• ทรัมป์ติดหล่ม 3 กับดักที่ตัวเองก่อ ยูเครน-ตะวันออกกลาง-ภาษี : คนเคาะข่าว 06-05-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #สงครามยูเครน #ตะวันออกกลาง #นโยบายภาษี #กับดักทรัมป์ #Geopolitics #ข่าวต่างประเทศ #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #วิเคราะห์การเมืองโลก #นโยบายสหรัฐ #thaitimes #ภาษีทรัมป์ #ความขัดแย้งระหว่างประเทศ
    ทรัมป์ติดหล่ม 3 กับดักที่ตัวเองก่อ ยูเครน-ตะวันออกกลาง-ภาษี : คนเคาะข่าว 06-05-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #สงครามยูเครน #ตะวันออกกลาง #นโยบายภาษี #กับดักทรัมป์ #Geopolitics #ข่าวต่างประเทศ #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #วิเคราะห์การเมืองโลก #นโยบายสหรัฐ #thaitimes #ภาษีทรัมป์ #ความขัดแย้งระหว่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 10 0 รีวิว
  • “มณเฑียร” พร้อมรับผลสอบตึกสตง.ถล่ม ไม่ว่าออกมาในรูปไหน ลั่นหากพบเอกชน-ข้าราชการ เป็นเหตุ จะดำเนินคดีไม่ยกเว้น ยันชื่อวิศวกรที่ถูกปลอมลายเซ็น มีอยู่ในบัญชีของผู้ควบคุมงาน เผยยังไม่คิดเรื่องที่อยู่ใหม่ ขอโฟกัสเรื่องความร่วมมือ-ดูแลเยียวยาผู้เสียชีวิต

    วันนี้ (30เม.ย.) นายมณเฑียร เจริญผล ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แถลงภายหลังการประชุมคณะกรรมาธิการ (กมธ.) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร กรณีตึก สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.แห่งใหม่) ถล่มจากเหตุแผ่นดินไหว

    นายมณเฑียร กล่าวว่าการก่อสร้างหลัก ๆ มีอยู่ 3 เรื่อง คือการจ้างบริษัทออกแบบ การจ้างบริษัทก่อสร้าง ในวงเงินที่ดำเนินการ 2.1 พันล้านบาท และการก่อสร้างดำเนินไปทั้งหมด 22 งวด เป็นเงิน 966 ล้านบาท ส่วนสัญญาที่ 3 เป็นสัญญาหลัก คือสัญญาจ้างผู้ควบคุมงาน คือ บริษัท PKW ประเด็นคือการออกแบบ ที่มีคนบอกว่าการออกแบบไม่มีการเซ็นรับรอง โดยวันนี้ได้นำเอกสาร มาให้ทางกรรมาธิการได้ดูว่าเราได้ถามไปยังบริษัทผู้ออกแบบแล้ว ซึ่งทางบริษัทผู้ออกแบบได้ยืนยันว่า บุคคลที่เซ็นรับรองยังทำงานอยู่กับบริษัทที่ออกแบบอยู่ ส่วนเรื่องการจ้างควบคุมงานได้ให้ทางบริษัท ยืนยันว่ายังเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทอยู่หรือไม่ ซึ่งบุคคลที่อ้างว่าไม่ได้เซ็นในการควบคุมงานนั้น มีวิศวกรอยู่ 2 ประเภท คือ วิศวกรที่ปรึกษากับวิศวกรที่ควบคุมงาน เพราะฉะนั้นวิศวกรที่ควบคุมงานก็ต้องมาคุมงาน แต่วิศวกรที่ปรึกษาไม่จำเป็นต้องมาควบคุมงานแต่ต้องรับรองเอกสาร

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040622

    #MGROnline #ตึกถล่ม #สตง.
    “มณเฑียร” พร้อมรับผลสอบตึกสตง.ถล่ม ไม่ว่าออกมาในรูปไหน ลั่นหากพบเอกชน-ข้าราชการ เป็นเหตุ จะดำเนินคดีไม่ยกเว้น ยันชื่อวิศวกรที่ถูกปลอมลายเซ็น มีอยู่ในบัญชีของผู้ควบคุมงาน เผยยังไม่คิดเรื่องที่อยู่ใหม่ ขอโฟกัสเรื่องความร่วมมือ-ดูแลเยียวยาผู้เสียชีวิต • วันนี้ (30เม.ย.) นายมณเฑียร เจริญผล ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แถลงภายหลังการประชุมคณะกรรมาธิการ (กมธ.) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร กรณีตึก สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.แห่งใหม่) ถล่มจากเหตุแผ่นดินไหว • นายมณเฑียร กล่าวว่าการก่อสร้างหลัก ๆ มีอยู่ 3 เรื่อง คือการจ้างบริษัทออกแบบ การจ้างบริษัทก่อสร้าง ในวงเงินที่ดำเนินการ 2.1 พันล้านบาท และการก่อสร้างดำเนินไปทั้งหมด 22 งวด เป็นเงิน 966 ล้านบาท ส่วนสัญญาที่ 3 เป็นสัญญาหลัก คือสัญญาจ้างผู้ควบคุมงาน คือ บริษัท PKW ประเด็นคือการออกแบบ ที่มีคนบอกว่าการออกแบบไม่มีการเซ็นรับรอง โดยวันนี้ได้นำเอกสาร มาให้ทางกรรมาธิการได้ดูว่าเราได้ถามไปยังบริษัทผู้ออกแบบแล้ว ซึ่งทางบริษัทผู้ออกแบบได้ยืนยันว่า บุคคลที่เซ็นรับรองยังทำงานอยู่กับบริษัทที่ออกแบบอยู่ ส่วนเรื่องการจ้างควบคุมงานได้ให้ทางบริษัท ยืนยันว่ายังเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทอยู่หรือไม่ ซึ่งบุคคลที่อ้างว่าไม่ได้เซ็นในการควบคุมงานนั้น มีวิศวกรอยู่ 2 ประเภท คือ วิศวกรที่ปรึกษากับวิศวกรที่ควบคุมงาน เพราะฉะนั้นวิศวกรที่ควบคุมงานก็ต้องมาคุมงาน แต่วิศวกรที่ปรึกษาไม่จำเป็นต้องมาควบคุมงานแต่ต้องรับรองเอกสาร • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040622 • #MGROnline #ตึกถล่ม #สตง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

    ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง

    อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492

    #MGROnline #ทักษิณ
    ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา • ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง • อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492 • #MGROnline #ทักษิณ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • กองทัพบกออกแถลงหลังภาพชายแต่งกายคล้ายสารวัตรทหารอารักขาหญิงชาวจีนในงานเปิดตัวสินค้าโผล่โซเชียล ยืนยันหน่วยพัน.สห.11 ไม่ได้ส่งกำลังพลร่วมงาน และอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าเป็นทหารจริงหรือไม่ หากพบกระทำผิดจริง เตรียมสอบวินัยทันที

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040409

    #MGROnline #สารวัตรทหาร
    กองทัพบกออกแถลงหลังภาพชายแต่งกายคล้ายสารวัตรทหารอารักขาหญิงชาวจีนในงานเปิดตัวสินค้าโผล่โซเชียล ยืนยันหน่วยพัน.สห.11 ไม่ได้ส่งกำลังพลร่วมงาน และอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าเป็นทหารจริงหรือไม่ หากพบกระทำผิดจริง เตรียมสอบวินัยทันที • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040409 • #MGROnline #สารวัตรทหาร
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • Amazon กำลังเผชิญกับความขัดแย้งกับรัฐบาลทรัมป์ หลังจากมีรายงานว่า Amazon เตรียมแสดง ต้นทุนภาษีศุลกากร บนหน้ารายละเอียดสินค้า ซึ่งถูกมองว่าเป็น การกระทำที่เป็นศัตรูและมีเจตนาทางการเมือง โดย Karoline Leavitt โฆษกทำเนียบขาวกล่าวว่า Amazon กำลังร่วมมือกับ หน่วยงานโฆษณาชวนเชื่อของจีน

    การเคลื่อนไหวนี้เกิดขึ้นในช่วง 100 วันแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีทรัมป์ ซึ่งนโยบายภาษีศุลกากรเป็นประเด็นร้อนที่ถูกถกเถียงกันอย่างหนัก รายงานจาก Punchbowl News ระบุว่า Amazon อาจต้องการให้ผู้บริโภคเห็นว่าภาษีศุลกากรส่งผลต่อราคาสินค้าโดยตรง

    แม้ว่า Amazon ยังไม่ได้ออกแถลงการณ์เกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่การตอบโต้จากทำเนียบขาวอาจทำให้บริษัทต้องพิจารณาแนวทางใหม่

    ✅ แผนของ Amazon
    - เตรียมแสดงต้นทุนภาษีศุลกากรบนหน้ารายละเอียดสินค้า
    - อาจต้องการให้ผู้บริโภคเห็นว่าภาษีส่งผลต่อราคาสินค้าโดยตรง

    ✅ การตอบโต้จากรัฐบาลทรัมป์
    - โฆษกทำเนียบขาวกล่าวว่า Amazon กำลังร่วมมือกับหน่วยงานโฆษณาชวนเชื่อของจีน
    - มองว่าเป็นการกระทำที่เป็นศัตรูและมีเจตนาทางการเมือง

    ✅ ผลกระทบต่อ Amazon
    - อาจต้องพิจารณาแนวทางใหม่เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับรัฐบาล
    - อาจส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง Amazon และผู้บริโภคในสหรัฐฯ

    ✅ แนวโน้มของตลาดอีคอมเมิร์ซ
    - หาก Amazon ดำเนินแผนนี้ต่อไป อาจส่งผลต่อการกำหนดราคาสินค้าในตลาด

