• ทัพไทยย้ำไม่นิ่งนอนใจ! กรณีพลทหารเหยียบกับระเบิดชายแดนอุบลฯ หากพบวางใหม่ พร้อมตอบโต้
    https://www.thai-tai.tv/news/20390/
    .
    #ชายแดนไทยกัมพูชา #กับระเบิด #พลทหารบาดเจ็บ #อนุสัญญาออตตาวา #อธิปไตยไทย #กองทัพไทย #กระทรวงการต่างประเทศ #ชายแดนอุบล #เจรจาทวิภาคี #สถานการณ์ชายแดน

    ทัพไทยย้ำไม่นิ่งนอนใจ! กรณีพลทหารเหยียบกับระเบิดชายแดนอุบลฯ หากพบวางใหม่ พร้อมตอบโต้ https://www.thai-tai.tv/news/20390/ . #ชายแดนไทยกัมพูชา #กับระเบิด #พลทหารบาดเจ็บ #อนุสัญญาออตตาวา #อธิปไตยไทย #กองทัพไทย #กระทรวงการต่างประเทศ #ชายแดนอุบล #เจรจาทวิภาคี #สถานการณ์ชายแดน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • เอ็มมานูเอล มาครง สนทนาทางโทรศัพท์กับแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยในวันนี้โดยในระหว่างการพูดคุย แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยได้แสดงความหวังว่าฝรั่งเศสจะช่วยสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการกลับมาเจรจาทวิภาคีในประเด็นชายแดนระหว่างไทยและกัมพูชาอีกครั้ง ตามรายงานของThai Enquirer
    มีรายงานว่า เอ็มมานูเอล มาครง ตกลงที่จะหารือประเด็นดังกล่าวกับกัมพูชา ตามที่จิรายุ หวางทรัพย์ โฆษกรัฐบาลไทย กล่าว
    รายงานระบุว่านายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต์ของกัมพูชาได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่ยุ่งยากนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งบริเวณชายแดนกับประเทศไทยกับเอ็มมานูเอล มาครงในระหว่างการเยือนเมืองนีซเมื่อเร็วๆ นี้ โดยมาครงตอบว่าฝรั่งเศสสามารถมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้
    การกำหนดเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับไทยได้กำหนดขึ้นโดยอนุสัญญาฝรั่งเศส-สยาม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 และสนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสและสยาม เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 โดยได้มีการเผยแพร่แผนที่ในมาตราส่วน 1:200,000 ในปี พ.ศ. 2450 และ พ.ศ. 2451มีรายงานว่ามีการติดตั้งเครื่องหมายแสดงเขตแดนจำนวน 73-74 อันตามแนวชายแดนนี้ ซึ่งบางอันยังหาไม่พบ
    นับแต่มีสนธิสัญญานี้ ปัญหาการกำหนดขอบเขตและปักปันเขตแดนอย่างมีประสิทธิผลระหว่างสองประเทศนี้ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข
    ในบริบทนี้ บทบาทของฝรั่งเศสมีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำทั้งสองฝ่ายมาเจรจากันตามสนธิสัญญานี้และแผนที่ที่เผยแพร่แล้ว ขณะเดียวกันอาจให้ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคเพิ่มเติมอีกด้วย
    มันเป็นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของฝรั่งเศสต่ออดีตร่วมกัน
