเหยวียน) เป็นการต่อวรรคที่สมบูรณ์จนคนตะลึง เพราะไม่เพียงอักขระ คำบรรยายและบริบทลงตัว หากแต่ความหมายแฝงที่สื่อถึงสัจธรรมแห่งชีวิตยังสอดคล้องอีกด้วย

    ... หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน ...
    ... หากจันทร์ไร้ใจเกลียด จันทร์ย่อมเต็มดวงยืนยง ...

    วรรคต้นที่ไม่มีใครต่อวรรคได้มากว่าสองร้อยปี เกิดวรรคต่อที่สะเทือนวงการนักอักษรในสมัยนั้นจนถูกบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์เลยทีเดียว เพื่อนเพจอ่านและตีความแล้วได้ความรู้สึกอย่างไรคะ? เห็นความเป็น ‘กลอนคู่’ ของมันหรือไม่?

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_25539972
    https://k.sina.cn/article_6502395912_18392b008001004rs9.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://so.gushiwen.cn/shiwenv_33199885635a.aspx
    https://baike.baidu.com/金铜仙人辞汉歌/1659854
    https://www.sohu.com/a/484704098_100135144
    https://www.workercn.cn/c/2024-02-06/8143503.shtml

    #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #หลี่เฮ่อ #กวีถัง #หากฟ้ามีใจรัก #สือเหยียนเหนียน
    รหัสลับบทกวีจีนจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> Storyฯ รู้สึกว่า บทกวีจีนโบราณนี่เป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของนิยาย/ซีรีส์จีนจริงๆ ไม่ทราบว่ามีใครที่ดูซีรีส์เรื่อง <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> แล้วรู้สึกสะดุดหูกับจังหวะจะโคนของรหัสลับที่องครักษ์ชุดแดงใช้ยืนยันตัวตนกันหรือไม่? สำหรับ Storyฯ แล้วมันเตะหูพอสมควร เพราะรหัสลับเหล่านี้ล้วนเป็นวลีจากบทกวีจีนโบราณ รหัสลับที่ยกตัวอย่างมาคุยกันวันนี้ คือตอนที่หรูอี้ให้คนปลอมตัวไปหาองครักษ์ชุดแดงเพื่อสืบหาคนที่ฆ่าหลินหลงตาย รหัสลับถามตอบนี้คือ ‘ซานสือลิ่วกงถู่ฮวาปี้’ (三十六宫土花碧) และ ‘เทียนรั่วโหย่วฉิงเทียนอี้เหล่า’ (天若有情天亦老) Storyฯ ขอแปลว่า ‘สามสิบหกพระตำหนัก ตะไคร่คลุมธรณี / หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน’ ฟังแล้วคงไม่ได้ใจความนัก เพราะจริงๆ แล้วมันไม่ใช่วรรคที่ต่อเนื่องกัน แต่ทั้งสองวรรคนี้ปรากฏอยู่ในบทกวีเดียวกันที่มีชื่อว่า ‘จินถงเซียนเหรินฉือฮั่นเกอ’ (金铜仙人辞汉歌 แปลได้ประมาณว่า ลำนำเซียนจินถงลาจากแดนฮั่น) เป็นผลงานของหลี่เฮ่อ (ค.ศ. 790-816) สี่สุดยอดกวีแห่งสมัยถัง และนี่เป็นหนึ่งในบทกวีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ‘ที่สุด’ ของเขา มันเป็นบทกวียาวที่กล่าวถึงการล่มสลายของอาณาจักรฮั่นที่ครั้งหนึ่งเคยเรืองรอง แต่กลับเหลือเพียงพระตำหนักที่ว่างร้างจนตะไคร่ปกคลุม เทพเซียนร่ำไห้ลาจาก จนถึงขนาดว่าถ้าฟ้ามีจิตใจรักได้เหมือนคน ก็คงรู้สึกอนาจใจเศร้าจนแก่ชราไปเช่นคน บทกวีนี้เต็มไปด้วยอารมณ์เศร้าอาดูรและแค้นใจในเวลาเดียวกัน สะท้อนถึงสภาพจิตใจของหลี่เฮ่อในขณะนั้น ซึ่งเป็นช่วงที่ราชวงศ์ถังอ่อนแอ และเขาเองจำเป็นต้องลาออกจากราชการและเดินทางจากนครฉางอันไปด้วยอาการป่วย แต่ที่ Storyฯ รู้สึกว่าน่าสนใจมากก็คือ วรรค ‘หากฟ้ามีใจรักฯ’ นี้ ถูกนำมาใช้ตั้งเป็นโจทย์ในการดวลบทกวีอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งเพื่อนเพจที่คุ้นเคยกับซีรีส์และนิยายจีนโบราณคงเคยผ่านตาว่า การดวลบทกวีนี้ เป็นการต่อกลอนคู่ โดยคนหนึ่งตั้งโจทย์วรรคแรก อีกคนมาแต่งวรรคต่อให้จบ ซึ่งวรรค ‘หากฟ้ามีใจรักฯ’ นี้ ถูกนำมาใช้เป็นวรรคแรกของกลอนคู่โดยไม่มีใครสามารถต่อวรรคท้ายได้อย่างสมบูรณ์มากว่าสองร้อยปี! ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งมากสำหรับยุคสมัยที่มีนักอักษรและนักประพันธ์มากมายอย่างสมัยถัง อนึ่ง การต่อวรรคคู่ที่ดีนั้น ไม่ใช่แค่มีจำนวนอักษรเท่ากันและมีเสียงสูงเสียงต่ำคล้องจองกันเท่านั้น แต่ต้องมีความลงตัวในหลายด้าน เป็นต้นว่า 1) มีบริบทใกล้เคียง เช่น กล่าวถึงวัตถุที่จับต้องได้เหมือนกัน หรือจับต้องไม่ได้เหมือนกัน เป็นวัตถุที่สื่อความหมายในเชิงเดียวกันหรือเกี่ยวข้องกัน ไม่ใช่วรรคแรกกล่าวถึงดอกไม้ วรรคหลังพูดถึงโต๊ะ อะไรอย่างนี้; 2) คุณศัพท์ที่ขยายนามหรืออารมณ์ที่สื่อต้องเหมือนกันหรือตรงข้ามกันโดยสิ้นเชิงเพื่อแสดงความขัดแย้งบางอย่าง เช่น ฝนตกหนักกับแดดแรงจ้า หรือ ฝนตกหนักกับหยดน้ำเล็ก; ฯลฯ วรรค ‘หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน’ นี้มีคนต่อวรรคหลังมากมาย แต่ไม่มีความลงตัวอย่างสมบูรณ์จวบจนสมัยราชวงศ์ซ่ง ผู้ที่ต่อวรรคหลังนี้คือสือเหยียนเหนียน (ค.ศ. 994-1041) นักอักษรและกวีสมัยซ่งเหนือ ในค่ำคืนหนึ่งหลังจากดื่มสุราไปหลายกรึ๊บ ในยามกึ่งเมากึ่งมีสตินั้น เขาได้ยินคนรอบข้างต่อวรรค ‘หากฟ้ามีใจฯ’ นี้กันอยู่ จึงโพล่งวรรคต่อออกมาในทันใด ซึ่งก็คือ ‘หากจันทร์ไร้ใจเกลียด จันทร์ย่อมเต็มดวงยืนยง’ (月如无恨月长圆 / เยวี่ยหรูอู๋เฮิ่นเยวี่ยฉางเหยวียน) เป็นการต่อวรรคที่สมบูรณ์จนคนตะลึง เพราะไม่เพียงอักขระ คำบรรยายและบริบทลงตัว หากแต่ความหมายแฝงที่สื่อถึงสัจธรรมแห่งชีวิตยังสอดคล้องอีกด้วย ... หากฟ้ามีใจรัก ฟ้าย่อมชราลงเช่นกัน ... ... หากจันทร์ไร้ใจเกลียด จันทร์ย่อมเต็มดวงยืนยง ... วรรคต้นที่ไม่มีใครต่อวรรคได้มากว่าสองร้อยปี เกิดวรรคต่อที่สะเทือนวงการนักอักษรในสมัยนั้นจนถูกบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์เลยทีเดียว เพื่อนเพจอ่านและตีความแล้วได้ความรู้สึกอย่างไรคะ? เห็นความเป็น ‘กลอนคู่’ ของมันหรือไม่? (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_25539972 https://k.sina.cn/article_6502395912_18392b008001004rs9.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://so.gushiwen.cn/shiwenv_33199885635a.aspx https://baike.baidu.com/金铜仙人辞汉歌/1659854 https://www.sohu.com/a/484704098_100135144 https://www.workercn.cn/c/2024-02-06/8143503.shtml #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #หลี่เฮ่อ #กวีถัง #หากฟ้ามีใจรัก #สือเหยียนเหนียน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 534 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปู้เหลียงเหรินแห่งสมัยถัง

    ในซีรีส์เรื่อง <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> มีกล่าวไว้ แคว้นอู๋มีลิ่วเต้าเหมิน แคว้นอันมีองครักษ์เสื้อแดง และแคว้นฉู่มีปู้เหลียงเหริน โดยที่เหรินหรูอี้ถูกเข้าใจว่าเป็นปู้เหลียงเหรินจากแคว้นฉู่

    ซีรีส์เรื่องนี้เป็นอาณาจักรและยุคสมัยสมมุติ ลิ่วเต้าเหมินและองครักษ์เสื้อแดงไม่มีจริงในประวัติศาสตร์ แต่ในสมัยราชวงศ์หมิงมีมือปราบลิ่วซ่านเหมินและมีองค์รักษ์เสื้อแพร (Storyฯ เคยเขียนถึงแล้ว ลองค้นอ่านย้อนหลังจากสารบัญบนเพจนะคะ) ส่วนปู้เหลียงเหรินนั้น มีอยู่จริงในสมัยถัง เพื่อนเพจบางท่านอาจพอจำได้ว่าในเรื่อง <ตำนานลั่วหยาง> และ <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> มีปู้เหลียงเหรินปรากฏด้วย (แต่จำไม่ได้แล้วว่าซับไทยแปลไว้แตกต่างกันไหม)

    ในบันทึกเกร็ดประวัติของสมัยชิงมีเขียนถึงโดยคร่าวว่า ผู้มีหน้าที่การสืบตามและจับกุมคนร้ายนั้น ในสมัยถังเรียกว่าปู้เหลียงเหริน มีหัวหน้าเรียกว่าปู้เหลียงซ่วย สถานะเปรียบได้เป็นต้าสุยเหอของราชวงศ์ฮั่น (แต่... ต้าสุยหรือต้าสุยเหอนี้ ในสมัยฮั่นคือราชองครักษ์รักษาพระราชวังที่ประจำการอยู่หน้าประตูวัง) และตามพจนานุกรมฉบับสุยถังและห้าราชวงศ์ที่จัดทำขึ้นเมื่อปี 1997 นั้น อธิบายถึงปู้เหลียงเหรินไว้ว่าเป็นคนที่ปฏิบัติภารกิจของทางการในสมัยถัง มีหน้าที่ตามสืบและจับกุมผู้กระทำความผิด

    คำว่า ‘ปู้เหลียงเหริน’ แปลตรงตัวว่าคนไม่ดี แล้วทำไมจึงใช้ชื่อนี้? คำตอบยังเป็นที่ถกกันจวบจนปัจจุบันเพราะไม่มีเอกสารยืนยันชัดเจน บ้างก็ว่าเป็นเพราะวิธีการสืบหาและจับคนร้ายของพวกเขานั้นโหดร้ายและสกปรก บ้างก็ว่าจริงแล้วพวกเขาเป็นอดีตอาชญากรที่ทางการให้ปฏิบัติภารกิจเพื่อสร้างผลงานไถ่โทษ และบ้างก็ว่าเป็นการเรียกย่อที่หมายถึงมือปราบที่มีหน้าที่จับกุมคนไม่ดี

    จากการพยายามไปหาข้อมูลมา Storyฯ รู้สึกว่า ปู้เหลียงเหรินเป็นกลุ่มคนที่เป็นปริศนาทางประวัติศาสตร์มิใช่น้อย เนื่องเพราะข้อมูลเกี่ยวกับพวกเขาแทบไม่ปรากฏ ทราบแต่ว่ามีอยู่ในสมัยถัง มีหน้าที่สืบหาและจับกุมคนร้าย แต่ตัวตนและสถานะของพวกเขาแท้จริงแล้วเป็นอย่างไรไม่มีการระบุชัด และในพงศาวดารถังลิ่วเตี่ยน ไม่ปรากฏตำแหน่งหัวหน้าปู้เหลียงซ่วยและไม่มีการกล่าวถึงปู้เหลียงเหริน

    และเนื่องด้วยมีเอกสารในสมัยชิงที่นิยามปู้เหลียงเหรินโดยเปรียบเทียบถึงราชองรักษ์ต้าสุยของสมัยฮั่นตามที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้มีคนสันนิษฐานว่าปู้เหลียงเหรินเป็นหน่วยงานลับที่ขึ้นตรงต่อฮ่องเต้เท่านั้น

    แต่... ถ้าเป็นองค์กรลับก็ไม่ควรมีการกล่าวถึงอย่างเปิดเผย ทว่าในบันทึกในเกร็ดประวัติและรวมเรื่องสั้น ‘ฉาวเหยี่ยเชียนจ้าย’ ของสมัยถังนั้น มีการกล่าวถึงปู้เหลียงเหรินในคดีดังที่เกี่ยวข้องกับคดีคนหายจากตระกูลขุนนางระดับสูงในรัชสมัยขององค์ถังไท่จงหลี่ซื่อหมินแห่งราชวงศ์ถัง

    ในเมื่อองค์กรนี้มีตัวตนจริง แต่ไม่ปรากฏชื่อในหน่วยงานราชการอย่างเป็นทางการ แต่ก็อาจไม่เป็นความลับ จึงเป็นที่สันนิษฐานไปอีกว่า ปู้เหลียงเหรินจัดเป็นเจ้าหน้าที่หลวงที่ระดับต่ำมากหรือเสมียน เรียกว่า ‘ลี่’ (吏) (หมายเหตุ ถ้ามีตำแหน่งเป็นขุนนางจะเรียกว่า ‘กวน’/官) หรือเป็นเพียงคนที่ช่วยงานราชการโดยไม่มียศตำแหน่งอย่างแท้จริง และที่บอกว่าพวกเขามีสถานะที่ต่ำมากนั้น เป็นเพราะว่า พวกเขาเป็นอาชญกรมาก่อนและเข้ามาทำงานให้ทางการเพื่อไถ่โทษ ซึ่งสอดคล้องกับหนึ่งในที่มาของชื่อที่กล่าวไปแล้วข้างต้นนั่นเอง

    นอกจากตัวตนที่เป็นปริศนาแล้ว ที่เป็นปริศนายิ่งกว่าก็คือการหายตัวไปของปู้เหลียงเหริน เพราะไม่มีบันทึกว่าเกิดอะไรขึ้น มีแต่ข้อสันนิษฐานว่าเมื่อสิ้นราชวงศ์ถังกลุ่มปู้เหลียงเหรินก็หอบสมบัติหนีหายกันไป บ้างก็ว่าสลายตัวไป บ้างก็ว่าไปปักหลักที่ที่มั่นอื่นรอวันกลับมาทำงานอีกครั้ง เรื่องนี้ไม่มีการยืนยัน แต่ข้อเท็จจริงคือหลังจากราชวงศ์ถังล่มสลายก็ไม่มีการเรียกมือปราบว่าปู้เหลียงเหรินอีกเลย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.ejdz.cn/download/news/n143411.html
    https://item.btime.com/f12taep1nci9228p25pl8r5dejl
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_13674760
    https://item.btime.com/f12taep1nci9228p25pl8r5dejl?page=1
    http://www.qulishi.com/article/201906/344565.html
    https://www.163.com/dy/article/GQNDI8640552B97M.html

    #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #ปู้เหลียงเหริน #มือปราบสมัยถัง
    ปู้เหลียงเหรินแห่งสมัยถัง ในซีรีส์เรื่อง <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> มีกล่าวไว้ แคว้นอู๋มีลิ่วเต้าเหมิน แคว้นอันมีองครักษ์เสื้อแดง และแคว้นฉู่มีปู้เหลียงเหริน โดยที่เหรินหรูอี้ถูกเข้าใจว่าเป็นปู้เหลียงเหรินจากแคว้นฉู่ ซีรีส์เรื่องนี้เป็นอาณาจักรและยุคสมัยสมมุติ ลิ่วเต้าเหมินและองครักษ์เสื้อแดงไม่มีจริงในประวัติศาสตร์ แต่ในสมัยราชวงศ์หมิงมีมือปราบลิ่วซ่านเหมินและมีองค์รักษ์เสื้อแพร (Storyฯ เคยเขียนถึงแล้ว ลองค้นอ่านย้อนหลังจากสารบัญบนเพจนะคะ) ส่วนปู้เหลียงเหรินนั้น มีอยู่จริงในสมัยถัง เพื่อนเพจบางท่านอาจพอจำได้ว่าในเรื่อง <ตำนานลั่วหยาง> และ <ฉางอันสิบสองชั่วยาม> มีปู้เหลียงเหรินปรากฏด้วย (แต่จำไม่ได้แล้วว่าซับไทยแปลไว้แตกต่างกันไหม) ในบันทึกเกร็ดประวัติของสมัยชิงมีเขียนถึงโดยคร่าวว่า ผู้มีหน้าที่การสืบตามและจับกุมคนร้ายนั้น ในสมัยถังเรียกว่าปู้เหลียงเหริน มีหัวหน้าเรียกว่าปู้เหลียงซ่วย สถานะเปรียบได้เป็นต้าสุยเหอของราชวงศ์ฮั่น (แต่... ต้าสุยหรือต้าสุยเหอนี้ ในสมัยฮั่นคือราชองครักษ์รักษาพระราชวังที่ประจำการอยู่หน้าประตูวัง) และตามพจนานุกรมฉบับสุยถังและห้าราชวงศ์ที่จัดทำขึ้นเมื่อปี 1997 นั้น อธิบายถึงปู้เหลียงเหรินไว้ว่าเป็นคนที่ปฏิบัติภารกิจของทางการในสมัยถัง มีหน้าที่ตามสืบและจับกุมผู้กระทำความผิด คำว่า ‘ปู้เหลียงเหริน’ แปลตรงตัวว่าคนไม่ดี แล้วทำไมจึงใช้ชื่อนี้? คำตอบยังเป็นที่ถกกันจวบจนปัจจุบันเพราะไม่มีเอกสารยืนยันชัดเจน บ้างก็ว่าเป็นเพราะวิธีการสืบหาและจับคนร้ายของพวกเขานั้นโหดร้ายและสกปรก บ้างก็ว่าจริงแล้วพวกเขาเป็นอดีตอาชญากรที่ทางการให้ปฏิบัติภารกิจเพื่อสร้างผลงานไถ่โทษ และบ้างก็ว่าเป็นการเรียกย่อที่หมายถึงมือปราบที่มีหน้าที่จับกุมคนไม่ดี จากการพยายามไปหาข้อมูลมา Storyฯ รู้สึกว่า ปู้เหลียงเหรินเป็นกลุ่มคนที่เป็นปริศนาทางประวัติศาสตร์มิใช่น้อย เนื่องเพราะข้อมูลเกี่ยวกับพวกเขาแทบไม่ปรากฏ ทราบแต่ว่ามีอยู่ในสมัยถัง มีหน้าที่สืบหาและจับกุมคนร้าย แต่ตัวตนและสถานะของพวกเขาแท้จริงแล้วเป็นอย่างไรไม่มีการระบุชัด และในพงศาวดารถังลิ่วเตี่ยน ไม่ปรากฏตำแหน่งหัวหน้าปู้เหลียงซ่วยและไม่มีการกล่าวถึงปู้เหลียงเหริน และเนื่องด้วยมีเอกสารในสมัยชิงที่นิยามปู้เหลียงเหรินโดยเปรียบเทียบถึงราชองรักษ์ต้าสุยของสมัยฮั่นตามที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้มีคนสันนิษฐานว่าปู้เหลียงเหรินเป็นหน่วยงานลับที่ขึ้นตรงต่อฮ่องเต้เท่านั้น แต่... ถ้าเป็นองค์กรลับก็ไม่ควรมีการกล่าวถึงอย่างเปิดเผย ทว่าในบันทึกในเกร็ดประวัติและรวมเรื่องสั้น ‘ฉาวเหยี่ยเชียนจ้าย’ ของสมัยถังนั้น มีการกล่าวถึงปู้เหลียงเหรินในคดีดังที่เกี่ยวข้องกับคดีคนหายจากตระกูลขุนนางระดับสูงในรัชสมัยขององค์ถังไท่จงหลี่ซื่อหมินแห่งราชวงศ์ถัง ในเมื่อองค์กรนี้มีตัวตนจริง แต่ไม่ปรากฏชื่อในหน่วยงานราชการอย่างเป็นทางการ แต่ก็อาจไม่เป็นความลับ จึงเป็นที่สันนิษฐานไปอีกว่า ปู้เหลียงเหรินจัดเป็นเจ้าหน้าที่หลวงที่ระดับต่ำมากหรือเสมียน เรียกว่า ‘ลี่’ (吏) (หมายเหตุ ถ้ามีตำแหน่งเป็นขุนนางจะเรียกว่า ‘กวน’/官) หรือเป็นเพียงคนที่ช่วยงานราชการโดยไม่มียศตำแหน่งอย่างแท้จริง และที่บอกว่าพวกเขามีสถานะที่ต่ำมากนั้น เป็นเพราะว่า พวกเขาเป็นอาชญกรมาก่อนและเข้ามาทำงานให้ทางการเพื่อไถ่โทษ ซึ่งสอดคล้องกับหนึ่งในที่มาของชื่อที่กล่าวไปแล้วข้างต้นนั่นเอง นอกจากตัวตนที่เป็นปริศนาแล้ว ที่เป็นปริศนายิ่งกว่าก็คือการหายตัวไปของปู้เหลียงเหริน เพราะไม่มีบันทึกว่าเกิดอะไรขึ้น มีแต่ข้อสันนิษฐานว่าเมื่อสิ้นราชวงศ์ถังกลุ่มปู้เหลียงเหรินก็หอบสมบัติหนีหายกันไป บ้างก็ว่าสลายตัวไป บ้างก็ว่าไปปักหลักที่ที่มั่นอื่นรอวันกลับมาทำงานอีกครั้ง เรื่องนี้ไม่มีการยืนยัน แต่ข้อเท็จจริงคือหลังจากราชวงศ์ถังล่มสลายก็ไม่มีการเรียกมือปราบว่าปู้เหลียงเหรินอีกเลย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.ejdz.cn/download/news/n143411.html https://item.btime.com/f12taep1nci9228p25pl8r5dejl Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_13674760 https://item.btime.com/f12taep1nci9228p25pl8r5dejl?page=1 http://www.qulishi.com/article/201906/344565.html https://www.163.com/dy/article/GQNDI8640552B97M.html #ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก #ปู้เหลียงเหริน #มือปราบสมัยถัง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 556 มุมมอง 0 รีวิว
  • How To Spell W And Other Letters Of The Alphabet

    No doubt you know your ABCs, but do you know how to spell the names of the letters themselves? For example, how would you spell the name of the letter W? In this article, we are going to take a look at how to spell out the different consonants of the alphabet. Why just the consonants? Well, spelling the names of the vowels is unusual, and the spellings vary widely.

    We don’t often have a reason to spell out the names of letters. They show up in some words or phrases, like tee-shirt or em-dash. Knowing how to spell out the letters is a good trick to have in your back pocket when playing word games like Scrabble and Words With Friends. Mostly though, the spelled-out names of the consonants are fun trivia any word lover will enjoy.

    B – bee
    The letter B is spelled just like the insect: b-e-e. The plural is bees, like something you might find in a hive. Before it was bee, the letter B was part of the Phoenician alphabet and was known as beth.

    C – cee
    The spelling of the letter C might surprise you. It isn’t spelled with an S but a C: c-e-e. The spelling cee might come in handy especially when writing about something “shaped or formed like the letter C,” as in she was curled in a cee, holding her pillow.

    D – dee
    You might be picking up on a pattern here. Like B and C, the letter D is spelled out with -ee: d-e-e. Like the letter B, dee originally had another name in the Phoenician alphabet: daleth.

    F – ef
    The letter F is spelled e-f. The spelled out name ef is occasionally used as an abbreviation for much saltier language.

    G – gee
    With the exception of ef, the letter G is spelled like the other letters we have seen so far: gee. Particularly in American slang, the spelled out name gee is used as an abbreviation for grand, in the sense of “thousand dollars.”

    H – aitch
    The letter H has a tricky spelling and pronunciation. It is spelled aitch, but the pronunciation of its name is [ eych ]. The letter comes from Northern Semitic languages and its modern corollary is the Hebrew letter heth.

    J – jay
    The letter J has a long and complicated history—it began as a swash, a typographical embellishment for the already existing I—but its spelling is relatively straightforward: jay. Like C, the spelling jay can be useful when describing something in the shape of the letter.

    K – kay
    You may already be familiar with the spelling of the letter K from the expression okay, or OK. Just like in okay, K is typically spelled k-a-y. Okay is a unique Americanism that you can read more about here.

    L – el
    El is most easily recognizable as the common abbreviation for elevated railroad. However, it is also the spelling for the letter L.

    M – em
    The spelling of the letter M, em, can be found in the name of the punctuation mark em dash (—). The name of the punctuation mark comes from the fact that it is the width of the letter M when printed.

    N – en
    Much like the letters em and en themselves, the em-dash and en-dash are often mixed up. The en dash is, you guessed it, the width of the letter N when printed. The en dash (–) is shorter than an em dash (—).

    P – pee
    The most scatological letter name is pee (P). The use of pee as a verb and noun to refer to urination actually comes from a euphemism for the vulgar piss, using the spelling of the initial letter in piss: P.

    Q – cue
    The letter Q has the honor of being one of two letters that is not included in the spelling of its own name: cue. The use of cue as a verb or noun to refer to “anything that excites to action” comes from another abbreviation related to the letter itself. In acting scripts, the Latin quandō, meaning “when” was abbreviated q, which later came to be spelled cue.

    R – ar
    The name of the letter R sounds like something a pirate might say: ar. The letter R was called by the Roman poet Persius littera canina or “the canine letter.” It was so named because pronouncing ar sounds like a dog’s growl.

    S – ess
    The snake-like S is spelled ess, with two terminal -s‘s. Along with cee and jay, ess can also be used to describe “something shaped like an S,” as in The roads were laid out nested double esses along the riverbank.

    T – tee
    A letter whose spelling you are more likely to be familiar with is T or tee, because it often appears in spellings of T-shirt (e.g., tee-shirt). The tee shirt is so named because it is a shirt in the shape of a T.

    V – vee
    Another letter that pops up in fashion is V or vee. You see this most often when describing certain clothing elements, such as a vee neckline or a vee-shaped dart.

    W – double-u
    The letter W is one of the stranger letters in the alphabet, and so is its spelling. As we noted already, we don’t usually spell vowels out, so we end up with the awkward double-u. The plural spelling is double-ues. Before it was merged into one letter (W), the sound was represented with the the digraph -uu- or double-u.

    X – ex
    The spelling of the letter X, ex, might seem foreboding. That’s because we often equate it with the prefix ex-, meaning “out of” or “without.” We also use ex as a verb to mean putting an X over something, literally or metaphorically, as in I exed out the name on the list. The letter X has found use as we explore new ways of describing gender identity and expression, which you can read about here.

    Y – wye
    The letter Y is spelled wye, like the river in Great Britain. Wye has been adopted into electrical and railroad terminology to describe circuits and track arrangements, respectively, that are in the shape of a Y. Interestingly, the letter Y replaced an Old English letter called thorn.

    Z – zee
    In American English, the letter Z is spelled and pronounced zee, patterned off of other consonants like dee and gee. However, in British English, the letter Z is named zed. Zed comes from the Middle French zede, itself from the ancient Greek zêta.

    Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    How To Spell W And Other Letters Of The Alphabet No doubt you know your ABCs, but do you know how to spell the names of the letters themselves? For example, how would you spell the name of the letter W? In this article, we are going to take a look at how to spell out the different consonants of the alphabet. Why just the consonants? Well, spelling the names of the vowels is unusual, and the spellings vary widely. We don’t often have a reason to spell out the names of letters. They show up in some words or phrases, like tee-shirt or em-dash. Knowing how to spell out the letters is a good trick to have in your back pocket when playing word games like Scrabble and Words With Friends. Mostly though, the spelled-out names of the consonants are fun trivia any word lover will enjoy. B – bee The letter B is spelled just like the insect: b-e-e. The plural is bees, like something you might find in a hive. Before it was bee, the letter B was part of the Phoenician alphabet and was known as beth. C – cee The spelling of the letter C might surprise you. It isn’t spelled with an S but a C: c-e-e. The spelling cee might come in handy especially when writing about something “shaped or formed like the letter C,” as in she was curled in a cee, holding her pillow. D – dee You might be picking up on a pattern here. Like B and C, the letter D is spelled out with -ee: d-e-e. Like the letter B, dee originally had another name in the Phoenician alphabet: daleth. F – ef The letter F is spelled e-f. The spelled out name ef is occasionally used as an abbreviation for much saltier language. G – gee With the exception of ef, the letter G is spelled like the other letters we have seen so far: gee. Particularly in American slang, the spelled out name gee is used as an abbreviation for grand, in the sense of “thousand dollars.” H – aitch The letter H has a tricky spelling and pronunciation. It is spelled aitch, but the pronunciation of its name is [ eych ]. The letter comes from Northern Semitic languages and its modern corollary is the Hebrew letter heth. J – jay The letter J has a long and complicated history—it began as a swash, a typographical embellishment for the already existing I—but its spelling is relatively straightforward: jay. Like C, the spelling jay can be useful when describing something in the shape of the letter. K – kay You may already be familiar with the spelling of the letter K from the expression okay, or OK. Just like in okay, K is typically spelled k-a-y. Okay is a unique Americanism that you can read more about here. L – el El is most easily recognizable as the common abbreviation for elevated railroad. However, it is also the spelling for the letter L. M – em The spelling of the letter M, em, can be found in the name of the punctuation mark em dash (—). The name of the punctuation mark comes from the fact that it is the width of the letter M when printed. N – en Much like the letters em and en themselves, the em-dash and en-dash are often mixed up. The en dash is, you guessed it, the width of the letter N when printed. The en dash (–) is shorter than an em dash (—). P – pee The most scatological letter name is pee (P). The use of pee as a verb and noun to refer to urination actually comes from a euphemism for the vulgar piss, using the spelling of the initial letter in piss: P. Q – cue The letter Q has the honor of being one of two letters that is not included in the spelling of its own name: cue. The use of cue as a verb or noun to refer to “anything that excites to action” comes from another abbreviation related to the letter itself. In acting scripts, the Latin quandō, meaning “when” was abbreviated q, which later came to be spelled cue. R – ar The name of the letter R sounds like something a pirate might say: ar. The letter R was called by the Roman poet Persius littera canina or “the canine letter.” It was so named because pronouncing ar sounds like a dog’s growl. S – ess The snake-like S is spelled ess, with two terminal -s‘s. Along with cee and jay, ess can also be used to describe “something shaped like an S,” as in The roads were laid out nested double esses along the riverbank. T – tee A letter whose spelling you are more likely to be familiar with is T or tee, because it often appears in spellings of T-shirt (e.g., tee-shirt). The tee shirt is so named because it is a shirt in the shape of a T. V – vee Another letter that pops up in fashion is V or vee. You see this most often when describing certain clothing elements, such as a vee neckline or a vee-shaped dart. W – double-u The letter W is one of the stranger letters in the alphabet, and so is its spelling. As we noted already, we don’t usually spell vowels out, so we end up with the awkward double-u. The plural spelling is double-ues. Before it was merged into one letter (W), the sound was represented with the the digraph -uu- or double-u. X – ex The spelling of the letter X, ex, might seem foreboding. That’s because we often equate it with the prefix ex-, meaning “out of” or “without.” We also use ex as a verb to mean putting an X over something, literally or metaphorically, as in I exed out the name on the list. The letter X has found use as we explore new ways of describing gender identity and expression, which you can read about here. Y – wye The letter Y is spelled wye, like the river in Great Britain. Wye has been adopted into electrical and railroad terminology to describe circuits and track arrangements, respectively, that are in the shape of a Y. Interestingly, the letter Y replaced an Old English letter called thorn. Z – zee In American English, the letter Z is spelled and pronounced zee, patterned off of other consonants like dee and gee. However, in British English, the letter Z is named zed. Zed comes from the Middle French zede, itself from the ancient Greek zêta. Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    Wow
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 661 มุมมอง 0 รีวิว
  • “Bull Market” vs. “Bear Market”: What Do These Financial Terms Mean For Your Wallet?

    Financial jargon can be intimidating, and that’s especially true of the stock market terminology. But even if you’re not an investor, many of these terms can be relevant to your life due to their bearing on the larger economy. You’ve probably heard the terms bull market and bear market, but what exactly do they mean, and what’s the difference?

    In this article, we’ll explain bull markets and bear markets, the differences between them, and what they mean for everyone—not just stock traders.

    Quick summary

    The term bull market is applied to a market (especially a stock market) in which prices are, on average, rising. A bear market is the opposite—one in which prices are falling. At any given time, the market is usually described as one or the other—with bull and bear markets alternating as part of an ongoing cycle.

    What is a bull market?

    In discussions of the stock market and the greater economy, the term bull market is typically applied when prices on average are on the rise, or when they’re expected to rise. The terms bull market and bear market are most closely associated with the stock market, but they can also be used in the context of other markets, including those for real estate, currencies, and other commodities.

    Using the term bull market is informal—there’s no formal metric to measure or determine when a bull market is happening. Still, a 20% increase in prices is often used as the ballpark figure that indicates a bull market.

    Usually, a bull market happens when the economy is strong or getting stronger. High employment rates, high gross domestic product, and other measures of economic well being and stability are generally thought to correlate with bull markets.

    Bull markets are often categorized as secular (indicating a period of growth lasting more than five years) or cyclical (indicating a shorter-term period of growth).

    In the context of stocks and finance, the related adjective bullish can mean “rising in prices,” “characterized by favorable economic prospects,” or, more informally, “regarding a particular investment as potentially profitable,” as in We’re still bullish on treasury bonds.

    As a noun, bull can refer to a person who believes that market prices, especially of stocks, will increase.

    Why is it called a bull market?

    The first records of bull market and bullish in the context of finance and the stock market come from the late 1800s, but the noun use of bull in the context of stock investment—to refer to both a type of an investment and an investor—predates both. The origin of the use of the word bull in this way is uncertain. In general, the bull is associated with aggression and is known to charge forward, like a rising market. One explanation for the use of the word bull in bull market likens the upward swing of a bull market to the motion in which a bull may attack—by throwing its horns upward.

    What is a bear market?

    A bear market occurs when prices are falling, or when they’re expected to decrease. Like bull market, the term usually refers to the stock market, but it can also be used in the context of real estate, currencies, and other commodities. There’s no formal metric to measure when a bear market is happening, but a 20% decline in prices is sometimes used as the threshold.

    As you might expect, bear markets result from the opposite of the conditions thought to constitute or correlate with bull markets. Low economic stability and high unemployment, low gross domestic product, and low corporate profits are traditionally thought to correlate with the downturns associated with a bear market. Like bull markets, bear markets can be categorized as secular or cyclical.

    The related adjective bearish can mean “declining or tending toward a decline in prices” or “characterized by or reflecting unfavorable prospects for the economy or some aspect of it.” Or it can be used informally to mean “regarding a particular investment as poor or unprofitable,” as in We’re still bearish on treasury bonds.

    As a noun, bear can refer to a person who believes that market prices, especially of stocks, will decline.

    Why is it called a bear market?

    The noun use of bear in the context of the stock market to refer to types of investments or investors came before its use in bear market, but, like bullish, the origin of these senses is uncertain. In general, while bulls are known for charging aggression, bears—while fearsome—are especially associated with hibernation. This is one interpretation of the use of bear in bear market—likening the retreat of the market to a bear’s dormant period. Another interpretation is that a bear attacks by swiping downward—a motion likened to the downswing of a bear market.

    bear vs. bull market

    The difference between a bear market and a bull market is the direction of prices and the general success or health of the market. Simply put, it’s a bear market when prices are going up, and it’s a bull market when prices are going down.

    To remember which is which, remember that bulls are known for being aggressive and charging ahead, (like the prices in a rising market), while bears are known for hibernating (likened to how investors might scale back investments during market downturns).

    A few extreme examples of bear markets are the Great Recession around the 2008 financial crisis and the Great Depression, which roughly began with the stock market crash of 1929. In contrast, the post-World War II economic boom is considered an example of a bull market. But there are many other examples. That’s because at any given time the market is usually described as one or the other—meaning they alternate as part of an ongoing cycle.

    Stock investors have many strategies to try to profit from both increases and decreases in stock prices, which means that just because it’s a bear market doesn’t mean there’s not a lot of transactions happening.

    Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    “Bull Market” vs. “Bear Market”: What Do These Financial Terms Mean For Your Wallet? Financial jargon can be intimidating, and that’s especially true of the stock market terminology. But even if you’re not an investor, many of these terms can be relevant to your life due to their bearing on the larger economy. You’ve probably heard the terms bull market and bear market, but what exactly do they mean, and what’s the difference? In this article, we’ll explain bull markets and bear markets, the differences between them, and what they mean for everyone—not just stock traders. Quick summary The term bull market is applied to a market (especially a stock market) in which prices are, on average, rising. A bear market is the opposite—one in which prices are falling. At any given time, the market is usually described as one or the other—with bull and bear markets alternating as part of an ongoing cycle. What is a bull market? In discussions of the stock market and the greater economy, the term bull market is typically applied when prices on average are on the rise, or when they’re expected to rise. The terms bull market and bear market are most closely associated with the stock market, but they can also be used in the context of other markets, including those for real estate, currencies, and other commodities. Using the term bull market is informal—there’s no formal metric to measure or determine when a bull market is happening. Still, a 20% increase in prices is often used as the ballpark figure that indicates a bull market. Usually, a bull market happens when the economy is strong or getting stronger. High employment rates, high gross domestic product, and other measures of economic well being and stability are generally thought to correlate with bull markets. Bull markets are often categorized as secular (indicating a period of growth lasting more than five years) or cyclical (indicating a shorter-term period of growth). In the context of stocks and finance, the related adjective bullish can mean “rising in prices,” “characterized by favorable economic prospects,” or, more informally, “regarding a particular investment as potentially profitable,” as in We’re still bullish on treasury bonds. As a noun, bull can refer to a person who believes that market prices, especially of stocks, will increase. Why is it called a bull market? The first records of bull market and bullish in the context of finance and the stock market come from the late 1800s, but the noun use of bull in the context of stock investment—to refer to both a type of an investment and an investor—predates both. The origin of the use of the word bull in this way is uncertain. In general, the bull is associated with aggression and is known to charge forward, like a rising market. One explanation for the use of the word bull in bull market likens the upward swing of a bull market to the motion in which a bull may attack—by throwing its horns upward. What is a bear market? A bear market occurs when prices are falling, or when they’re expected to decrease. Like bull market, the term usually refers to the stock market, but it can also be used in the context of real estate, currencies, and other commodities. There’s no formal metric to measure when a bear market is happening, but a 20% decline in prices is sometimes used as the threshold. As you might expect, bear markets result from the opposite of the conditions thought to constitute or correlate with bull markets. Low economic stability and high unemployment, low gross domestic product, and low corporate profits are traditionally thought to correlate with the downturns associated with a bear market. Like bull markets, bear markets can be categorized as secular or cyclical. The related adjective bearish can mean “declining or tending toward a decline in prices” or “characterized by or reflecting unfavorable prospects for the economy or some aspect of it.” Or it can be used informally to mean “regarding a particular investment as poor or unprofitable,” as in We’re still bearish on treasury bonds. As a noun, bear can refer to a person who believes that market prices, especially of stocks, will decline. Why is it called a bear market? The noun use of bear in the context of the stock market to refer to types of investments or investors came before its use in bear market, but, like bullish, the origin of these senses is uncertain. In general, while bulls are known for charging aggression, bears—while fearsome—are especially associated with hibernation. This is one interpretation of the use of bear in bear market—likening the retreat of the market to a bear’s dormant period. Another interpretation is that a bear attacks by swiping downward—a motion likened to the downswing of a bear market. bear vs. bull market The difference between a bear market and a bull market is the direction of prices and the general success or health of the market. Simply put, it’s a bear market when prices are going up, and it’s a bull market when prices are going down. To remember which is which, remember that bulls are known for being aggressive and charging ahead, (like the prices in a rising market), while bears are known for hibernating (likened to how investors might scale back investments during market downturns). A few extreme examples of bear markets are the Great Recession around the 2008 financial crisis and the Great Depression, which roughly began with the stock market crash of 1929. In contrast, the post-World War II economic boom is considered an example of a bull market. But there are many other examples. That’s because at any given time the market is usually described as one or the other—meaning they alternate as part of an ongoing cycle. Stock investors have many strategies to try to profit from both increases and decreases in stock prices, which means that just because it’s a bear market doesn’t mean there’s not a lot of transactions happening. Copyright 2025, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 646 มุมมอง 0 รีวิว
  • กระดาษไป๋ลู่

    สวัสดีค่ะ วันนี้เรามาคุยกันเรื่องกระดาษโบราณ

    ในเรื่อง <เล่ห์รักวังคุนหนิง> มีตอนหนึ่งที่กล่าวถึงการสืบคดีในวังเพื่อหาคนที่เขียนข้อความที่มีความเกี่ยวพันกับก๊วนกบฏ และหนึ่งในหลักฐานที่ใช้คือกระดาษไป๋ลู่ (白鹿纸 ใช่ค่ะ... ไป๋ลู่อักษรเดียวกับชื่อนักแสดงหญิงที่หลายคนคุ้นเคย แปลว่ากวางขาว) มีการอธิบายไว้ในซีรีส์ว่า กระดาษไป๋ลู่มีใช้เพียงในวัง มีการบันทึกไว้ชัดเจนว่าแจกจ่ายไปให้ใครเมื่อไหร่เป็นจำนวนเท่าใด

    ข้อมูลเกี่ยวกับกระดาษไป๋ลู่มีไม่มาก ส่วนใหญ่ระบุแต่เพียงว่ามันเป็นกระดาษที่ใช้ในวัง เป็นกระดาษที่ผลิตยากมาก เนื้อดีเหมาะกับการเขียนหรือวาดรูป เป็นกระดาษเซวียนจื่อชนิดหนึ่ง มีขนาดมาตรฐานคือยาวหนึ่งจ้างสองฉื่อ (คือยาวประมาณ 3.7 เมตร) จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากระดาษ ‘จ้างเอ้อร์เซวียน’ (丈二宣) ขนาดมาตรฐานปัจจุบันคือ 1.5 x 3.7 เมตร

    แล้วกระดาษเซวียนจื่อ (宣纸) คืออะไร?

    กระดาษเซวียนจื่อจัดอยู่ในกลุ่มกระดาษที่ทำจากเยื่อเปลือกไม้ ซึ่งกระดาษจีนโบราณจะจัดแบ่งเป็นกลุ่มหลักๆ ตามวัสดุที่ใช้ผลิต คือ 1. กระดาษใยปอ/ใยป่าน (麻 纸 / หมาจื่อ) ทำจากเส้นใยปอและใยป่าน 2. กระดาษเยื่อเปลือกไม้ (皮纸 / ผีจื่อ) คือทำจากเยื่อเปลือกไม้ชนิดต่างๆ 3. กระดาษเยื่อไผ่ (竹 纸 / จู๋จื่อ) และ 4. กระดาษใยฝ้าย (棉 纸 / เหมียนจื่อ)

    กระดาษเยื่อเปลือกไม้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในสมัยถัง มีการพัฒนาขึ้นหลายชนิด เป็นกลุ่มกระดาษที่มีความหลากหลายมากที่สุดก็ว่าได้ เพราะเนื้อกระดาษแตกต่างกันไปตามชนิดของเปลือกไม้ที่ใช้และน้ำที่ใช้ รวมถึงอาจใช้เส้นใยปอหรือใยฝ้ายมาผสมให้หลากหลายยิ่งขึ้น และเป็นที่มาว่าทำไมในซีรีส์/นิยายจีนโบราณจึงมีการดูจากเนื้อกระดาษแล้วสามารถบอกได้ว่ามาจากพื้นที่ใดเพราะต้นไม้บางชนิดจะพบได้ในบางพื้นที่เท่านั้น กระดาษเยื่อเปลือกไม้มีทั้งเนื้อหยาบที่สามารถทำเป็นเสื้อผ้าสวมใส่ และเนื้อละเอียดที่ใช้ในงานเขียนหรืองานวาดที่ต้องใช้ความละเอียดมาก ว่ากันว่านักเขียนและนักวาดบางคนคิดค้นกระดาษเนื้อพิเศษของตนเองขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วย

    กรรมวิธีการผลิตกระดาษเยื่อเปลือกไม้ก็คล้ายกับการทำกระดาษสาบ้านเรา คือเอาไม้ไปแช่ในน้ำแล้วทุบแตกจนเปื่อย คัดเอาเยื่อออกมาต้ม อาจใส่ส่วนผสมอื่นเช่นเกลือหรือน้ำหัวไชเท้าเพื่อเสริมความเนียนและความคงทนของกระดาษ เคี่ยวและบดแล้วนำมากรอง จากนั้นเอามาปูบางๆ บนพิมพ์แล้วตากแห้ง แห้งแล้วก็นำมาเรียงและตัดให้ได้ขนาดที่ต้องการ แน่นอนว่านี่เป็นการเล่าโดยคร่าว ไม่สามารถสะท้อนถึงความพิถีพิถันของแต่ละขั้นตอนและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ ซึ่งความพิถีพิถันดังกล่าวเป็นหัวใจของการผลิตกระดาษที่มีคุณภาพแตกต่างกัน

    กระดาษเซวียนจื่อเกิดขึ้นในสมัยถัง มีที่มาจากพื้นที่เซวียนโจว (แถบหวงซาน เขตพื้นที่มณฑลอันฮุยปัจจุบัน) เป็นกระดาษที่ทำจากเยื่อไม้สองชนิดคือ 1) เปลือกของไม้ชิงถาน (青檀 / Blue Sandalwood) อยู่ในกลุ่มไม้จันทร์ เป็นสายพันธุ์ที่มีเฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น ขึ้นตามธรรมชาติ และเปลือกไม้จันทร์ชนิดอื่นไม่สามารถนำมาใช้ทดแทนในการผลิตกระดาษเซวียนจื่อนี้ได้ มันเป็นส่วนผสมหลักที่ทำให้กระดาษมีความเหนียว คงสภาพได้ดีไม่ยับง่าย ไม่ถูกแมลงกัดกิน ทำให้กระดาษมีความคงทน และ 2) ต้นข้าวชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ‘ซาเถียนเต้า’ (沙田稻) โดยเป็นส่วนผสมที่ให้ความนุ่มต่อกระดาษด้วยเส้นใยที่สั้นกว่าไม้ชิงถาน ปัจจุบันไม่ค่อยมีใครเพาะปลูกต้นข้าวชนิดนี้แล้ว ดังนั้นกระดาษเซวียนจื่อที่มีขายปัจจุบันจะมีเนื้อกระดาษที่ไม่เหมือนของโบราณและกรรมวิธีการผลิตแบบโบราณได้สาบสูญไปตั้งแต่สมัยราชวงศ์ชิง

    กรรมวิธีการเตรียมเยื่อไม้ทั้งสองชนิดแตกต่างกันเล็กน้อย แยกกันทำแล้วค่อยนำมาเคี่ยวผสมกัน และส่วนผสมของเยื่อไม้ทั้งสองและกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างจะทำให้ได้เนื้อกระดาษเซวียนจื่อที่หลากหลายมาก มีความละเอียดและเนียนหยาบแตกต่างกัน มีความสามารถดูดซึมน้ำหมึกได้ต่างกัน (แน่นอนว่าผงหมึกก็มีความแตกต่าง แบ่งแยกเป็นของแพงและของถูก ฯลฯ) มีสีขาวเหลืองอ่อนแก่แตกต่างกัน เป็นต้น โดยภาพรวมแล้ว กระดาษเซวียนจื่อเป็นกระดาษที่เหมาะสำหรับงานเขียนและงานวาดเพราะดูดซึมหมึกได้ดีและผิวเนียนเรียบกว่ากระดาษจากใยปอ/ใยป่านหรือกระดาษจากเปลือกไม้ชนิดอื่น และมีความคงทนกว่า จึงถูกยกย่องเป็น ‘กระดาษพันปี’

    กระดาษเซวียนจื่อแบ่งได้เป็นสามเกรดหลักตามสัดส่วนของเยื่อเปลือกไม้ชิงถาน และกระดาษไป๋ลู่คือกระดาษเซวียนจื่อเกรดดีที่สุด คือมีส่วนผสมของเปลือกไม้ชิงถานไม่ต่ำกว่า 80% มีกรรมวิธีการผลิตที่ประณีต เป็นกระดาษที่ดูดซับน้ำหมึกได้ดี ทำให้ลายเส้นอักษรคมชัดแต่ไม่กระด้าง แสดงความพลิ้วไหวของลายเส้นได้ดี มีการบรรยายว่าเนื้อกระดาษเนียนนุ่มดุจไหม สีขาวนวลดุจหยก

    ว่ากันว่า กระดาษไป๋ลู่ถูกประดิษฐ์ขึ้นในสมัยราชวงศ์หยวนโดยนักพรตคนหนึ่งสำหรับไว้ใช้เอง ต่อมาถูกนำมาใช้ในวังเรียกว่ากระดาษไป๋ลู่หรือกวางขาวเพราะมีเส้นลายที่ดูเป็นลายหนังกวางซึ่งถูกมองว่าเป็นลายมงคล ต่อมามีคนที่ผลิตได้ไม่กี่ตระกูล จึงเป็นกระดาษที่มีปริมาณการผลิตที่จำกัดและหายากมาก

    กระดาษมีหน่วยนับเป็น ‘เตา’ (刀 แปลว่ามีด) ซึ่ง Storyฯ ก็ไม่แน่ใจว่าในละครแปลไว้อย่างไร แต่หนึ่งเตาสมัยโบราณคือกระดาษจำนวน 25 แผ่น มีที่มาของการเรียกอย่างนี้ก็คือ หนึ่งมีดสามารถตัดกระดาษโดยไม่เบี้ยวที่ 25 แผ่นนั่นเอง (หมายเหตุ ด้วยวิวัฒนาการผลิต ปัจจุบันหนึ่งเตาคือหนึ่งรีมหรือ 100 แผ่น)

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://new.qq.com/rain/a/20231130A00YSS00
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_1263914
    http://www.chinapaper.net/jjnews/show-353.html
    http://www.chinapaper.net/jjnews/show-222.html
    https://baike.baidu.com/item/檀皮宣纸/1802446
    https://baike.baidu.com/item/宣纸/329910
    https://www.sohu.com/a/362150345_616747

    #เล่ห์รักวังคุนหนิง #ไป๋ลู่จื่อ #กระดาษไป๋ลู่ #กระดาษจีน #เซวียนจื่อ #การผลิตกระดาษจีน #กระดาษเยื่อเปลือกไม้
    กระดาษไป๋ลู่ สวัสดีค่ะ วันนี้เรามาคุยกันเรื่องกระดาษโบราณ ในเรื่อง <เล่ห์รักวังคุนหนิง> มีตอนหนึ่งที่กล่าวถึงการสืบคดีในวังเพื่อหาคนที่เขียนข้อความที่มีความเกี่ยวพันกับก๊วนกบฏ และหนึ่งในหลักฐานที่ใช้คือกระดาษไป๋ลู่ (白鹿纸 ใช่ค่ะ... ไป๋ลู่อักษรเดียวกับชื่อนักแสดงหญิงที่หลายคนคุ้นเคย แปลว่ากวางขาว) มีการอธิบายไว้ในซีรีส์ว่า กระดาษไป๋ลู่มีใช้เพียงในวัง มีการบันทึกไว้ชัดเจนว่าแจกจ่ายไปให้ใครเมื่อไหร่เป็นจำนวนเท่าใด ข้อมูลเกี่ยวกับกระดาษไป๋ลู่มีไม่มาก ส่วนใหญ่ระบุแต่เพียงว่ามันเป็นกระดาษที่ใช้ในวัง เป็นกระดาษที่ผลิตยากมาก เนื้อดีเหมาะกับการเขียนหรือวาดรูป เป็นกระดาษเซวียนจื่อชนิดหนึ่ง มีขนาดมาตรฐานคือยาวหนึ่งจ้างสองฉื่อ (คือยาวประมาณ 3.7 เมตร) จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากระดาษ ‘จ้างเอ้อร์เซวียน’ (丈二宣) ขนาดมาตรฐานปัจจุบันคือ 1.5 x 3.7 เมตร แล้วกระดาษเซวียนจื่อ (宣纸) คืออะไร? กระดาษเซวียนจื่อจัดอยู่ในกลุ่มกระดาษที่ทำจากเยื่อเปลือกไม้ ซึ่งกระดาษจีนโบราณจะจัดแบ่งเป็นกลุ่มหลักๆ ตามวัสดุที่ใช้ผลิต คือ 1. กระดาษใยปอ/ใยป่าน (麻 纸 / หมาจื่อ) ทำจากเส้นใยปอและใยป่าน 2. กระดาษเยื่อเปลือกไม้ (皮纸 / ผีจื่อ) คือทำจากเยื่อเปลือกไม้ชนิดต่างๆ 3. กระดาษเยื่อไผ่ (竹 纸 / จู๋จื่อ) และ 4. กระดาษใยฝ้าย (棉 纸 / เหมียนจื่อ) กระดาษเยื่อเปลือกไม้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในสมัยถัง มีการพัฒนาขึ้นหลายชนิด เป็นกลุ่มกระดาษที่มีความหลากหลายมากที่สุดก็ว่าได้ เพราะเนื้อกระดาษแตกต่างกันไปตามชนิดของเปลือกไม้ที่ใช้และน้ำที่ใช้ รวมถึงอาจใช้เส้นใยปอหรือใยฝ้ายมาผสมให้หลากหลายยิ่งขึ้น และเป็นที่มาว่าทำไมในซีรีส์/นิยายจีนโบราณจึงมีการดูจากเนื้อกระดาษแล้วสามารถบอกได้ว่ามาจากพื้นที่ใดเพราะต้นไม้บางชนิดจะพบได้ในบางพื้นที่เท่านั้น กระดาษเยื่อเปลือกไม้มีทั้งเนื้อหยาบที่สามารถทำเป็นเสื้อผ้าสวมใส่ และเนื้อละเอียดที่ใช้ในงานเขียนหรืองานวาดที่ต้องใช้ความละเอียดมาก ว่ากันว่านักเขียนและนักวาดบางคนคิดค้นกระดาษเนื้อพิเศษของตนเองขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วย กรรมวิธีการผลิตกระดาษเยื่อเปลือกไม้ก็คล้ายกับการทำกระดาษสาบ้านเรา คือเอาไม้ไปแช่ในน้ำแล้วทุบแตกจนเปื่อย คัดเอาเยื่อออกมาต้ม อาจใส่ส่วนผสมอื่นเช่นเกลือหรือน้ำหัวไชเท้าเพื่อเสริมความเนียนและความคงทนของกระดาษ เคี่ยวและบดแล้วนำมากรอง จากนั้นเอามาปูบางๆ บนพิมพ์แล้วตากแห้ง แห้งแล้วก็นำมาเรียงและตัดให้ได้ขนาดที่ต้องการ แน่นอนว่านี่เป็นการเล่าโดยคร่าว ไม่สามารถสะท้อนถึงความพิถีพิถันของแต่ละขั้นตอนและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ ซึ่งความพิถีพิถันดังกล่าวเป็นหัวใจของการผลิตกระดาษที่มีคุณภาพแตกต่างกัน กระดาษเซวียนจื่อเกิดขึ้นในสมัยถัง มีที่มาจากพื้นที่เซวียนโจว (แถบหวงซาน เขตพื้นที่มณฑลอันฮุยปัจจุบัน) เป็นกระดาษที่ทำจากเยื่อไม้สองชนิดคือ 1) เปลือกของไม้ชิงถาน (青檀 / Blue Sandalwood) อยู่ในกลุ่มไม้จันทร์ เป็นสายพันธุ์ที่มีเฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น ขึ้นตามธรรมชาติ และเปลือกไม้จันทร์ชนิดอื่นไม่สามารถนำมาใช้ทดแทนในการผลิตกระดาษเซวียนจื่อนี้ได้ มันเป็นส่วนผสมหลักที่ทำให้กระดาษมีความเหนียว คงสภาพได้ดีไม่ยับง่าย ไม่ถูกแมลงกัดกิน ทำให้กระดาษมีความคงทน และ 2) ต้นข้าวชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ‘ซาเถียนเต้า’ (沙田稻) โดยเป็นส่วนผสมที่ให้ความนุ่มต่อกระดาษด้วยเส้นใยที่สั้นกว่าไม้ชิงถาน ปัจจุบันไม่ค่อยมีใครเพาะปลูกต้นข้าวชนิดนี้แล้ว ดังนั้นกระดาษเซวียนจื่อที่มีขายปัจจุบันจะมีเนื้อกระดาษที่ไม่เหมือนของโบราณและกรรมวิธีการผลิตแบบโบราณได้สาบสูญไปตั้งแต่สมัยราชวงศ์ชิง กรรมวิธีการเตรียมเยื่อไม้ทั้งสองชนิดแตกต่างกันเล็กน้อย แยกกันทำแล้วค่อยนำมาเคี่ยวผสมกัน และส่วนผสมของเยื่อไม้ทั้งสองและกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างจะทำให้ได้เนื้อกระดาษเซวียนจื่อที่หลากหลายมาก มีความละเอียดและเนียนหยาบแตกต่างกัน มีความสามารถดูดซึมน้ำหมึกได้ต่างกัน (แน่นอนว่าผงหมึกก็มีความแตกต่าง แบ่งแยกเป็นของแพงและของถูก ฯลฯ) มีสีขาวเหลืองอ่อนแก่แตกต่างกัน เป็นต้น โดยภาพรวมแล้ว กระดาษเซวียนจื่อเป็นกระดาษที่เหมาะสำหรับงานเขียนและงานวาดเพราะดูดซึมหมึกได้ดีและผิวเนียนเรียบกว่ากระดาษจากใยปอ/ใยป่านหรือกระดาษจากเปลือกไม้ชนิดอื่น และมีความคงทนกว่า จึงถูกยกย่องเป็น ‘กระดาษพันปี’ กระดาษเซวียนจื่อแบ่งได้เป็นสามเกรดหลักตามสัดส่วนของเยื่อเปลือกไม้ชิงถาน และกระดาษไป๋ลู่คือกระดาษเซวียนจื่อเกรดดีที่สุด คือมีส่วนผสมของเปลือกไม้ชิงถานไม่ต่ำกว่า 80% มีกรรมวิธีการผลิตที่ประณีต เป็นกระดาษที่ดูดซับน้ำหมึกได้ดี ทำให้ลายเส้นอักษรคมชัดแต่ไม่กระด้าง แสดงความพลิ้วไหวของลายเส้นได้ดี มีการบรรยายว่าเนื้อกระดาษเนียนนุ่มดุจไหม สีขาวนวลดุจหยก ว่ากันว่า กระดาษไป๋ลู่ถูกประดิษฐ์ขึ้นในสมัยราชวงศ์หยวนโดยนักพรตคนหนึ่งสำหรับไว้ใช้เอง ต่อมาถูกนำมาใช้ในวังเรียกว่ากระดาษไป๋ลู่หรือกวางขาวเพราะมีเส้นลายที่ดูเป็นลายหนังกวางซึ่งถูกมองว่าเป็นลายมงคล ต่อมามีคนที่ผลิตได้ไม่กี่ตระกูล จึงเป็นกระดาษที่มีปริมาณการผลิตที่จำกัดและหายากมาก กระดาษมีหน่วยนับเป็น ‘เตา’ (刀 แปลว่ามีด) ซึ่ง Storyฯ ก็ไม่แน่ใจว่าในละครแปลไว้อย่างไร แต่หนึ่งเตาสมัยโบราณคือกระดาษจำนวน 25 แผ่น มีที่มาของการเรียกอย่างนี้ก็คือ หนึ่งมีดสามารถตัดกระดาษโดยไม่เบี้ยวที่ 25 แผ่นนั่นเอง (หมายเหตุ ด้วยวิวัฒนาการผลิต ปัจจุบันหนึ่งเตาคือหนึ่งรีมหรือ 100 แผ่น) (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://new.qq.com/rain/a/20231130A00YSS00 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_1263914 http://www.chinapaper.net/jjnews/show-353.html http://www.chinapaper.net/jjnews/show-222.html https://baike.baidu.com/item/檀皮宣纸/1802446 https://baike.baidu.com/item/宣纸/329910 https://www.sohu.com/a/362150345_616747 #เล่ห์รักวังคุนหนิง #ไป๋ลู่จื่อ #กระดาษไป๋ลู่ #กระดาษจีน #เซวียนจื่อ #การผลิตกระดาษจีน #กระดาษเยื่อเปลือกไม้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 586 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกิงฟู คนบอกเวลา