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/big-tech/amazons-tariff-transparency-plans-for-product-pages-dubbed-hostile-and-political-act-by-the-trump-administration
    Amazon กำลังเผชิญกับความขัดแย้งกับรัฐบาลทรัมป์ หลังจากมีรายงานว่า Amazon เตรียมแสดง ต้นทุนภาษีศุลกากร บนหน้ารายละเอียดสินค้า ซึ่งถูกมองว่าเป็น การกระทำที่เป็นศัตรูและมีเจตนาทางการเมือง โดย Karoline Leavitt โฆษกทำเนียบขาวกล่าวว่า Amazon กำลังร่วมมือกับ หน่วยงานโฆษณาชวนเชื่อของจีน การเคลื่อนไหวนี้เกิดขึ้นในช่วง 100 วันแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีทรัมป์ ซึ่งนโยบายภาษีศุลกากรเป็นประเด็นร้อนที่ถูกถกเถียงกันอย่างหนัก รายงานจาก Punchbowl News ระบุว่า Amazon อาจต้องการให้ผู้บริโภคเห็นว่าภาษีศุลกากรส่งผลต่อราคาสินค้าโดยตรง แม้ว่า Amazon ยังไม่ได้ออกแถลงการณ์เกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่การตอบโต้จากทำเนียบขาวอาจทำให้บริษัทต้องพิจารณาแนวทางใหม่ ✅ แผนของ Amazon - เตรียมแสดงต้นทุนภาษีศุลกากรบนหน้ารายละเอียดสินค้า - อาจต้องการให้ผู้บริโภคเห็นว่าภาษีส่งผลต่อราคาสินค้าโดยตรง ✅ การตอบโต้จากรัฐบาลทรัมป์ - โฆษกทำเนียบขาวกล่าวว่า Amazon กำลังร่วมมือกับหน่วยงานโฆษณาชวนเชื่อของจีน - มองว่าเป็นการกระทำที่เป็นศัตรูและมีเจตนาทางการเมือง ✅ ผลกระทบต่อ Amazon - อาจต้องพิจารณาแนวทางใหม่เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับรัฐบาล - อาจส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง Amazon และผู้บริโภคในสหรัฐฯ ✅ แนวโน้มของตลาดอีคอมเมิร์ซ - หาก Amazon ดำเนินแผนนี้ต่อไป อาจส่งผลต่อการกำหนดราคาสินค้าในตลาด https://www.tomshardware.com/tech-industry/big-tech/amazons-tariff-transparency-plans-for-product-pages-dubbed-hostile-and-political-act-by-the-trump-administration
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 145 มุมมอง 0 รีวิว
  • James Rickards ชี้ราคาทองพุ่งแตะ $27,000 ได้อย่างไร? : คนเคาะข่าว 29-04-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการ นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #JamesRickards #ราคาทองคำ #ทองพุ่ง #เศรษฐกิจโลก #วิเคราะห์ทองคำ #ตลาดทองคำ #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวเศรษฐกิจ #วิเคราะห์การเงิน #ทองคำโลก #Geopolitics #thaitimes #การลงทุนทองคำ
    James Rickards ชี้ราคาทองพุ่งแตะ $27,000 ได้อย่างไร? : คนเคาะข่าว 29-04-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการ นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #JamesRickards #ราคาทองคำ #ทองพุ่ง #เศรษฐกิจโลก #วิเคราะห์ทองคำ #ตลาดทองคำ #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวเศรษฐกิจ #วิเคราะห์การเงิน #ทองคำโลก #Geopolitics #thaitimes #การลงทุนทองคำ
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 311 มุมมอง 7 0 รีวิว
  • Afghanization, Finlandization, And The Politic-ization Of Place Names

    Recent news has been filled with analysis that attempts to make sense of current events by comparing them to past moments in history—and applying some of the terminology that originated in the midst or aftermath of those earlier events. Prominent examples include terms based on the combination of a place name and the ending -ization, such as Afghanization (in the context of the withdrawal of US forces from Afghanistan) and Finlandization (in the context of the Russian invasion of Ukraine).

    Not only are such terms used in fraught political discussions, use of the words themselves is often controversial due to debates about what they mean exactly as well as how—or whether—they should be used.

    Add context to your reading of current events with this list of some of the -ization terms you’re most likely to encounter in historical analysis, along with explanations about the different meanings they can have.

    Afghanization
    The term Afghanization is most prominently used in the context of US forces in Afghanistan, particularly in the lead-up to and during the withdrawal of those forces in 2021. Specifically, it refers to the US strategy of attempting to return political and military control to Afghan forces. The term is also used separately to refer to ethnic and language assimilation within the country.

    Africanization
    The term Africanization can be used in a variety of ways. It can mean “to bring under African, especially Black African, influence or to adapt to African needs” or more specifically, “to make African, especially to give control of (policy, government, etc.) to Africans.” It is commonly used to discuss postcolonial Africa and post-apartheid South Africa. In this context, Africanization refers to restoring political, economic, and civil power to Black Africans.

    Americanization
    The word Americanization is used to refer to two separate ideas. In the early 1900s, many advocated for “Americanizing” the large number of new immigrants who were entering the United States at the time as a way to instill cultural values considered quintessentially “American.” During and after, this approach has faced criticism for forcing the loss of immigrants’ original cultures.

    More currently, the word Americanization is often used to refer to the spread of American culture across the world, especially through American media and popular culture. This term can refer to the wide availability of American pop culture, which has been noted for its influence on many other nations’ cultures.

    Arabization
    The word Arabization is used to refer to a process of promoting Arabic language and Arabic culture in education, government, and media. In particular, Arabization is often used to describe government policies that enforce this process in countries that were formerly under the control of non-Arab colonizers.

    balkanization
    The term balkanization is sometimes applied when a large place or country divides up into smaller, more homogenous communities. It can also refer to conflict between various ethnic groups in one state. The term balkanization makes reference to the Balkans, also known as the Balkan Peninsula, which split into many small countries first after the fall of the Ottoman Empire and again after the fall of the Soviet Union and the breakup of Yugoslavia.

    Dubaization
    Dubaization refers to a rapid period of development of a city or area with futuristic architecture. Dubaization takes its name from the city of Dubai in the United Arab Emirates, which is known for its architectural development dating back to the 1990s.

    Finlandization
    Finlandization refers to the process by which a smaller country maintains a neutral or favorable policy toward a larger country due to influence from that larger country. Coined by political scientist Richard Lowenthal in the 1960s, the term references Finland’s neutrality toward the Soviet Union during the Cold War. A 1948 treaty stipulated Finland would remain neutral during the Cold War if in turn the Soviet Union refrained from invading the country. The term can have negative connotations, as it can imply one country is under the thumb of a more powerful one and has opted for neutrality under undue pressure.

    Japanization
    In economics, the term Japanization is used to refer to a period of deflation and economic stagnation in a country. The term references the nation of Japan, whose economic stagnation in the 1990s led to a severe financial crisis in what is now often referred to as the Lost Decade.

    Latinization
    The term Latinization has several distinct senses:

    - Latinization can refer to the act of rendering a language into a script that uses the Latin alphabet. For example, a translator might Latinize a text by taking Chinese or Hindi characters and converting them to Latin letters.
    - In religious context, Latinization can refer to the process by which non-Latin Christian churches were made to conform to the practices of the Latin and Roman Catholic Church, primarily during the Middle Ages.
    - Latinization can also refer to a place becoming similar to places in Latin America. For example, US cities with large Hispanic populations, such as Miami, have been described as being Latinized.

    Mongolization
    The term Mongolization is often used to refer to the assimilation of language and culture that occurred by peoples who were conquered by the Mongol Empire. For many peoples, this process occurred over a long period of time and often involved their traditional culture slowly blending with Mongol culture.

    Ottomanization
    Ottomanization refers to the adoption of the culture of the Ottoman Empire by the peoples and places under its rule. Historically, this term has referred to the transition from the Christian, Greek traditions of the Byzantines to the Islamic, Turkish traditions and culture of the Ottomans.

    Romanization
    The term Romanization is often used to refer to the cultural influence practiced by the Roman Empire. At its peak, the Roman Empire encompassed an incredibly diverse range of countries and cultures, which allowed for a large-scale Romanization, the influence of which can still be seen today in the many languages, architecture, and cultures retaining Roman influences.

    Sinicization
    Sinicization refers to the spreading of Chinese culture, religion, and politics. The term Sinicization has also been used, including by the Chinese government, to refer to China’s policy of enforcing the assimilation of ethnic and religious minorities to Chinese practices. The beginning of the term is a version of Sino-, which comes from a Latin word referring to China and is used in many other terms referring to China or Chinese culture (such as Sinology).

    Vietnamization
    Vietnamization is the name given to a strategy employed by the Nixon administration as an attempt to end US involvement in the highly unpopular Vietnam War. The strategy intended for the US to transfer all military responsibility to South Vietnamese forces and prepare South Vietnam to fight North Vietnam. The process called Afghanization is sometimes likened to Vietnamization due to similarities in the failures and other aspects of the respective conflicts.