    เอ็มมานูเอล มาครง สนทนาทางโทรศัพท์กับแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยในวันนี้โดยในระหว่างการพูดคุย แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของไทยได้แสดงความหวังว่าฝรั่งเศสจะช่วยสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการกลับมาเจรจาทวิภาคีในประเด็นชายแดนระหว่างไทยและกัมพูชาอีกครั้ง ตามรายงานของThai Enquirer มีรายงานว่า เอ็มมานูเอล มาครง ตกลงที่จะหารือประเด็นดังกล่าวกับกัมพูชา ตามที่จิรายุ หวางทรัพย์ โฆษกรัฐบาลไทย กล่าว รายงานระบุว่านายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต์ของกัมพูชาได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่ยุ่งยากนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งบริเวณชายแดนกับประเทศไทยกับเอ็มมานูเอล มาครงในระหว่างการเยือนเมืองนีซเมื่อเร็วๆ นี้ โดยมาครงตอบว่าฝรั่งเศสสามารถมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้ การกำหนดเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับไทยได้กำหนดขึ้นโดยอนุสัญญาฝรั่งเศส-สยาม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 และสนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสและสยาม เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 โดยได้มีการเผยแพร่แผนที่ในมาตราส่วน 1:200,000 ในปี พ.ศ. 2450 และ พ.ศ. 2451มีรายงานว่ามีการติดตั้งเครื่องหมายแสดงเขตแดนจำนวน 73-74 อันตามแนวชายแดนนี้ ซึ่งบางอันยังหาไม่พบ นับแต่มีสนธิสัญญานี้ ปัญหาการกำหนดขอบเขตและปักปันเขตแดนอย่างมีประสิทธิผลระหว่างสองประเทศนี้ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข ในบริบทนี้ บทบาทของฝรั่งเศสมีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำทั้งสองฝ่ายมาเจรจากันตามสนธิสัญญานี้และแผนที่ที่เผยแพร่แล้ว ขณะเดียวกันอาจให้ความเชี่ยวชาญทางเทคนิคเพิ่มเติมอีกด้วย มันเป็นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของฝรั่งเศสต่ออดีตร่วมกัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 177 มุมมอง 0 รีวิว
  • กต.ยันแจงเลขาฯ UN แล้ว หลังกัมพูชาแจ้งเรื่องฟ้องศาลโลก ย้ำเจตนารมณ์ไทยแก้ปัญหาด้วยทวิภาคี-MOU43
    https://www.thai-tai.tv/news/20059/
    .
    #ไทยกัมพูชา #ข้อพิพาทชายแดน #ICJ #UNSG #กระทรวงการต่างประเทศ #MOU2543 #การเจรจาทวิภาคี #สหประชาชาติ #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #นิกรเดชพลางกูร
    กต.ยันแจงเลขาฯ UN แล้ว หลังกัมพูชาแจ้งเรื่องฟ้องศาลโลก ย้ำเจตนารมณ์ไทยแก้ปัญหาด้วยทวิภาคี-MOU43 https://www.thai-tai.tv/news/20059/ . #ไทยกัมพูชา #ข้อพิพาทชายแดน #ICJ #UNSG #กระทรวงการต่างประเทศ #MOU2543 #การเจรจาทวิภาคี #สหประชาชาติ #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #นิกรเดชพลางกูร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 174 มุมมอง 0 รีวิว
  • กต.ชี้แจงกรณีกัมพูชาส่งหนังสือถึงเลขาธิการสหประชาชาติ (UNSG) แจ้งว่าต้องการฟ้องร้องไทยต่อ ICJ ทางการไทยได้ยื่นหนังสือยืนยันต่อ UNSG เช่นกัน เพื่อเจตนารมณ์แก้ปัญหาร่วมกันด้วยการเจรจาทวิภาคี ตาม MOU 2543 ซึ่งทั้งไทยและกัมพูชามีพันธกรณีต้องปฏิบัติตาม

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063438