    สวัสดีค่ะ สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันเกี่ยวกับนาฬิกาหยดน้ำโบราณ แน่นอนว่าไม่ใช่ทุกบ้านที่จะมีอุปกรณ์บอกเวลาเพราะนาฬิกาในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นนาฬิกาแดด นาฬิกาทรายหรือนาฬิกาหยดน้ำนั้น ล้วนเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้เฉพาะในวังหรือกลุ่มคนมีอันจะกิน ส่วนชาวบ้านธรรมดานั้น กลางวันมักอาศัยการสังเกตตำแหน่งของดวงอาทิตย์ และกลางคืนสามารถจุดธูปเพื่อวัดเวลา ซึ่งธูปแต่ละชนิดออกแบบมาให้เผาไหม้หมดในเวลาที่กำหนด เช่น 30 นาทีหรือ 60 นาทีเป็นต้น แต่การจุดธูปนั้นสิ้นเปลืองและไม่สามารถทำได้ตลอดคืน ดังนั้น ชาวบ้านทั่วไปจึงต้องพึ่งพาคนบอกเวลา

    คนบอกเวลาหรือ ‘เกิงฟู’ (更夫) หรือ ‘ต่าเกิงเหริน’ (打更人) เป็นหนึ่งในตัวละครไร้นามที่เราเห็นบ่อยในซีรีส์ยามค่ำคืนที่เดินตีฆ้องหรือตีกระบอกไม้และตะโกน “ระวังฟืนระวังไฟ” วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กัน

    ก่อนอื่นคุยกันเล็กน้อยเกี่ยวกับการนับเวลาจีนโบราณ เพื่อนเพจหลายคนคงทราบดีอยู่แล้วว่าจีนโบราณแบ่งเวลาเป็นสิบสองชั่วยาม ชั่วยามหนึ่งเทียบเท่าสองชั่วโมง แต่เชื่อว่าหลายท่านคงงงกับคำว่า ‘เกิง’ ซึ่งเป็นคำที่ใช้สำหรับช่วงเวลากลางคืน

    จีนโบราณแบ่งช่วงเวลากลางคืนออกเป็นห้ายามหรือ ‘เกิง’ (更 ซึ่งในสมัยโบราณออกเสียงว่า ‘จิง’ ต่อมาปรับใช้เป็น ‘เกิง’ จวบจนปัจจุบัน) โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 1-3 ทุ่ม เรียกว่า ‘เกิงที่หนึ่ง’ หรือยามหนึ่ง ซึ่งก็คือช่วงเวลาที่เตรียมตัวเข้านอนสำหรับคนทั่วไป และไปสิ้นสุดที่ตี 3-5 เรียกว่า ‘เกิงที่ห้า’ หรือยามห้า ซึ่งก็คือเวลาตื่นและเตรียมพร้อมไปทำงานนั่นเอง จึงเป็นที่มาของสำนวนที่ว่า ‘ยามสามกลางดึก’ (三更半夜 / ซันเกิงป้านเยี่ย) ซึ่งยามสามก็คือช่วงเวลากึ่งกลางของกลางคืนพอดี (คือระหว่าง 5 ทุ่ม - ตี 1)

    จริงๆ แล้วโดยปกติคนบอกยามหรือเกิงฟูมักออกเดินเป็นคู่ ไม่ค่อยฉายเดี่ยวเหมือนที่เห็นในซีรีส์ เพื่อว่าจะได้ช่วยเหลือกันได้หากเกิดเหตุอะไร พวกเขาไม่ใช่อาสาสมัคร ได้เงินค่าจ้างจากรัฐบาล แต่ไม่ใช่ข้าราชการและมีสถานะทางสังคมเหมือนพวกที่ใช้แรงงานหยาบทั่วไป

    เกิงฟูมีมาแต่ยุคสมัยใด Storyฯ ก็หาข้อมูลไม่ได้ชัดเจน บ้างว่ามีมาแต่สมัยราชวงศ์ฉิน แต่ไม่ว่ายุคสมัยใด เกิงฟูจริงๆ แล้วทำหลายหน้าที่มากกว่าการบอกเวลา หน้าที่สำคัญอีกหน้าที่หนึ่งคือการดูแลและเตือนภัยหรือก็คือหน้าที่ รปภ. นั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการคอยสอดส่องหรือเตือนภัยเพลิงไหม้ สัตว์ป่าบุกรุก ขโมยขโจร หรือแม้แต่คนแปลกหน้าเพ่นพ่านยามวิกาล ดังนั้นในช่วงสงคราม เมืองสำคัญต่างๆ จะมีเกิงฟูมากกว่าปกติ นอกจากนี้ เกิงฟูยังเตือนเรื่องสภาพอากาศเช่น หนาวจัด จะมีฝน ลมแรง ฯลฯ ดังนั้นคำตะโกนของเกิงฟูจะผันแปรไปตามสภาพความเป็นจริง ไม่ใช่แค่ “อากาศแห้ง ระวังฟืนระวังไฟ” แบบที่เรามักได้ยินในซีรีส์อย่างเดียว

    เกิงฟูบอกเวลาอย่างไร?

    เชื่อว่าเพื่อนเพจคงนึกเหมือน Storyฯ ว่าเขาก็คงตีฆ้องหรือกระบอกไม้เป็นจำนวนครั้งตามเวลา เช่น ยามที่หนึ่ง ตีหนึ่งครั้ง ฯลฯ แต่จริงๆ แล้วเขามีจังหวะยาวสั้นหรือใช้สลับฆ้องและกระบอกไม้ เพื่อว่าเวลาคนฟังจะได้ไม่หลงว่าได้ยินซ้ำของเก่าหรือไม่ Storyฯ ลองเปรียบเทียบข้อมูลดู พบว่ามีสองเวอร์ชั่นสรุปได้ดังนี้

    เวอร์ชั่นแรก ใช้จังหวะยาว(ช้า)และสั้น(เร็ว)สลับกัน คือ
    - เกิงที่หนึ่ง ตียาวหนึ่งครั้งสั้นหนึ่งครั้ง รวมสามชุด
    - เกิงที่สอง ตีสั้นติดกันสองครั้ง ตีได้ต่อเนื่องหลายๆ ชุด ประหนึ่งว่าไล่ให้ไปนอนได้แล้ว
    - เกิงที่สาม ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสองครั้ง รวมสามชุด
    - เกิงที่สี่ ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสามครั้ง รวมสามชุด
    - เกิงที่ห้า ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสี่ครั้ง รวมสามชุด

    เวอร์ชั่นที่สอง ใช้สลับฆ้องและกระบอกไม้ ดังนี้
    - เกิงที่หนึ่ง ตีฆ้องหนึ่งครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง
    - เกิงที่สอง ตีฆ้องสองครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง
    - เกิงที่สาม ตีตีฆ้องสามครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง
    - เกิงที่สี่ ตีฆ้องสี่ครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง
    - เกิงที่ห้า ตีแต่กระบอกไม้เท่านั้น ตีได้เรื่อยๆ รัวๆ ประหนึ่งว่ากำลังปลุกให้ลุกขึ้นมาทำงานได้แล้ว

    Storyฯ ไม่สามารถยืนยันความถูกต้องของจังหวะการตีทั้งสองเวอร์ชั่นนี้ แต่ที่เล่ามาคือเพื่อให้เพื่อนเพจเห็นภาพว่า การตีบอกเวลาจะมีจังหวะของมันอยู่ คนที่ได้ยินก็จะรู้เวลาได้โดยง่าย

    ในเมืองใหญ่จะมีหอนาฬิกาและ/หรือหอสังเกตการณ์ ที่หอนี้มีทหารหรือเจ้าหน้าที่คอยสังเกตการณ์สภาพแวดล้อมระวังภัยและจับตาดูนาฬิกาในหอแล้วส่งสัญญาณบอกเวลาเช่นเป่าแตรหรือตีกลอง โดยทำงานเป็นกะ เฝ้าตลอดทั้งวันทั้งคืน และด้วยการสื่อสารจากหอสังเกตการณ์เหล่านี้ บรรดาเกิงฟูก็จะออกเดินทางเพื่อบอกเวลาและรายงานสภาพแวดล้อมทันทีที่ถึงต้นโมงยาม ในเมืองเล็กก็จะมีจุดศูนย์กลางสักแห่งที่มีนาฬิกาหรือเครื่องบอกเวลาสักชนิดหนึ่ง (เช่น วัดที่มีการจุดธูปต่อเนื่อง) เพื่อให้เหล่าเกิงฟูเริ่มงานได้เช่นกัน

    ทีนี้คำถามต่อมาคือ เกิงฟูเดินไปเรื่อยๆ เส้นทางใกล้ไกลไม่เหมือนกัน แล้วพวกเขาจะรู้เวลาได้อย่างไรว่ากาลเวลาล่วงเข้าอีกยามหนึ่งแล้ว?

    สำหรับประชาชนทั่วไปนั้น การบอกเวลาเหล่านี้ไม่ต้องการความ ‘เป๊ะ’ เหมือนปัจจุบัน แต่เป็นการบอกโดยประมาณเพื่อให้กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันมีหลักเกณฑ์โดยคร่าว แต่อย่างไรก็ดี เกิงฟูมีตัวช่วยค่ะ บางคนพกธูปบอกเวลาซึ่งได้รับมาจากจุดเริ่มต้น บางคนพกป้ายที่เรียกว่า ‘เกิงผาย’ ซึ่งมีการกำหนดไว้เป็นจำนวนก้าวว่าเดินกี่ก้าวเปลี่ยนป้ายครั้งหนึ่ง เมื่อครบจำนวนครั้งก็ครบยาม

    การเล่าข้างต้นเป็นการเล่าโดยคร่าวเพื่อให้เห็นภาพนะคะ จริงๆ แล้วมันมีรายละเอียดกว่านี้ เช่นมีการปรับจำนวนก้าวในช่วงฤดูต่างๆ เพราะในสมัยโบราณมีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การนับเวลา เช่นหนึ่งเค่ออาจหมายถึง 13 นาทีกว่า หรือ 15 นาทีแล้วแต่ยุคสมัย

    อาชีพเกิงฟูนี้นับได้ว่าสำคัญมากสำหรับสังคมจีนโบราณ แต่ชีวิตของเกิงฟูลำเค็ญไม่น้อยเพราะต้องฟันฝ่าอุปสรรคทางสภาพอากาศ เงินเดือนก็น้อยนิด และยังต้องมีสมาธิในการทำงานดีมากด้วย เพื่อนเพจว่าไหม?

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/602047304_120231588
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/打更/2113152
    https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_8909910
    https://k.sina.cn/article_7722512403_1cc4c3013001011q40.html?from=news
    https://www.163.com/dy/article/G08FUAJD05430TXY.html
    https://www.toutiao.com/article/6590549906669175300/?source=seo_tt_juhe
    https://www.toutiao.com/article/6590549906669175300/?source=seo_tt_juhe

    #เกิงฟู #ต่าเกิงเหริน #คนบอกเวลาจีนโบราณ #ตีฆ้องบอกเวลา
    เกิงฟู คนบอกเวลา สวัสดีค่ะ สัปดาห์ที่แล้วเราคุยกันเกี่ยวกับนาฬิกาหยดน้ำโบราณ แน่นอนว่าไม่ใช่ทุกบ้านที่จะมีอุปกรณ์บอกเวลาเพราะนาฬิกาในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นนาฬิกาแดด นาฬิกาทรายหรือนาฬิกาหยดน้ำนั้น ล้วนเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้เฉพาะในวังหรือกลุ่มคนมีอันจะกิน ส่วนชาวบ้านธรรมดานั้น กลางวันมักอาศัยการสังเกตตำแหน่งของดวงอาทิตย์ และกลางคืนสามารถจุดธูปเพื่อวัดเวลา ซึ่งธูปแต่ละชนิดออกแบบมาให้เผาไหม้หมดในเวลาที่กำหนด เช่น 30 นาทีหรือ 60 นาทีเป็นต้น แต่การจุดธูปนั้นสิ้นเปลืองและไม่สามารถทำได้ตลอดคืน ดังนั้น ชาวบ้านทั่วไปจึงต้องพึ่งพาคนบอกเวลา คนบอกเวลาหรือ ‘เกิงฟู’ (更夫) หรือ ‘ต่าเกิงเหริน’ (打更人) เป็นหนึ่งในตัวละครไร้นามที่เราเห็นบ่อยในซีรีส์ยามค่ำคืนที่เดินตีฆ้องหรือตีกระบอกไม้และตะโกน “ระวังฟืนระวังไฟ” วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กัน ก่อนอื่นคุยกันเล็กน้อยเกี่ยวกับการนับเวลาจีนโบราณ เพื่อนเพจหลายคนคงทราบดีอยู่แล้วว่าจีนโบราณแบ่งเวลาเป็นสิบสองชั่วยาม ชั่วยามหนึ่งเทียบเท่าสองชั่วโมง แต่เชื่อว่าหลายท่านคงงงกับคำว่า ‘เกิง’ ซึ่งเป็นคำที่ใช้สำหรับช่วงเวลากลางคืน จีนโบราณแบ่งช่วงเวลากลางคืนออกเป็นห้ายามหรือ ‘เกิง’ (更 ซึ่งในสมัยโบราณออกเสียงว่า ‘จิง’ ต่อมาปรับใช้เป็น ‘เกิง’ จวบจนปัจจุบัน) โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 1-3 ทุ่ม เรียกว่า ‘เกิงที่หนึ่ง’ หรือยามหนึ่ง ซึ่งก็คือช่วงเวลาที่เตรียมตัวเข้านอนสำหรับคนทั่วไป และไปสิ้นสุดที่ตี 3-5 เรียกว่า ‘เกิงที่ห้า’ หรือยามห้า ซึ่งก็คือเวลาตื่นและเตรียมพร้อมไปทำงานนั่นเอง จึงเป็นที่มาของสำนวนที่ว่า ‘ยามสามกลางดึก’ (三更半夜 / ซันเกิงป้านเยี่ย) ซึ่งยามสามก็คือช่วงเวลากึ่งกลางของกลางคืนพอดี (คือระหว่าง 5 ทุ่ม - ตี 1) จริงๆ แล้วโดยปกติคนบอกยามหรือเกิงฟูมักออกเดินเป็นคู่ ไม่ค่อยฉายเดี่ยวเหมือนที่เห็นในซีรีส์ เพื่อว่าจะได้ช่วยเหลือกันได้หากเกิดเหตุอะไร พวกเขาไม่ใช่อาสาสมัคร ได้เงินค่าจ้างจากรัฐบาล แต่ไม่ใช่ข้าราชการและมีสถานะทางสังคมเหมือนพวกที่ใช้แรงงานหยาบทั่วไป เกิงฟูมีมาแต่ยุคสมัยใด Storyฯ ก็หาข้อมูลไม่ได้ชัดเจน บ้างว่ามีมาแต่สมัยราชวงศ์ฉิน แต่ไม่ว่ายุคสมัยใด เกิงฟูจริงๆ แล้วทำหลายหน้าที่มากกว่าการบอกเวลา หน้าที่สำคัญอีกหน้าที่หนึ่งคือการดูแลและเตือนภัยหรือก็คือหน้าที่ รปภ. นั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการคอยสอดส่องหรือเตือนภัยเพลิงไหม้ สัตว์ป่าบุกรุก ขโมยขโจร หรือแม้แต่คนแปลกหน้าเพ่นพ่านยามวิกาล ดังนั้นในช่วงสงคราม เมืองสำคัญต่างๆ จะมีเกิงฟูมากกว่าปกติ นอกจากนี้ เกิงฟูยังเตือนเรื่องสภาพอากาศเช่น หนาวจัด จะมีฝน ลมแรง ฯลฯ ดังนั้นคำตะโกนของเกิงฟูจะผันแปรไปตามสภาพความเป็นจริง ไม่ใช่แค่ “อากาศแห้ง ระวังฟืนระวังไฟ” แบบที่เรามักได้ยินในซีรีส์อย่างเดียว เกิงฟูบอกเวลาอย่างไร? เชื่อว่าเพื่อนเพจคงนึกเหมือน Storyฯ ว่าเขาก็คงตีฆ้องหรือกระบอกไม้เป็นจำนวนครั้งตามเวลา เช่น ยามที่หนึ่ง ตีหนึ่งครั้ง ฯลฯ แต่จริงๆ แล้วเขามีจังหวะยาวสั้นหรือใช้สลับฆ้องและกระบอกไม้ เพื่อว่าเวลาคนฟังจะได้ไม่หลงว่าได้ยินซ้ำของเก่าหรือไม่ Storyฯ ลองเปรียบเทียบข้อมูลดู พบว่ามีสองเวอร์ชั่นสรุปได้ดังนี้ เวอร์ชั่นแรก ใช้จังหวะยาว(ช้า)และสั้น(เร็ว)สลับกัน คือ - เกิงที่หนึ่ง ตียาวหนึ่งครั้งสั้นหนึ่งครั้ง รวมสามชุด - เกิงที่สอง ตีสั้นติดกันสองครั้ง ตีได้ต่อเนื่องหลายๆ ชุด ประหนึ่งว่าไล่ให้ไปนอนได้แล้ว - เกิงที่สาม ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสองครั้ง รวมสามชุด - เกิงที่สี่ ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสามครั้ง รวมสามชุด - เกิงที่ห้า ตียาวหนึ่งครั้งสั้นสี่ครั้ง รวมสามชุด เวอร์ชั่นที่สอง ใช้สลับฆ้องและกระบอกไม้ ดังนี้ - เกิงที่หนึ่ง ตีฆ้องหนึ่งครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง - เกิงที่สอง ตีฆ้องสองครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง - เกิงที่สาม ตีตีฆ้องสามครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง - เกิงที่สี่ ตีฆ้องสี่ครั้ง ตีกระบอกไม้สองครั้ง - เกิงที่ห้า ตีแต่กระบอกไม้เท่านั้น ตีได้เรื่อยๆ รัวๆ ประหนึ่งว่ากำลังปลุกให้ลุกขึ้นมาทำงานได้แล้ว Storyฯ ไม่สามารถยืนยันความถูกต้องของจังหวะการตีทั้งสองเวอร์ชั่นนี้ แต่ที่เล่ามาคือเพื่อให้เพื่อนเพจเห็นภาพว่า การตีบอกเวลาจะมีจังหวะของมันอยู่ คนที่ได้ยินก็จะรู้เวลาได้โดยง่าย ในเมืองใหญ่จะมีหอนาฬิกาและ/หรือหอสังเกตการณ์ ที่หอนี้มีทหารหรือเจ้าหน้าที่คอยสังเกตการณ์สภาพแวดล้อมระวังภัยและจับตาดูนาฬิกาในหอแล้วส่งสัญญาณบอกเวลาเช่นเป่าแตรหรือตีกลอง โดยทำงานเป็นกะ เฝ้าตลอดทั้งวันทั้งคืน และด้วยการสื่อสารจากหอสังเกตการณ์เหล่านี้ บรรดาเกิงฟูก็จะออกเดินทางเพื่อบอกเวลาและรายงานสภาพแวดล้อมทันทีที่ถึงต้นโมงยาม ในเมืองเล็กก็จะมีจุดศูนย์กลางสักแห่งที่มีนาฬิกาหรือเครื่องบอกเวลาสักชนิดหนึ่ง (เช่น วัดที่มีการจุดธูปต่อเนื่อง) เพื่อให้เหล่าเกิงฟูเริ่มงานได้เช่นกัน ทีนี้คำถามต่อมาคือ เกิงฟูเดินไปเรื่อยๆ เส้นทางใกล้ไกลไม่เหมือนกัน แล้วพวกเขาจะรู้เวลาได้อย่างไรว่ากาลเวลาล่วงเข้าอีกยามหนึ่งแล้ว? สำหรับประชาชนทั่วไปนั้น การบอกเวลาเหล่านี้ไม่ต้องการความ ‘เป๊ะ’ เหมือนปัจจุบัน แต่เป็นการบอกโดยประมาณเพื่อให้กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันมีหลักเกณฑ์โดยคร่าว แต่อย่างไรก็ดี เกิงฟูมีตัวช่วยค่ะ บางคนพกธูปบอกเวลาซึ่งได้รับมาจากจุดเริ่มต้น บางคนพกป้ายที่เรียกว่า ‘เกิงผาย’ ซึ่งมีการกำหนดไว้เป็นจำนวนก้าวว่าเดินกี่ก้าวเปลี่ยนป้ายครั้งหนึ่ง เมื่อครบจำนวนครั้งก็ครบยาม การเล่าข้างต้นเป็นการเล่าโดยคร่าวเพื่อให้เห็นภาพนะคะ จริงๆ แล้วมันมีรายละเอียดกว่านี้ เช่นมีการปรับจำนวนก้าวในช่วงฤดูต่างๆ เพราะในสมัยโบราณมีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การนับเวลา เช่นหนึ่งเค่ออาจหมายถึง 13 นาทีกว่า หรือ 15 นาทีแล้วแต่ยุคสมัย อาชีพเกิงฟูนี้นับได้ว่าสำคัญมากสำหรับสังคมจีนโบราณ แต่ชีวิตของเกิงฟูลำเค็ญไม่น้อยเพราะต้องฟันฝ่าอุปสรรคทางสภาพอากาศ เงินเดือนก็น้อยนิด และยังต้องมีสมาธิในการทำงานดีมากด้วย เพื่อนเพจว่าไหม? (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.sohu.com/a/602047304_120231588 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/打更/2113152 https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_8909910 https://k.sina.cn/article_7722512403_1cc4c3013001011q40.html?from=news https://www.163.com/dy/article/G08FUAJD05430TXY.html https://www.toutiao.com/article/6590549906669175300/?source=seo_tt_juhe https://www.toutiao.com/article/6590549906669175300/?source=seo_tt_juhe #เกิงฟู #ต่าเกิงเหริน #คนบอกเวลาจีนโบราณ #ตีฆ้องบอกเวลา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 627 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10 Conversational Tips That Take The Stress Out Of Small Talk

    We’ve all been there: you’re at a party and trying to find an “in” to start an engaging conversation with someone you just met. Or, maybe it’s a professional conference, and you want to make an impression on a new contact you’d love to have in your network. You want to say the right thing, but your mind feels blank, like you’ve completely forgotten how to communicate with other human beings.

    Making small talk is a skill, and it’s not easy, but the good news is that there’s always time to learn. Think about the conversations you have with the people you like and know well. When talking with these people, you likely practice good conversational skills without even realizing it, like:

    Listening attentively.
    Being present.
    Trying not to repeat yourself.
    Showing interest.
    Going with the flow.

    The trick to making great small talk is to find ways to call upon those same friendly conversational skills, even when you’re speaking with someone you don’t know well, in a brand-new environment, or in an awkward or high-pressure situation. How do you do that? We’ve got your back. Here are 10 tips to improve your small talk game and make it look easy.

    1. Start with an introduction. Sometimes the best way to break the ice is simply to introduce yourself.

    “Hi, I’m Pete, the groom’s brother. How do you know the couple?”
    “I’m Allison Smith, the head of sales at Office Corp. What company are you representing?”
    “My name’s Lupita. I’m in the theater program here at NYU. What’s your major?”
    It seems easy, but you’d be surprised how quickly people can forget a simple introduction when they’re fumbling for the best thing to say. If you start with your name and some information related to the event or something you might have in common, you create opportunities to learn something about them, which can help you launch effortlessly into a longer conversation.

    2. Have some topics in the bank.

    It’s easy for your mind to go blank when you’re asked a question about yourself or trying to pull topics out of thin air, so make sure you always show up prepared. Think of three to five interesting things you’ve done recently that might make good conversation starters, such as:

    A new restaurant you’ve tried.
    A book you loved.
    A movie you’re really excited about.
    The last trip you took.
    What you did over the weekend.
    Your most recent professional development opportunity.
    Your favorite hobby.
    The unique origins of pasta names. (Well, we like dictionary talk …)
    While you’re at it, brush up on current events that might be interesting to discuss. If you’re attending a work event, make sure you’re up-to-date on the latest industry news and goings-on at your company.

    3. Use open-ended questions.

    Asking a “yes or no” question is one of the fastest ways to kill a conversation because it doesn’t give you anything to build on. Instead, try to ask open-ended questions. These are questions that can’t be answered with a single word, and that means the other person has to expand on what they’re saying, giving you plenty of opportunities to latch onto something they say and keep the words flowing.