    © 2025, Aakkhra, All rights reserved.
    Afghanization, Finlandization, And The Politic-ization Of Place Names Recent news has been filled with analysis that attempts to make sense of current events by comparing them to past moments in history—and applying some of the terminology that originated in the midst or aftermath of those earlier events. Prominent examples include terms based on the combination of a place name and the ending -ization, such as Afghanization (in the context of the withdrawal of US forces from Afghanistan) and Finlandization (in the context of the Russian invasion of Ukraine). Not only are such terms used in fraught political discussions, use of the words themselves is often controversial due to debates about what they mean exactly as well as how—or whether—they should be used. Add context to your reading of current events with this list of some of the -ization terms you’re most likely to encounter in historical analysis, along with explanations about the different meanings they can have. Afghanization The term Afghanization is most prominently used in the context of US forces in Afghanistan, particularly in the lead-up to and during the withdrawal of those forces in 2021. Specifically, it refers to the US strategy of attempting to return political and military control to Afghan forces. The term is also used separately to refer to ethnic and language assimilation within the country. Africanization The term Africanization can be used in a variety of ways. It can mean “to bring under African, especially Black African, influence or to adapt to African needs” or more specifically, “to make African, especially to give control of (policy, government, etc.) to Africans.” It is commonly used to discuss postcolonial Africa and post-apartheid South Africa. In this context, Africanization refers to restoring political, economic, and civil power to Black Africans. Americanization The word Americanization is used to refer to two separate ideas. In the early 1900s, many advocated for “Americanizing” the large number of new immigrants who were entering the United States at the time as a way to instill cultural values considered quintessentially “American.” During and after, this approach has faced criticism for forcing the loss of immigrants’ original cultures. More currently, the word Americanization is often used to refer to the spread of American culture across the world, especially through American media and popular culture. This term can refer to the wide availability of American pop culture, which has been noted for its influence on many other nations’ cultures. Arabization The word Arabization is used to refer to a process of promoting Arabic language and Arabic culture in education, government, and media. In particular, Arabization is often used to describe government policies that enforce this process in countries that were formerly under the control of non-Arab colonizers. balkanization The term balkanization is sometimes applied when a large place or country divides up into smaller, more homogenous communities. It can also refer to conflict between various ethnic groups in one state. The term balkanization makes reference to the Balkans, also known as the Balkan Peninsula, which split into many small countries first after the fall of the Ottoman Empire and again after the fall of the Soviet Union and the breakup of Yugoslavia. Dubaization Dubaization refers to a rapid period of development of a city or area with futuristic architecture. Dubaization takes its name from the city of Dubai in the United Arab Emirates, which is known for its architectural development dating back to the 1990s. Finlandization Finlandization refers to the process by which a smaller country maintains a neutral or favorable policy toward a larger country due to influence from that larger country. Coined by political scientist Richard Lowenthal in the 1960s, the term references Finland’s neutrality toward the Soviet Union during the Cold War. A 1948 treaty stipulated Finland would remain neutral during the Cold War if in turn the Soviet Union refrained from invading the country. The term can have negative connotations, as it can imply one country is under the thumb of a more powerful one and has opted for neutrality under undue pressure. Japanization In economics, the term Japanization is used to refer to a period of deflation and economic stagnation in a country. The term references the nation of Japan, whose economic stagnation in the 1990s led to a severe financial crisis in what is now often referred to as the Lost Decade. Latinization The term Latinization has several distinct senses: - Latinization can refer to the act of rendering a language into a script that uses the Latin alphabet. For example, a translator might Latinize a text by taking Chinese or Hindi characters and converting them to Latin letters. - In religious context, Latinization can refer to the process by which non-Latin Christian churches were made to conform to the practices of the Latin and Roman Catholic Church, primarily during the Middle Ages. - Latinization can also refer to a place becoming similar to places in Latin America. For example, US cities with large Hispanic populations, such as Miami, have been described as being Latinized. Mongolization The term Mongolization is often used to refer to the assimilation of language and culture that occurred by peoples who were conquered by the Mongol Empire. For many peoples, this process occurred over a long period of time and often involved their traditional culture slowly blending with Mongol culture. Ottomanization Ottomanization refers to the adoption of the culture of the Ottoman Empire by the peoples and places under its rule. Historically, this term has referred to the transition from the Christian, Greek traditions of the Byzantines to the Islamic, Turkish traditions and culture of the Ottomans. Romanization The term Romanization is often used to refer to the cultural influence practiced by the Roman Empire. At its peak, the Roman Empire encompassed an incredibly diverse range of countries and cultures, which allowed for a large-scale Romanization, the influence of which can still be seen today in the many languages, architecture, and cultures retaining Roman influences. Sinicization Sinicization refers to the spreading of Chinese culture, religion, and politics. The term Sinicization has also been used, including by the Chinese government, to refer to China’s policy of enforcing the assimilation of ethnic and religious minorities to Chinese practices. The beginning of the term is a version of Sino-, which comes from a Latin word referring to China and is used in many other terms referring to China or Chinese culture (such as Sinology). Vietnamization Vietnamization is the name given to a strategy employed by the Nixon administration as an attempt to end US involvement in the highly unpopular Vietnam War. The strategy intended for the US to transfer all military responsibility to South Vietnamese forces and prepare South Vietnam to fight North Vietnam. The process called Afghanization is sometimes likened to Vietnamization due to similarities in the failures and other aspects of the respective conflicts. © 2025, Aakkhra, All rights reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 451 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานล่าสุดเผยว่า นักวิจัยชาวอเมริกันจำนวนมากกำลังพิจารณาย้ายไปทำงานในต่างประเทศ เนื่องจากการลดงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและการแทรกแซงทางการเมืองในสหรัฐฯ ตัวเลขจากแพลตฟอร์ม Nature Careers ระบุว่าในไตรมาสแรกของปี 2025 การสมัครงานในต่างประเทศจากนักวิจัยในสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นถึง 32% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยเฉพาะในยุโรปและเอเชียที่มีความสนใจเพิ่มขึ้นอย่างมาก

    การลดงบประมาณสนับสนุนงานวิจัย เช่น การยกเลิกทุนวิจัย HIV และ AIDS กว่า 200 โครงการ และการตัดงบประมาณ 400 ล้านดอลลาร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในอาชีพของนักวิจัย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยในยุโรป เช่น Aix-Marseille University ในฝรั่งเศส ได้เปิดตัวโครงการ Safe Place for Science เพื่อรองรับนักวิจัยที่ได้รับผลกระทบ

    ✅ การเพิ่มขึ้นของการย้ายถิ่น
    - การสมัครงานในต่างประเทศเพิ่มขึ้น 32% ในไตรมาสแรกของปี 2025
    - ความสนใจในงานวิจัยในยุโรปและเอเชียเพิ่มขึ้นอย่างมาก

    ✅ ผลกระทบจากการลดงบประมาณ
    - การยกเลิกทุนวิจัย HIV และ AIDS กว่า 200 โครงการ
    - การตัดงบประมาณ 400 ล้านดอลลาร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

    ✅ การตอบสนองของยุโรป
    - Aix-Marseille University เปิดตัวโครงการ Safe Place for Science ด้วยงบประมาณ 15 ล้านยูโร
    - Max Planck Society ในเยอรมนีเปิดตัว Transatlantic Program เพื่อรองรับนักวิจัย

    ✅ ความสนใจในเอเชีย
    - ความสนใจในงานวิจัยในจีนเพิ่มขึ้น 30% ในการดูประกาศงาน

    https://www.techspot.com/news/107679-us-researchers-flee-overseas-funding-cuts-bite-politics.html
    รายงานล่าสุดเผยว่า นักวิจัยชาวอเมริกันจำนวนมากกำลังพิจารณาย้ายไปทำงานในต่างประเทศ เนื่องจากการลดงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและการแทรกแซงทางการเมืองในสหรัฐฯ ตัวเลขจากแพลตฟอร์ม Nature Careers ระบุว่าในไตรมาสแรกของปี 2025 การสมัครงานในต่างประเทศจากนักวิจัยในสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นถึง 32% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยเฉพาะในยุโรปและเอเชียที่มีความสนใจเพิ่มขึ้นอย่างมาก การลดงบประมาณสนับสนุนงานวิจัย เช่น การยกเลิกทุนวิจัย HIV และ AIDS กว่า 200 โครงการ และการตัดงบประมาณ 400 ล้านดอลลาร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในอาชีพของนักวิจัย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยในยุโรป เช่น Aix-Marseille University ในฝรั่งเศส ได้เปิดตัวโครงการ Safe Place for Science เพื่อรองรับนักวิจัยที่ได้รับผลกระทบ ✅ การเพิ่มขึ้นของการย้ายถิ่น - การสมัครงานในต่างประเทศเพิ่มขึ้น 32% ในไตรมาสแรกของปี 2025 - ความสนใจในงานวิจัยในยุโรปและเอเชียเพิ่มขึ้นอย่างมาก ✅ ผลกระทบจากการลดงบประมาณ - การยกเลิกทุนวิจัย HIV และ AIDS กว่า 200 โครงการ - การตัดงบประมาณ 400 ล้านดอลลาร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ✅ การตอบสนองของยุโรป - Aix-Marseille University เปิดตัวโครงการ Safe Place for Science ด้วยงบประมาณ 15 ล้านยูโร - Max Planck Society ในเยอรมนีเปิดตัว Transatlantic Program เพื่อรองรับนักวิจัย ✅ ความสนใจในเอเชีย - ความสนใจในงานวิจัยในจีนเพิ่มขึ้น 30% ในการดูประกาศงาน https://www.techspot.com/news/107679-us-researchers-flee-overseas-funding-cuts-bite-politics.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    US researchers flee overseas as funding cuts bite and politics intrudes
    The exodus is largely driven by abrupt federal funding withdrawals and project cancellations. Last month, over 200 grants supporting HIV and AIDS research were terminated. The National...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทรัมป์กระพริบตาก่อน! เปรยพร้อมลดภาษีให้จีน : คนเคาะข่าว 24-04-68
    อุษณีย์ เอกอุษณีย์ / อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร
    #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #ลดภาษีให้จีน #สงครามการค้า #เศรษฐกิจโลก #จีนสหรัฐ #ข่าวต่างประเทศ #นโยบายทรัมป์ #สุดาทิพย์จารุจินดา #อุษณีย์เอกอุษณีย์ #วิเคราะห์การเมืองโลก #Geopolitics #thaitimes #การค้าระหว่างประเทศ #ท่าทีทรัมป์
    ทรัมป์กระพริบตาก่อน! เปรยพร้อมลดภาษีให้จีน : คนเคาะข่าว 24-04-68 อุษณีย์ เอกอุษณีย์ / อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #ลดภาษีให้จีน #สงครามการค้า #เศรษฐกิจโลก #จีนสหรัฐ #ข่าวต่างประเทศ #นโยบายทรัมป์ #สุดาทิพย์จารุจินดา #อุษณีย์เอกอุษณีย์ #วิเคราะห์การเมืองโลก #Geopolitics #thaitimes #การค้าระหว่างประเทศ #ท่าทีทรัมป์
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 391 มุมมอง 15 0 รีวิว
  • สงครามการค้าสหรัฐ-จีน ไทยไม่เลือกข้างไม่ได้ : คนเคาะข่าว 22-04-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์
    #คนเคาะข่าว #สงครามการค้า #สหรัฐจีน #ไทยในสมรภูมิเศรษฐกิจ #ไม่เลือกข้างไม่ได้ #Geopolitics #การเมืองโลก #เศรษฐกิจโลก #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #thaitimes #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #ความมั่นคงเศรษฐกิจไทย #สงครามการค้าโลก
    สงครามการค้าสหรัฐ-จีน ไทยไม่เลือกข้างไม่ได้ : คนเคาะข่าว 22-04-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #สงครามการค้า #สหรัฐจีน #ไทยในสมรภูมิเศรษฐกิจ #ไม่เลือกข้างไม่ได้ #Geopolitics #การเมืองโลก #เศรษฐกิจโลก #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #thaitimes #ข่าวต่างประเทศ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #ความมั่นคงเศรษฐกิจไทย #สงครามการค้าโลก
    Like
    5
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 358 มุมมอง 53 0 รีวิว
  • “ภูมิธรรม” แจง "ทักษิณ-นายกฯ อิ๊งค์" ร่วมงานบวช “พีช“ ลูกชาย นายกเบี้ยว ตามที่ถูกเชิญปกติ อย่าจับแพะชนแกะ-มองเป็นความสัมพันธ์พิเศษ ยันไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวเรื่องคดี เจ้าหน้าที่ไม่ต้องเกรงใจ มีปัญหาต่อหน้าธารกำนัลแบบนี้ ไปบิดไปเบี้ยวไม่ได้