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    กต.ชี้แจงกรณีกัมพูชาส่งหนังสือถึงเลขาธิการสหประชาชาติ (UNSG) แจ้งว่าต้องการฟ้องร้องไทยต่อ ICJ ทางการไทยได้ยื่นหนังสือยืนยันต่อ UNSG เช่นกัน เพื่อเจตนารมณ์แก้ปัญหาร่วมกันด้วยการเจรจาทวิภาคี ตาม MOU 2543 ซึ่งทั้งไทยและกัมพูชามีพันธกรณีต้องปฏิบัติตาม อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000063438 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 480 มุมมอง 0 รีวิว
  • กต.แถลง ผิดหวังกัมพูชาไม่จริงใจเจรจาทวิภาคี พร้อมโต้ 4 ประเด็น ยันไม่ไค้คุยเรื่องแผนที่ 1:200,000
    https://www.thai-tai.tv/news/19445/
    กต.แถลง ผิดหวังกัมพูชาไม่จริงใจเจรจาทวิภาคี พร้อมโต้ 4 ประเด็น ยันไม่ไค้คุยเรื่องแผนที่ 1:200,000 https://www.thai-tai.tv/news/19445/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฮุน มาเน็ต นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ยืนยันประเทศของเขาได้จัดตั้งกลไกต่างๆอย่างครอบคลุมเพื่อจัดการกับประเด็นพิพาทด้านเขตแดนกับไทย ประกอบด้วยขั้นตอนทางเทคนิค การเจรจาทวิภาคีและช่องทางด้านกฎหมายระหว่างประเทศ แต่เน้นย้ำว่ากัมพูชาจะตอบโต้ด้วยกำลังทหารหากไทยเป็นฝ่ายเริ่มบุกรุกด้วยอาวุธ ตามรายงานของเขมรไทม์ส
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000053489

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ฮุน มาเน็ต นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ยืนยันประเทศของเขาได้จัดตั้งกลไกต่างๆอย่างครอบคลุมเพื่อจัดการกับประเด็นพิพาทด้านเขตแดนกับไทย ประกอบด้วยขั้นตอนทางเทคนิค การเจรจาทวิภาคีและช่องทางด้านกฎหมายระหว่างประเทศ แต่เน้นย้ำว่ากัมพูชาจะตอบโต้ด้วยกำลังทหารหากไทยเป็นฝ่ายเริ่มบุกรุกด้วยอาวุธ ตามรายงานของเขมรไทม์ส . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000053489 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Haha
    Sad
    Angry
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1020 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถอดรหัส "ทรัมป์เหลือไพ่ไม่กี่ใบในมือ" กำแพงภาษีคือแผนสุดท้ายรักษาอำนาจสหรัฐฯ รมว.คลังยอมรับ "ระบบเก่าไม่ทำงานแล้ว" เศรษฐกิจติดหล่มหนี้มหาศาล-ขาดดุลการค้า $1 ล้านล้าน ขณะที่กลุ่ม BRICS ผงาดท้าทาย พร้อมสร้างระบบการเงินโลกใหม่ ไทยและ 50 ชาติรีบเจรจา แต่ทรัมป์มีเป้าหมายลึกกว่าที่คิด!
    กำแพงภาษีของทรัมป์คือการล้มโต๊ะโลกาภิวัฒน์และระบบการค้าเสรี เพื่อรับมือวิกฤตเศรษฐกิจที่กำลังใกล้เข้ามา

    สก็อตต์ เบสเซนท์ รมว.คลังสหรัฐฯ ยอมรับแล้วว่า "ระบบเก่าไม่ทำงานแล้ว" เนื่องจากสหรัฐฯ ไม่สามารถรักษามาตรฐานการครองชีพผ่านการใช้จ่ายเงินล่วงหน้าหรือระบบหนี้ได้อีกต่อไป ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ถูกประเมินว่าติดลบ 2.50% ในไตรมาสแรก และหลายฝ่ายยอมรับว่ากำลังถลำเข้าสู่ภาวะถดถอย ปีที่แล้วสหรัฐฯ ขาดดุลการค้าเกือบแตะระดับ $1 ล้านล้าน