    4. Agree, then add something.

    If you’re at an event and someone makes an observation about your surroundings, the host, or even something totally unrelated, go with it. Their statement can be a good opportunity to add your own observations, establish a connection, and move forward into a conversation. First, affirm what they’ve said, then add your own take, and follow it up with an open-ended question that leaves room to move to a new topic. Here’s how it might look in action:

    Them: “This signature cocktail is pretty good, huh?”
    You: “It is. It really complements the appetizers. Have you tried them yet?”

    If you don’t happen to agree with what they’ve said, that’s okay! You can still politely acknowledge it and forge ahead.

    Them: “This signature cocktail is pretty good, huh?”
    You: “It’s very unique. My attention has been on the appetizers. Have you tried them yet?”

    5. Be complimentary.

    If you want to seem friendly and approachable, find nice things to say about others. (We happen to have some helpful synonyms for the word nice and tips for delivering sincere compliments.) People are more likely to be drawn to you if you’re open about pointing out how funny something they said was, how much you admire their sense of style, or how interested you are in their work. Compliments can also be a way to begin a conversation. Try something like this:

    “I just had to tell you, I love that tie! It’s so bold. I’m Eric, by the way. What’s your name?”
    “Dr. Stein, I’m Lexi Jones. I’m so thrilled to meet you. Your book was fascinating. Are you studying anything new?”
    “I’m Shawn. My sister said you’re an amazing artist. I’m so glad we ended up at the same table. Tell me about your work.”

    6. Let them teach you something.

    No one is an expert on every topic. If they mention something you don’t know much about, don’t let the conversation die there. Use it as an opportunity for conversation. People love to talk about themselves and things they’re passionate about, so express your curiosity and allow them to share more knowledge with you. Here are some ideas for how to do this:

    “I’ve never been fly-fishing before. What is it like?”
    “I’m not familiar with that program yet. Is it difficult to learn?”
    “I’ve been meaning to check out that band. Which album should I start with?”

    7. Use the ARE method.

    If you’re the kind of person who wishes there was an easy equation for small talk, we have good news. Some psychologists recommend the ARE method. ARE stands for anchor, reveal, and encourage.

    First, anchor yourself and the other person in the moment by making an observation about your shared location or experience. Next, reveal something about yourself in relation to the anchor, like how it makes you feel, something you’ve noticed, or something you’re interested in or excited about. Lastly, encourage participation from the other person by asking a related question. It will look like this:

    Anchor: “There are so many new faces at the conference this year.”
    Reveal: “I’m really inspired by all of the talent here.”
    Encourage: “Have you met anyone interesting so far?”

    8. Be real with it.

    If you’re feeling rusty at small talk, guess what? You are not alone. Most people struggle with talking to and getting to know new people, and it’s okay to admit that it’s hard. If you express that you’re not very good at small talk or feeling nervous in the situation, many people will find this relatable and it can start the conversation—which is the goal! It can be as simple as saying something like:

    “I’m terrible at small talk, but I’m really interested in speaking with you.”
    “I apologize in advance for any awkwardness. Small talk isn’t my strong suit, but I’m really curious about your work.”
    “Nothing like trying to make small talk with a table full of strangers, huh? How’s your night going?”

    9. Have an exit strategy.

    Sometimes you just need to get away. That’s okay. Making a smooth exit is also a part of being skilled at small talk. You could excuse yourself to the restroom or the buffet, but the easiest way to get out of a conversation is to be polite and direct. Let them know you enjoyed speaking with them and that you’re going to direct your attention to something else now.

    “It was lovely meeting you. I’m going to refresh my drink and check in with the host.”
    “Excuse me, but I just saw someone I need to speak with. It was nice chatting with you.”
    “I’m so glad we met. I hope to run into you again later on.”

    10. Practice often.

    For many of us, hating small talk also means avoiding it at all costs. The only problem is, this makes small talk harder when it can’t be avoided. Instead of fleeing from every situation that might require you to banter with strangers, try to see those as opportunities for more practice.

    Most small talk conversations have fairly low stakes. Practice introducing yourself, asking a few questions about the other person, and politely excusing yourself after a few moments. Before you know it, you’ll be a pro, and awkward silences will be a thing of the past.

    Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    10 Conversational Tips That Take The Stress Out Of Small Talk We’ve all been there: you’re at a party and trying to find an “in” to start an engaging conversation with someone you just met. Or, maybe it’s a professional conference, and you want to make an impression on a new contact you’d love to have in your network. You want to say the right thing, but your mind feels blank, like you’ve completely forgotten how to communicate with other human beings. Making small talk is a skill, and it’s not easy, but the good news is that there’s always time to learn. Think about the conversations you have with the people you like and know well. When talking with these people, you likely practice good conversational skills without even realizing it, like: Listening attentively. Being present. Trying not to repeat yourself. Showing interest. Going with the flow. The trick to making great small talk is to find ways to call upon those same friendly conversational skills, even when you’re speaking with someone you don’t know well, in a brand-new environment, or in an awkward or high-pressure situation. How do you do that? We’ve got your back. Here are 10 tips to improve your small talk game and make it look easy. 1. Start with an introduction. Sometimes the best way to break the ice is simply to introduce yourself. “Hi, I’m Pete, the groom’s brother. How do you know the couple?” “I’m Allison Smith, the head of sales at Office Corp. What company are you representing?” “My name’s Lupita. I’m in the theater program here at NYU. What’s your major?” It seems easy, but you’d be surprised how quickly people can forget a simple introduction when they’re fumbling for the best thing to say. If you start with your name and some information related to the event or something you might have in common, you create opportunities to learn something about them, which can help you launch effortlessly into a longer conversation. 2. Have some topics in the bank. It’s easy for your mind to go blank when you’re asked a question about yourself or trying to pull topics out of thin air, so make sure you always show up prepared. Think of three to five interesting things you’ve done recently that might make good conversation starters, such as: A new restaurant you’ve tried. A book you loved. A movie you’re really excited about. The last trip you took. What you did over the weekend. Your most recent professional development opportunity. Your favorite hobby. The unique origins of pasta names. (Well, we like dictionary talk …) While you’re at it, brush up on current events that might be interesting to discuss. If you’re attending a work event, make sure you’re up-to-date on the latest industry news and goings-on at your company. 3. Use open-ended questions. Asking a “yes or no” question is one of the fastest ways to kill a conversation because it doesn’t give you anything to build on. Instead, try to ask open-ended questions. These are questions that can’t be answered with a single word, and that means the other person has to expand on what they’re saying, giving you plenty of opportunities to latch onto something they say and keep the words flowing. 4. Agree, then add something. If you’re at an event and someone makes an observation about your surroundings, the host, or even something totally unrelated, go with it. Their statement can be a good opportunity to add your own observations, establish a connection, and move forward into a conversation. First, affirm what they’ve said, then add your own take, and follow it up with an open-ended question that leaves room to move to a new topic. Here’s how it might look in action: Them: “This signature cocktail is pretty good, huh?” You: “It is. It really complements the appetizers. Have you tried them yet?” If you don’t happen to agree with what they’ve said, that’s okay! You can still politely acknowledge it and forge ahead. Them: “This signature cocktail is pretty good, huh?” You: “It’s very unique. My attention has been on the appetizers. Have you tried them yet?” 5. Be complimentary. If you want to seem friendly and approachable, find nice things to say about others. (We happen to have some helpful synonyms for the word nice and tips for delivering sincere compliments.) People are more likely to be drawn to you if you’re open about pointing out how funny something they said was, how much you admire their sense of style, or how interested you are in their work. Compliments can also be a way to begin a conversation. Try something like this: “I just had to tell you, I love that tie! It’s so bold. I’m Eric, by the way. What’s your name?” “Dr. Stein, I’m Lexi Jones. I’m so thrilled to meet you. Your book was fascinating. Are you studying anything new?” “I’m Shawn. My sister said you’re an amazing artist. I’m so glad we ended up at the same table. Tell me about your work.” 6. Let them teach you something. No one is an expert on every topic. If they mention something you don’t know much about, don’t let the conversation die there. Use it as an opportunity for conversation. People love to talk about themselves and things they’re passionate about, so express your curiosity and allow them to share more knowledge with you. Here are some ideas for how to do this: “I’ve never been fly-fishing before. What is it like?” “I’m not familiar with that program yet. Is it difficult to learn?” “I’ve been meaning to check out that band. Which album should I start with?” 7. Use the ARE method. If you’re the kind of person who wishes there was an easy equation for small talk, we have good news. Some psychologists recommend the ARE method. ARE stands for anchor, reveal, and encourage. First, anchor yourself and the other person in the moment by making an observation about your shared location or experience. Next, reveal something about yourself in relation to the anchor, like how it makes you feel, something you’ve noticed, or something you’re interested in or excited about. Lastly, encourage participation from the other person by asking a related question. It will look like this: Anchor: “There are so many new faces at the conference this year.” Reveal: “I’m really inspired by all of the talent here.” Encourage: “Have you met anyone interesting so far?” 8. Be real with it. If you’re feeling rusty at small talk, guess what? You are not alone. Most people struggle with talking to and getting to know new people, and it’s okay to admit that it’s hard. If you express that you’re not very good at small talk or feeling nervous in the situation, many people will find this relatable and it can start the conversation—which is the goal! It can be as simple as saying something like: “I’m terrible at small talk, but I’m really interested in speaking with you.” “I apologize in advance for any awkwardness. Small talk isn’t my strong suit, but I’m really curious about your work.” “Nothing like trying to make small talk with a table full of strangers, huh? How’s your night going?” 9. Have an exit strategy. Sometimes you just need to get away. That’s okay. Making a smooth exit is also a part of being skilled at small talk. You could excuse yourself to the restroom or the buffet, but the easiest way to get out of a conversation is to be polite and direct. Let them know you enjoyed speaking with them and that you’re going to direct your attention to something else now. “It was lovely meeting you. I’m going to refresh my drink and check in with the host.” “Excuse me, but I just saw someone I need to speak with. It was nice chatting with you.” “I’m so glad we met. I hope to run into you again later on.” 10. Practice often. For many of us, hating small talk also means avoiding it at all costs. The only problem is, this makes small talk harder when it can’t be avoided. Instead of fleeing from every situation that might require you to banter with strangers, try to see those as opportunities for more practice. Most small talk conversations have fairly low stakes. Practice introducing yourself, asking a few questions about the other person, and politely excusing yourself after a few moments. Before you know it, you’ll be a pro, and awkward silences will be a thing of the past. Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 822 มุมมอง 0 รีวิว
  • 26 Types of Punctuation Marks & Typographical Symbols

    We use words in writing. Shocking, I know! Do you know what else we use in writing? Here is a hint: they have already appeared in this paragraph. In addition to words, we use many different symbols and characters to organize our thoughts and make text easier to read. All of these symbols come in two major categories: punctuation marks and typographical symbols. These symbols have many different uses and include everything from the humble period (.) to the rarely used caret symbol (^). There may even be a few symbols out there that you’ve never even heard of before that leave you scratching your head when you see them on your keyboard!

    What is punctuation?

    Punctuation is the act or system of using specific marks or symbols in writing to separate different elements from each other or to make writing more clear. Punctuation is used in English and the other languages that use the Latin alphabet. Many other writing systems also use punctuation, too. Thanks to punctuation, we don’t have to suffer through a block of text that looks like this:

    - My favorite color is red do you like red red is great my sister likes green she always says green is the color of champions regardless of which color is better we both agree that no one likes salmon which is a fish and not a color seriously.

    Punctuation examples

    The following sentences give examples of the many different punctuation marks that we use:

    - My dog, Bark Scruffalo, was featured in a superhero movie.
    - If there’s something strange in your neighborhood, who are you going to call?
    - A wise man once said, “Within the body of every person lies a skeleton.”
    - Hooray! I found everything on the map: the lake, the mountain, and the forest.
    - I told Ashley (if that was her real name) that I needed the copy lickety-split.

    What is a typographical symbol?

    The term typographical symbol, or any other number of phrases, refers to a character or symbol that isn’t considered to be a punctuation mark but may still be used in writing for various purposes. Typographical symbols are generally avoided in formal writing under most circumstances. However, you may see typographic symbols used quite a bit in informal writing.

    Typographical symbol examples

    The following examples show some ways that a writer might use typographical symbols. Keep in mind that some of these sentences may not be considered appropriate in formal writing.

    - The frustrated actor said she was tired of her co-star’s “annoying bull****.”
    - For questions, email us at anascabana@bananacabanas.fake!
    - The band had five #1 singles on the American music charts during the 1990s.
    - My internet provider is AT&T.

    Punctuation vs. typographical symbols

    Punctuation marks are considered part of grammar and often have well-established rules for how to use them properly. For example, the rules of proper grammar state that a letter after a period should be capitalized and that a comma must be used before a coordinating conjunction.

    Typographical symbols, on the other hand, may not have widely accepted rules for how, or even when, they should be used. Generally speaking, most grammar resources will only allow the use of typographical symbols under very specific circumstances and will otherwise advise a writer to avoid using them.

    Types of punctuation and symbols

    There are many different types of punctuation marks and typographical symbols. We’ll briefly touch on them now, but you can learn more about of these characters by checking out the links in this list and also each section below:

    Period
    Question mark
    Exclamation point
    Comma
    Colon
    Semicolon
    Hyphen
    En dash
    Em dash
    Parentheses
    Square brackets
    Curly brackets
    Angle brackets
    Quotation marks
    Apostrophe
    Slash
    Ellipses
    Asterisk
    Ampersand
    Bullet point
    Pound symbol
    Tilde
    Backslash
    At symbol
    Caret symbol
    Pipe symbol

    Period, question mark, and exclamation point

    These three commonly used punctuation marks are used for the same reason: to end an independent thought.

    Period (.)

    A period is used to end a declarative sentence. A period indicates that a sentence is finished.

    Today is Friday.

    Unique to them, periods are also often used in abbreviations.

    Prof. Dumbledore once again awarded a ludicrous amount of points to Gryffindor.

    Question mark (?)

    The question mark is used to end a question, also known as an interrogative sentence.

    Do you feel lucky?

    Exclamation point (!)

    The exclamation point is used at the end of exclamations and interjections.

    Our house is haunted!
    Wow!

    Comma, colon, and semicolon

    Commas, colons, and semicolons can all be used to connect sentences together.

    Comma (,)

    The comma is often the punctuation mark that gives writers the most problems. It has many different uses and often requires good knowledge of grammar to avoid making mistakes when using it. Some common uses of the comma include:

    Joining clauses: Mario loves Peach, and she loves him.
    Nonrestrictive elements: My favorite team, the Fighting Mongooses, won the championship this year.
    Lists: The flag was red, white, and blue.
    Coordinate adjectives: The cute, happy puppy licked my hand.

    Colon (:)

    The colon is typically used to introduce additional information.

    The detective had three suspects: the salesman, the gardener, and the lawyer.

    Like commas, colons can also connect clauses together.

    We forgot to ask the most important question: who was buying lunch?

    Colons have a few other uses, too.

    The meeting starts at 8:15 p.m.
    The priest started reading from Mark 3:6.

    Semicolon (;)

    Like the comma and the colon, the semicolon is used to connect sentences together. The semicolon typically indicates that the second sentence is closely related to the one before it.

    I can’t eat peanuts; I am highly allergic to them.
    Lucy loves to eat all kinds of sweets; lollipops are her favorite.

    Hyphen and dashes (en dash and em dash)

    All three of these punctuation marks are often referred to as “dashes.” However, they are all used for entirely different reasons.

    Hyphen (-)

    The hyphen is used to form compound words.

    I went to lunch with my father-in-law.
    She was playing with a jack-in-the-box.
    He was accused of having pro-British sympathies.

    En dash (–)

    The en dash is used to express ranges or is sometimes used in more complex compound words.

    The homework exercises are on pages 20–27.
    The songwriter had worked on many Tony Award–winning productions.

    Em dash (—)

    The em dash is used to indicate a pause or interrupted speech.

    The thief was someone nobody expected—me!
    “Those kids will—” was all he managed to say before he was hit by a water balloon.
    Test your knowledge on the different dashes here.

    Parentheses, brackets, and braces

    These pairs of punctuation marks look similar, but they all have different uses. In general, the parentheses are much more commonly used than the others.

    Parentheses ()

    Typically, parentheses are used to add additional information.

    I thought (for a very long time) if I should actually give an honest answer.
    Tomorrow is Christmas (my favorite holiday)!
    Parentheses have a variety of other uses, too.

    Pollution increased significantly. (See Chart 14B)
    He was at an Alcoholics Anonymous (AA) meeting.
    Richard I of England (1157–1199) had the heart of a lion.

    Square brackets []

    Typically, square brackets are used to clarify or add information to quotations.

    According to an eyewitness, the chimpanzees “climbed on the roof and juggled [bananas].”
    The judge said that “the defense attorney [Mr. Wright] had made it clear that the case was far from closed.”

    Curly brackets {}

    Curly brackets, also known as braces, are rarely used punctuation marks that are used to group a set.

    I was impressed by the many different colors {red, green, yellow, blue, purple, black, white} they selected for the flag’s design.

    Angle brackets <>

    Angle brackets have no usage in formal writing and are rarely ever used even in informal writing. These characters have more uses in other fields, such as math or computing.

    Quotation marks and apostrophe

    You’ll find these punctuation marks hanging out at the top of a line of text.

    Quotation marks (“”)

    The most common use of quotation marks is to contain quotations.

    She said, “Don’t let the dog out of the house.”
    Bob Ross liked to put “happy little trees” in many of his paintings.

    Apostrophe (‘)

    The apostrophe is most often used to form possessives and contractions.

    The house’s back door is open.
    My cousin’s birthday is next week.
    It isn’t ready yet.
    We should’ve stayed outside.

    Slash and ellipses

    These are two punctuation marks you may not see too often, but they are still useful.

    Slash (/)

    The slash has several different uses. Here are some examples:

    Relationships: The existence of boxer briefs somehow hasn’t ended the boxers/briefs debate.
    Alternatives: They accept cash and/or credit.
    Fractions: After an hour, 2/3 of the audience had already left.

    Ellipses (…)

    In formal writing, ellipses are used to indicate that words were removed from a quote.

    The mayor said, “The damages will be … paid for by the city … as soon as possible.”
    In informal writing, ellipses are often used to indicate pauses or speech that trails off.

    He nervously stammered and said, “Look, I … You see … I wasn’t … Forget it, okay.”

    Typographical symbols

    Typographical symbols rarely appear in formal writing. You are much more likely to see them used for a variety of reasons in informal writing.

    Asterisk (*)

    In formal writing, especially academic and scientific writing, the asterisk is used to indicate a footnote.

    Chocolate is the preferred flavor of ice cream.*
    *According to survey data from the Ice Cream Data Center.

    The asterisk may also be used to direct a reader toward a clarification or may be used to censor inappropriate words or phrases.

    Ampersand (&)

    The ampersand substitutes for the word and. Besides its use in the official names of things, the ampersand is typically avoided in formal writing.

    The band gave a speech at the Rock & Roll Hall of Fame.

    Bullet Point (•)

    Bullet points are used to create lists. For example,

    For this recipe you will need:

    • eggs
    • milk
    • sugar
    • flour
    • baking powder

    Pound symbol (#)

    Informally, the pound symbol is typically used to mean number or is used in social media hashtags.

    The catchy pop song reached #1 on the charts.
    Ready 4 Halloween 2morrow!!! #spooky #TrickorTreat
    Tilde (~)

    Besides being used as an accent mark in Spanish and Portuguese words, the tilde is rarely used. Informally, a person may use it to mean “about” or “approximately.”

    We visited São Paulo during our vacation.
    I think my dog weighs ~20 pounds.

    Backslash (\)

    The backslash is primarily used in computer programming and coding. It might be used online and in texting to draw emoticons, but it has no other common uses in writing. Be careful not to mix it up with the similar forward slash (/), which is a punctuation mark.

    At symbol (@)

    The at symbol substitutes for the word at in informal writing. In formal writing, it is used when writing email addresses.

    His email address is duckduck@goose.abc.

    Caret symbol (^)

    The caret symbol is used in proofreading, but may be used to indicate an exponent if a writer is unable to use superscript.

    Do you know what 3^4 (34) is equal to?

    Pipe symbol (|)

    The pipe symbol is not used in writing. Instead, it has a variety of functions in the fields of math, physics, or computing.

    Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    26 Types of Punctuation Marks & Typographical Symbols We use words in writing. Shocking, I know! Do you know what else we use in writing? Here is a hint: they have already appeared in this paragraph. In addition to words, we use many different symbols and characters to organize our thoughts and make text easier to read. All of these symbols come in two major categories: punctuation marks and typographical symbols. These symbols have many different uses and include everything from the humble period (.) to the rarely used caret symbol (^). There may even be a few symbols out there that you’ve never even heard of before that leave you scratching your head when you see them on your keyboard! What is punctuation? Punctuation is the act or system of using specific marks or symbols in writing to separate different elements from each other or to make writing more clear. Punctuation is used in English and the other languages that use the Latin alphabet. Many other writing systems also use punctuation, too. Thanks to punctuation, we don’t have to suffer through a block of text that looks like this: - My favorite color is red do you like red red is great my sister likes green she always says green is the color of champions regardless of which color is better we both agree that no one likes salmon which is a fish and not a color seriously. Punctuation examples The following sentences give examples of the many different punctuation marks that we use: - My dog, Bark Scruffalo, was featured in a superhero movie. - If there’s something strange in your neighborhood, who are you going to call? - A wise man once said, “Within the body of every person lies a skeleton.” - Hooray! I found everything on the map: the lake, the mountain, and the forest. - I told Ashley (if that was her real name) that I needed the copy lickety-split. What is a typographical symbol? The term typographical symbol, or any other number of phrases, refers to a character or symbol that isn’t considered to be a punctuation mark but may still be used in writing for various purposes. Typographical symbols are generally avoided in formal writing under most circumstances. However, you may see typographic symbols used quite a bit in informal writing. Typographical symbol examples The following examples show some ways that a writer might use typographical symbols. Keep in mind that some of these sentences may not be considered appropriate in formal writing. - The frustrated actor said she was tired of her co-star’s “annoying bull****.” - For questions, email us at anascabana@bananacabanas.fake! - The band had five #1 singles on the American music charts during the 1990s. - My internet provider is AT&T. Punctuation vs. typographical symbols Punctuation marks are considered part of grammar and often have well-established rules for how to use them properly. For example, the rules of proper grammar state that a letter after a period should be capitalized and that a comma must be used before a coordinating conjunction. Typographical symbols, on the other hand, may not have widely accepted rules for how, or even when, they should be used. Generally speaking, most grammar resources will only allow the use of typographical symbols under very specific circumstances and will otherwise advise a writer to avoid using them. Types of punctuation and symbols There are many different types of punctuation marks and typographical symbols. We’ll briefly touch on them now, but you can learn more about of these characters by checking out the links in this list and also each section below: Period Question mark Exclamation point Comma Colon Semicolon Hyphen En dash Em dash Parentheses Square brackets Curly brackets Angle brackets Quotation marks Apostrophe Slash Ellipses Asterisk Ampersand Bullet point Pound symbol Tilde Backslash At symbol Caret symbol Pipe symbol Period, question mark, and exclamation point These three commonly used punctuation marks are used for the same reason: to end an independent thought. Period (.) A period is used to end a declarative sentence. A period indicates that a sentence is finished. Today is Friday. Unique to them, periods are also often used in abbreviations. Prof. Dumbledore once again awarded a ludicrous amount of points to Gryffindor. Question mark (?) The question mark is used to end a question, also known as an interrogative sentence. Do you feel lucky? Exclamation point (!) The exclamation point is used at the end of exclamations and interjections. Our house is haunted! Wow! Comma, colon, and semicolon Commas, colons, and semicolons can all be used to connect sentences together. Comma (,) The comma is often the punctuation mark that gives writers the most problems. It has many different uses and often requires good knowledge of grammar to avoid making mistakes when using it. Some common uses of the comma include: Joining clauses: Mario loves Peach, and she loves him. Nonrestrictive elements: My favorite team, the Fighting Mongooses, won the championship this year. Lists: The flag was red, white, and blue. Coordinate adjectives: The cute, happy puppy licked my hand. Colon (:) The colon is typically used to introduce additional information. The detective had three suspects: the salesman, the gardener, and the lawyer. Like commas, colons can also connect clauses together. We forgot to ask the most important question: who was buying lunch? Colons have a few other uses, too. The meeting starts at 8:15 p.m. The priest started reading from Mark 3:6. Semicolon (;) Like the comma and the colon, the semicolon is used to connect sentences together. The semicolon typically indicates that the second sentence is closely related to the one before it. I can’t eat peanuts; I am highly allergic to them. Lucy loves to eat all kinds of sweets; lollipops are her favorite. Hyphen and dashes (en dash and em dash) All three of these punctuation marks are often referred to as “dashes.” However, they are all used for entirely different reasons. Hyphen (-) The hyphen is used to form compound words. I went to lunch with my father-in-law. She was playing with a jack-in-the-box. He was accused of having pro-British sympathies. En dash (–) The en dash is used to express ranges or is sometimes used in more complex compound words. The homework exercises are on pages 20–27. The songwriter had worked on many Tony Award–winning productions. Em dash (—) The em dash is used to indicate a pause or interrupted speech. The thief was someone nobody expected—me! “Those kids will—” was all he managed to say before he was hit by a water balloon. Test your knowledge on the different dashes here. Parentheses, brackets, and braces These pairs of punctuation marks look similar, but they all have different uses. In general, the parentheses are much more commonly used than the others. Parentheses () Typically, parentheses are used to add additional information. I thought (for a very long time) if I should actually give an honest answer. Tomorrow is Christmas (my favorite holiday)! Parentheses have a variety of other uses, too. Pollution increased significantly. (See Chart 14B) He was at an Alcoholics Anonymous (AA) meeting. Richard I of England (1157–1199) had the heart of a lion. Square brackets [] Typically, square brackets are used to clarify or add information to quotations. According to an eyewitness, the chimpanzees “climbed on the roof and juggled [bananas].” The judge said that “the defense attorney [Mr. Wright] had made it clear that the case was far from closed.” Curly brackets {} Curly brackets, also known as braces, are rarely used punctuation marks that are used to group a set. I was impressed by the many different colors {red, green, yellow, blue, purple, black, white} they selected for the flag’s design. Angle brackets <> Angle brackets have no usage in formal writing and are rarely ever used even in informal writing. These characters have more uses in other fields, such as math or computing. Quotation marks and apostrophe You’ll find these punctuation marks hanging out at the top of a line of text. Quotation marks (“”) The most common use of quotation marks is to contain quotations. She said, “Don’t let the dog out of the house.” Bob Ross liked to put “happy little trees” in many of his paintings. Apostrophe (‘) The apostrophe is most often used to form possessives and contractions. The house’s back door is open. My cousin’s birthday is next week. It isn’t ready yet. We should’ve stayed outside. Slash and ellipses These are two punctuation marks you may not see too often, but they are still useful. Slash (/) The slash has several different uses. Here are some examples: Relationships: The existence of boxer briefs somehow hasn’t ended the boxers/briefs debate. Alternatives: They accept cash and/or credit. Fractions: After an hour, 2/3 of the audience had already left. Ellipses (…) In formal writing, ellipses are used to indicate that words were removed from a quote. The mayor said, “The damages will be … paid for by the city … as soon as possible.” In informal writing, ellipses are often used to indicate pauses or speech that trails off. He nervously stammered and said, “Look, I … You see … I wasn’t … Forget it, okay.” Typographical symbols Typographical symbols rarely appear in formal writing. You are much more likely to see them used for a variety of reasons in informal writing. Asterisk (*) In formal writing, especially academic and scientific writing, the asterisk is used to indicate a footnote. Chocolate is the preferred flavor of ice cream.* *According to survey data from the Ice Cream Data Center. The asterisk may also be used to direct a reader toward a clarification or may be used to censor inappropriate words or phrases. Ampersand (&) The ampersand substitutes for the word and. Besides its use in the official names of things, the ampersand is typically avoided in formal writing. The band gave a speech at the Rock & Roll Hall of Fame. Bullet Point (•) Bullet points are used to create lists. For example, For this recipe you will need: • eggs • milk • sugar • flour • baking powder Pound symbol (#) Informally, the pound symbol is typically used to mean number or is used in social media hashtags. The catchy pop song reached #1 on the charts. Ready 4 Halloween 2morrow!!! #spooky #TrickorTreat Tilde (~) Besides being used as an accent mark in Spanish and Portuguese words, the tilde is rarely used. Informally, a person may use it to mean “about” or “approximately.” We visited São Paulo during our vacation. I think my dog weighs ~20 pounds. Backslash (\) The backslash is primarily used in computer programming and coding. It might be used online and in texting to draw emoticons, but it has no other common uses in writing. Be careful not to mix it up with the similar forward slash (/), which is a punctuation mark. At symbol (@) The at symbol substitutes for the word at in informal writing. In formal writing, it is used when writing email addresses. His email address is duckduck@goose.abc. Caret symbol (^) The caret symbol is used in proofreading, but may be used to indicate an exponent if a writer is unable to use superscript. Do you know what 3^4 (34) is equal to? Pipe symbol (|) The pipe symbol is not used in writing. Instead, it has a variety of functions in the fields of math, physics, or computing. Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1222 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถิงจ้าง - การโบยพระราชทานสวัสดีค่ะ เพื่อนเพจที่ได้ดู <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร ภาค 2> คงจำได้ถึงเรื่องราวตอนที่ผู้ตรวจการล่ายหมิงเฉิงร้องเรียนฮ่องเต้ว่าประพฤติตนไม่ถูกต้อง (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์ในบทความนี้) ฮ่องเต้เลย ‘ตกรางวัล’ ให้เป็นการลงทัณฑ์ด้วยการโบยพร้อมกับคำพูดที่ว่า ยอมเสื่อมเสียชื่อเสียงของตนเองเพื่อให้ผู้ตรวจการล่ายมีชื่อจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ การลงทัณฑ์ด้วยการโบยตีเป็นสิ่งที่เราคุ้นเคยจากหลายซีรีส์และนิยายจีน การลงทัณฑ์นี้ทั่วไปเรียกว่า ‘จ้างสิง’ (杖刑) เป็นวิธีการลงทัณฑ์ที่ถูกบัญญัติเข้าไปในกฎหมาย เพียงแต่รูปแบบและรายละเอียดอาจแตกต่างกันไปตามยุคสมัย แต่ที่วันนี้จะคุยถึงคือการโบยที่เรียกว่า ‘ถิงจ้าง’ (廷杖) ซึ่งเป็นกรณีที่เราเห็นในเรื่อง <หาญชะตาฯ 2> ที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น ‘จ้าง’ แปลว่าตีด้วยไม้ ส่วน ‘ถิง’ หมายถึงส่วนของพระราชวังที่ฮ่องเต้ใช้ทรงงานและประชุมกับขุนนางหรือหมายถึงราชสำนัก ดังนั้น ‘ถิงจ้าง’ จึงเป็นศัพท์เฉพาะที่ใช้หมายถึงการโบยขุนนางระดับสูงหน้าพระที่นั่งและเป็นคำสั่งของฮ่องเต้เท่านั้น การลงทัณฑ์ด้วยการโบยตามคำสั่งของฮ่องเต้มีมาตั้งแต่สมัยฮั่น แต่จากสมัยฮั่นจนถึงสมัยหยวนเกิดกรณีอย่างนี้น้อยมาก มันไม่ได้มีกฎเกณฑ์ตายตัวและไม่ใช่บทลงโทษตามกฎหมาย หากแต่เป็นอำนาจของฮ่องเต้ที่จะเลือกใช้ได้ตามความต้องการและสั่งลงทัณฑ์ได้เลยโดยไม่ผ่านขั้นตอนพิจารณาความผิดตามกฎหมาย ต่อมาในสมัยหมิงมีการถิงจ้างหน้าพระที่นั่งบ่อยมากโดยเฉพาะช่วงครึ่งหลังของราชวงศ์และมีการกำหนดกฎเกณฑ์อย่างชัดเจน จริงๆ แล้วแรกเริ่มเลย การถิงจ้างในสมัยหมิงไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อลงโทษสถานหนัก หากแต่เป็นการสร้างความอัปยศอดสูให้แก่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ เพราะว่าหลักปฏิบัติแต่ไหนแต่ไรมาคือไม่ลงทัณฑ์ขุนนาง หากจะลงทัณฑ์จะปลดออกจากตำแหน่งก่อน ดังนั้น การที่ขุนนางถูกถกชุดชั้นนอกออกแล้วโบยก้นอีกทั้งทำต่อหน้าขุนนางด้วยกันนั้นจึงเป็นเรื่องอัปยศมาก ซึ่งเหตุการณ์แรกเกิดขึ้นในรัชสมัยขององค์หมิงไท่จู่ (จูหยวนจาง) เป็นช่วงตอนที่เพิ่งครองราชย์ได้สักแปดปี (ค.ศ. 1376) เหตุการณ์นี้เป็นเรื่องของขุนนางจากกระทรวงราชทัณฑ์นามว่าหรูไท่ซู่ เขาถวายฎีกาฉบับหนึ่งยาวถึงหมื่นกว่าอักษรร้องเรียนการขาดแคลนข้าราชการที่มีคุณภาพ ซึ่งยาวจนองค์หมิงไท่จู่ต้องให้คนอ่านให้ฟัง ฟังๆ ไปก็รู้สึกว่าน้ำเยอะเนื้อน้อย ถ้อยคำที่ใช้ก็ยิ่งฟังไม่เข้าหู อุตส่าห์เรียกให้หรู่ไท่ซู่มานั่งคุยให้ฟัง แต่ก็ทนไม่ได้กับการพูดวกไปวนมา ว่ากันว่า ยังมีถ้อยคำที่ฟังดูเหมือนยกให้บัณฑิตสูงส่งกว่าซึ่งไม่เข้าหูฮ่องเต้ที่มีพื้นเพเป็นลูกชาวนา สุดท้ายฮ่องเต้โกรธจัดเลยสั่งให้โบยก้นต่อหน้าข้าราชสำนักในท้องพระโรง ในบันทึกไม่ได้เขียนไว้ว่าโบยไปกี่ครั้ง ต่อมาภายหลังองค์หมิงไท่จู่ไตร่ตรองทบทวนเห็นว่าบางข้อเสนอของฎีกานั้นน่าสนใจจึงเอาไปใช้ จึงกลายเป็นว่าความผิดที่ทำให้หรูไท่ซู่ถูกถิงจ้างไม่ใช่เป็นเพราะสาระ แต่เป็นเพราะเขียนยาวเกินไปทำให้สิ้นเปลืองเวลาของฮ่องเต้ เนื้อหาที่เขียนได้ภายในห้าร้อยอักษรกลับเขียนยาวถึงหมื่นอักษร และเพราะเหตุการณ์นี้องค์หมิงไท่จู่จึงให้มีการกำหนดรูปแบบของการเขียนฎีกาขึ้นเพื่อไม่ให้เกิดปัญหานี้อีก การโบยเพื่อสร้างความอัปยศเป็นการแสดงอำนาจของฮ่องเต้เมื่อถูกหมิ่นหรือขัดใจโดยขุนนาง แต่กลับกลายเป็นวัฒนธรรมที่ขุนนางมองว่าการถูกถิงจ้างนี้เป็นการแสดงความกล้าหาญและเป็นสิ่งที่ควรทำ ต่อมาการถิงจ้างจึงเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตายได้ แน่นอนว่าการสั่งโบยได้เลยโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการไต่สวนพิพากษาตามกฎหมายก็กลายเป็นอำนาจเบ็ดเสร็จที่ฮ่องเต้ใช้ควบคุมขุนนางไม่ให้กระด้างกระเดื่อง จะตีเมื่อไหร่ ตีกี่ครั้ง ตีหนักตีเบา ล้วนแล้วแต่ฮ่องเต้จะกำหนดเอง ถิงจ้างกลายเป็นภาพที่เห็นบ่อยในราชสำนักเมื่อเข้าสู่ช่วงกลางราชวงศ์หมิง สถานที่ลงทัณฑ์เปลี่ยนจากในท้องพระโรงมาเป็นริมทางเดินเข้าวังด้านประตูอู่เหมิน ซึ่งก็คือประตูด้านหน้าของวัง และถิงจ้างทวีความรุนแรงมากขึ้นในรัชสมัยของฮ่องเต้หมิงอู่จง (ฮ่องเต้องค์ที่สิบเอ็ด) เมื่อมีการเปลี่ยนกฎไม่ให้วางเบาะรองและผู้ถูกโบยห้ามใส่กางเกง ตลอดการครองราชย์สิบหกปีขององค์หมิงอู่จงนั้น มีคนถูกถิงจ้างทั้งสิ้นกว่าหนึ่งร้อยคน ตายสิบเอ็ดคน และนี่เป็นรัชสมัยที่เริ่มใช้ถิงจ้างกับคนจากสำนักผู้ตรวจการ ในรายละเอียดมีเรื่องการใช้อำนาจเกินควรของกลุ่มขันที แต่ Storyฯ ขอไม่เล่าเพราะเรื่องยาวและออกนอกประเด็นเหตุการณ์ถิงจ้างที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์จีนเกิดขึ้นในรัชสมัยของฮ่องเต้หมิงซื่อจง (ฮ่องเต้องค์ที่ สิบสอง) เมื่อปีค.ศ. 1525 เพราะเป็นการโบยพร้อมกันถึงหนึ่งร้อยสามสิบสี่คน มีคนตายในระหว่างโบยสิบเจ็ดคน (หมายเหตุ เรื่องจำนวนคนแตกต่างกันในหลายบทความ แต่ตัวเลขนี้ Storyฯ ใช้ตามเอกสารของพิพิธภัณฑ์วังต้องห้าม)เรื่องมีอยู่ว่าฮ่องเต้หมิงซื่อจงไม่ใช่ลูกของฮ่องเต้องค์ก่อนคือฮ่องเต้หมิงอู่จง หากแต่มีศักดิ์เป็นหลานลุง ตามธรรมเนียมเมื่อหมิงซื่อจงขึ้นครองราชย์แล้วก็ต้องรับฮ่องเต้หมิงอู่จงเป็นพ่อ ส่วนพ่อแม่ตัวเองก็ต้องกลายเป็นน้าและน้าสะใภ้ นี่คือธรรมเนียมปฏิบัติ แต่องค์หมิงซื่อจงไม่ยอม ยืนยันจะคงไว้ว่าฮ่องเต้หมิงอู่จงเป็นลุง ขุนนางสองร้อยสามสิบคนคุกเข่าอ้อนวอนอยู่หน้าประตูพระที่นั่งเพื่อหวังจะบีบให้ฮ่องเต้เปลี่ยนใจ สุดท้ายขุนนางขั้นที่ห้าขึ้นไปโดนปลด ที่เหลือโดนโบยหมู่และเนรเทศ ในการถิงจ้างสมัยหมิงนั้น ผู้ที่มีหน้าที่โบยคือขันทีหรือองครักษ์เสื้อแพร ว่ากันว่าจริงจังถึงขนาดฝึกซ้อมโบยโดยใช้หุ่นฟางยัดไส้แผ่นกระเบื้องแล้วห่อด้วยกระดาษ ต้องฝึกจนสามารถตีให้กระเบื้องข้างในแตกละเอียดได้โดยที่กระดาษหุ้มข้างนอกไม่ขาด! ที่ต้องฝึกเพราะคำสั่งโบยมีสองแบบคือ ‘ตีอย่างใส่ใจ’ (用心打) และ ‘ตีอย่างจริงจัง’ (着实打) ซึ่งแบบแรกคือไม่ให้เจ็บมากและแบบหลังคือจัดเต็ม และเนื่องจากมันต้องใช้แรงมาก จะมีการเปลี่ยนคนโบยทุกๆ ห้าครั้งจากที่ Storyฯ อ่านเจอมา ไม้ที่ใช้โบยนั้นทำจากไม้เนื้อแข็งอย่างไม้เกาลัด หน้าตาของมันมีสองแบบ แบบแรกคือไม้พลองที่มีปลายแบนหน้าตาเหมือนไม้พาย แบบที่สองฟังดูโหดร้ายคือเป็นไม้พลองที่มีปลายหุ้มด้วยแผ่นเหล็กบากเป็นรอยตะปุ่มตะป่ำ เป็นที่มาว่าทำไมคนจึงถูกโบยจนเนื้อก้นเละเหวอะหวะได้ ว่ากันว่าถูกโบยสิบพลองก็ทำต้องพักติดเตียงเป็นแรมเดือนแล้ว(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://reading.udn.com/read/story/7046/7952824https://www.163.com/dy/article/J2USN6TV0517QCSB.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.dpm.org.cn/Uploads/pdf/1942/T00017_00.pdf https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_1800722 https://www.hunantoday.cn/news/xhn/202310/18872283.html https://www.sohu.com/a/771696490_121165427 https://www.sohu.com/a/773532850_121921623 https://www.163.com/dy/article/G86EPNJQ0528NB1M.html #หาญท้าชะตาฟ้า #ถิงจ้าง #โบยตี #ลงทัณฑ์พระราชทาน #จูหยวนจาง
    ถิงจ้าง - การโบยพระราชทานสวัสดีค่ะ เพื่อนเพจที่ได้ดู <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร ภาค 2> คงจำได้ถึงเรื่องราวตอนที่ผู้ตรวจการล่ายหมิงเฉิงร้องเรียนฮ่องเต้ว่าประพฤติตนไม่ถูกต้อง (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์ในบทความนี้) ฮ่องเต้เลย ‘ตกรางวัล’ ให้เป็นการลงทัณฑ์ด้วยการโบยพร้อมกับคำพูดที่ว่า ยอมเสื่อมเสียชื่อเสียงของตนเองเพื่อให้ผู้ตรวจการล่ายมีชื่อจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ การลงทัณฑ์ด้วยการโบยตีเป็นสิ่งที่เราคุ้นเคยจากหลายซีรีส์และนิยายจีน การลงทัณฑ์นี้ทั่วไปเรียกว่า ‘จ้างสิง’ (杖刑) เป็นวิธีการลงทัณฑ์ที่ถูกบัญญัติเข้าไปในกฎหมาย เพียงแต่รูปแบบและรายละเอียดอาจแตกต่างกันไปตามยุคสมัย แต่ที่วันนี้จะคุยถึงคือการโบยที่เรียกว่า ‘ถิงจ้าง’ (廷杖) ซึ่งเป็นกรณีที่เราเห็นในเรื่อง <หาญชะตาฯ 2> ที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น ‘จ้าง’ แปลว่าตีด้วยไม้ ส่วน ‘ถิง’ หมายถึงส่วนของพระราชวังที่ฮ่องเต้ใช้ทรงงานและประชุมกับขุนนางหรือหมายถึงราชสำนัก ดังนั้น ‘ถิงจ้าง’ จึงเป็นศัพท์เฉพาะที่ใช้หมายถึงการโบยขุนนางระดับสูงหน้าพระที่นั่งและเป็นคำสั่งของฮ่องเต้เท่านั้น การลงทัณฑ์ด้วยการโบยตามคำสั่งของฮ่องเต้มีมาตั้งแต่สมัยฮั่น แต่จากสมัยฮั่นจนถึงสมัยหยวนเกิดกรณีอย่างนี้น้อยมาก มันไม่ได้มีกฎเกณฑ์ตายตัวและไม่ใช่บทลงโทษตามกฎหมาย หากแต่เป็นอำนาจของฮ่องเต้ที่จะเลือกใช้ได้ตามความต้องการและสั่งลงทัณฑ์ได้เลยโดยไม่ผ่านขั้นตอนพิจารณาความผิดตามกฎหมาย ต่อมาในสมัยหมิงมีการถิงจ้างหน้าพระที่นั่งบ่อยมากโดยเฉพาะช่วงครึ่งหลังของราชวงศ์และมีการกำหนดกฎเกณฑ์อย่างชัดเจน จริงๆ แล้วแรกเริ่มเลย การถิงจ้างในสมัยหมิงไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อลงโทษสถานหนัก หากแต่เป็นการสร้างความอัปยศอดสูให้แก่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ เพราะว่าหลักปฏิบัติแต่ไหนแต่ไรมาคือไม่ลงทัณฑ์ขุนนาง หากจะลงทัณฑ์จะปลดออกจากตำแหน่งก่อน ดังนั้น การที่ขุนนางถูกถกชุดชั้นนอกออกแล้วโบยก้นอีกทั้งทำต่อหน้าขุนนางด้วยกันนั้นจึงเป็นเรื่องอัปยศมาก ซึ่งเหตุการณ์แรกเกิดขึ้นในรัชสมัยขององค์หมิงไท่จู่ (จูหยวนจาง) เป็นช่วงตอนที่เพิ่งครองราชย์ได้สักแปดปี (ค.ศ. 1376) เหตุการณ์นี้เป็นเรื่องของขุนนางจากกระทรวงราชทัณฑ์นามว่าหรูไท่ซู่ เขาถวายฎีกาฉบับหนึ่งยาวถึงหมื่นกว่าอักษรร้องเรียนการขาดแคลนข้าราชการที่มีคุณภาพ ซึ่งยาวจนองค์หมิงไท่จู่ต้องให้คนอ่านให้ฟัง ฟังๆ ไปก็รู้สึกว่าน้ำเยอะเนื้อน้อย ถ้อยคำที่ใช้ก็ยิ่งฟังไม่เข้าหู อุตส่าห์เรียกให้หรู่ไท่ซู่มานั่งคุยให้ฟัง แต่ก็ทนไม่ได้กับการพูดวกไปวนมา ว่ากันว่า ยังมีถ้อยคำที่ฟังดูเหมือนยกให้บัณฑิตสูงส่งกว่าซึ่งไม่เข้าหูฮ่องเต้ที่มีพื้นเพเป็นลูกชาวนา สุดท้ายฮ่องเต้โกรธจัดเลยสั่งให้โบยก้นต่อหน้าข้าราชสำนักในท้องพระโรง ในบันทึกไม่ได้เขียนไว้ว่าโบยไปกี่ครั้ง ต่อมาภายหลังองค์หมิงไท่จู่ไตร่ตรองทบทวนเห็นว่าบางข้อเสนอของฎีกานั้นน่าสนใจจึงเอาไปใช้ จึงกลายเป็นว่าความผิดที่ทำให้หรูไท่ซู่ถูกถิงจ้างไม่ใช่เป็นเพราะสาระ แต่เป็นเพราะเขียนยาวเกินไปทำให้สิ้นเปลืองเวลาของฮ่องเต้ เนื้อหาที่เขียนได้ภายในห้าร้อยอักษรกลับเขียนยาวถึงหมื่นอักษร และเพราะเหตุการณ์นี้องค์หมิงไท่จู่จึงให้มีการกำหนดรูปแบบของการเขียนฎีกาขึ้นเพื่อไม่ให้เกิดปัญหานี้อีก การโบยเพื่อสร้างความอัปยศเป็นการแสดงอำนาจของฮ่องเต้เมื่อถูกหมิ่นหรือขัดใจโดยขุนนาง แต่กลับกลายเป็นวัฒนธรรมที่ขุนนางมองว่าการถูกถิงจ้างนี้เป็นการแสดงความกล้าหาญและเป็นสิ่งที่ควรทำ ต่อมาการถิงจ้างจึงเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตายได้ แน่นอนว่าการสั่งโบยได้เลยโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการไต่สวนพิพากษาตามกฎหมายก็กลายเป็นอำนาจเบ็ดเสร็จที่ฮ่องเต้ใช้ควบคุมขุนนางไม่ให้กระด้างกระเดื่อง จะตีเมื่อไหร่ ตีกี่ครั้ง ตีหนักตีเบา ล้วนแล้วแต่ฮ่องเต้จะกำหนดเอง ถิงจ้างกลายเป็นภาพที่เห็นบ่อยในราชสำนักเมื่อเข้าสู่ช่วงกลางราชวงศ์หมิง สถานที่ลงทัณฑ์เปลี่ยนจากในท้องพระโรงมาเป็นริมทางเดินเข้าวังด้านประตูอู่เหมิน ซึ่งก็คือประตูด้านหน้าของวัง และถิงจ้างทวีความรุนแรงมากขึ้นในรัชสมัยของฮ่องเต้หมิงอู่จง (ฮ่องเต้องค์ที่สิบเอ็ด) เมื่อมีการเปลี่ยนกฎไม่ให้วางเบาะรองและผู้ถูกโบยห้ามใส่กางเกง ตลอดการครองราชย์สิบหกปีขององค์หมิงอู่จงนั้น มีคนถูกถิงจ้างทั้งสิ้นกว่าหนึ่งร้อยคน ตายสิบเอ็ดคน และนี่เป็นรัชสมัยที่เริ่มใช้ถิงจ้างกับคนจากสำนักผู้ตรวจการ ในรายละเอียดมีเรื่องการใช้อำนาจเกินควรของกลุ่มขันที แต่ Storyฯ ขอไม่เล่าเพราะเรื่องยาวและออกนอกประเด็นเหตุการณ์ถิงจ้างที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์จีนเกิดขึ้นในรัชสมัยของฮ่องเต้หมิงซื่อจง (ฮ่องเต้องค์ที่ สิบสอง) เมื่อปีค.ศ. 1525 เพราะเป็นการโบยพร้อมกันถึงหนึ่งร้อยสามสิบสี่คน มีคนตายในระหว่างโบยสิบเจ็ดคน (หมายเหตุ เรื่องจำนวนคนแตกต่างกันในหลายบทความ แต่ตัวเลขนี้ Storyฯ ใช้ตามเอกสารของพิพิธภัณฑ์วังต้องห้าม)เรื่องมีอยู่ว่าฮ่องเต้หมิงซื่อจงไม่ใช่ลูกของฮ่องเต้องค์ก่อนคือฮ่องเต้หมิงอู่จง หากแต่มีศักดิ์เป็นหลานลุง ตามธรรมเนียมเมื่อหมิงซื่อจงขึ้นครองราชย์แล้วก็ต้องรับฮ่องเต้หมิงอู่จงเป็นพ่อ ส่วนพ่อแม่ตัวเองก็ต้องกลายเป็นน้าและน้าสะใภ้ นี่คือธรรมเนียมปฏิบัติ แต่องค์หมิงซื่อจงไม่ยอม ยืนยันจะคงไว้ว่าฮ่องเต้หมิงอู่จงเป็นลุง ขุนนางสองร้อยสามสิบคนคุกเข่าอ้อนวอนอยู่หน้าประตูพระที่นั่งเพื่อหวังจะบีบให้ฮ่องเต้เปลี่ยนใจ สุดท้ายขุนนางขั้นที่ห้าขึ้นไปโดนปลด ที่เหลือโดนโบยหมู่และเนรเทศ ในการถิงจ้างสมัยหมิงนั้น ผู้ที่มีหน้าที่โบยคือขันทีหรือองครักษ์เสื้อแพร ว่ากันว่าจริงจังถึงขนาดฝึกซ้อมโบยโดยใช้หุ่นฟางยัดไส้แผ่นกระเบื้องแล้วห่อด้วยกระดาษ ต้องฝึกจนสามารถตีให้กระเบื้องข้างในแตกละเอียดได้โดยที่กระดาษหุ้มข้างนอกไม่ขาด! ที่ต้องฝึกเพราะคำสั่งโบยมีสองแบบคือ ‘ตีอย่างใส่ใจ’ (用心打) และ ‘ตีอย่างจริงจัง’ (着实打) ซึ่งแบบแรกคือไม่ให้เจ็บมากและแบบหลังคือจัดเต็ม และเนื่องจากมันต้องใช้แรงมาก จะมีการเปลี่ยนคนโบยทุกๆ ห้าครั้งจากที่ Storyฯ อ่านเจอมา ไม้ที่ใช้โบยนั้นทำจากไม้เนื้อแข็งอย่างไม้เกาลัด หน้าตาของมันมีสองแบบ แบบแรกคือไม้พลองที่มีปลายแบนหน้าตาเหมือนไม้พาย แบบที่สองฟังดูโหดร้ายคือเป็นไม้พลองที่มีปลายหุ้มด้วยแผ่นเหล็กบากเป็นรอยตะปุ่มตะป่ำ เป็นที่มาว่าทำไมคนจึงถูกโบยจนเนื้อก้นเละเหวอะหวะได้ ว่ากันว่าถูกโบยสิบพลองก็ทำต้องพักติดเตียงเป็นแรมเดือนแล้ว(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://reading.udn.com/read/story/7046/7952824https://www.163.com/dy/article/J2USN6TV0517QCSB.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.dpm.org.cn/Uploads/pdf/1942/T00017_00.pdf https://m.thepaper.cn/newsDetail_forward_1800722 https://www.hunantoday.cn/news/xhn/202310/18872283.html https://www.sohu.com/a/771696490_121165427 https://www.sohu.com/a/773532850_121921623 https://www.163.com/dy/article/G86EPNJQ0528NB1M.html #หาญท้าชะตาฟ้า #ถิงจ้าง #โบยตี #ลงทัณฑ์พระราชทาน #จูหยวนจาง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 770 มุมมอง 0 รีวิว
  • การโมดิฟาย👉ไฟเบรค Spoiler(หม่นหมอง) ➜ สว่างแยงตา
    --------------------------------------------

    ปัญหาของไฟเบรคSpoiler คือ ไม่ค่อยสว่างเท่าที่ควร
    สาเหตุ..
    1. LED (สีแดง) โรงงานใช้ แบบธรรมดา ราคาถูก
    2. LED(สีแดง) ประสิทธิภาพต่ำ(หม่นหมอง)
    เหตุผล LED(สีแดง)สว่างน้อยกว่า LED(สีขาว) 4 เท่า

    MODIFY
    1. เปลี่ยน LED Superbright ให้เป็น (สีขาว)
    จะให้แสงสว่างแรงมากกว่า(สีแดง)ของเดิม 10 เท่า
    2. คำนวณ+เปลี่ยน Resistors ให้กระแสไหลผ่านLEDพอดี
    วิธีคำนวณ https://www.youtube.com/watch?v=pWJQuRboI4A
    2.1 ผลจากการคำนวณ ได้ 470 โอห์ม ก็สว่างดี+ทนทาน
    รับรองสว่างกว่าเดิม 10 เท่าอย่างแน่นอน
    2.2 เมื่อทดลองใช้ รีซิสเตอร์ 400 โอห์ม
    หลอดLED และ รีซิสเตอร์ จะอุ่นๆ-ร้อน อายุการใช้งานสั้น
    แลกกับ..สว่างแยงตา รถที่ตามหลัง โตกจัย..เบรคเอี๊ยด ด.