    เมื่อเวลา 08.40 น. วันที่ 18 เม.ย.ที่ทำเนียบรัฐบาล นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้สัมภาษณ์กรณีโฆษกพรรคพลังประชารัฐแสดงความกังวลกรณีคดีนายสมิทธิพัฒน์ หลีนวรัตน์ หรือพีช ลูกชายนายกฤษฎา หลีนวรัตน์ หรือนายกเบี้ยว เนื่องจากปรากฏภาพมีความสนิทสนมกับนายกรัฐมนตรี ว่า เรื่องนี้ต้องแยกออกจากกัน ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลก็เรื่องหนึ่ง แต่เรื่องกฎหมายก็ต้องว่าไปตามกฎหมาย ในกรณีที่กฎหมายมีอยู่และภาพลักษณ์ที่เกิดขึ้น วีดีโอ และข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คงต้องให้เจ้าหน้าที่ว่าไปตามกฎหมาย และไม่ต้องกังวล เรื่องนี้เราไม่เข้าไปเกี่ยวข้องอยู่แล้ว

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000036443

    #MGROnline #ภูมิธรรม #ทักษิณ #งานบวช #พีช #ลูกชายนายกเบี้ยว
    “ภูมิธรรม” แจง "ทักษิณ-นายกฯ อิ๊งค์" ร่วมงานบวช “พีช“ ลูกชาย นายกเบี้ยว ตามที่ถูกเชิญปกติ อย่าจับแพะชนแกะ-มองเป็นความสัมพันธ์พิเศษ ยันไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวเรื่องคดี เจ้าหน้าที่ไม่ต้องเกรงใจ มีปัญหาต่อหน้าธารกำนัลแบบนี้ ไปบิดไปเบี้ยวไม่ได้ • เมื่อเวลา 08.40 น. วันที่ 18 เม.ย.ที่ทำเนียบรัฐบาล นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้สัมภาษณ์กรณีโฆษกพรรคพลังประชารัฐแสดงความกังวลกรณีคดีนายสมิทธิพัฒน์ หลีนวรัตน์ หรือพีช ลูกชายนายกฤษฎา หลีนวรัตน์ หรือนายกเบี้ยว เนื่องจากปรากฏภาพมีความสนิทสนมกับนายกรัฐมนตรี ว่า เรื่องนี้ต้องแยกออกจากกัน ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลก็เรื่องหนึ่ง แต่เรื่องกฎหมายก็ต้องว่าไปตามกฎหมาย ในกรณีที่กฎหมายมีอยู่และภาพลักษณ์ที่เกิดขึ้น วีดีโอ และข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คงต้องให้เจ้าหน้าที่ว่าไปตามกฎหมาย และไม่ต้องกังวล เรื่องนี้เราไม่เข้าไปเกี่ยวข้องอยู่แล้ว • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000036443 • #MGROnline #ภูมิธรรม #ทักษิณ #งานบวช #พีช #ลูกชายนายกเบี้ยว
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 404 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานล่าสุดจาก CSO Online ระบุว่า การเมืองกำลังส่งผลกระทบต่อกระบวนการอนุมัติใบรับรองความปลอดภัยทางไซเบอร์ในสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้บริษัทด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ของอเมริกาสูญเสียความน่าเชื่อถือในระดับสากล

    ✅ รัฐบาลสหรัฐฯ กำลังเชื่อมโยงใบรับรองความปลอดภัยกับจุดยืนทางการเมือง
    - คำสั่งของอดีตประธานาธิบดีทรัมป์ระบุว่า บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเซ็นเซอร์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้งปี 2020 และ COVID-19 จะถูกเพิกถอนใบรับรองความปลอดภัย
    - Chris Krebs อดีตหัวหน้า CISA ถูกเพิกถอนใบรับรอง และบริษัท SentinelOne ที่เขาเกี่ยวข้องก็ได้รับผลกระทบ

    ✅ ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยกังวลว่าการเมืองจะทำให้ข้อมูลภัยคุกคามขาดความน่าเชื่อถือ
    - CISOs อาจต้องพิจารณาว่าข้อมูลจากบริษัทอเมริกัน ได้รับอิทธิพลจากรัฐบาลหรือไม่
    - มีความกังวลว่าบริษัทอาจถูกกดดันให้ ละเว้นข้อมูลเกี่ยวกับภัยคุกคามจากบางประเทศ

    ✅ บริษัทด้านความปลอดภัยจากประเทศอื่นอาจได้รับประโยชน์จากสถานการณ์นี้
    - บริษัทจาก แคนาดา, ออสเตรเลีย, อิสราเอล, อินเดีย, เยอรมนี และญี่ปุ่น อาจได้รับความไว้วางใจมากขึ้น
    - CISOs อาจต้องพิจารณา เปลี่ยนไปใช้บริการจากบริษัทที่ไม่ได้รับอิทธิพลทางการเมือง

    ✅ การเพิกถอนใบรับรองของ SentinelOne อาจเป็นเพียงจุดเริ่มต้น
    - หากรัฐบาลสหรัฐฯ ใช้มาตรการนี้กับบริษัทอื่น อาจทำให้ อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์ของอเมริกาสูญเสียความน่าเชื่อถือ

    https://www.csoonline.com/article/3965056/will-politicization-of-security-clearances-make-us-cybersecurity-firms-radioactive.html
    รายงานล่าสุดจาก CSO Online ระบุว่า การเมืองกำลังส่งผลกระทบต่อกระบวนการอนุมัติใบรับรองความปลอดภัยทางไซเบอร์ในสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้บริษัทด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ของอเมริกาสูญเสียความน่าเชื่อถือในระดับสากล ✅ รัฐบาลสหรัฐฯ กำลังเชื่อมโยงใบรับรองความปลอดภัยกับจุดยืนทางการเมือง - คำสั่งของอดีตประธานาธิบดีทรัมป์ระบุว่า บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเซ็นเซอร์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้งปี 2020 และ COVID-19 จะถูกเพิกถอนใบรับรองความปลอดภัย - Chris Krebs อดีตหัวหน้า CISA ถูกเพิกถอนใบรับรอง และบริษัท SentinelOne ที่เขาเกี่ยวข้องก็ได้รับผลกระทบ ✅ ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยกังวลว่าการเมืองจะทำให้ข้อมูลภัยคุกคามขาดความน่าเชื่อถือ - CISOs อาจต้องพิจารณาว่าข้อมูลจากบริษัทอเมริกัน ได้รับอิทธิพลจากรัฐบาลหรือไม่ - มีความกังวลว่าบริษัทอาจถูกกดดันให้ ละเว้นข้อมูลเกี่ยวกับภัยคุกคามจากบางประเทศ ✅ บริษัทด้านความปลอดภัยจากประเทศอื่นอาจได้รับประโยชน์จากสถานการณ์นี้ - บริษัทจาก แคนาดา, ออสเตรเลีย, อิสราเอล, อินเดีย, เยอรมนี และญี่ปุ่น อาจได้รับความไว้วางใจมากขึ้น - CISOs อาจต้องพิจารณา เปลี่ยนไปใช้บริการจากบริษัทที่ไม่ได้รับอิทธิพลทางการเมือง ✅ การเพิกถอนใบรับรองของ SentinelOne อาจเป็นเพียงจุดเริ่มต้น - หากรัฐบาลสหรัฐฯ ใช้มาตรการนี้กับบริษัทอื่น อาจทำให้ อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์ของอเมริกาสูญเสียความน่าเชื่อถือ https://www.csoonline.com/article/3965056/will-politicization-of-security-clearances-make-us-cybersecurity-firms-radioactive.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    Will politicization of security clearances make US cybersecurity firms radioactive?
    Following Trump's executive order to strip SentinelOne of its security clearances, many wonder if CISOs will soon put American security firms in the same bad light as Russia’s Kaspersky and China’s Nuctech.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส่องไพ่ในมือจีน สู้ศึกภาษีทรัมป์ : คนเคาะข่าว 17-04-68