    ขณะที่กลุ่ม BRICS ที่ไทยเพิ่งเข้าร่วมเป็นพาร์ตเนอร์ กำลังสร้างระบบการเงินโลกใหม่ที่ออกจากระบบดอลลาร์และระบบชำระเงิน SWIFT โดยมีขนาดเศรษฐกิจและประชากรใหญ่กว่ากลุ่ม G7 แล้ว ทรัมป์รู้ดีว่าประเทศคู่ค้าเริ่มไม่ต้องการขายสินค้าเพื่อแลกกับหนี้ของสหรัฐฯ อีกต่อไป จึงตั้งกำแพงภาษีสูงเพื่อทำให้โลกเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำพร้อมกับสหรัฐฯ หวังให้ทุกประเทศอยู่ในฐานะเสียหายเท่าเทียมกัน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองในการกำหนดระเบียบการเงินและเศรษฐกิจโลกใหม่

    การที่ไทยและกว่า 50 ประเทศรีบติดต่อทำเนียบขาวเพื่อเจรจา อาจเป็นเพียงการซื้อเวลา แต่ท้ายที่สุดอาจเสียหายมากกว่าเดิมเมื่อทรัมป์รีเซ็ตระบบดอลลาร์ เบี้ยวหนี้ หรือบีบให้คู่ค้าเปลี่ยนการถือบอนด์อายุสั้นเป็นบอนด์อายุยาว และการเจรจาทวิภาคีกับประเทศในเอเชียอาจมีประเด็นความมั่นคง การซื้ออาวุธ และความร่วมมือทางทหารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
    #imctnews รายงาน
    ถอดรหัส "ทรัมป์เหลือไพ่ไม่กี่ใบในมือ" 📌กำแพงภาษีคือแผนสุดท้ายรักษาอำนาจสหรัฐฯ รมว.คลังยอมรับ "ระบบเก่าไม่ทำงานแล้ว" เศรษฐกิจติดหล่มหนี้มหาศาล-ขาดดุลการค้า $1 ล้านล้าน ขณะที่กลุ่ม BRICS ผงาดท้าทาย พร้อมสร้างระบบการเงินโลกใหม่ ไทยและ 50 ชาติรีบเจรจา แต่ทรัมป์มีเป้าหมายลึกกว่าที่คิด! 👉กำแพงภาษีของทรัมป์คือการล้มโต๊ะโลกาภิวัฒน์และระบบการค้าเสรี เพื่อรับมือวิกฤตเศรษฐกิจที่กำลังใกล้เข้ามา สก็อตต์ เบสเซนท์ รมว.คลังสหรัฐฯ ยอมรับแล้วว่า "ระบบเก่าไม่ทำงานแล้ว" เนื่องจากสหรัฐฯ ไม่สามารถรักษามาตรฐานการครองชีพผ่านการใช้จ่ายเงินล่วงหน้าหรือระบบหนี้ได้อีกต่อไป ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ถูกประเมินว่าติดลบ 2.50% ในไตรมาสแรก และหลายฝ่ายยอมรับว่ากำลังถลำเข้าสู่ภาวะถดถอย ปีที่แล้วสหรัฐฯ ขาดดุลการค้าเกือบแตะระดับ $1 ล้านล้าน ขณะที่กลุ่ม BRICS ที่ไทยเพิ่งเข้าร่วมเป็นพาร์ตเนอร์ กำลังสร้างระบบการเงินโลกใหม่ที่ออกจากระบบดอลลาร์และระบบชำระเงิน SWIFT โดยมีขนาดเศรษฐกิจและประชากรใหญ่กว่ากลุ่ม G7 แล้ว ทรัมป์รู้ดีว่าประเทศคู่ค้าเริ่มไม่ต้องการขายสินค้าเพื่อแลกกับหนี้ของสหรัฐฯ อีกต่อไป จึงตั้งกำแพงภาษีสูงเพื่อทำให้โลกเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำพร้อมกับสหรัฐฯ หวังให้ทุกประเทศอยู่ในฐานะเสียหายเท่าเทียมกัน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองในการกำหนดระเบียบการเงินและเศรษฐกิจโลกใหม่ การที่ไทยและกว่า 50 ประเทศรีบติดต่อทำเนียบขาวเพื่อเจรจา อาจเป็นเพียงการซื้อเวลา แต่ท้ายที่สุดอาจเสียหายมากกว่าเดิมเมื่อทรัมป์รีเซ็ตระบบดอลลาร์ เบี้ยวหนี้ หรือบีบให้คู่ค้าเปลี่ยนการถือบอนด์อายุสั้นเป็นบอนด์อายุยาว และการเจรจาทวิภาคีกับประเทศในเอเชียอาจมีประเด็นความมั่นคง การซื้ออาวุธ และความร่วมมือทางทหารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย #imctnews รายงาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 485 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำนักข่าวกัมพูชาหลายแห่งรายงานว่า นายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต ได้แสดงความกังวลเกี่ยวกับข้อพิพาทชายแดนเกาะกูดกับไทย โดยระบุอย่างชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาจะไม่ประนีประนอมบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักร
    .
    ผู้นำเขมรได้แสดงความคิดเห็นดังกล่าวตั้งแต่ปลายเดือน พ.ย. โดยระบุว่าการเจรจาประเด็นเรื่องชายแดนต้องใช้เวลาและการเตรียมการอย่างรอบคอบ
    .
    “สิ่งนี้คือความรับผิดชอบของเรา และเราจะไม่สูญเสียดินแดนหรืออธิปไตย โปรดไว้ใจเราในเรื่องนี้” ผู้นำกัมพูชา กล่าว
    .
    ฮุน มาเนต กล่าวเสริมว่ารัฐบาลกัมพูชาใช้วิถีทางที่ผ่านการไตร่ตรองอย่างรอบคอบและมีวุฒิภาวะ ไม่ตอบสนองอย่างหุนหันพลันแล่น
    .
    “ปัญหาเกาะกูดต้องได้รับการแก้ไขอย่างมีวุฒิภาวะทางการเมืองและความรับผิดชอบ โดยให้ความสำคัญกับบูรณภาพแห่งดินแดนและอธิปไตยของชาติเป็นอย่างแรก” ฮุน มาเนต กล่าว
    .
    นายกรัฐมนตรีกัมพูชาชี้แจงว่า การเจรจาระหว่างกัมพูชาและไทยยังคงดำเนินต่อไป และยังไม่มีการบรรลุข้อตกลงใดๆ ดังนั้นการอ้างว่าเสียเกาะกูดให้ไทยนั้นไม่มีมูลความจริง และย้ำว่าการตอบสนองอย่างใจเย็นของรัฐบาลนั้นเป็นความตั้งใจ ด้วยมีเป้าหมายที่จะแก้ปัญหาผ่านช่องทางทางการทูต มากกว่าที่จะเพิ่มความตึงเครียด
    .
    “การคิดถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นสิ่งสำคัญ แต่เราต้องเข้าใจว่าเมื่อใดควรดำเนินการและดำเนินการอย่างไร” ฮุน มาเนต ระบุ
    .
    รัฐบาลกัมพูชาดำเนินการแก้ไขปัญหาชายแดนด้วยการใช้กลไกอย่างเป็นทางการ ไม่ใช่ผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก หรือกลไกสื่อ ฮุน มาเนต กล่าวเสริม และว่ากลไกการแก้ไขอย่างเป็นทางการคือกลไกที่ตกลงกันโดยรัฐบาลกัมพูชาและไทย คือคณะกรรมการเขตแดนร่วม (JBC) และคณะกรรมการเทคนิคร่วม (JTC) ซึ่งคณะกรรมการเหล่านี้ทำหน้าที่เจรจาเรื่องการกำหนดเขตแดนทางบกและกำหนดเขตแดนทางทะเล
    .
    “ขณะนี้ชายแดนกัมพูชา-ไทย บรรลุข้อตกลงเพียงพรมแดนทางบก ที่ครอบคลุมระยะทาง 805 กิโลเมตร และหลักเขต 73 หลัก รัฐบาลของทั้งสองประเทศบรรลุข้อตกลงไปแล้ว 42 หลัก” ฮุน มาเนต กล่าว และว่าประเด็นเรื่องเกาะกูดยังอยู่ระหว่างเจรจา ยังไม่มีข้อตกลงใดๆ ดังนั้น เกาะนี้จึงยังไม่ถูกยกให้ใคร
    .
    เขายอมรับว่ามีความคิดเห็นและคำวิจารณ์มากมายเกี่ยวกับปัญหาเกาะกูดจากไทย แต่เน้นย้ำว่ารัฐบาลจะไม่นำไฟเข้ามาในบ้านของตัวเอง
    .
    ฮุน มาเนต เสริมว่ากัมพูชาและไทยได้เจรจากันมาตั้งแต่ปี 2549 เกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน แต่การหารือเกี่ยวกับดินแดนทางบกและทางทะเลยังไม่เสร็จสิ้นและยังคงดำเนินต่อไป
    .
    ขณะเดียวกัน ฮุนเซน ประธานสภาสูงของกัมพูชา ได้วิพากษ์วิจารณ์นักการเมืองฝ่ายค้านในต่างประเทศที่พยายามเปลี่ยนประเด็นเกาะกูดให้กลายเป็นความขัดแย้งชายแดนระหว่างกัมพูชาและไทยผ่านการยุยงปลุกปั่นประชาชน แม้ว่าสองรัฐบาลจะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาโดยสันติ
    .
    ทั้งนี้ อดีตผู้นำเขมรยังได้กล่าวย้อนถึงเรื่องการเจรจาร่วมกันกับ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย เรื่องการเจาะน้ำมันที่เกาะกูด แต่ไม่มีความคืบหน้าใดๆ ในแผนนี้ และในปี 2544 ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ แต่ไม่มีการหารืออย่างละเอียดในช่วง 23 ปีที่ผ่านมา
    .
    “รัฐบาลทั้งสองประเทศกำลังเจรจากันอย่างสันติเกี่ยวกับปัญหาเกาะกูด แต่ในไทย กลุ่มหัวรุนแรงเรียกร้องให้รัฐบาลอ้างสิทธิเกาะกูดจากกัมพูชา ขณะที่กลุ่มฝ่ายค้านหัวรุนแรงของกัมพูชาในต่างประเทศเรียกร้องให้ชาวกัมพูชาเข้าร่วมการชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลฟ้องศาลระหว่างประเทศเพื่อเรียกร้องเกาะกูดคืน” ฮุนเซน กล่าว
    .
    ฮุนเซนกล่าวว่า ความพยายามของฝ่ายค้านในต่างประเทศครั้งนี้อาจส่งผลร้ายแรงต่อประเทศ
    .
    “ครั้งแล้วครั้งเล่าที่กลุ่มฝ่ายค้านกดดันประชาชนและขัดขวางไม่ให้พวกเขาอยู่กันอย่างสันติ ด้วยการปลุกระดมให้เคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล บางทีอาจถึงเวลาที่ต้องตราพวกเขาว่าเป็นผู้ก่อการร้าย เพราะพวกเขากำลังยุยงให้เกิดความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างกัมพูชาและไทย” อดีตผู้นำเขมร กล่าว
    .
    นอกจากนี้ ฮุนเซนยังเรียกร้องให้ชาวกัมพูชาและชาวไทยเชื่อมั่นในรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมายในการแก้ไขปัญหาเกาะกูดด้วยสันติวิธี และขอให้กองทัพบกและกองทัพเรือกัมพูชาไม่ระดมกำลังเข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว
    .
    อดีตผู้นำเขมรเตือนว่าบาดแผลจากสงครามที่ปราสาทพระวิหาร ปราสาทตาเมือน และปราสาทตากระบัย และความทุกข์ทรมานของประชาชนกัมพูชาและไทยจากการสูญเสียคนรักหรือได้รับบาดเจ็บจากสงครามเหล่านั้นยังคงไม่สิ้นสุด
    .
    “การยุติข้อพิพาทจะดำเนินต่อไป แต่ด้วยการเจรจา เรายังไม่ได้ใช้ความเป็นไปได้ทั้งหมดของการเจรจาทวิภาคี” ฮุนเซน กล่าว.
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000119176
    ..............
    Sondhi X
    สำนักข่าวกัมพูชาหลายแห่งรายงานว่า นายกรัฐมนตรีฮุน มาเนต ได้แสดงความกังวลเกี่ยวกับข้อพิพาทชายแดนเกาะกูดกับไทย โดยระบุอย่างชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาจะไม่ประนีประนอมบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักร . ผู้นำเขมรได้แสดงความคิดเห็นดังกล่าวตั้งแต่ปลายเดือน พ.ย. โดยระบุว่าการเจรจาประเด็นเรื่องชายแดนต้องใช้เวลาและการเตรียมการอย่างรอบคอบ . “สิ่งนี้คือความรับผิดชอบของเรา และเราจะไม่สูญเสียดินแดนหรืออธิปไตย โปรดไว้ใจเราในเรื่องนี้” ผู้นำกัมพูชา กล่าว . ฮุน มาเนต กล่าวเสริมว่ารัฐบาลกัมพูชาใช้วิถีทางที่ผ่านการไตร่ตรองอย่างรอบคอบและมีวุฒิภาวะ ไม่ตอบสนองอย่างหุนหันพลันแล่น . “ปัญหาเกาะกูดต้องได้รับการแก้ไขอย่างมีวุฒิภาวะทางการเมืองและความรับผิดชอบ โดยให้ความสำคัญกับบูรณภาพแห่งดินแดนและอธิปไตยของชาติเป็นอย่างแรก” ฮุน มาเนต กล่าว . นายกรัฐมนตรีกัมพูชาชี้แจงว่า การเจรจาระหว่างกัมพูชาและไทยยังคงดำเนินต่อไป และยังไม่มีการบรรลุข้อตกลงใดๆ ดังนั้นการอ้างว่าเสียเกาะกูดให้ไทยนั้นไม่มีมูลความจริง และย้ำว่าการตอบสนองอย่างใจเย็นของรัฐบาลนั้นเป็นความตั้งใจ ด้วยมีเป้าหมายที่จะแก้ปัญหาผ่านช่องทางทางการทูต มากกว่าที่จะเพิ่มความตึงเครียด . “การคิดถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นสิ่งสำคัญ แต่เราต้องเข้าใจว่าเมื่อใดควรดำเนินการและดำเนินการอย่างไร” ฮุน มาเนต ระบุ . รัฐบาลกัมพูชาดำเนินการแก้ไขปัญหาชายแดนด้วยการใช้กลไกอย่างเป็นทางการ ไม่ใช่ผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก หรือกลไกสื่อ ฮุน มาเนต กล่าวเสริม และว่ากลไกการแก้ไขอย่างเป็นทางการคือกลไกที่ตกลงกันโดยรัฐบาลกัมพูชาและไทย คือคณะกรรมการเขตแดนร่วม (JBC) และคณะกรรมการเทคนิคร่วม (JTC) ซึ่งคณะกรรมการเหล่านี้ทำหน้าที่เจรจาเรื่องการกำหนดเขตแดนทางบกและกำหนดเขตแดนทางทะเล . “ขณะนี้ชายแดนกัมพูชา-ไทย บรรลุข้อตกลงเพียงพรมแดนทางบก ที่ครอบคลุมระยะทาง 805 กิโลเมตร และหลักเขต 73 หลัก รัฐบาลของทั้งสองประเทศบรรลุข้อตกลงไปแล้ว 42 หลัก” ฮุน มาเนต กล่าว และว่าประเด็นเรื่องเกาะกูดยังอยู่ระหว่างเจรจา ยังไม่มีข้อตกลงใดๆ ดังนั้น เกาะนี้จึงยังไม่ถูกยกให้ใคร . เขายอมรับว่ามีความคิดเห็นและคำวิจารณ์มากมายเกี่ยวกับปัญหาเกาะกูดจากไทย แต่เน้นย้ำว่ารัฐบาลจะไม่นำไฟเข้ามาในบ้านของตัวเอง . ฮุน มาเนต เสริมว่ากัมพูชาและไทยได้เจรจากันมาตั้งแต่ปี 2549 เกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน แต่การหารือเกี่ยวกับดินแดนทางบกและทางทะเลยังไม่เสร็จสิ้นและยังคงดำเนินต่อไป . ขณะเดียวกัน ฮุนเซน ประธานสภาสูงของกัมพูชา ได้วิพากษ์วิจารณ์นักการเมืองฝ่ายค้านในต่างประเทศที่พยายามเปลี่ยนประเด็นเกาะกูดให้กลายเป็นความขัดแย้งชายแดนระหว่างกัมพูชาและไทยผ่านการยุยงปลุกปั่นประชาชน แม้ว่าสองรัฐบาลจะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาโดยสันติ . ทั้งนี้ อดีตผู้นำเขมรยังได้กล่าวย้อนถึงเรื่องการเจรจาร่วมกันกับ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย เรื่องการเจาะน้ำมันที่เกาะกูด แต่ไม่มีความคืบหน้าใดๆ ในแผนนี้ และในปี 2544 ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ แต่ไม่มีการหารืออย่างละเอียดในช่วง 23 ปีที่ผ่านมา . “รัฐบาลทั้งสองประเทศกำลังเจรจากันอย่างสันติเกี่ยวกับปัญหาเกาะกูด แต่ในไทย กลุ่มหัวรุนแรงเรียกร้องให้รัฐบาลอ้างสิทธิเกาะกูดจากกัมพูชา ขณะที่กลุ่มฝ่ายค้านหัวรุนแรงของกัมพูชาในต่างประเทศเรียกร้องให้ชาวกัมพูชาเข้าร่วมการชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลฟ้องศาลระหว่างประเทศเพื่อเรียกร้องเกาะกูดคืน” ฮุนเซน กล่าว . ฮุนเซนกล่าวว่า ความพยายามของฝ่ายค้านในต่างประเทศครั้งนี้อาจส่งผลร้ายแรงต่อประเทศ . “ครั้งแล้วครั้งเล่าที่กลุ่มฝ่ายค้านกดดันประชาชนและขัดขวางไม่ให้พวกเขาอยู่กันอย่างสันติ ด้วยการปลุกระดมให้เคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล บางทีอาจถึงเวลาที่ต้องตราพวกเขาว่าเป็นผู้ก่อการร้าย เพราะพวกเขากำลังยุยงให้เกิดความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างกัมพูชาและไทย” อดีตผู้นำเขมร กล่าว . นอกจากนี้ ฮุนเซนยังเรียกร้องให้ชาวกัมพูชาและชาวไทยเชื่อมั่นในรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมายในการแก้ไขปัญหาเกาะกูดด้วยสันติวิธี และขอให้กองทัพบกและกองทัพเรือกัมพูชาไม่ระดมกำลังเข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว . อดีตผู้นำเขมรเตือนว่าบาดแผลจากสงครามที่ปราสาทพระวิหาร ปราสาทตาเมือน และปราสาทตากระบัย และความทุกข์ทรมานของประชาชนกัมพูชาและไทยจากการสูญเสียคนรักหรือได้รับบาดเจ็บจากสงครามเหล่านั้นยังคงไม่สิ้นสุด . “การยุติข้อพิพาทจะดำเนินต่อไป แต่ด้วยการเจรจา เรายังไม่ได้ใช้ความเป็นไปได้ทั้งหมดของการเจรจาทวิภาคี” ฮุนเซน กล่าว. . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000119176 .............. Sondhi X
    Angry
    Like
    Yay
    Haha
    Sad
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1619 มุมมอง 0 รีวิว