    ----------------------------------------
    Data Sheet LED Super Bright 5mm

    White: (สีขาว)
    Luminous Intensity: 12000-14000mcd
    Forward voltage: 3-3.4VDC
    ----------------------------------------
    Red:(สีแดง)
    Luminous Intensity: 3000-5000mcd
    Forward voltage: 2-2.4VDC
    การโมดิฟาย👉ไฟเบรค Spoiler(หม่นหมอง) ➜ สว่างแยงตา -------------------------------------------- ปัญหาของไฟเบรคSpoiler คือ ไม่ค่อยสว่างเท่าที่ควร สาเหตุ.. 1. LED (สีแดง) โรงงานใช้ แบบธรรมดา ราคาถูก 2. LED(สีแดง) ประสิทธิภาพต่ำ(หม่นหมอง) เหตุผล LED(สีแดง)สว่างน้อยกว่า LED(สีขาว) 4 เท่า MODIFY 1. เปลี่ยน LED Superbright ให้เป็น (สีขาว) จะให้แสงสว่างแรงมากกว่า(สีแดง)ของเดิม 10 เท่า 2. คำนวณ+เปลี่ยน Resistors ให้กระแสไหลผ่านLEDพอดี วิธีคำนวณ https://www.youtube.com/watch?v=pWJQuRboI4A 2.1 ผลจากการคำนวณ ได้ 470 โอห์ม ก็สว่างดี+ทนทาน รับรองสว่างกว่าเดิม 10 เท่าอย่างแน่นอน 2.2 เมื่อทดลองใช้ รีซิสเตอร์ 400 โอห์ม หลอดLED และ รีซิสเตอร์ จะอุ่นๆ-ร้อน อายุการใช้งานสั้น แลกกับ..สว่างแยงตา รถที่ตามหลัง โตกจัย..เบรคเอี๊ยด ด. ---------------------------------------- Data Sheet LED Super Bright 5mm White: (สีขาว) Luminous Intensity: 12000-14000mcd Forward voltage: 3-3.4VDC ---------------------------------------- Red:(สีแดง) Luminous Intensity: 3000-5000mcd Forward voltage: 2-2.4VDC
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • สุดยอดกลอนเจ็ด ‘ชีลวี่’ จาก <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาค1>สวัสดีค่ะ Storyฯ ย้อนกลับไปดูภาคแรกของ <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร> เพื่อทวนความทรงจำรอดูภาคสอง เชื่อว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูภาคแรกนี้ต้องจำได้ว่าในงานสังสรรค์ชมบทกวี พระเอกได้ยืมกลอนจากกวีเอกตู้ฝู่มาใช้โดยมั่นใจว่าจะไม่มีใครสามารถแต่งกลอนที่ดีกว่าได้เพราะกลอนบทนี้ของตู้ฝู่ถูกยกย่องให้เป็น ‘ที่สุด’ Storyฯ มั่นใจว่าเพื่อนเพจทั้งหลายที่เคยได้ยินคำแปลของกลอนบทนี้คง ‘เอ๊ะ’ เหมือนกันว่ามันเป็น ‘ที่สุด’ อย่างไร วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กันก่อนอื่นขอแนะนำเกี่ยวกับกวีตู้ฝู่และกลอนบทนี้ กวีตู้ฝู่เป็นกวีเอกสมัยถัง (ค.ศ. 712–770) ถูกยกย่องเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดกวีและถูกขนานนามว่า ‘ราชันกวี’ และกลอนบทนี้มีชื่อว่า ‘เติงเกา’ (登高 แปลว่าปีนขึ้นที่สูง) เบื้องหลังของกลอนนี้คือ เป็นช่วงปี ค.ศ. 766 ซึ่งผ่านเหตุการณ์กบฏอันลู่ซานไปได้หลายปีแล้วแต่บ้านเมืองยังไม่สงบ สหายต่างสิ้นชีพกันไปเกือบหมด ตัวตู้ฝู่เองก็มีโรครุมเร้า เดิมอาศัยใต้ร่มบารมีของเหยียนอู่ เมื่อสิ้นเหยียนอู่ก็ไร้ที่พึ่งพาจำต้องเดินทางจากเมืองหลวงไป ตอนที่ตู้ฝู่แต่งกลอนบทนี้คือช่วงฤดูใบไม้ร่วงที่เขาแวะพักฟื้นที่เขตขุยโจว (ปัจจุบันใกล้ฉงชิ่ง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำแยงซีเกียง หรือฉางเจียงที่กล่าวถึงในบทกลอน) วันหนึ่งเขาปีนขึ้นหอสูงนอกเมืองไป๋ตี้ มองทิวทัศน์ก็รำลึกถึงอดีตและรู้สึกสะท้อนใจกับชีวิตที่ต้องระหกระเหินแม้ร่างกายเจ็บป่วย กลอนบทนี้สี่วรรคแรกจึงบรรยายถึงความงามแบบเศร้าๆ ของทิวทัศน์ในฤดูใบไม้เปลี่ยนสี สี่วรรคสุดท้ายบรรยายถึงสภาพตนเองที่มีแต่ความโศกเศร้าเป็นเพื่อน แม้แต่จะกินเหล้าดับทุกข์ก็ยังทำไม่ได้เพราะว่าร่างกายไม่เอื้ออำนวย และนี่คือสาเหตุว่าทำไมในเรื่อง <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาคแรก> จึงมีฉากที่มีคนถามว่า พระเอกอายุยังน้อยจะสามารถแต่งกลอนที่แฝงด้วยความทุกข์ความเศร้าของคนที่ผ่านร้อนผ่านหนาวในชีวิตมาได้อย่างไรกลอนบทนี้ถูกยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ หรือที่เรียกว่า ‘ชีเหยียนลวี่ซือ’ (七言律诗) เรียกสั้นๆ ว่า ‘ชีลวี่’ (七律) ที่บอกว่ามีลักษณะเฉพาะเพราะว่ากลอนเจ็ดชีลวี่นี้หมายถึงกลอนเจ็ดสี่วรรคคู่ รวมแปดวรรค แต่ละวรรคมีเจ็ดอักษร มีแบบแผนจังหวะเสียงที่ตายตัว ทีนี้เรามาดูกันว่ามันเป็น ‘สุดยอด’ อย่างไรประเด็นแรกคือ หัวข้อ --- กลอนที่ดีจะพัฒนาถ้อยคำขึ้นรอบๆ หัวข้อของกลอน ในที่นี้หัวข้อคือ ความเศร้าของสารทฤดู ภาพทิวทัศน์คือใบไม้เปลี่ยนสีและธรรมชาติที่แฝงด้วยความเศร้า ความในใจคือความโศกเศร้าเชื่อมโยงกับสารทฤดู ทุกวรรคทุกประโยคล้วนส่งเสริมหัวข้อนี้แต่บรรยายให้เห็นราวภาพวาด แต่ข้อจำกัดของกลอนเจ็ดชีลวี่คือพอเข้าประโยคที่สามต้องเปลี่ยนเรื่อง... ใช่ค่ะ เปลี่ยนเรื่องโดยไม่หลุดจากหัวข้อ ดังนั้นเราจึงเห็นสองประโยคแรกเป็นการบรรยายทิวทัศน์ และประโยคสามเปลี่ยนมาพูดถึงตัวกวีเองแต่คุณสมบัติตามประเด็นแรกนี้หาไม่ยากในกลอนที่โด่งดังทั้งหลาย เรามาดูประเด็นที่เข้มข้นมากขึ้นกันประเด็นที่สองคือ แบบแผนจังหวะและเสียง --- กลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเฉพาะเจาะจงอยู่สี่แบบ และจังหวะที่ว่านี้คือจังหวะความเข้มเบาของเสียงอักษร โดย ‘เบา’ หมายถึงเสียงกลาง ซึ่งท่านที่เรียนภาษาจีนจะทราบว่าจริงๆ แล้วภาษาจีนไม่มีเสียงกลางเหมือนไทยแต่ผันเป็นสี่เสียง และอักษรที่อยู่ในกลุ่มเสียงเบานี้ส่วนใหญ่เป็นอักษรในเสียงสองหรืออาจเป็นอักษรเสียงแรก ส่วน ‘เข้ม’ คือหมายถึงเสียงอื่น แต่ในประเด็นนี้มีความละเอียดอ่อนของการผันเสียง เช่น หากเป็นอักษรแรกตอนเริ่มวรรคหรือหลังกลางวรรค เสียงเบาอาจผันเป็นเสียงเข้มได้ ฟังแล้วอาจงงแต่เราไม่ได้อยากจะเป็นผู้เชี่ยวชาญก็อย่าไปเครียดกับมันค่ะ สรุปได้สั้นๆ ว่ากลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเบาเข้มที่ชัดเจน ซึ่งกวีต้องรู้ว่าอักษรใดคือเสียงเบา อักษรใดคือเสียงเข้ม และต้องเลือกใช้อักษรที่ให้เสียงเบาเข้มตามแบบแผนจังหวะที่เลือก ดังที่กล่าวมาข้างต้น ชีลวี่มีสี่แบบแผนจังหวะมาตรฐาน ซึ่งทั้งสี่แบบนี้ล้วนให้อิสระกับจังหวะของประโยคแรกและประโยคสุดท้าย แต่เข้มงวดเรื่องการเชื่อมโยงทางจังหวะของวรรคอื่นๆ อย่าเพิ่งงงค่ะ เรามาดูกลอน ‘เติงเกา’ เป็นตัวอย่าง เอกลักษณ์ของแบบแผนชีลวี่สรุปได้ดังนี้ (ดูรูปประกอบขวาล่าง) - จังหวะของวรรคท้ายในประโยคแรกและประโยคสามเหมือนกัน และต่อเนื่องมาถึงจังหวะของวรรคแรกในประโยคสองและวรรคแรกในประโยคสุดท้ายก็เหมือนกัน - ลงท้ายทุกประโยคด้วยเสียงเบาซึ่งทำให้จำนวนอักษรที่สามารถนำมาใช้ได้นั้นมีจำนวนจำกัดยิ่งขึ้น และ - จังหวะเข้มเบาของวรรคแรกและวรรคจบต้องเหมือนกันเชื่อว่าเพื่อนเพจคงรู้สึกเหมือน Storyฯ แล้วว่า การที่จะใช้อักษรให้สื่อความหมายได้ตามต้องการและยังอยู่ในกรอบแบบแผนจังหวะเสียงที่ว่ามานี้ยากมากและกวีผู้นั้นต้องมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาสูงมาก เท่านี้ยังไม่พอ ดีกรีความเข้มข้นของภาษาของกลอนบทนี้คือประเด็นสุดท้ายจะกล่าวถึงประเด็นสุดท้ายคือ ความเป็นคู่ --- หลายคนมักเข้าใจว่ากลอนจีนต้องมีความคล้องจองของคำ แต่ถ้าเพื่อนเพจดูจากคำออกเสียงที่ Storyฯ ใส่มาให้จะเห็นว่าเสียงไม่คล้องจองกันเลย ดังนั้นจะเห็นว่ากลอนจีนโบราณจริงแล้วให้ความสำคัญกับความคล้องจองของอักษรน้อยกว่าความเป็นคู่ ซึ่งความเป็นคู่อาจหมายถึง ‘คู่เหมือน’ หรือ ‘คู่ขัดแย้ง’ ซึ่ง Storyฯ เคยเกริ่นถึงแล้วในบทความเกี่ยวกับรหัสลับจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02a8RcKiQmJ1GyrL2pkPs4dKmeZDnuti8guSaVo2VgSTcG9obtJoguAX62Mx4DgbQLl) เพื่ออธิบายประเด็นความเป็นคู่นี้ Storyฯ เลยแปลและเรียบเรียงบทกวีนี้โดยไม่เน้นความไพเราะหรือความพลิ้วพราย แต่พยายามคงเอกลักษณ์ความเป็นคู่ของวรรคแรกและวรรคหลังของแต่ละประโยคไว้ (ดูรูปประกอบขวาบนนะคะ) จะเห็นว่าความเป็นคู่นี้มีลูกเล่นได้หลากหลาย อาทิ - คุณศัพท์ขยายนาม เช่นในประโยคแรก ลมแรง <-> น้ำใส และ ฟ้าสูง <-> ทรายขาว ; ประโยคสาม หมื่นลี้ <-> ร้อยปี- นามและกิริยา เช่นในประโยคแรก ลิงหวนไห้ <-> นกบินกลับ; - คำซ้ำๆ เหมือนกัน เช่นในประโยคที่สอง โปรยโปรย <-> ม้วนม้วน- คำที่ความหมายคล้ายคลึงด้วยจำนวนอักษรเท่ากัน เช่นในประโยคที่สอง ไร้ขอบเขต <-> ไม่สิ้นสุด- อารมณ์ที่ขัดแย้งกัน เช่นในประโยคสาม วรรคแรก ‘หมั่นมาเยือน’ ให้อารมณ์ความคึกคักขัดแย้งกับวรรคหลัง ‘ปีนหอเดียวดาย’ - อารมณ์สอดคล้องกัน เช่นในประโยคสุดท้ายที่ล้วนบรรยายถึงความยากลำบากทางกายและความระทมทางใจและหากเพื่อนเพจสังเกตดีๆ นอกจากความเป็นคู่ของคำที่ใช้แล้ว จะเห็นว่าตำแหน่งของคำเหล่านี้ล้วนเป็นตำแหน่งเดียวกันในวรรคแรกและวรรคหลัง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นคู่Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจีน แต่ที่พยายามแปลและยกมาเล่าให้ฟังนี้ เพื่อที่เพื่อนเพจจะได้อรรถรสถึงความซับซ้อนของกวีจีนโบราณ บ่อยครั้งที่เราได้ยินคำแปลกลอนจีนที่ไพเราะสละสลวยได้อารมณ์และความหมาย แต่ไม่เคยรู้เลยว่าคำแปลนั้นไม่สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางเทคนิคของบทกลอน Storyฯ เองเวลาแปลบทกวีจีนก็มักจะมองข้ามเอกลักษณ์ทางเทคนิคเช่นกัน และเอกลักษณ์ทางเทคนิคเหล่านี้นี่เองที่ช่วยเสริมให้บทกวี ‘เติงเกา’ ของตู้ฝู่บทนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดชีลวี่ยาวนานกว่าหนึ่งพันปี ทีนี้เข้าใจกันแล้วนะคะว่าบทกวีนี้เป็น ‘ที่สุด’ ได้อย่างไร(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_5325467 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.sohu.com/a/604660125_121119376 https://www.toutiao.com/article/6824075960027972109/?&source=m_redirect https://www.sohu.com/a/138168554_146329https://baike.baidu.com/item/登高/7605079 https://baike.baidu.com/item/七言律诗/10294898 #หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร #กลอนเจ็ดจีนโบราณ #ชีลวี่ #เกาเติง #กวีสมัยถัง #ตู้ฝู่
    สุดยอดกลอนเจ็ด ‘ชีลวี่’ จาก <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาค1>สวัสดีค่ะ Storyฯ ย้อนกลับไปดูภาคแรกของ <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร> เพื่อทวนความทรงจำรอดูภาคสอง เชื่อว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูภาคแรกนี้ต้องจำได้ว่าในงานสังสรรค์ชมบทกวี พระเอกได้ยืมกลอนจากกวีเอกตู้ฝู่มาใช้โดยมั่นใจว่าจะไม่มีใครสามารถแต่งกลอนที่ดีกว่าได้เพราะกลอนบทนี้ของตู้ฝู่ถูกยกย่องให้เป็น ‘ที่สุด’ Storyฯ มั่นใจว่าเพื่อนเพจทั้งหลายที่เคยได้ยินคำแปลของกลอนบทนี้คง ‘เอ๊ะ’ เหมือนกันว่ามันเป็น ‘ที่สุด’ อย่างไร วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กันก่อนอื่นขอแนะนำเกี่ยวกับกวีตู้ฝู่และกลอนบทนี้ กวีตู้ฝู่เป็นกวีเอกสมัยถัง (ค.ศ. 712–770) ถูกยกย่องเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดกวีและถูกขนานนามว่า ‘ราชันกวี’ และกลอนบทนี้มีชื่อว่า ‘เติงเกา’ (登高 แปลว่าปีนขึ้นที่สูง) เบื้องหลังของกลอนนี้คือ เป็นช่วงปี ค.ศ. 766 ซึ่งผ่านเหตุการณ์กบฏอันลู่ซานไปได้หลายปีแล้วแต่บ้านเมืองยังไม่สงบ สหายต่างสิ้นชีพกันไปเกือบหมด ตัวตู้ฝู่เองก็มีโรครุมเร้า เดิมอาศัยใต้ร่มบารมีของเหยียนอู่ เมื่อสิ้นเหยียนอู่ก็ไร้ที่พึ่งพาจำต้องเดินทางจากเมืองหลวงไป ตอนที่ตู้ฝู่แต่งกลอนบทนี้คือช่วงฤดูใบไม้ร่วงที่เขาแวะพักฟื้นที่เขตขุยโจว (ปัจจุบันใกล้ฉงชิ่ง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำแยงซีเกียง หรือฉางเจียงที่กล่าวถึงในบทกลอน) วันหนึ่งเขาปีนขึ้นหอสูงนอกเมืองไป๋ตี้ มองทิวทัศน์ก็รำลึกถึงอดีตและรู้สึกสะท้อนใจกับชีวิตที่ต้องระหกระเหินแม้ร่างกายเจ็บป่วย กลอนบทนี้สี่วรรคแรกจึงบรรยายถึงความงามแบบเศร้าๆ ของทิวทัศน์ในฤดูใบไม้เปลี่ยนสี สี่วรรคสุดท้ายบรรยายถึงสภาพตนเองที่มีแต่ความโศกเศร้าเป็นเพื่อน แม้แต่จะกินเหล้าดับทุกข์ก็ยังทำไม่ได้เพราะว่าร่างกายไม่เอื้ออำนวย และนี่คือสาเหตุว่าทำไมในเรื่อง <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาคแรก> จึงมีฉากที่มีคนถามว่า พระเอกอายุยังน้อยจะสามารถแต่งกลอนที่แฝงด้วยความทุกข์ความเศร้าของคนที่ผ่านร้อนผ่านหนาวในชีวิตมาได้อย่างไรกลอนบทนี้ถูกยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ หรือที่เรียกว่า ‘ชีเหยียนลวี่ซือ’ (七言律诗) เรียกสั้นๆ ว่า ‘ชีลวี่’ (七律) ที่บอกว่ามีลักษณะเฉพาะเพราะว่ากลอนเจ็ดชีลวี่นี้หมายถึงกลอนเจ็ดสี่วรรคคู่ รวมแปดวรรค แต่ละวรรคมีเจ็ดอักษร มีแบบแผนจังหวะเสียงที่ตายตัว ทีนี้เรามาดูกันว่ามันเป็น ‘สุดยอด’ อย่างไรประเด็นแรกคือ หัวข้อ --- กลอนที่ดีจะพัฒนาถ้อยคำขึ้นรอบๆ หัวข้อของกลอน ในที่นี้หัวข้อคือ ความเศร้าของสารทฤดู ภาพทิวทัศน์คือใบไม้เปลี่ยนสีและธรรมชาติที่แฝงด้วยความเศร้า ความในใจคือความโศกเศร้าเชื่อมโยงกับสารทฤดู ทุกวรรคทุกประโยคล้วนส่งเสริมหัวข้อนี้แต่บรรยายให้เห็นราวภาพวาด แต่ข้อจำกัดของกลอนเจ็ดชีลวี่คือพอเข้าประโยคที่สามต้องเปลี่ยนเรื่อง... ใช่ค่ะ เปลี่ยนเรื่องโดยไม่หลุดจากหัวข้อ ดังนั้นเราจึงเห็นสองประโยคแรกเป็นการบรรยายทิวทัศน์ และประโยคสามเปลี่ยนมาพูดถึงตัวกวีเองแต่คุณสมบัติตามประเด็นแรกนี้หาไม่ยากในกลอนที่โด่งดังทั้งหลาย เรามาดูประเด็นที่เข้มข้นมากขึ้นกันประเด็นที่สองคือ แบบแผนจังหวะและเสียง --- กลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเฉพาะเจาะจงอยู่สี่แบบ และจังหวะที่ว่านี้คือจังหวะความเข้มเบาของเสียงอักษร โดย ‘เบา’ หมายถึงเสียงกลาง ซึ่งท่านที่เรียนภาษาจีนจะทราบว่าจริงๆ แล้วภาษาจีนไม่มีเสียงกลางเหมือนไทยแต่ผันเป็นสี่เสียง และอักษรที่อยู่ในกลุ่มเสียงเบานี้ส่วนใหญ่เป็นอักษรในเสียงสองหรืออาจเป็นอักษรเสียงแรก ส่วน ‘เข้ม’ คือหมายถึงเสียงอื่น แต่ในประเด็นนี้มีความละเอียดอ่อนของการผันเสียง เช่น หากเป็นอักษรแรกตอนเริ่มวรรคหรือหลังกลางวรรค เสียงเบาอาจผันเป็นเสียงเข้มได้ ฟังแล้วอาจงงแต่เราไม่ได้อยากจะเป็นผู้เชี่ยวชาญก็อย่าไปเครียดกับมันค่ะ สรุปได้สั้นๆ ว่ากลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเบาเข้มที่ชัดเจน ซึ่งกวีต้องรู้ว่าอักษรใดคือเสียงเบา อักษรใดคือเสียงเข้ม และต้องเลือกใช้อักษรที่ให้เสียงเบาเข้มตามแบบแผนจังหวะที่เลือก ดังที่กล่าวมาข้างต้น ชีลวี่มีสี่แบบแผนจังหวะมาตรฐาน ซึ่งทั้งสี่แบบนี้ล้วนให้อิสระกับจังหวะของประโยคแรกและประโยคสุดท้าย แต่เข้มงวดเรื่องการเชื่อมโยงทางจังหวะของวรรคอื่นๆ อย่าเพิ่งงงค่ะ เรามาดูกลอน ‘เติงเกา’ เป็นตัวอย่าง เอกลักษณ์ของแบบแผนชีลวี่สรุปได้ดังนี้ (ดูรูปประกอบขวาล่าง) - จังหวะของวรรคท้ายในประโยคแรกและประโยคสามเหมือนกัน และต่อเนื่องมาถึงจังหวะของวรรคแรกในประโยคสองและวรรคแรกในประโยคสุดท้ายก็เหมือนกัน - ลงท้ายทุกประโยคด้วยเสียงเบาซึ่งทำให้จำนวนอักษรที่สามารถนำมาใช้ได้นั้นมีจำนวนจำกัดยิ่งขึ้น และ - จังหวะเข้มเบาของวรรคแรกและวรรคจบต้องเหมือนกันเชื่อว่าเพื่อนเพจคงรู้สึกเหมือน Storyฯ แล้วว่า การที่จะใช้อักษรให้สื่อความหมายได้ตามต้องการและยังอยู่ในกรอบแบบแผนจังหวะเสียงที่ว่ามานี้ยากมากและกวีผู้นั้นต้องมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาสูงมาก เท่านี้ยังไม่พอ ดีกรีความเข้มข้นของภาษาของกลอนบทนี้คือประเด็นสุดท้ายจะกล่าวถึงประเด็นสุดท้ายคือ ความเป็นคู่ --- หลายคนมักเข้าใจว่ากลอนจีนต้องมีความคล้องจองของคำ แต่ถ้าเพื่อนเพจดูจากคำออกเสียงที่ Storyฯ ใส่มาให้จะเห็นว่าเสียงไม่คล้องจองกันเลย ดังนั้นจะเห็นว่ากลอนจีนโบราณจริงแล้วให้ความสำคัญกับความคล้องจองของอักษรน้อยกว่าความเป็นคู่ ซึ่งความเป็นคู่อาจหมายถึง ‘คู่เหมือน’ หรือ ‘คู่ขัดแย้ง’ ซึ่ง Storyฯ เคยเกริ่นถึงแล้วในบทความเกี่ยวกับรหัสลับจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02a8RcKiQmJ1GyrL2pkPs4dKmeZDnuti8guSaVo2VgSTcG9obtJoguAX62Mx4DgbQLl) เพื่ออธิบายประเด็นความเป็นคู่นี้ Storyฯ เลยแปลและเรียบเรียงบทกวีนี้โดยไม่เน้นความไพเราะหรือความพลิ้วพราย แต่พยายามคงเอกลักษณ์ความเป็นคู่ของวรรคแรกและวรรคหลังของแต่ละประโยคไว้ (ดูรูปประกอบขวาบนนะคะ) จะเห็นว่าความเป็นคู่นี้มีลูกเล่นได้หลากหลาย อาทิ - คุณศัพท์ขยายนาม เช่นในประโยคแรก ลมแรง <-> น้ำใส และ ฟ้าสูง <-> ทรายขาว ; ประโยคสาม หมื่นลี้ <-> ร้อยปี- นามและกิริยา เช่นในประโยคแรก ลิงหวนไห้ <-> นกบินกลับ; - คำซ้ำๆ เหมือนกัน เช่นในประโยคที่สอง โปรยโปรย <-> ม้วนม้วน- คำที่ความหมายคล้ายคลึงด้วยจำนวนอักษรเท่ากัน เช่นในประโยคที่สอง ไร้ขอบเขต <-> ไม่สิ้นสุด- อารมณ์ที่ขัดแย้งกัน เช่นในประโยคสาม วรรคแรก ‘หมั่นมาเยือน’ ให้อารมณ์ความคึกคักขัดแย้งกับวรรคหลัง ‘ปีนหอเดียวดาย’ - อารมณ์สอดคล้องกัน เช่นในประโยคสุดท้ายที่ล้วนบรรยายถึงความยากลำบากทางกายและความระทมทางใจและหากเพื่อนเพจสังเกตดีๆ นอกจากความเป็นคู่ของคำที่ใช้แล้ว จะเห็นว่าตำแหน่งของคำเหล่านี้ล้วนเป็นตำแหน่งเดียวกันในวรรคแรกและวรรคหลัง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นคู่Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจีน แต่ที่พยายามแปลและยกมาเล่าให้ฟังนี้ เพื่อที่เพื่อนเพจจะได้อรรถรสถึงความซับซ้อนของกวีจีนโบราณ บ่อยครั้งที่เราได้ยินคำแปลกลอนจีนที่ไพเราะสละสลวยได้อารมณ์และความหมาย แต่ไม่เคยรู้เลยว่าคำแปลนั้นไม่สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางเทคนิคของบทกลอน Storyฯ เองเวลาแปลบทกวีจีนก็มักจะมองข้ามเอกลักษณ์ทางเทคนิคเช่นกัน และเอกลักษณ์ทางเทคนิคเหล่านี้นี่เองที่ช่วยเสริมให้บทกวี ‘เติงเกา’ ของตู้ฝู่บทนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดชีลวี่ยาวนานกว่าหนึ่งพันปี ทีนี้เข้าใจกันแล้วนะคะว่าบทกวีนี้เป็น ‘ที่สุด’ ได้อย่างไร(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_5325467 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.sohu.com/a/604660125_121119376 https://www.toutiao.com/article/6824075960027972109/?&source=m_redirect https://www.sohu.com/a/138168554_146329https://baike.baidu.com/item/登高/7605079 https://baike.baidu.com/item/七言律诗/10294898 #หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร #กลอนเจ็ดจีนโบราณ #ชีลวี่ #เกาเติง #กวีสมัยถัง #ตู้ฝู่
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 826 มุมมอง 0 รีวิว
  • What are the risks from Artificial Intelligence (AI)?

    A comprehensive living database of over 700 AI risks categorized by their cause and risk domain.
    The AI Risk Repository has three parts:
    1.The AI Risk Database captures 700+ risks extracted from 43 existing frameworks, with quotes and page numbers.
    2.The Causal Taxonomy of AI Risks classifies how, when, and why these risks occur.
    3.The Domain Taxonomy of AI Risks classifies these risks into seven domains (e.g., “Misinformation”) and 23 subdomains (e.g., “False or misleading information”).

    Sources: MIT AI Risk Repository.
    Access Link : https://airisk.mit.edu/?utm_source=thinkingforward&utm_medium=email&utm_campaign=2024_12_02#Domain-Taxonomy-of-AI-Risks
    What are the risks from Artificial Intelligence (AI)? A comprehensive living database of over 700 AI risks categorized by their cause and risk domain. The AI Risk Repository has three parts: 1.The AI Risk Database captures 700+ risks extracted from 43 existing frameworks, with quotes and page numbers. 2.The Causal Taxonomy of AI Risks classifies how, when, and why these risks occur. 3.The Domain Taxonomy of AI Risks classifies these risks into seven domains (e.g., “Misinformation”) and 23 subdomains (e.g., “False or misleading information”). Sources: MIT AI Risk Repository. Access Link : https://airisk.mit.edu/?utm_source=thinkingforward&utm_medium=email&utm_campaign=2024_12_02#Domain-Taxonomy-of-AI-Risks
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 530 มุมมอง 10 0 รีวิว
  • Add A Pop Of Color With The Vibrant Purple Synonyms

    When you hear the word purple, what pops into your head? Chances are it’s one of a huge number of different shades, ranging from pale lavender to deep burgundy. There are so many different colors that fall under the vast umbrella of purple, so when you’re writing or talking about something in the shade, it’s helpful to be a bit more specific. Shades of purple can be found on everything from fruit to plants to wild animals. Here are 15 unique and vibrant words you can use when talking about the color purple.

    lilac

    Lilac is a “pale, reddish purple” that might call to mind a stroll through a garden. The color is named for the purplish flowers that grow on the shrub of the same name. This pale violet color is at home in a spring scene or even in the color palette of a sunrise. First recorded in the early 1600s, the word lilac comes from the Persian līlak, meaning “bluish.”

    plum

    If you need a darker shade of purple, plum will do. Plum is “a deep purple varying from bluish to reddish.” Like many words on the list, plum gets its name from something in nature. In this case, it’s the fruit that grows on plum trees. It can be traced to the Greek proúmnē, or “plum tree,” and it has been in use in English since at least the 900s.

    violaceous

    Is it purple or is it violaceous? This adjective means “of a violet color; bluish-purple.” It’s a perfect descriptor for anything with purplish hues, from fruit to flowers to the looming mountains in the distance. Violaceous is related to violet and was first recorded in English in the mid-1600s.

    magenta

    Magenta is a “purplish red.” It’s also the name of a town in Italy where the French and Sardinians defeated Austrian troops in 1859. The color was named for this battle site, as the famous fight took place shortly before magenta dye was discovered. But why was the town called Magenta? The town’s name may trace back to the Roman emperor Marcus Aurelius Valerius Maxentius, who is believed to have had a headquarters there.

    amethyst

    Some shades of purple really shine. Amethyst is “a purplish tint,” consistent with the purple or violet color of a type of quartz that shares the same name. It has a surprising backstory. Though the word has been in use in English since the mid-1200s, it has roots in the Greek améthystos, meaning “not intoxicating, not intoxicated.” This is because it was once believed the stone amethyst could prevent intoxication.

    amaranthine

    If you’re describing a red wine or something else that’s “of purplish-red color,” consider amaranthine. Amaranthine is the color of amaranth, a flowering plant known for its striking foliage or flower clusters. Amaranth comes from the Latin amarantus, an alteration of the Greek amáranton, meaning “unfading flower.”

    periwinkle

    Is it blue or is it purple? If it’s periwinkle, it must be somewhere in between. Periwinkle means “a blue-violet color,” and it’s associated with myrtle, a trailing plant with evergreen foliage and blue-violet flowers. Periwinkle is a common color used on furniture or clothing. The word has been in use in English since before the year 1500.

    grape

    If you asked someone to name something purple, a grape would probably come to mind. Because of the appearance of the fruit, grape has also come to mean “a dull, dark purplish-red color.” When something is grape, it has the flat, muted shade we associate with grapes, and it may range from a very deep purple to one with shades of pink or red. Grape comes from Middle English and was first recorded in the early 1200s.

    lavender

    While the plant lavender is well known for its scent, it has also influenced the name of a well-known shade of purple. Lavender, as a color, is “a pale bluish purple.” It’s a popular choice for weddings. There’s even lavender ice cream! Lavender comes from the Medieval Latin lavendula, meaning “a plant livid in color.”

    wine

    Wine isn’t just a drink you have with dinner. It’s also “a dark reddish color, as of red wines.” Wine might describe the particular shade of purple you want to paint your kitchen or the pretty new lipstick that’s on sale at the cosmetics store. While wine certainly indicates a deep purple-red color, you could be even more specific by naming a certain type of wine. For example, burgundy can be used to mean a “grayish red-brown to dark blackish-purple.”

    violet

    As a flower, violets are known for their vibrant purple color. That’s why the “reddish-blue” color of the same name is called violet. Violet exists at the opposite end of the visible spectrum from red. You probably recognize it as the “V” in the abbreviation ROYGBIV, the colors of the rainbow. Typically, violet is more red in hue than a standard purple, like the color of the sky at sunset or the feathers of a Violet-backed starling.

    pomegranate

    Much like the fruit, pomegranate is a deep reddish or pinkish-purple color. Because of its complexity, it’s a great color for decorating. Pomegranate has been in use in English since at least the late 1200s, and it has a pretty straightforward origin. The name for the many-seeded fruit comes from the Medieval Latin pomum granatum, which literally means “a seedy apple.”

    heliotrope

    For a lighter shade of purple, give heliotrope a try. It’s “a light tint of purple; reddish lavender.” Not only is this word fun to say, but it also has a cool backstory. Like other purple shades, the color heliotrope shares its name with a plant. Helios is Greek for “sun,” while the Greek trópos means “a turn, change.” The plant heliotrope was named for the way its flowers and leaves turn towards the sun.

    orchid

    The word orchid calls to mind the delicate flowers of an orchid plant, which are sometimes a light “bluish to reddish purple color.” You can use orchid to talk about light shades of purple that fall somewhere between lilac and lavender. Orchid entered English in 1845 in the third edition of School Botany by John Lindley, and you might be surprised by its origins. This plant-name-turned-color can be traced to the Greek órchis, meaning “testicle.”

    perse

    Perse means “of a very deep shade of blue or purple.” You might use perse to describe fabric or pigments that are a deep indigo or even purple with hints of black. Though a less common term for purple, the word has been in use in English since the 1300s. It comes from the Middle English pers, perhaps a variant of the Medieval Latin persus, a kind of blue.

    Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    Add A Pop Of Color With The Vibrant Purple Synonyms When you hear the word purple, what pops into your head? Chances are it’s one of a huge number of different shades, ranging from pale lavender to deep burgundy. There are so many different colors that fall under the vast umbrella of purple, so when you’re writing or talking about something in the shade, it’s helpful to be a bit more specific. Shades of purple can be found on everything from fruit to plants to wild animals. Here are 15 unique and vibrant words you can use when talking about the color purple. lilac Lilac is a “pale, reddish purple” that might call to mind a stroll through a garden. The color is named for the purplish flowers that grow on the shrub of the same name. This pale violet color is at home in a spring scene or even in the color palette of a sunrise. First recorded in the early 1600s, the word lilac comes from the Persian līlak, meaning “bluish.” plum If you need a darker shade of purple, plum will do. Plum is “a deep purple varying from bluish to reddish.” Like many words on the list, plum gets its name from something in nature. In this case, it’s the fruit that grows on plum trees. It can be traced to the Greek proúmnē, or “plum tree,” and it has been in use in English since at least the 900s. violaceous Is it purple or is it violaceous? This adjective means “of a violet color; bluish-purple.” It’s a perfect descriptor for anything with purplish hues, from fruit to flowers to the looming mountains in the distance. Violaceous is related to violet and was first recorded in English in the mid-1600s. magenta Magenta is a “purplish red.” It’s also the name of a town in Italy where the French and Sardinians defeated Austrian troops in 1859. The color was named for this battle site, as the famous fight took place shortly before magenta dye was discovered. But why was the town called Magenta? The town’s name may trace back to the Roman emperor Marcus Aurelius Valerius Maxentius, who is believed to have had a headquarters there. amethyst Some shades of purple really shine. Amethyst is “a purplish tint,” consistent with the purple or violet color of a type of quartz that shares the same name. It has a surprising backstory. Though the word has been in use in English since the mid-1200s, it has roots in the Greek améthystos, meaning “not intoxicating, not intoxicated.” This is because it was once believed the stone amethyst could prevent intoxication. amaranthine If you’re describing a red wine or something else that’s “of purplish-red color,” consider amaranthine. Amaranthine is the color of amaranth, a flowering plant known for its striking foliage or flower clusters. Amaranth comes from the Latin amarantus, an alteration of the Greek amáranton, meaning “unfading flower.” periwinkle Is it blue or is it purple? If it’s periwinkle, it must be somewhere in between. Periwinkle means “a blue-violet color,” and it’s associated with myrtle, a trailing plant with evergreen foliage and blue-violet flowers. Periwinkle is a common color used on furniture or clothing. The word has been in use in English since before the year 1500. grape If you asked someone to name something purple, a grape would probably come to mind. Because of the appearance of the fruit, grape has also come to mean “a dull, dark purplish-red color.” When something is grape, it has the flat, muted shade we associate with grapes, and it may range from a very deep purple to one with shades of pink or red. Grape comes from Middle English and was first recorded in the early 1200s. lavender While the plant lavender is well known for its scent, it has also influenced the name of a well-known shade of purple. Lavender, as a color, is “a pale bluish purple.” It’s a popular choice for weddings. There’s even lavender ice cream! Lavender comes from the Medieval Latin lavendula, meaning “a plant livid in color.” wine Wine isn’t just a drink you have with dinner. It’s also “a dark reddish color, as of red wines.” Wine might describe the particular shade of purple you want to paint your kitchen or the pretty new lipstick that’s on sale at the cosmetics store. While wine certainly indicates a deep purple-red color, you could be even more specific by naming a certain type of wine. For example, burgundy can be used to mean a “grayish red-brown to dark blackish-purple.” violet As a flower, violets are known for their vibrant purple color. That’s why the “reddish-blue” color of the same name is called violet. Violet exists at the opposite end of the visible spectrum from red. You probably recognize it as the “V” in the abbreviation ROYGBIV, the colors of the rainbow. Typically, violet is more red in hue than a standard purple, like the color of the sky at sunset or the feathers of a Violet-backed starling. pomegranate Much like the fruit, pomegranate is a deep reddish or pinkish-purple color. Because of its complexity, it’s a great color for decorating. Pomegranate has been in use in English since at least the late 1200s, and it has a pretty straightforward origin. The name for the many-seeded fruit comes from the Medieval Latin pomum granatum, which literally means “a seedy apple.” heliotrope For a lighter shade of purple, give heliotrope a try. It’s “a light tint of purple; reddish lavender.” Not only is this word fun to say, but it also has a cool backstory. Like other purple shades, the color heliotrope shares its name with a plant. Helios is Greek for “sun,” while the Greek trópos means “a turn, change.” The plant heliotrope was named for the way its flowers and leaves turn towards the sun. orchid The word orchid calls to mind the delicate flowers of an orchid plant, which are sometimes a light “bluish to reddish purple color.” You can use orchid to talk about light shades of purple that fall somewhere between lilac and lavender. Orchid entered English in 1845 in the third edition of School Botany by John Lindley, and you might be surprised by its origins. This plant-name-turned-color can be traced to the Greek órchis, meaning “testicle.” perse Perse means “of a very deep shade of blue or purple.” You might use perse to describe fabric or pigments that are a deep indigo or even purple with hints of black. Though a less common term for purple, the word has been in use in English since the 1300s. It comes from the Middle English pers, perhaps a variant of the Medieval Latin persus, a kind of blue. Copyright 2024, AAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 957 มุมมอง 0 รีวิว
  • นี่คือเหตุผลที่ทำไมขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง ORESHNIK ของรัสเซียจึงพร้อมสำหรับการผลิตจำนวนมาก

    การทดสอบการรบประจำการของระบบขีปนาวุธ Oreshnik ในวันพฤหัสบดีกับเป้าหมายทางทหารและอุตสาหกรรมของยูเครนในเมือง Dnepropetrovsk แสดงให้เห็นว่าระบบขีปนาวุธใหม่ของรัสเซียพร้อมสำหรับการนำไปปฏิบัติและการผลิตจำนวนมากแล้ว, และเหตุผลก็คืออาวุธขีปนาวุธของรัสเซียได้รับการออกแบบมาอย่างไรมาหลายทศวรรษ, Dmitry Kornev ผู้สังเกตการณ์ทางทหารที่มีประสบการณ์ของรัสเซียกล่าว

    ศักยภาพของกลุ่มอุตสาหกรรมการทหารของรัสเซียในการผลิตอาวุธแบบ Oreshnik นั้น "สูงกว่าของชาติตะวันตกอย่างเห็นได้ชัด," Kornev กล่าวกับ Sputnik, โดยชี้ไปที่ปรัชญาการออกแบบขีปนาวุธของรัสเซีย (และก่อนหน้านั้นก็คือสหภาพโซเวียต) ที่ย้อนกลับไปถึงการเผชิญหน้าในยุคสงครามเย็นระหว่าง RSD-10 Pioneer และ Pershing 2 โดยระบบของสหภาพโซเวียตได้รับการออกแบบมาเพื่อให้แน่ใจว่ามีการยับยั้งเชิงกลยุทธ์ในระดับทวีป, ซึ่งต่างจากเป้าหมายของสหรัฐฯ ในการโจมตีเป้าหมายของศัตรูให้เร็วที่สุดจากฐานที่มั่นในแนวหน้า

    💬“ระบบของเรามีศักยภาพในการโจมตีที่สูงกว่ามากในแง่ที่ว่ามันถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของเทคโนโลยีขีปนาวุธที่ถูกพิสูจน์แล้ว - ซึ่งมีแนวโน้มสูงสุดที่สถาบันวิศวกรรมความร้อนมอสโก, ซึ่งหมายความว่าการผลิตจำนวนมากและการใช้งานขีปนาวุธจำนวนมากอย่างรวดเร็วเป็นสิ่งที่มั่นใจได้,” Kornev กล่าว

    💬“ในกรณีของตะวันตก, ระบบที่คล้ายคลึงกัน จะมีราคาค่อนข้างแพงในการสร้าง,” Kornev เน้นย้ำ

    ประธานาธิบดีปูตินยืนยันในการแถลงข่าวต่อเจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหมเมื่อวันศุกร์ว่า ได้ตัดสินใจแล้วเกี่ยวกับการผลิตจำนวนมากของ Oreshnik, และกองทัพได้รวบรวมคลังอาวุธขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียงรุ่นใหม่นี้ไว้, และ “จะดำเนินการทดสอบต่อไป, รวมถึงในสภาพการสู้รบ, ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ และลักษณะของภัยคุกคามต่อความปลอดภัยที่รัสเซียเผชิญ”
    .
    HERE’S WHY RUSSIA’S ORESHNIK HYPERSONIC MISSILE IS READY FOR MASS PRODUCTION

    Thursday’s combat deployment testing of the Oreshnik missile system against a Ukrainian military-industrial target in Dnepropetrovsk speaks to the fact that the new Russian missile system is ready for deployment and mass production, and the reason comes down to the way Russia’s missile weaponry has been designed for many decades, says veteran Russian military observer Dmitry Kornev.

    The capabilities of Russia’s military-industrial complex when it comes to producing Oreshnik-style weaponry is “significantly higher than those of the West,” Kornev told Sputnik, pointing to the Russian (and before that Soviet) missile design philosophy going back to the Cold War-era standoff involving the RSD-10 Pioneer and the Pershing 2 – with the Soviet system designed to ensure strategic deterrence on the continental scale, vs. the US goal of delivering a strike against enemy targets as quickly as possible from a forward foothold.

    💬“Our system likely has a far greater strike potential in the sense that it was created on the basis of already proven ballistic missile technologies - most likely, at the Moscow Institute of Thermal Engineering, which means that mass production and rapid deployment of large quantities of the missiles is assured,” Kornev said.

    💬“In the case of the West, any similar system will be rather expensive to create,” Kornev emphasized.

    President Putin confirmed in a briefing with defense officials Friday that a decision on the Oreshnik’s mass production has been taken, and that the military has amassed a stockpile of the new ballistic hypersonic missiles, and “will continue these tests, including in combat conditions, depending on the situation and the nature of the security threats that are created for Russia.”
    .
    2:52 AM · Nov 23, 2024 · 2,723 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1860048762300682281
    นี่คือเหตุผลที่ทำไมขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง ORESHNIK ของรัสเซียจึงพร้อมสำหรับการผลิตจำนวนมาก การทดสอบการรบประจำการของระบบขีปนาวุธ Oreshnik ในวันพฤหัสบดีกับเป้าหมายทางทหารและอุตสาหกรรมของยูเครนในเมือง Dnepropetrovsk แสดงให้เห็นว่าระบบขีปนาวุธใหม่ของรัสเซียพร้อมสำหรับการนำไปปฏิบัติและการผลิตจำนวนมากแล้ว, และเหตุผลก็คืออาวุธขีปนาวุธของรัสเซียได้รับการออกแบบมาอย่างไรมาหลายทศวรรษ, Dmitry Kornev ผู้สังเกตการณ์ทางทหารที่มีประสบการณ์ของรัสเซียกล่าว ศักยภาพของกลุ่มอุตสาหกรรมการทหารของรัสเซียในการผลิตอาวุธแบบ Oreshnik นั้น "สูงกว่าของชาติตะวันตกอย่างเห็นได้ชัด," Kornev กล่าวกับ Sputnik, โดยชี้ไปที่ปรัชญาการออกแบบขีปนาวุธของรัสเซีย (และก่อนหน้านั้นก็คือสหภาพโซเวียต) ที่ย้อนกลับไปถึงการเผชิญหน้าในยุคสงครามเย็นระหว่าง RSD-10 Pioneer และ Pershing 2 โดยระบบของสหภาพโซเวียตได้รับการออกแบบมาเพื่อให้แน่ใจว่ามีการยับยั้งเชิงกลยุทธ์ในระดับทวีป, ซึ่งต่างจากเป้าหมายของสหรัฐฯ ในการโจมตีเป้าหมายของศัตรูให้เร็วที่สุดจากฐานที่มั่นในแนวหน้า 💬“ระบบของเรามีศักยภาพในการโจมตีที่สูงกว่ามากในแง่ที่ว่ามันถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของเทคโนโลยีขีปนาวุธที่ถูกพิสูจน์แล้ว - ซึ่งมีแนวโน้มสูงสุดที่สถาบันวิศวกรรมความร้อนมอสโก, ซึ่งหมายความว่าการผลิตจำนวนมากและการใช้งานขีปนาวุธจำนวนมากอย่างรวดเร็วเป็นสิ่งที่มั่นใจได้,” Kornev กล่าว 💬“ในกรณีของตะวันตก, ระบบที่คล้ายคลึงกัน จะมีราคาค่อนข้างแพงในการสร้าง,” Kornev เน้นย้ำ ประธานาธิบดีปูตินยืนยันในการแถลงข่าวต่อเจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหมเมื่อวันศุกร์ว่า ได้ตัดสินใจแล้วเกี่ยวกับการผลิตจำนวนมากของ Oreshnik, และกองทัพได้รวบรวมคลังอาวุธขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียงรุ่นใหม่นี้ไว้, และ “จะดำเนินการทดสอบต่อไป, รวมถึงในสภาพการสู้รบ, ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ และลักษณะของภัยคุกคามต่อความปลอดภัยที่รัสเซียเผชิญ” . HERE’S WHY RUSSIA’S ORESHNIK HYPERSONIC MISSILE IS READY FOR MASS PRODUCTION Thursday’s combat deployment testing of the Oreshnik missile system against a Ukrainian military-industrial target in Dnepropetrovsk speaks to the fact that the new Russian missile system is ready for deployment and mass production, and the reason comes down to the way Russia’s missile weaponry has been designed for many decades, says veteran Russian military observer Dmitry Kornev. The capabilities of Russia’s military-industrial complex when it comes to producing Oreshnik-style weaponry is “significantly higher than those of the West,” Kornev told Sputnik, pointing to the Russian (and before that Soviet) missile design philosophy going back to the Cold War-era standoff involving the RSD-10 Pioneer and the Pershing 2 – with the Soviet system designed to ensure strategic deterrence on the continental scale, vs. the US goal of delivering a strike against enemy targets as quickly as possible from a forward foothold. 💬“Our system likely has a far greater strike potential in the sense that it was created on the basis of already proven ballistic missile technologies - most likely, at the Moscow Institute of Thermal Engineering, which means that mass production and rapid deployment of large quantities of the missiles is assured,” Kornev said. 💬“In the case of the West, any similar system will be rather expensive to create,” Kornev emphasized. President Putin confirmed in a briefing with defense officials Friday that a decision on the Oreshnik’s mass production has been taken, and that the military has amassed a stockpile of the new ballistic hypersonic missiles, and “will continue these tests, including in combat conditions, depending on the situation and the nature of the security threats that are created for Russia.” . 2:52 AM · Nov 23, 2024 · 2,723 Views https://x.com/SputnikInt/status/1860048762300682281
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 672 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🧵ฐานทัพนาโต้ที่สำคัญของยุโรปอยู่ในระยะที่ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง ORESHNIK ของรัสเซียจะโจมตีได้ (กระทู้)

    ในคำกล่าวเปิดตัวระบบขีปนาวุธ ORESHNIK เมื่อวันพฤหัสบดี, ประธานาธิบดีปูตินเตือนว่ามอสโกว์สงวนสิทธิ์ "ที่จะใช้อาวุธของเราโจมตีฐานทัพทหารของประเทศที่อนุญาตให้ใช้อาวุธของพวกเขาโจมตีฐานทัพของเรา"

    ต่อไปนี้คือฐานทัพนาโต้ที่สำคัญบางแห่งที่ขีปนาวุธพิสัยกลางความเร็วเหนือเสียงรุ่นใหม่ของรัสเซียจะโจมตีได้ 🧵👇
    .
    🧵KEY EUROPEAN NATO BASES IN REACH OF RUSSIA'S ORESHNIK HYPERSONIC MISSILE (thread)

    In his remarks unveiling the Oreshnik missile system on Thursday, President Putin warned that Moscow reserves the right “to use our weapons against the military facilities of those countries that allow to use their weapons against our facilities.”

    Here are some key NATO facilities in reach of Russia’s new hypersonic intermediate-range missile 🧵👇
    .
    Eastern Europe

    ◾ Poland:

    🔸 Lask Air Base (home to permanent US Air Force detachment)

    🔸 Forward Operating Sites Powidz, Zagan and Poznan (US Army weapons and equipment storage)

    🔸 US Army Garrison Poland (V Corps Forward HQ), Poznan

    🔸 Redzikowo Base (home to US Aegis Ashore missile defense site)
    .
    ◾ Latvia:

    🔸 Selonia Military Training Area (the largest NATO training camp in the Baltic)
    .
    ◾ Lithuania:

    🔸 Rudninkai Military Base (future home of Germany's first permanent base abroad; set to station some 5,000 Bundeswehr troops when completed)
    .
    ◾ Romania:

    🔸 Deveselu Military Base (another Aegis Ashore site)

    🔸 Mihail Kogalniceanu Military Base (NATO’s easternmost base in Europe, home to US Army Area Support Group Black Sea regional command)
    .
    ◾ Bulgaria:

    🔸 Bezmer Air Base (key potential storage site for US long range aircraft)

    🔸 Novo Selo Range (major NATO training base)

    🔸 Graf Ignatievo Air Base
    .
    ◾ Kosovo:

    🔸 Camp Bondsteel (set up in 1999 after the NATO bombardment of Yugoslavia and occupation of Kosovo. Largest US base in the Balkans) Northern Europe
    .
    ◾ Finland:

    🔸 Mikkeli (future home of NATO Multi Corps Land Component Command HQ, 150 km from Russian border)
    .
    ◾ Sweden:

    🔸 Karlskrona Naval Base (key to NATO calculations for establishing total control of the Baltic Sea)
    .
    Western Europe

    ◾ Germany:

    🔸 Ramstein Air Base (largest US and NATO air base in Europe, key to US operations in the region and the Middle East)

    🔸 Spangdahlem Air Base

    🔸 NATO Air Base Geilenkirchen

    🔸 Buchel Air Base (stores US nukes)

    🔸 US Army Garrison Ansbach

    🔸 US Army Garrison Bavaria

    🔸 US Army Garrison Rheinland-Pfalz

    🔸 US Army Garrison Stuttgart

    🔸 US Army Garrison Wiesbaden
    .
    ◾ Belgium:

    🔸 US Army Garrison Benelux

    🔸 Kleine Brogel Air Base (stores US nukes)
    .
    ◾ Netherlands:

    🔸 Volkel Air Base (stores US nukes)
    .
    ◾ Italy:

    🔸 Aviano Air Base (stores US nukes)

    🔸 Ghedi Air Base

    🔸 Naval Air Station Sigonella, Sicily

    🔸 Naval Support Activity Naples (HQ of US 6th Fleet)

    🔸 US Army Garrison Italy
    .
    ◾ Greece:

    🔸 Naval Support Activity Souda Bay, Crete
    .
    ◾ UK:

    🔸 Royal Air Force Lakenheath

    🔸 Royal Air Force Mildenhall

    🔸 Royal Air Force Alconbury/Molesworth

    🔸 Royal Air Force Croughton, Fairford, Welford (common stopover for US strike and strategic bomber aircraft)

    🔸 Royal Air Force High Wycombe (RAF HQ)

    🔸 Portsmouth Naval Base (home to two-thirds of Royal Navy’s surface fleet)
    .
    ◾ Spain:

    🔸 Rota Naval Base (permanent home to six US missile destroyers)

    🔸 Moron Air Base
    .
    ◾ Portugal:

    🔸 Lajes Air Base, Azores Islands (key NATO transatlantic logistical hub, targetable if Oreshnik can be redeployed from Astrakhan Region to new launch locations somewhere west of Moscow)
    .
    1:33 AM · Nov 23, 2024 · 11.1K Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1860028770595266957
    🧵ฐานทัพนาโต้ที่สำคัญของยุโรปอยู่ในระยะที่ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง ORESHNIK ของรัสเซียจะโจมตีได้ (กระทู้) ในคำกล่าวเปิดตัวระบบขีปนาวุธ ORESHNIK เมื่อวันพฤหัสบดี, ประธานาธิบดีปูตินเตือนว่ามอสโกว์สงวนสิทธิ์ "ที่จะใช้อาวุธของเราโจมตีฐานทัพทหารของประเทศที่อนุญาตให้ใช้อาวุธของพวกเขาโจมตีฐานทัพของเรา" ต่อไปนี้คือฐานทัพนาโต้ที่สำคัญบางแห่งที่ขีปนาวุธพิสัยกลางความเร็วเหนือเสียงรุ่นใหม่ของรัสเซียจะโจมตีได้ 🧵👇 . 🧵KEY EUROPEAN NATO BASES IN REACH OF RUSSIA'S ORESHNIK HYPERSONIC MISSILE (thread) In his remarks unveiling the Oreshnik missile system on Thursday, President Putin warned that Moscow reserves the right “to use our weapons against the military facilities of those countries that allow to use their weapons against our facilities.” Here are some key NATO facilities in reach of Russia’s new hypersonic intermediate-range missile 🧵👇 . Eastern Europe ◾ Poland: 🔸 Lask Air Base (home to permanent US Air Force detachment) 🔸 Forward Operating Sites Powidz, Zagan and Poznan (US Army weapons and equipment storage) 🔸 US Army Garrison Poland (V Corps Forward HQ), Poznan 🔸 Redzikowo Base (home to US Aegis Ashore missile defense site) . ◾ Latvia: 🔸 Selonia Military Training Area (the largest NATO training camp in the Baltic) . ◾ Lithuania: 🔸 Rudninkai Military Base (future home of Germany's first permanent base abroad; set to station some 5,000 Bundeswehr troops when completed) . ◾ Romania: 🔸 Deveselu Military Base (another Aegis Ashore site) 🔸 Mihail Kogalniceanu Military Base (NATO’s easternmost base in Europe, home to US Army Area Support Group Black Sea regional command) . ◾ Bulgaria: 🔸 Bezmer Air Base (key potential storage site for US long range aircraft) 🔸 Novo Selo Range (major NATO training base) 🔸 Graf Ignatievo Air Base . ◾ Kosovo: 🔸 Camp Bondsteel (set up in 1999 after the NATO bombardment of Yugoslavia and occupation of Kosovo. Largest US base in the Balkans) Northern Europe . ◾ Finland: 🔸 Mikkeli (future home of NATO Multi Corps Land Component Command HQ, 150 km from Russian border) . ◾ Sweden: 🔸 Karlskrona Naval Base (key to NATO calculations for establishing total control of the Baltic Sea) . Western Europe ◾ Germany: 🔸 Ramstein Air Base (largest US and NATO air base in Europe, key to US operations in the region and the Middle East) 🔸 Spangdahlem Air Base 🔸 NATO Air Base Geilenkirchen 🔸 Buchel Air Base (stores US nukes) 🔸 US Army Garrison Ansbach 🔸 US Army Garrison Bavaria 🔸 US Army Garrison Rheinland-Pfalz 🔸 US Army Garrison Stuttgart 🔸 US Army Garrison Wiesbaden . ◾ Belgium: 🔸 US Army Garrison Benelux 🔸 Kleine Brogel Air Base (stores US nukes) . ◾ Netherlands: 🔸 Volkel Air Base (stores US nukes) . ◾ Italy: 🔸 Aviano Air Base (stores US nukes) 🔸 Ghedi Air Base 🔸 Naval Air Station Sigonella, Sicily 🔸 Naval Support Activity Naples (HQ of US 6th Fleet) 🔸 US Army Garrison Italy . ◾ Greece: 🔸 Naval Support Activity Souda Bay, Crete . ◾ UK: 🔸 Royal Air Force Lakenheath 🔸 Royal Air Force Mildenhall 🔸 Royal Air Force Alconbury/Molesworth 🔸 Royal Air Force Croughton, Fairford, Welford (common stopover for US strike and strategic bomber aircraft) 🔸 Royal Air Force High Wycombe (RAF HQ) 🔸 Portsmouth Naval Base (home to two-thirds of Royal Navy’s surface fleet) . ◾ Spain: 🔸 Rota Naval Base (permanent home to six US missile destroyers) 🔸 Moron Air Base . ◾ Portugal: 🔸 Lajes Air Base, Azores Islands (key NATO transatlantic logistical hub, targetable if Oreshnik can be redeployed from Astrakhan Region to new launch locations somewhere west of Moscow) . 1:33 AM · Nov 23, 2024 · 11.1K Views https://x.com/SputnikInt/status/1860028770595266957
    Like
    Wow
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 710 มุมมอง 0 รีวิว
  • i look forward to new friends here.
    i look forward to new friends here.
    3 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เซอร์เกย์ ลาฟรอฟ กล่าวว่า เขาไม่ทราบว่า โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ตั้งใจจะคลี่คลายวิกฤตในยูเครนอย่างไร, แต่มอสโกว์ตั้งตารอที่จะดูว่าเขาจะคิดอย่างไร:
    .
    Russian Foreign Minister Sergey Lavrov has said that he has no idea how US President-elect Donald Trump intends to settle the crisis in Ukraine, but Moscow looks forward to seeing what he comes up with:
    https://tass.com/politics/1873241
    .
    2:08 AM · Nov 16, 2024 · 2,216 Views
    https://x.com/tassagency_en/status/1857500920244003110
    รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เซอร์เกย์ ลาฟรอฟ กล่าวว่า เขาไม่ทราบว่า โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ตั้งใจจะคลี่คลายวิกฤตในยูเครนอย่างไร, แต่มอสโกว์ตั้งตารอที่จะดูว่าเขาจะคิดอย่างไร: . Russian Foreign Minister Sergey Lavrov has said that he has no idea how US President-elect Donald Trump intends to settle the crisis in Ukraine, but Moscow looks forward to seeing what he comes up with: https://tass.com/politics/1873241 . 2:08 AM · Nov 16, 2024 · 2,216 Views https://x.com/tassagency_en/status/1857500920244003110
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 315 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=wXyjgJ_VQI0
    บทสนทนาโทรจองห้องพักโรงแรม
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาโทรจองห้องพักโรงแรม
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #โรงแรม

    The conversations from the clip :

    Customer: Hello, I’d like to make a reservation for a room with a sea view.
    Receptionist: Of course! When would you like to book the room?
    Customer: I’m planning to stay from Friday to Sunday this week.
    Receptionist: Let me check the availability... Yes, we have a sea view room available for those dates.
    Customer: That’s great! Can I book a room for two people?
    Receptionist: Sure! I’ll reserve a double room for you. Would you prefer a king-sized bed or two single beds?
    Customer: A king-sized bed, please.
    Receptionist: Noted! Is there anything else you’d like to request for your room?
    Customer: Could you also confirm if breakfast is included with the room?
    Receptionist: Yes, breakfast is included for all our guests. It’s served from 7:00 a.m. to 10:00 a.m. daily.
    Customer: That sounds perfect. Is there a specific menu for breakfast?
    Receptionist: Yes, we offer a buffet breakfast with a variety of hot and cold dishes, including eggs, bacon, cereals, fruits, and fresh pastries.
    Customer: That sounds delicious! Also, is there Wi-Fi available in the room?
    Receptionist: Yes, we offer free Wi-Fi in all our rooms and common areas.
    Customer: Perfect. Can I check in early on Friday, around 1:00 p.m.?
    Receptionist: I’ll make a note of that, and we’ll do our best to have the room ready for you by then.
    Customer: Thank you! How much will the total cost be for the weekend?
    Receptionist: The total for the two-night stay with breakfast included will be 10,560 THB.
    Customer: Great, I’ll go ahead and confirm the booking. Thank you for your help!
    Receptionist: You’re very welcome! We look forward to welcoming you this Friday. Enjoy your stay!