    #คนเคาะข่าว #ศึกภาษีทรัมป์ #จีนvsสหรัฐ #สงครามการค้า #ไพ่ในมือจีน #ภาษีนำเข้า #เศรษฐกิจโลก #Geopolitics #การเมืองโลก #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #ทรัมป์ #จีน #thaitimes #ข่าวต่างประเทศ #ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ
    ส่องไพ่ในมือจีน สู้ศึกภาษีทรัมป์ : คนเคาะข่าว 17-04-68 #คนเคาะข่าว #ศึกภาษีทรัมป์ #จีนvsสหรัฐ #สงครามการค้า #ไพ่ในมือจีน #ภาษีนำเข้า #เศรษฐกิจโลก #Geopolitics #การเมืองโลก #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #ทรัมป์ #จีน #thaitimes #ข่าวต่างประเทศ #ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 492 มุมมอง 3 0 รีวิว
  • สหภาพยุโรป (EU) ได้เริ่มใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยใหม่ โดยให้เจ้าหน้าที่ที่เดินทางไปสหรัฐฯ ใช้ โทรศัพท์แบบใช้แล้วทิ้ง (burner phones) และแล็ปท็อปพื้นฐาน เพื่อป้องกันการสอดแนมทางอิเล็กทรอนิกส์

    ✅ EU ให้เจ้าหน้าที่ใช้โทรศัพท์แบบใช้แล้วทิ้งและแล็ปท็อปพื้นฐานเมื่อเดินทางไปสหรัฐฯ
    - มาตรการนี้เคยใช้กับ การเดินทางไปยังรัสเซียและจีน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสอดแนม
    - เจ้าหน้าที่ได้รับคำแนะนำให้ ปิดโทรศัพท์ที่ชายแดนและเก็บไว้ในปลอกป้องกันการสอดแนม

    ✅ มาตรการนี้มีผลกับเจ้าหน้าที่ที่เข้าร่วมประชุม IMF และ World Bank Group
    - เจ้าหน้าที่ EU ที่เดินทางไปวอชิงตัน ดี.ซี. ในสัปดาห์หน้า จะเป็นกลุ่มแรกที่ใช้มาตรการใหม่นี้
    - คำแนะนำด้านความปลอดภัยของ EU ได้รับการอัปเดต แต่ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดทั้งหมด

    ✅ ความสัมพันธ์ระหว่าง EU และสหรัฐฯ ตึงเครียดมากขึ้น
    - Luuk van Middelaar จาก Brussels Institute for Geopolitics ระบุว่า "วอชิงตันไม่ใช่ปักกิ่งหรือมอสโก แต่ก็เป็นคู่แข่งที่ใช้วิธีการนอกกฎหมายเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง"
    - มีรายงานว่า สหรัฐฯ เคยสอดแนมโทรศัพท์ของนายกรัฐมนตรีเยอรมนี Angela Merkel ในปี 2013

    ✅ สิทธิ์ของเจ้าหน้าที่ชายแดนสหรัฐฯ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ของผู้เดินทาง
    - ตามรายงานของ India Today เจ้าหน้าที่ชายแดนสหรัฐฯ มีสิทธิ์ตรวจสอบและยึดอุปกรณ์มือถือของผู้เดินทาง
    - มีกรณีที่ผู้เดินทางถูกปฏิเสธการเข้าประเทศหลังจากเจ้าหน้าที่พบโพสต์วิจารณ์รัฐบาลทรัมป์บนโซเชียลมีเดีย

    https://www.techspot.com/news/107576-eu-provides-burner-phones-us-bound-staff-amid.html
    สหภาพยุโรป (EU) ได้เริ่มใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยใหม่ โดยให้เจ้าหน้าที่ที่เดินทางไปสหรัฐฯ ใช้ โทรศัพท์แบบใช้แล้วทิ้ง (burner phones) และแล็ปท็อปพื้นฐาน เพื่อป้องกันการสอดแนมทางอิเล็กทรอนิกส์ ✅ EU ให้เจ้าหน้าที่ใช้โทรศัพท์แบบใช้แล้วทิ้งและแล็ปท็อปพื้นฐานเมื่อเดินทางไปสหรัฐฯ - มาตรการนี้เคยใช้กับ การเดินทางไปยังรัสเซียและจีน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสอดแนม - เจ้าหน้าที่ได้รับคำแนะนำให้ ปิดโทรศัพท์ที่ชายแดนและเก็บไว้ในปลอกป้องกันการสอดแนม ✅ มาตรการนี้มีผลกับเจ้าหน้าที่ที่เข้าร่วมประชุม IMF และ World Bank Group - เจ้าหน้าที่ EU ที่เดินทางไปวอชิงตัน ดี.ซี. ในสัปดาห์หน้า จะเป็นกลุ่มแรกที่ใช้มาตรการใหม่นี้ - คำแนะนำด้านความปลอดภัยของ EU ได้รับการอัปเดต แต่ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดทั้งหมด ✅ ความสัมพันธ์ระหว่าง EU และสหรัฐฯ ตึงเครียดมากขึ้น - Luuk van Middelaar จาก Brussels Institute for Geopolitics ระบุว่า "วอชิงตันไม่ใช่ปักกิ่งหรือมอสโก แต่ก็เป็นคู่แข่งที่ใช้วิธีการนอกกฎหมายเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง" - มีรายงานว่า สหรัฐฯ เคยสอดแนมโทรศัพท์ของนายกรัฐมนตรีเยอรมนี Angela Merkel ในปี 2013 ✅ สิทธิ์ของเจ้าหน้าที่ชายแดนสหรัฐฯ ในการตรวจสอบอุปกรณ์ของผู้เดินทาง - ตามรายงานของ India Today เจ้าหน้าที่ชายแดนสหรัฐฯ มีสิทธิ์ตรวจสอบและยึดอุปกรณ์มือถือของผู้เดินทาง - มีกรณีที่ผู้เดินทางถูกปฏิเสธการเข้าประเทศหลังจากเจ้าหน้าที่พบโพสต์วิจารณ์รัฐบาลทรัมป์บนโซเชียลมีเดีย https://www.techspot.com/news/107576-eu-provides-burner-phones-us-bound-staff-amid.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    EU provides burner phones to officials traveling to US amid espionage concerns
    An EU official told the Financial Times, The transatlantic alliance is over.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 296 มุมมอง 0 รีวิว
  • 16 เมษายน 2568-สำนักข่าว CNN รายงานว่ารัฐบาลสหรัฐฯ มีแผนที่จะปิดสถานเอกอัครราชทูต รวมถึงสถานกงสุลในต่างประเทศกว่า 30 แห่ง เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากที่ โดนัลด์ ทรัมป์ เข้ามารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ซึ่งสหรัฐฯ อาจจะลดบาทบาทของตัวเองในบางประเทศ ซึ่งเรื่องนี้ได้รับการเปิดเผยหลังจากที่ CNN ได้รับเอกสารภายในของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ที่หลุดออกมา ซึ่งข้อมูลในเอกสารมีการแนะนำให้รัฐบาลปิดสถานเอกอัครราชทูตของสหรัฐฯ ในต่างประเทศ 10 แห่ง และปิดสถานกงสุลของสหรัฐฯ อีก 17 แห่ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปและแอฟริกาประเทศที่ถูกระบุในเอกสารให้ปิดสถานทูต บางส่วนประกอบด้วย  มอลตา, ลักเซมเบิร์ก, เลโซโท, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐแอฟริกากลาง  และซูดานใต้ นอกจากนี้ยังมีสถานกงสุลของสหรัฐฯ ในฝรั่งเศสอีก 5 แห่ง, ในเยอรมนีอีก 2 แห่ง, ในบอสเนียอีก 2 แห่ง, ในอังกฤษ 1 แห่ง, ในเซาท์แอฟริกา 1 แห่ง และเกาหลีใต้ 1 แห่ง ที่กำลังถูกพิจารณาให้ปิดด้วย โดยหลังจากที่สถานทูตและสถานกงสุลของสหรัฐฯ ในประเทศเหล่านี้ถูกปิด ประชาชนในประเทศเหล่านั้นจะต้องไปติดต่อสถานทูตสหรัฐฯ ในประเทศใกล้เคียงแทนกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ยังไม่ออกมาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดย แทมมี บรูซ โฆษกของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ บอกว่าเรื่องนี้ต้องตรวจสอบกับทางทำเนียบขาวและตัวประธานาธิบดีโดยตรง เพราะเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องงบประมาณที่ส่งให้สภาคองเกรสพิจารณา ซึ่งการใช้งบประมาณในปีหน้าของสหรัฐฯ มีการเสนอให้ลดงบประมาณลงในหลายส่วน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานรัฐ รวมทั้งกระทรวงการต่างประเทศด้วยhttps://www.cnn.com/2025/04/15/politics/closing-embassies-consulates-document/index.html?cid=ios_app
    16 เมษายน 2568-สำนักข่าว CNN รายงานว่ารัฐบาลสหรัฐฯ มีแผนที่จะปิดสถานเอกอัครราชทูต รวมถึงสถานกงสุลในต่างประเทศกว่า 30 แห่ง เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากที่ โดนัลด์ ทรัมป์ เข้ามารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ซึ่งสหรัฐฯ อาจจะลดบาทบาทของตัวเองในบางประเทศ ซึ่งเรื่องนี้ได้รับการเปิดเผยหลังจากที่ CNN ได้รับเอกสารภายในของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ที่หลุดออกมา ซึ่งข้อมูลในเอกสารมีการแนะนำให้รัฐบาลปิดสถานเอกอัครราชทูตของสหรัฐฯ ในต่างประเทศ 10 แห่ง และปิดสถานกงสุลของสหรัฐฯ อีก 17 แห่ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปและแอฟริกาประเทศที่ถูกระบุในเอกสารให้ปิดสถานทูต บางส่วนประกอบด้วย  มอลตา, ลักเซมเบิร์ก, เลโซโท, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐแอฟริกากลาง  และซูดานใต้ นอกจากนี้ยังมีสถานกงสุลของสหรัฐฯ ในฝรั่งเศสอีก 5 แห่ง, ในเยอรมนีอีก 2 แห่ง, ในบอสเนียอีก 2 แห่ง, ในอังกฤษ 1 แห่ง, ในเซาท์แอฟริกา 1 แห่ง และเกาหลีใต้ 1 แห่ง ที่กำลังถูกพิจารณาให้ปิดด้วย โดยหลังจากที่สถานทูตและสถานกงสุลของสหรัฐฯ ในประเทศเหล่านี้ถูกปิด ประชาชนในประเทศเหล่านั้นจะต้องไปติดต่อสถานทูตสหรัฐฯ ในประเทศใกล้เคียงแทนกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ยังไม่ออกมาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดย แทมมี บรูซ โฆษกของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ บอกว่าเรื่องนี้ต้องตรวจสอบกับทางทำเนียบขาวและตัวประธานาธิบดีโดยตรง เพราะเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องงบประมาณที่ส่งให้สภาคองเกรสพิจารณา ซึ่งการใช้งบประมาณในปีหน้าของสหรัฐฯ มีการเสนอให้ลดงบประมาณลงในหลายส่วน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานรัฐ รวมทั้งกระทรวงการต่างประเทศด้วยhttps://www.cnn.com/2025/04/15/politics/closing-embassies-consulates-document/index.html?cid=ios_app
    WWW.CNN.COM
    Trump administration looking at closing nearly 30 overseas embassies and consulates | CNN Politics
    The Trump administration is looking at closing nearly 30 overseas embassies and consulates as it eyes significant changes to its diplomatic presence abroad, according to an internal State Department document obtained by CNN.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 343 มุมมอง 0 รีวิว
  • “โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเข้าถึงง่าย”: กระจกบานใหญ่จาก Bundestag สู่สภาไทย

    ในขณะที่การเมืองไทยยังคงติดหล่มแห่งความไม่โปร่งใส การซื้อเสียง ความไม่รับผิดชอบ และการลอยตัวของผู้มีอำนาจเหนือประชาชน ประเทศเยอรมนีกลับสร้างต้นแบบของความซื่อสัตย์สุจริตไว้ตรงกลางกรุงเบอร์ลิน

    Bundestag หรือรัฐสภาเยอรมัน ที่สะท้อนหลักประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

    ตัวอาคาร Reichstag ไม่ได้มีดีแค่ความอลังการทางสถาปัตยกรรม แต่คือคำประกาศเจตนารมณ์แห่งความโปร่งใส โดมแก้วเหนือห้องประชุมคือการบอกกับประชาชนว่า “พวกคุณมีสิทธิ์รู้ เห็น และตรวจสอบได้ทุกการเคลื่อนไหวของเรา” ผู้แทนราษฎรที่นั่งอยู่ภายใต้แสงธรรมชาติจากโดมแก้วนั้น จึงไม่มีที่ให้ซ่อน ไม่มีเงามืดให้แอบแฝง

    ขณะที่เมืองไทยกลับเต็มไปด้วย "โดมทึบ" ที่ประชาชนไม่มีวันมองผ่านได้ ห้องประชุมที่ถูกใช้เป็นเวทีลิเก ผลาญงบประมาณและโต้เถียงกันเพื่อผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม มากกว่าจะออกกฎหมายที่ตอบสนองต่อเสียงของประชาชน

    นักการเมืองไทยบางคนกลัวความโปร่งใสเหมือนผีเห็นแสงแดด กลัวการตรวจสอบเหมือนขโมยกลัวกล้องวงจรปิด เพราะพวกเขาไม่ได้มองว่าตัวเองเป็น "ผู้รับใช้ประชาชน" แต่เป็นเจ้าของอำนาจ

    ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประเทศไทยจะสร้าง "Reichstag ทางจิตวิญญาณ" — ที่ไม่ต้องใช้กระจกจริงมาติด แต่ใช้หลักคิดแห่งความโปร่งใส เปิดเผย และเคารพประชาชนอย่างแท้จริง

    ความโปร่งใสไม่ใช่แค่เครื่องประดับของระบอบประชาธิปไตย แต่มันคือหัวใจของมัน ถ้าไม่มีหัวใจนี้ สภาก็ไม่ต่างอะไรจากโรงละครที่แสดงละครซ้ำซากเรื่องเดียว — “อำนาจเป็นของข้า ประชาชนจงเงียบ”

    #thawornboonyawan
    #คนไทยต้องรอด
    #คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง
    Credit image : Twontrot Boon

    “Transparency, Accountability, and Accessibility”: A Giant Mirror from the Bundestag to Thailand’s Parliament

    While Thai politics remains mired in a culture of opacity, vote-buying, irresponsibility, and the detachment of power from the people, Germany has built a powerful symbol of integrity in the heart of Berlin — the Bundestag, or German federal parliament, which embodies the true essence of democracy.

    The Reichstag building is more than an architectural marvel; it is a declaration of transparency. The glass dome above the parliamentary chamber sends a clear message to the public: “You have the right to see, know, and scrutinize every action we take.” Lawmakers sit beneath natural light, visible from above — there is nowhere to hide, no shadow to scheme in.

    In contrast, Thailand is shrouded in “opaque domes” through which the people can never see. Parliamentary halls have become theatrical stages — wasting public funds and bickering over special interests rather than legislating in the people's best interest.

    Some Thai politicians fear transparency like ghosts fear daylight. They fear scrutiny the way thieves fear surveillance cameras. Because deep down, they don't see themselves as public servants — but as power-holders.

    Isn’t it time for Thailand to build its own “spiritual Reichstag”? Not with physical glass, but with a mindset rooted in openness, honesty, and deep respect for the people.

    Transparency is not a decorative feature of democracy — it is its heart. Without that heart, the parliament is nothing more than a stage for a tired play, endlessly repeating the same act: “Power belongs to us; the people must stay silent.”
    “โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเข้าถึงง่าย”: กระจกบานใหญ่จาก Bundestag สู่สภาไทย ในขณะที่การเมืองไทยยังคงติดหล่มแห่งความไม่โปร่งใส การซื้อเสียง ความไม่รับผิดชอบ และการลอยตัวของผู้มีอำนาจเหนือประชาชน ประเทศเยอรมนีกลับสร้างต้นแบบของความซื่อสัตย์สุจริตไว้ตรงกลางกรุงเบอร์ลิน Bundestag หรือรัฐสภาเยอรมัน ที่สะท้อนหลักประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ตัวอาคาร Reichstag ไม่ได้มีดีแค่ความอลังการทางสถาปัตยกรรม แต่คือคำประกาศเจตนารมณ์แห่งความโปร่งใส โดมแก้วเหนือห้องประชุมคือการบอกกับประชาชนว่า “พวกคุณมีสิทธิ์รู้ เห็น และตรวจสอบได้ทุกการเคลื่อนไหวของเรา” ผู้แทนราษฎรที่นั่งอยู่ภายใต้แสงธรรมชาติจากโดมแก้วนั้น จึงไม่มีที่ให้ซ่อน ไม่มีเงามืดให้แอบแฝง ขณะที่เมืองไทยกลับเต็มไปด้วย "โดมทึบ" ที่ประชาชนไม่มีวันมองผ่านได้ ห้องประชุมที่ถูกใช้เป็นเวทีลิเก ผลาญงบประมาณและโต้เถียงกันเพื่อผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม มากกว่าจะออกกฎหมายที่ตอบสนองต่อเสียงของประชาชน นักการเมืองไทยบางคนกลัวความโปร่งใสเหมือนผีเห็นแสงแดด กลัวการตรวจสอบเหมือนขโมยกลัวกล้องวงจรปิด เพราะพวกเขาไม่ได้มองว่าตัวเองเป็น "ผู้รับใช้ประชาชน" แต่เป็นเจ้าของอำนาจ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประเทศไทยจะสร้าง "Reichstag ทางจิตวิญญาณ" — ที่ไม่ต้องใช้กระจกจริงมาติด แต่ใช้หลักคิดแห่งความโปร่งใส เปิดเผย และเคารพประชาชนอย่างแท้จริง ความโปร่งใสไม่ใช่แค่เครื่องประดับของระบอบประชาธิปไตย แต่มันคือหัวใจของมัน ถ้าไม่มีหัวใจนี้ สภาก็ไม่ต่างอะไรจากโรงละครที่แสดงละครซ้ำซากเรื่องเดียว — “อำนาจเป็นของข้า ประชาชนจงเงียบ” #thawornboonyawan #คนไทยต้องรอด #คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง Credit image : Twontrot Boon “Transparency, Accountability, and Accessibility”: A Giant Mirror from the Bundestag to Thailand’s Parliament While Thai politics remains mired in a culture of opacity, vote-buying, irresponsibility, and the detachment of power from the people, Germany has built a powerful symbol of integrity in the heart of Berlin — the Bundestag, or German federal parliament, which embodies the true essence of democracy. The Reichstag building is more than an architectural marvel; it is a declaration of transparency. The glass dome above the parliamentary chamber sends a clear message to the public: “You have the right to see, know, and scrutinize every action we take.” Lawmakers sit beneath natural light, visible from above — there is nowhere to hide, no shadow to scheme in. In contrast, Thailand is shrouded in “opaque domes” through which the people can never see. Parliamentary halls have become theatrical stages — wasting public funds and bickering over special interests rather than legislating in the people's best interest. Some Thai politicians fear transparency like ghosts fear daylight. They fear scrutiny the way thieves fear surveillance cameras. Because deep down, they don't see themselves as public servants — but as power-holders. Isn’t it time for Thailand to build its own “spiritual Reichstag”? Not with physical glass, but with a mindset rooted in openness, honesty, and deep respect for the people. Transparency is not a decorative feature of democracy — it is its heart. Without that heart, the parliament is nothing more than a stage for a tired play, endlessly repeating the same act: “Power belongs to us; the people must stay silent.”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 670 มุมมอง 0 รีวิว
  • รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 680 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐฯ ได้กำหนดเส้นตาย 60 วันให้อิหร่านบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ โดยระบุว่าหากไม่สามารถบรรลุข้อตกลงใดๆ ได้ภายในระยะเวลาดังกล่าว เขาจะเปิดใช้ปฏิบัติการทางทหาร

    — Politico รายงาน
    ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐฯ ได้กำหนดเส้นตาย 60 วันให้อิหร่านบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ โดยระบุว่าหากไม่สามารถบรรลุข้อตกลงใดๆ ได้ภายในระยะเวลาดังกล่าว เขาจะเปิดใช้ปฏิบัติการทางทหาร — Politico รายงาน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 151 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดเหตุผลทรัมป์กลับลำชะลอขึ้นภาษี 90วัน : คนเคาะข่าว 10-04-68
    อุษณีย์ เอกอุษณีย์ / อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร

    #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #ชะลอขึ้นภาษี #สงครามการค้า #ภาษีสหรัฐ #เศรษฐกิจโลก #ข่าวต่างประเทศ #นโยบายทรัมป์ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #Geopolitics #สุดาทิพย์จารุจินดา #อุษณีย์เอกอุษณีย์ #การเมืองโลก #thaitimes #เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
    เปิดเหตุผลทรัมป์กลับลำชะลอขึ้นภาษี 90วัน : คนเคาะข่าว 10-04-68 อุษณีย์ เอกอุษณีย์ / อ.สุดาทิพย์ จารุจินดา อินทร #คนเคาะข่าว #ทรัมป์ #ชะลอขึ้นภาษี #สงครามการค้า #ภาษีสหรัฐ #เศรษฐกิจโลก #ข่าวต่างประเทศ #นโยบายทรัมป์ #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #Geopolitics #สุดาทิพย์จารุจินดา #อุษณีย์เอกอุษณีย์ #การเมืองโลก #thaitimes #เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 537 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • ปชช.ทวงความยุติธรรม 53 จัดกิจกรรมรำลึกเหตุสลายการชุมนุมเสื้อแดง 10 เมษา “ธิดา” ยันคนเสื้อแดงต่อสู้กับเผด็จการ ไม่ใช่เพื่อใคร ซัดเพื่อไทยยังไม่เข้าใจสังคมไทยดีพอ ลั่นไม่ร่วมขบวนการหมุนทวนกงล้อประวัติศาสตร์ ร่วมมือกลุ่มจารีตอำนาจนิยมต่ออำนาจวงจรอุบาทว์ ด้าน ‘วิโรจน์’ ชี้ต้องสร้างภูมิคุ้ม หยุดกระบวนการชั่วช้าสามานย์ ไม่ให้ทำร้านคนเจนต่อไป พร้อมเดินหน้าแก้กม.กองทัพ สกัดปกป้องอาชญากรที่เข่นฆ่า ปชช.-ต้องขึ้นศาลพลเรือน

    วันนี้(10 เม.ย. 68) คณะประชาชนทวงความยุติธรรม 2553 จัดกิจกรรม “15 ปี รำลึก เมษา-พฤษภาคม 53” โดยมี นายชัยธวัช ตุลาธน อดีตหัวหน้าพรรคก้าวไกล นางสาวพรรณิการ์ วานิช แกนนำคณะก้าวหน้า นางธิดา ถาวรเศรษฐ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ หรือ นปช. นายแพทย์เหวง โตจิราการ อดีตแกนนำ นปช. รวมถึงตัวแทนพรรคการเมือง เช่น นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สส. บัญชีรายชื่อ พรรคประชาชน นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ สส.กทม. พรรคประชาชน เป็นต้น เข้าร่วม

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034401

    #MGROnline #รำลึกเหตุสลายการชุมนุมเสื้อแดง
    ปชช.ทวงความยุติธรรม 53 จัดกิจกรรมรำลึกเหตุสลายการชุมนุมเสื้อแดง 10 เมษา “ธิดา” ยันคนเสื้อแดงต่อสู้กับเผด็จการ ไม่ใช่เพื่อใคร ซัดเพื่อไทยยังไม่เข้าใจสังคมไทยดีพอ ลั่นไม่ร่วมขบวนการหมุนทวนกงล้อประวัติศาสตร์ ร่วมมือกลุ่มจารีตอำนาจนิยมต่ออำนาจวงจรอุบาทว์ ด้าน ‘วิโรจน์’ ชี้ต้องสร้างภูมิคุ้ม หยุดกระบวนการชั่วช้าสามานย์ ไม่ให้ทำร้านคนเจนต่อไป พร้อมเดินหน้าแก้กม.กองทัพ สกัดปกป้องอาชญากรที่เข่นฆ่า ปชช.-ต้องขึ้นศาลพลเรือน • วันนี้(10 เม.ย. 68) คณะประชาชนทวงความยุติธรรม 2553 จัดกิจกรรม “15 ปี รำลึก เมษา-พฤษภาคม 53” โดยมี นายชัยธวัช ตุลาธน อดีตหัวหน้าพรรคก้าวไกล นางสาวพรรณิการ์ วานิช แกนนำคณะก้าวหน้า นางธิดา ถาวรเศรษฐ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ หรือ นปช. นายแพทย์เหวง โตจิราการ อดีตแกนนำ นปช. รวมถึงตัวแทนพรรคการเมือง เช่น นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สส. บัญชีรายชื่อ พรรคประชาชน นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ สส.กทม. พรรคประชาชน เป็นต้น เข้าร่วม • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034401 • #MGROnline #รำลึกเหตุสลายการชุมนุมเสื้อแดง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 439 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายกฯ ไม่ติดใจ “ไชยชนก” ประกาศกลางสภา ไม่เอากาสิโน ชี้ เป็นเรื่องภายใน ภท.เคลียร์กันเอง บอกไม่หนุนความขัดแย้ง ไม่อยากทะเลาะ ตื่นมาแล้วหน้าไม่สดใส ขณะที่ “อนุทิน” รีบปัดพัลวันการโหวตต้องเป็นมติพรรค แม้ส่วนตัวไม่เห็นด้วย ขอโทษนายกฯ แล้ว

    เมื่อเวลา 09.05 น. วันนี้ (10 เม.ย.) นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีที่ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย ระบุว่า จะทำความเข้าใจกับนายกรัฐมนตรีหลังที่ นายไชยชนก ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ประกาศกลางสภา ค้านกฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ว่า ได้คุยกันแล้ว ผู้สื่อข่าวถามว่า นายกฯ เข้าใจหรือไม่ ว่า สิ่งที่ นายไชยชนก พูดเป็นความเห็นส่วนตัว ไม่ใช่มติพรรค นายอนุทิน กล่าวว่า ได้กล่าวขออภัยนายกฯ ไปแล้ว ขณะที่ นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า นายอนุทิน ได้ชี้แจงว่า ไม่ใช่มติพรรค แต่เข้าใจว่า ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็น

    เมื่อถามว่า ในวันลงมติโหวตพรรคภูมิใจไทย จะให้เป็นเอกสิทธิ์ของ สส. แต่ละบุคคลหรือไม่ นายอนุทิน กล่าวแทรกทันที ว่า ไม่ครับสนับสนุนรัฐบาล เมื่อถามว่า แม้ว่า นายไชยชนก จะเป็นเลขาธิการพรรค จะต้องทำตามมติของพรรคใช่หรือไม่ นายอนุทิน กล่าวว่า ต้องทำตามมติพรรค ซึ่งเป็นเรื่องที่เข้าใจกันอยู่แล้ว

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034147

    #MGROnline #ไชยชนกชิดชอบ #กาสิโน #ธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร #เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์
    นายกฯ ไม่ติดใจ “ไชยชนก” ประกาศกลางสภา ไม่เอากาสิโน ชี้ เป็นเรื่องภายใน ภท.เคลียร์กันเอง บอกไม่หนุนความขัดแย้ง ไม่อยากทะเลาะ ตื่นมาแล้วหน้าไม่สดใส ขณะที่ “อนุทิน” รีบปัดพัลวันการโหวตต้องเป็นมติพรรค แม้ส่วนตัวไม่เห็นด้วย ขอโทษนายกฯ แล้ว • เมื่อเวลา 09.05 น. วันนี้ (10 เม.ย.) นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีที่ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย ระบุว่า จะทำความเข้าใจกับนายกรัฐมนตรีหลังที่ นายไชยชนก ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ประกาศกลางสภา ค้านกฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ว่า ได้คุยกันแล้ว ผู้สื่อข่าวถามว่า นายกฯ เข้าใจหรือไม่ ว่า สิ่งที่ นายไชยชนก พูดเป็นความเห็นส่วนตัว ไม่ใช่มติพรรค นายอนุทิน กล่าวว่า ได้กล่าวขออภัยนายกฯ ไปแล้ว ขณะที่ นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า นายอนุทิน ได้ชี้แจงว่า ไม่ใช่มติพรรค แต่เข้าใจว่า ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็น • เมื่อถามว่า ในวันลงมติโหวตพรรคภูมิใจไทย จะให้เป็นเอกสิทธิ์ของ สส. แต่ละบุคคลหรือไม่ นายอนุทิน กล่าวแทรกทันที ว่า ไม่ครับสนับสนุนรัฐบาล เมื่อถามว่า แม้ว่า นายไชยชนก จะเป็นเลขาธิการพรรค จะต้องทำตามมติของพรรคใช่หรือไม่ นายอนุทิน กล่าวว่า ต้องทำตามมติพรรค ซึ่งเป็นเรื่องที่เข้าใจกันอยู่แล้ว • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034147 • #MGROnline #ไชยชนกชิดชอบ #กาสิโน #ธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร #เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 326 มุมมอง 0 รีวิว
  • หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยเผยส่งไลน์ ขออภัยนายกฯ แล้ว หลัง "ไชยชนก ชิดชอบ" ประกาศกลางสภาฯ ว่าไม่เอากาสิโน ชี้เป็นความเห็นส่วนตัว แต่พรรคมีแนวทางเรื่องนี้แล้ว เผยเจ้าตัวเครียด พูดออกไปเองโดยที่พรรคยังไม่ได้อนุมัติ แต่ขออย่าไปมองว่าเป็นลูกใคร

    ที่ทำเนียบรัฐบาล วันนี้ ( 10 เม.ย.) นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กล่าวถึง กรณีนายไชยชนก ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์ ในฐานะเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ประกาศกลางสภาฯ ไม่เห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร หรือเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ได้มีการพูดคุย ทำความเข้าใจกันกับนายกรัฐมนตรีแล้วหรือไม่ ว่า ตนเองได้ไลน์ไปแจ้งนายกรัฐมนตรีแล้ว ว่าสิ่งที่นายไชยชนกได้อภิปรายเป็นความเห็นส่วนตัว ซึ่งพรรคก็มีแนวทางในเรื่องนี้แล้ว

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034188

    #MGROnline #ไชยชนกชิดชอบ #กาสิโน #ธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร #เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์
    หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยเผยส่งไลน์ ขออภัยนายกฯ แล้ว หลัง "ไชยชนก ชิดชอบ" ประกาศกลางสภาฯ ว่าไม่เอากาสิโน ชี้เป็นความเห็นส่วนตัว แต่พรรคมีแนวทางเรื่องนี้แล้ว เผยเจ้าตัวเครียด พูดออกไปเองโดยที่พรรคยังไม่ได้อนุมัติ แต่ขออย่าไปมองว่าเป็นลูกใคร • ที่ทำเนียบรัฐบาล วันนี้ ( 10 เม.ย.) นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กล่าวถึง กรณีนายไชยชนก ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์ ในฐานะเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ประกาศกลางสภาฯ ไม่เห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร หรือเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ได้มีการพูดคุย ทำความเข้าใจกันกับนายกรัฐมนตรีแล้วหรือไม่ ว่า ตนเองได้ไลน์ไปแจ้งนายกรัฐมนตรีแล้ว ว่าสิ่งที่นายไชยชนกได้อภิปรายเป็นความเห็นส่วนตัว ซึ่งพรรคก็มีแนวทางในเรื่องนี้แล้ว • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000034188 • #MGROnline #ไชยชนกชิดชอบ #กาสิโน #ธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร #เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 316 มุมมอง 0 รีวิว
  • Tue. Apr. 8, 2025 - NY time
    (Wed. Apr. 9, 2025 - Thai time)

    What a brilliant speech from Lawrence Wong, 4th Prime Minister of Singapore Prime Minister.
    He represents what best leaders should be.
    My #1 role model for all politicians is still Mr. Lee Kuan Yew.
    It is remarkable that both leaders hail from Singapore, a small nation that continues to make a massive impact to this broken world, where every wrong things seem to be considered normal.

    https://youtu.be/Io1G_5I7a-0?si=DhC_zfOc1qrhqVV6

    #อยากให้ทุกคนฟังค่ะ
    Tue. Apr. 8, 2025 - NY time (Wed. Apr. 9, 2025 - Thai time) What a brilliant speech from Lawrence Wong, 4th Prime Minister of Singapore Prime Minister. He represents what best leaders should be. My #1 role model for all politicians is still Mr. Lee Kuan Yew. It is remarkable that both leaders hail from Singapore, a small nation that continues to make a massive impact to this broken world, where every wrong things seem to be considered normal. https://youtu.be/Io1G_5I7a-0?si=DhC_zfOc1qrhqVV6 #อยากให้ทุกคนฟังค่ะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • Tue. Apr. 8, 2025 - NY time
    (Wed. Apr. 9, 2025 - Thai time)

    Oh, My Buddha!!!
    https://edition.cnn.com/2025/04/08/politics/video/vance-chinese-peasants-ripley-digvid

    ดู CNN link อันนี้แล้วอึ้งไปเลยค่ะ อย่าเปรียบเทียบวาจาของไอ้นี่กับสุนัข หรือเหี้ยนะคะ เพราะสัตว์โลกเหล่านั้นไม่ดูถูกใครค่ะ

    คราวก่อนก็ China virus
    คราวนี้ก็ Chinese peasants

    ต่อให้อยากจะกระพือกระแสแนว "กูลำบาก-มึงต้องลำบากกว่ากู" แต่การลองพูดจาแบบ "เอามือเปียกๆไปแหย่ปลั๊กไฟเล่น" แบบนี้ ก็ไม่ควรทำอย่างยิ่งเลยค่ะ ป่านนี้ชาวจีนทั้งในจีนและใน US และคนชนชาติอื่นที่ไม่เห็นชอบด้วย คงหัวลุกเป็นไฟแน่ๆ

    เอาจริงๆ บ้านเรายังไม่ต้องส่งคนไปเจรจาที่ US หรอก ถ้า Mr. T & his team ผลัดกันสร้างความจัญไรให้โลกเห็นแบบนี้วันละหลายๆรอบนะ เราว่ารออีกไม่นาน ทั้งโลกน่าจะพร้อมใจกัน ยังไม่ทำการค้า ที่ต้องผ่านการควบคุมของคนกลุ่มนี้ไปสัก 4 ปี น่าจะดีที่สุดนะคะ
    Tue. Apr. 8, 2025 - NY time (Wed. Apr. 9, 2025 - Thai time) Oh, My Buddha!!! https://edition.cnn.com/2025/04/08/politics/video/vance-chinese-peasants-ripley-digvid ดู CNN link อันนี้แล้วอึ้งไปเลยค่ะ อย่าเปรียบเทียบวาจาของไอ้นี่กับสุนัข หรือเหี้ยนะคะ เพราะสัตว์โลกเหล่านั้นไม่ดูถูกใครค่ะ คราวก่อนก็ China virus คราวนี้ก็ Chinese peasants ต่อให้อยากจะกระพือกระแสแนว "กูลำบาก-มึงต้องลำบากกว่ากู" แต่การลองพูดจาแบบ "เอามือเปียกๆไปแหย่ปลั๊กไฟเล่น" แบบนี้ ก็ไม่ควรทำอย่างยิ่งเลยค่ะ ป่านนี้ชาวจีนทั้งในจีนและใน US และคนชนชาติอื่นที่ไม่เห็นชอบด้วย คงหัวลุกเป็นไฟแน่ๆ เอาจริงๆ บ้านเรายังไม่ต้องส่งคนไปเจรจาที่ US หรอก ถ้า Mr. T & his team ผลัดกันสร้างความจัญไรให้โลกเห็นแบบนี้วันละหลายๆรอบนะ เราว่ารออีกไม่นาน ทั้งโลกน่าจะพร้อมใจกัน ยังไม่ทำการค้า ที่ต้องผ่านการควบคุมของคนกลุ่มนี้ไปสัก 4 ปี น่าจะดีที่สุดนะคะ
    EDITION.CNN.COM
    See how China responded to Vance’s ‘Chinese peasants’ comment | CNN Politics
    China slammed US Vice President JD Vance for his comments about “Chinese peasants” in an interview with Fox News that has drawn widespread ire and ridicule on China’s internet – and comparisons with Vance’s own self-proclaimed “hillbilly” background.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 234 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาษีทรัมป์ปิดฉากยุคโลกาภิวัตน์ โลกย้อนกลับสู่ระบบพหุนิยม : คนเคาะข่าว 08-04-68
    : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #ภาษีทรัมป์ #โลกาภิวัตน์ #พหุนิยม #สงครามการค้า #นโยบายทรัมป์ #เศรษฐกิจโลก #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวต่างประเทศ #การเมืองโลก #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #Geopolitics #thaitimes #ระบบเศรษฐกิจโลก
    ภาษีทรัมป์ปิดฉากยุคโลกาภิวัตน์ โลกย้อนกลับสู่ระบบพหุนิยม : คนเคาะข่าว 08-04-68 : ทนง ขันทอง ผู้เชี่ยวชาญข่าวต่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #ภาษีทรัมป์ #โลกาภิวัตน์ #พหุนิยม #สงครามการค้า #นโยบายทรัมป์ #เศรษฐกิจโลก #ทนงขันทอง #นงวดีถนิมมาลย์ #ข่าวต่างประเทศ #การเมืองโลก #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #Geopolitics #thaitimes #ระบบเศรษฐกิจโลก
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 474 มุมมอง 6 0 รีวิว
Pages Boosts