    ลูกค้า: สวัสดีค่ะ ฉันต้องการจองห้องที่มีวิวทะเลค่ะ
    พนักงานต้อนรับ: ได้เลยครับ คุณต้องการจองห้องสำหรับวันไหนครับ?
    ลูกค้า: ฉันวางแผนจะพักตั้งแต่วันศุกร์ถึงวันอาทิตย์สัปดาห์นี้ค่ะ
    พนักงานต้อนรับ: ขออนุญาตตรวจสอบห้องว่างก่อนนะครับ... มีห้องที่มีวิวทะเลว่างสำหรับวันที่คุณต้องการครับ
    ลูกค้า: ดีจังเลย! ฉันขอจองห้องสำหรับสองคนได้ไหมคะ?
    พนักงานต้อนรับ: ได้ครับ ผมจะจองห้องแบบดับเบิ้ลให้คุณ คุณต้องการเตียงคิงไซส์หรือเตียงเดี่ยวสองเตียงครับ?
    ลูกค้า: เตียงคิงไซส์ค่ะ
    พนักงานต้อนรับ: รับทราบครับ มีอะไรเพิ่มเติมที่คุณต้องการสำหรับห้องไหมครับ?
    ลูกค้า: คุณช่วยยืนยันด้วยได้ไหมคะว่าห้องรวมอาหารเช้าด้วย?
    พนักงานต้อนรับ: ใช่ครับ อาหารเช้ารวมสำหรับแขกทุกท่าน เสิร์ฟตั้งแต่ 7:00 น. ถึง 10:00 น. ทุกวันครับ
    ลูกค้า: ฟังดูดีมากค่ะ อาหารเช้ามีเมนูเฉพาะไหมคะ?
    พนักงานต้อนรับ: มีครับ เรามีอาหารเช้าแบบบุฟเฟต์ที่มีทั้งเมนูร้อนและเย็น รวมถึงไข่ เบคอน ซีเรียล ผลไม้ และขนมอบสดใหม่ครับ
    ลูกค้า: น่าอร่อยมากเลย! แล้วในห้องมี Wi-Fi ไหมคะ?
    พนักงานต้อนรับ: มีครับ เรามี Wi-Fi ฟรีในทุกห้องและพื้นที่ส่วนกลางครับ
    ลูกค้า: ดีมากค่ะ ฉันสามารถเช็คอินก่อนเวลาในวันศุกร์ได้ไหมคะ ประมาณบ่ายโมง?
    พนักงานต้อนรับ: ผมจะจดบันทึกไว้ และเราจะพยายามเตรียมห้องให้พร้อมสำหรับคุณภายในเวลานั้นครับ
    ลูกค้า: ขอบคุณค่ะ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดสำหรับสุดสัปดาห์นี้จะเป็นเท่าไหร่คะ?
    พนักงานต้อนรับ: ค่าใช้จ่ายสำหรับการเข้าพักสองคืนรวมอาหารเช้าจะอยู่ที่ 10,560 บาทครับ
    ลูกค้า: ดีค่ะ ฉันขอยืนยันการจองเลย ขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือนะคะ!
    พนักงานต้อนรับ: ด้วยความยินดีครับ เรารอที่จะต้อนรับคุณในวันศุกร์นี้ ขอให้คุณพักผ่อนอย่างมีความสุขครับ!

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    Reservation (เรส-เซอร์-เว-ชั่น) n. แปลว่า การจอง
    Availability (อะ-เว-ละ-บิล-ลิ-ที) n. แปลว่า ความพร้อมใช้งาน
    Double room (ดั๊บ-เบิล รูม) n. แปลว่า ห้องสำหรับสองคน
    King-sized bed (คิง-ไซซด์ เบด) n. แปลว่า เตียงขนาดคิงไซส์
    Single bed (ซิง-เกิล เบด) n. แปลว่า เตียงเดี่ยว
    Confirm (คอน-เฟิร์ม) v. แปลว่า ยืนยัน
    Breakfast (เบรค-ฟาสท์) n. แปลว่า อาหารเช้า
    Buffet (บุ-เฟ่) n. แปลว่า บุฟเฟต์
    Variety (วะ-ไร-เอ-ที) n. แปลว่า ความหลากหลาย
    Dishes (ดิช-เชส) n. แปลว่า จานอาหาร, เมนู
    Wi-Fi (ไว-ไฟ) n. แปลว่า อินเทอร์เน็ตไร้สาย
    Check-in (เช็ค-อิน) n. แปลว่า การเช็คอิน
    Cost (คอสท์) n. แปลว่า ค่าใช้จ่าย
    Total (โท-เทิล) n. แปลว่า ยอดรวม
    Receptionist (รี-เซพ-ชั่น-นิสท์) n. แปลว่า พนักงานต้อนรับ
    https://www.youtube.com/watch?v=wXyjgJ_VQI0 บทสนทนาโทรจองห้องพักโรงแรม (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาโทรจองห้องพักโรงแรม มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #โรงแรม The conversations from the clip : Customer: Hello, I’d like to make a reservation for a room with a sea view. Receptionist: Of course! When would you like to book the room? Customer: I’m planning to stay from Friday to Sunday this week. Receptionist: Let me check the availability... Yes, we have a sea view room available for those dates. Customer: That’s great! Can I book a room for two people? Receptionist: Sure! I’ll reserve a double room for you. Would you prefer a king-sized bed or two single beds? Customer: A king-sized bed, please. Receptionist: Noted! Is there anything else you’d like to request for your room? Customer: Could you also confirm if breakfast is included with the room? Receptionist: Yes, breakfast is included for all our guests. It’s served from 7:00 a.m. to 10:00 a.m. daily. Customer: That sounds perfect. Is there a specific menu for breakfast? Receptionist: Yes, we offer a buffet breakfast with a variety of hot and cold dishes, including eggs, bacon, cereals, fruits, and fresh pastries. Customer: That sounds delicious! Also, is there Wi-Fi available in the room? Receptionist: Yes, we offer free Wi-Fi in all our rooms and common areas. Customer: Perfect. Can I check in early on Friday, around 1:00 p.m.? Receptionist: I’ll make a note of that, and we’ll do our best to have the room ready for you by then. Customer: Thank you! How much will the total cost be for the weekend? Receptionist: The total for the two-night stay with breakfast included will be 10,560 THB. Customer: Great, I’ll go ahead and confirm the booking. Thank you for your help! Receptionist: You’re very welcome! We look forward to welcoming you this Friday. Enjoy your stay! ลูกค้า: สวัสดีค่ะ ฉันต้องการจองห้องที่มีวิวทะเลค่ะ พนักงานต้อนรับ: ได้เลยครับ คุณต้องการจองห้องสำหรับวันไหนครับ? ลูกค้า: ฉันวางแผนจะพักตั้งแต่วันศุกร์ถึงวันอาทิตย์สัปดาห์นี้ค่ะ พนักงานต้อนรับ: ขออนุญาตตรวจสอบห้องว่างก่อนนะครับ... มีห้องที่มีวิวทะเลว่างสำหรับวันที่คุณต้องการครับ ลูกค้า: ดีจังเลย! ฉันขอจองห้องสำหรับสองคนได้ไหมคะ? พนักงานต้อนรับ: ได้ครับ ผมจะจองห้องแบบดับเบิ้ลให้คุณ คุณต้องการเตียงคิงไซส์หรือเตียงเดี่ยวสองเตียงครับ? ลูกค้า: เตียงคิงไซส์ค่ะ พนักงานต้อนรับ: รับทราบครับ มีอะไรเพิ่มเติมที่คุณต้องการสำหรับห้องไหมครับ? ลูกค้า: คุณช่วยยืนยันด้วยได้ไหมคะว่าห้องรวมอาหารเช้าด้วย? พนักงานต้อนรับ: ใช่ครับ อาหารเช้ารวมสำหรับแขกทุกท่าน เสิร์ฟตั้งแต่ 7:00 น. ถึง 10:00 น. ทุกวันครับ ลูกค้า: ฟังดูดีมากค่ะ อาหารเช้ามีเมนูเฉพาะไหมคะ? พนักงานต้อนรับ: มีครับ เรามีอาหารเช้าแบบบุฟเฟต์ที่มีทั้งเมนูร้อนและเย็น รวมถึงไข่ เบคอน ซีเรียล ผลไม้ และขนมอบสดใหม่ครับ ลูกค้า: น่าอร่อยมากเลย! แล้วในห้องมี Wi-Fi ไหมคะ? พนักงานต้อนรับ: มีครับ เรามี Wi-Fi ฟรีในทุกห้องและพื้นที่ส่วนกลางครับ ลูกค้า: ดีมากค่ะ ฉันสามารถเช็คอินก่อนเวลาในวันศุกร์ได้ไหมคะ ประมาณบ่ายโมง? พนักงานต้อนรับ: ผมจะจดบันทึกไว้ และเราจะพยายามเตรียมห้องให้พร้อมสำหรับคุณภายในเวลานั้นครับ ลูกค้า: ขอบคุณค่ะ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดสำหรับสุดสัปดาห์นี้จะเป็นเท่าไหร่คะ? พนักงานต้อนรับ: ค่าใช้จ่ายสำหรับการเข้าพักสองคืนรวมอาหารเช้าจะอยู่ที่ 10,560 บาทครับ ลูกค้า: ดีค่ะ ฉันขอยืนยันการจองเลย ขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือนะคะ! พนักงานต้อนรับ: ด้วยความยินดีครับ เรารอที่จะต้อนรับคุณในวันศุกร์นี้ ขอให้คุณพักผ่อนอย่างมีความสุขครับ! Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) Reservation (เรส-เซอร์-เว-ชั่น) n. แปลว่า การจอง Availability (อะ-เว-ละ-บิล-ลิ-ที) n. แปลว่า ความพร้อมใช้งาน Double room (ดั๊บ-เบิล รูม) n. แปลว่า ห้องสำหรับสองคน King-sized bed (คิง-ไซซด์ เบด) n. แปลว่า เตียงขนาดคิงไซส์ Single bed (ซิง-เกิล เบด) n. แปลว่า เตียงเดี่ยว Confirm (คอน-เฟิร์ม) v. แปลว่า ยืนยัน Breakfast (เบรค-ฟาสท์) n. แปลว่า อาหารเช้า Buffet (บุ-เฟ่) n. แปลว่า บุฟเฟต์ Variety (วะ-ไร-เอ-ที) n. แปลว่า ความหลากหลาย Dishes (ดิช-เชส) n. แปลว่า จานอาหาร, เมนู Wi-Fi (ไว-ไฟ) n. แปลว่า อินเทอร์เน็ตไร้สาย Check-in (เช็ค-อิน) n. แปลว่า การเช็คอิน Cost (คอสท์) n. แปลว่า ค่าใช้จ่าย Total (โท-เทิล) n. แปลว่า ยอดรวม Receptionist (รี-เซพ-ชั่น-นิสท์) n. แปลว่า พนักงานต้อนรับ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 946 มุมมอง 0 รีวิว
  • ❗️ทรัมป์ได้เลือกวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ เป็นผู้เข้าชิงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศอย่างเป็นทางการ

    โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ กล่าวเมื่อวันพุธว่า เขาจะเสนอชื่อวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ จากฟลอริดาให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ

    “ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะประกาศว่าวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ, จากฟลอริดา, ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ มาร์โกเป็นผู้นำที่ได้รับการเคารพนับถือ, และเป็นกระบอกเสียงที่ทรงพลังสำหรับเสรีภาพ เขาจะเป็นผู้สนับสนุนประเทศชาติของเรา, เพื่อนแท้ของพันธมิตรของเรา, และเป็นนักรบผู้กล้าหาญที่จะไม่ยอมแพ้ต่อศัตรู ผมตั้งตารอที่จะร่วมงานกับมาร์โกเพื่อให้ประเทศอเมริกา, และโลก, ปลอดภัยและยิ่งใหญ่ขึ้นอีกครั้ง!” ทรัมป์กล่าวในแถลงการณ์

    รูบิโอถือเป็นคู่หูของทรัมป์ในการชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในการเลือกตั้งปี ๒๐๒๔, แต่เลือกรองประธานาธิบดี เจ.ดี. แวนซ์แทน นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติการพิเศษทางทหารของรัสเซียในยูเครน, เขาได้เสนอร่างกฎหมายต่อต้านรัสเซียหลายฉบับและมีมุมมองที่รุนแรงต่อจีนและรัสเซีย หากได้รับการแต่งตั้ง, รูบิโอจะเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนแรกที่เป็นชาวฮิสแปนิก
    .
    ❗️ TRUMP HAS OFFICIALLY SELECTED SEN. MARCO RUBIO AS HIS PICK FOR SECRETARY OF STATE

    US President-elect Donald Trump said on Wednesday that he will nominate Florida Senator Marco Rubio to be the US Secretary of State.

    "It is my Great Honor to announce that Senator Marco Rubio, of Florida, is hereby nominated to be The United States Secretary of State. Marco is a Highly Respected Leader, and a very powerful Voice for Freedom. He will be a strong Advocate for our Nation, a true friend to our Allies, and a fearless Warrior who will never back down to our adversaries. I look forward to working with Marco to Make America, and the World, Safe and Great Again!" Trump said in a statement.

    Rubio was considered as Trump's running mate for the position of the US vice president in the 2024 election, but Vice President-elect J.D. Vance was chosen instead. Since the beginning of the Russian special military operation in Ukraine, he has introduced a number of Anti-Russian bills and holds harsh views on China and Russia. If appointed, Rubio would be the first Hispanic secretary of state.
    .
    Last edited 3:24 AM · Nov 14, 2024 · 2,086 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1856795310355300520
    ❗️ทรัมป์ได้เลือกวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ เป็นผู้เข้าชิงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศอย่างเป็นทางการ โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ กล่าวเมื่อวันพุธว่า เขาจะเสนอชื่อวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ จากฟลอริดาให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ “ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะประกาศว่าวุฒิสมาชิก มาร์โก รูบิโอ, จากฟลอริดา, ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ มาร์โกเป็นผู้นำที่ได้รับการเคารพนับถือ, และเป็นกระบอกเสียงที่ทรงพลังสำหรับเสรีภาพ เขาจะเป็นผู้สนับสนุนประเทศชาติของเรา, เพื่อนแท้ของพันธมิตรของเรา, และเป็นนักรบผู้กล้าหาญที่จะไม่ยอมแพ้ต่อศัตรู ผมตั้งตารอที่จะร่วมงานกับมาร์โกเพื่อให้ประเทศอเมริกา, และโลก, ปลอดภัยและยิ่งใหญ่ขึ้นอีกครั้ง!” ทรัมป์กล่าวในแถลงการณ์ รูบิโอถือเป็นคู่หูของทรัมป์ในการชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในการเลือกตั้งปี ๒๐๒๔, แต่เลือกรองประธานาธิบดี เจ.ดี. แวนซ์แทน นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติการพิเศษทางทหารของรัสเซียในยูเครน, เขาได้เสนอร่างกฎหมายต่อต้านรัสเซียหลายฉบับและมีมุมมองที่รุนแรงต่อจีนและรัสเซีย หากได้รับการแต่งตั้ง, รูบิโอจะเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนแรกที่เป็นชาวฮิสแปนิก . ❗️ TRUMP HAS OFFICIALLY SELECTED SEN. MARCO RUBIO AS HIS PICK FOR SECRETARY OF STATE US President-elect Donald Trump said on Wednesday that he will nominate Florida Senator Marco Rubio to be the US Secretary of State. "It is my Great Honor to announce that Senator Marco Rubio, of Florida, is hereby nominated to be The United States Secretary of State. Marco is a Highly Respected Leader, and a very powerful Voice for Freedom. He will be a strong Advocate for our Nation, a true friend to our Allies, and a fearless Warrior who will never back down to our adversaries. I look forward to working with Marco to Make America, and the World, Safe and Great Again!" Trump said in a statement. Rubio was considered as Trump's running mate for the position of the US vice president in the 2024 election, but Vice President-elect J.D. Vance was chosen instead. Since the beginning of the Russian special military operation in Ukraine, he has introduced a number of Anti-Russian bills and holds harsh views on China and Russia. If appointed, Rubio would be the first Hispanic secretary of state. . Last edited 3:24 AM · Nov 14, 2024 · 2,086 Views https://x.com/SputnikInt/status/1856795310355300520
    Wow
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 566 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=imumVf8Wq0o
    บทสนทนาโทรจองโต๊ะอาหาร
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาจองโต๊ะอาหาร
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #ร้านอาหาร

    The conversations from the clip :

    Customer: Hi, I’d like to make a reservation for dinner with a view of the river.
    Receptionist: Of course! When would you like to book a table?
    Customer: I’m thinking about tomorrow evening. How about 6:30 p.m.?
    Receptionist: Let me check... Yes, we have availability at that time.
    Customer: Great! Can I request a table with the best view of the river?
    Receptionist: I’ll make sure to reserve a table with a good view for you.
    Customer: Thank you! Is it possible to have a table outside?
    Receptionist: We have some outdoor seating available, but it’s subject to weather conditions. Would you like me to reserve an outdoor table?
    Customer: Yes, please, I’d prefer to sit outside if the weather is nice.
    Receptionist: Alright, I’ll note that down. Should I expect you to be on time for 6:30 p.m.?
    Customer: Yes, we’ll be there right on time.
    Receptionist: Perfect. How many people will be in your party?
    Customer: It will be four people.
    Receptionist: Great, a table for four with a river view and outdoor seating. Is there anything else I can assist you with?
    Customer: Do you have any special promotions or discounts tomorrow?
    Receptionist: Yes, we’re offering a 10% discount on the bill for reservations made for dinner on weekdays.
    Customer: That’s perfect! Thank you so much for your help.
    Receptionist: You’re very welcome! We look forward to having you tomorrow at 6:30 p.m. Enjoy your dinner by the river!

    ลูกค้า: สวัสดีค่ะ ฉันอยากจะจองโต๊ะสำหรับทานอาหารเย็นที่มีวิวแม่น้ำค่ะ
    พนักงาน: แน่นอนครับ ท่านต้องการจองโต๊ะในวันไหนครับ?
    ลูกค้า: ฉันคิดว่าวันพรุ่งนี้ตอนเย็นค่ะ 18:30 น. ดีไหมคะ?
    พนักงาน: ขอเช็ครอบการจองก่อนนะครับ... ใช่ครับ เรามีที่ว่างในเวลานั้นค่ะ
    ลูกค้า: เยี่ยมเลยค่ะ! ขอจองโต๊ะที่มีวิวแม่น้ำดีที่สุดได้ไหมคะ?
    พนักงาน: ผมจะจัดให้ท่านได้โต๊ะที่วิวสวยสำหรับท่านครับ
    ลูกค้า: ขอบคุณมากค่ะ! แล้วถ้าสามารถนั่งข้างนอกได้ไหมคะ?
    พนักงาน: เรามีที่นั่งข้างนอกค่ะ แต่ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศครับ อยากให้ผมจองโต๊ะข้างนอกให้ท่านไหมครับ?
    ลูกค้า: ค่ะ ถ้าอากาศดี ฉันอยากนั่งข้างนอกค่ะ
    พนักงาน: เข้าใจแล้วครับ ผมจะจดบันทึกให้ครับ คิดว่าท่านจะมาถึงตรงเวลา 18:30 น. ใช่ไหมครับ?
    ลูกค้า: ใช่ค่ะ เราจะมาถึงตรงเวลา
    พนักงาน: เยี่ยมเลยครับ แล้วจะมีกี่ท่านในโต๊ะครับ?
    ลูกค้า: สี่คนค่ะ
    พนักงาน: ดีครับ งั้นจองโต๊ะสี่ที่พร้อมวิวแม่น้ำและที่นั่งข้างนอกให้ครับ ยังมีอะไรที่ผมสามารถช่วยท่านได้อีกไหมครับ?
    ลูกค้า: พรุ่งนี้มีโปรโมชั่นหรือส่วนลดอะไรบ้างไหมคะ?
    พนักงาน: ค่ะ เรามีส่วนลด 10% สำหรับการจองโต๊ะทานอาหารเย็นในวันธรรมดาครับ
    ลูกค้า: เยี่ยมมากเลยค่ะ ขอบคุณมากๆ ค่ะ
    พนักงาน: ยินดีครับ! เราจะรอต้อนรับท่านในวันพรุ่งนี้เวลา 18:30 น. ขอให้ท่านมีความสุขกับมื้อเย็นริมแม่น้ำค่ะ!

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    Reservation (เรส-เซอ-เว-ชั่น) n. แปลว่า การจอง
    Receptionist (ริ-เซพ-ชั่น-นิสท) n. แปลว่า พนักงานต้อนรับ
    Availability (อะ-เวล-ละ-บิล-ลิ-ที) n. แปลว่า ความพร้อมให้บริการ
    View (วิว) n. แปลว่า วิว, ทัศนียภาพ
    Request (รี-เควสท) v. แปลว่า ร้องขอ, ขอร้อง
    Outdoor (เอาท์-ดอร์) adj. แปลว่า กลางแจ้ง, นอกสถานที่
    Seating (ซีท-ทิง) n. แปลว่า ที่นั่ง
    Weather (เว-เธอร์) n. แปลว่า สภาพอากาศ
    Party (พาร์-ที) n. แปลว่า กลุ่มคน, ฝ่าย
    Assist (แอส-ซิสท) v. แปลว่า ช่วยเหลือ
    Promotion (โปร-โม-ชั่น) n. แปลว่า โปรโมชั่น, การส่งเสริมการขาย
    Discount (ดิส-เคาท์) n. แปลว่า ส่วนลด
    Bill (บิล) n. แปลว่า ใบเรียกเก็บเงิน
    Confirm (คอน-เฟิร์ม) v. แปลว่า ยืนยัน
    Enjoy (เอน-จอย) v. แปลว่า เพลิดเพลิน
    https://www.youtube.com/watch?v=imumVf8Wq0o บทสนทนาโทรจองโต๊ะอาหาร (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาจองโต๊ะอาหาร มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #ร้านอาหาร The conversations from the clip : Customer: Hi, I’d like to make a reservation for dinner with a view of the river. Receptionist: Of course! When would you like to book a table? Customer: I’m thinking about tomorrow evening. How about 6:30 p.m.? Receptionist: Let me check... Yes, we have availability at that time. Customer: Great! Can I request a table with the best view of the river? Receptionist: I’ll make sure to reserve a table with a good view for you. Customer: Thank you! Is it possible to have a table outside? Receptionist: We have some outdoor seating available, but it’s subject to weather conditions. Would you like me to reserve an outdoor table? Customer: Yes, please, I’d prefer to sit outside if the weather is nice. Receptionist: Alright, I’ll note that down. Should I expect you to be on time for 6:30 p.m.? Customer: Yes, we’ll be there right on time. Receptionist: Perfect. How many people will be in your party? Customer: It will be four people. Receptionist: Great, a table for four with a river view and outdoor seating. Is there anything else I can assist you with? Customer: Do you have any special promotions or discounts tomorrow? Receptionist: Yes, we’re offering a 10% discount on the bill for reservations made for dinner on weekdays. Customer: That’s perfect! Thank you so much for your help. Receptionist: You’re very welcome! We look forward to having you tomorrow at 6:30 p.m. Enjoy your dinner by the river! ลูกค้า: สวัสดีค่ะ ฉันอยากจะจองโต๊ะสำหรับทานอาหารเย็นที่มีวิวแม่น้ำค่ะ พนักงาน: แน่นอนครับ ท่านต้องการจองโต๊ะในวันไหนครับ? ลูกค้า: ฉันคิดว่าวันพรุ่งนี้ตอนเย็นค่ะ 18:30 น. ดีไหมคะ? พนักงาน: ขอเช็ครอบการจองก่อนนะครับ... ใช่ครับ เรามีที่ว่างในเวลานั้นค่ะ ลูกค้า: เยี่ยมเลยค่ะ! ขอจองโต๊ะที่มีวิวแม่น้ำดีที่สุดได้ไหมคะ? พนักงาน: ผมจะจัดให้ท่านได้โต๊ะที่วิวสวยสำหรับท่านครับ ลูกค้า: ขอบคุณมากค่ะ! แล้วถ้าสามารถนั่งข้างนอกได้ไหมคะ? พนักงาน: เรามีที่นั่งข้างนอกค่ะ แต่ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศครับ อยากให้ผมจองโต๊ะข้างนอกให้ท่านไหมครับ? ลูกค้า: ค่ะ ถ้าอากาศดี ฉันอยากนั่งข้างนอกค่ะ พนักงาน: เข้าใจแล้วครับ ผมจะจดบันทึกให้ครับ คิดว่าท่านจะมาถึงตรงเวลา 18:30 น. ใช่ไหมครับ? ลูกค้า: ใช่ค่ะ เราจะมาถึงตรงเวลา พนักงาน: เยี่ยมเลยครับ แล้วจะมีกี่ท่านในโต๊ะครับ? ลูกค้า: สี่คนค่ะ พนักงาน: ดีครับ งั้นจองโต๊ะสี่ที่พร้อมวิวแม่น้ำและที่นั่งข้างนอกให้ครับ ยังมีอะไรที่ผมสามารถช่วยท่านได้อีกไหมครับ? ลูกค้า: พรุ่งนี้มีโปรโมชั่นหรือส่วนลดอะไรบ้างไหมคะ? พนักงาน: ค่ะ เรามีส่วนลด 10% สำหรับการจองโต๊ะทานอาหารเย็นในวันธรรมดาครับ ลูกค้า: เยี่ยมมากเลยค่ะ ขอบคุณมากๆ ค่ะ พนักงาน: ยินดีครับ! เราจะรอต้อนรับท่านในวันพรุ่งนี้เวลา 18:30 น. ขอให้ท่านมีความสุขกับมื้อเย็นริมแม่น้ำค่ะ! Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) Reservation (เรส-เซอ-เว-ชั่น) n. แปลว่า การจอง Receptionist (ริ-เซพ-ชั่น-นิสท) n. แปลว่า พนักงานต้อนรับ Availability (อะ-เวล-ละ-บิล-ลิ-ที) n. แปลว่า ความพร้อมให้บริการ View (วิว) n. แปลว่า วิว, ทัศนียภาพ Request (รี-เควสท) v. แปลว่า ร้องขอ, ขอร้อง Outdoor (เอาท์-ดอร์) adj. แปลว่า กลางแจ้ง, นอกสถานที่ Seating (ซีท-ทิง) n. แปลว่า ที่นั่ง Weather (เว-เธอร์) n. แปลว่า สภาพอากาศ Party (พาร์-ที) n. แปลว่า กลุ่มคน, ฝ่าย Assist (แอส-ซิสท) v. แปลว่า ช่วยเหลือ Promotion (โปร-โม-ชั่น) n. แปลว่า โปรโมชั่น, การส่งเสริมการขาย Discount (ดิส-เคาท์) n. แปลว่า ส่วนลด Bill (บิล) n. แปลว่า ใบเรียกเก็บเงิน Confirm (คอน-เฟิร์ม) v. แปลว่า ยืนยัน Enjoy (เอน-จอย) v. แปลว่า เพลิดเพลิน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 692 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts